SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  70
Télécharger pour lire hors ligne
Free Powerpoint Templates
Page 1
Free Powerpoint Templates
บทที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ
รายวิชาชีววิทยา 5 (ว33245)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Free Powerpoint Templates
Page 2
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
Free Powerpoint Templates
Page 3
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
ความหลากหลายทาง
พันธุกรรมข้าวโพด
Free Powerpoint Templates
Page 4
4
สาเหตุของการเกิด
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
• การคัดเลือกจากธรรมชาติ (natural selection)
• การอพยพเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่อาศัย (migration)
• การกลายพันธุ์ (mutation)
• การปรับปรุงพันธุ์ (breeding of plant & animal)
• พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)
สาเหตุความหลากหลายของชนิดพันธุ์
- การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร
- การปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิศาสตร์และแหล่งอาหาร จนเกิดความแตกต่างทางรูปร่างสัณฐาน
แยกกลุ่ม และผสมพันธุ์ภายในกลุ่ม
Free Powerpoint Templates
Page 5
การเกิดสปีชีส์ (Speciation)
การที่สปีชีส์ดั้งเดิมแยกออกจากกันไปตาม
สภาพภูมิศาสตร์ รูปร่างสัณฐาน
ความสามารถของการผสมพันธุ์กัน ตลอดจน
ความแตกต่างขององค์ประกอบทางพันธุกรรม
Free Powerpoint Templates
Page 6
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศบนบกระบบนิเวศในน้ำ
Free Powerpoint Templates
Page 7
ความสาคัญ
ของความหลากหลายทางชีวภาพ
Free Powerpoint Templates
Page 8
8
การบริการให้ความรู้ การวิจัย
การฝึกอบรม การอนุรักษ์
Free Powerpoint Templates
Page 9
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
Free Powerpoint Templates
Page 10
เกณฑ์ทั่วไปในการจาแนกสิ่งมีชีวิต
• การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีมาตั้งแต่อดีตเมื่อประมาณ 350 ปีก่อน
คริสต์ศักราช
• โดยนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้
• อริสโตเติล (Aristotle ) แบ่งสิ่งมีชีวิตเป็น 2 พวกคือ 1. พืช 2. สัตว์
• จอห์น เรย์ ( John Ray ) นักพฤกษศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่ใช้คาว่า
สปีชีส์ ( Species )แบ่งพืชออกเป็น 2 กลุ่ม 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว 2. พืชใบเลี้ยงคู่
• คาโรลัส ลินเนียส ( carolus Linnaeus ) นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดนจาแนก
พืชมีดอกออกเป็นหมวดหมู่ โดยใช้จานวนเกสรตัวผู้และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของ
สิ่งมีชีวิตเป็นคนแรกบิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธานสมัยใหม่
Free Powerpoint Templates
Page 11
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
Free Powerpoint Templates
Page 12
ตัวอย่างการหมวดหมู่ของมนุษย์
1 หมวดหมู่ Kingdom Animalia เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม ประกอบด้วย
หลาเซลล์มีการแบ่งหน้าที่ของแต่ละเซลล์เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่างแบบถาวร ไม่มี
คลอโรฟิลล์ สร้างอาหารเองไม่ได้ ดารงชีวิตได้หลายลักษณะทั้งบนบกในน้า และบางชนิด
เป็นปรสิต อาณาจักรนี้ได้แก่สัตว์ทุกชนิด ตั้งแต่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจนถึงสัตว์ที่มีกระดูก
สันหลัง
2 หมวดหมู่ Phylum Chordata ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีแกนลาตัว
3 หมวดหมู่ Class Mammalia ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีต่อมน้านม ขนสั้นเล็ก ๆ
(hair)
4 หมวดหมู่ Order Primate ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีนิ้ว5นิ้ว ปลายนิ้วมีเส้นแบน
นิ้วหัวแม่มือพับขวางกับนิ้วอื่นๆ
5 หมวดหมู่ Family Homonidaeลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ เดิน 2 ขา มีฟันเขี้ยวเล็กอยู่
ระดับเดียวกับฟันอื่น
6 หมวดหมู่ Genus Homo ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ สามารถประดิษฐ์เครื่องมือและ
สะสมเครื่องมือไว้
7 หมวดหมู่ Species sapiens sapiens ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีความสามารถเชิง
ศิลป์ วาดรูปไว้
Free Powerpoint Templates
Page 13
Free Powerpoint Templates
Page 14
เกณฑ์การตั้งชื่อ
ชื่อวิทยาศาสตร์ (ภาษาละติน) ส่วนใหญ่จะตั้งขึ้นตามลักษณะเฉพาะ, ถิ่นที่อยู่อาศัย
ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ, ชื่อบุคคลที่ค้นพบ หรือตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลสาคัญๆ
ตัวอย่างเช่น
ดอกไม้ทะเล Stichodactyla gigantea ซึ่งเป็นหนึ่งในดอกไม้ทะเลที่มีขนาดใหญ่มาก
ที่สุด (Gigantea = Giant = สิ่งทีมีขนาดใหญ่มาก),
ปลาการ์ตูน Amphiprion chagosensis จะพบในเฉพาะบริเวณหมู่เกาะ Chagos ใน
มหาสมุทอินเดีย
ดอกไม้ทะเล S. haddoni เพื่อเป็นเกียรติแก่ Alfred C. Haddon นักสังคมศาสตร์ท่าน
หนึ่ง ผู้ซึ่งสะสมและศึกษาดอกไม้ทะเลเป็นงานอดิเรก
Free Powerpoint Templates
Page 15
เลขทะเบียน : 7-53000-001-0133
ชื่อทั่วไป : พริกขี้หนู
ชื่อสามัญ : Bird Chilli
ชื่อพื้นเมือง : พริกขี้หนู (กลาง) ; พริกแด้ , พริกนก (เหนือ)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capsicum frutescens L. var. frutescens
ชื่อวงศ์ : SOLANACEAE
Free Powerpoint Templates
Page 16
เกณฑ์ที่ใช้จาแนกสิ่งมีชีวิต
1. ลักษณะโครงสร้างภายในและภายนอก แบ่งเป็น homologous structure กับ analogous
stucture เช่น ครีบของปลากับครีบของปลาวาฬ ,ปีกของนกกับแขนของมนุษย์
2. ลักษณะแบบแผนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา นก
กบ และคน ในระยะตัวอ่อนจะมีลักษณะช่องเหงือกที่คล้ายคลึงกัน
3. ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต (Fossil) เทอราโนดอล กับ อาร์คีออปเทอรริกซ์ มี
ขากรรไกรยาวมีฟันปลายปีกมีนิ้วคล้ายคลึงกันจึงจัดนกและสัตว์เลื้อยคลานไว้เป็นพวกใกล้เคียงกัน
4. ลักษณะโครงสร้างและสารเคมีภายในเซลล์เช่น คลอโรพลาสต์ มีในเซลล์พืชแต่ไม่มีในเซลล์สัตว์
เซนทริโอล และไลโซโซมพบในเซลล์สัตว์เท่านั้น
5. ลักษณะพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต เช่น จิงโจ้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่มีเฉพาะทวีป
ออสสเตรเลีย แต่มีกระเป๋าหน้าท้องจึงจัดอยู่ในกลุ่มกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมในทวีปอื่นๆ
Free Powerpoint Templates
Page 17
Free Powerpoint Templates
Page 18
ความหลากหลายทางชีวภาพ :
Free Powerpoint Templates
Page 19
บรรยากาศเทียม CH4 H2 NH3 H2O
คอนเดนเซอร์
การทดลองของมิลเลอร์ใน
ห้องปฏิบัติการโดยใช้
บรรยากาศเทียม
กาเนิดสิ่งมีชีวิต :
Free Powerpoint Templates
Page 20
กาเนิดสิ่งมีชีวิต :
Prokaryote
Eukaryote
Symbiosis
Free Powerpoint Templates
Page 21
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
การจาแนกสิ่งมีชีวิตนั้น นักอนุกรมวิธานอาจจัดให้อยู่ใน 3 domain หรือ 5 kingdom ก็ได้
domain Archaea Bacteria Eukarya
Kingdom monera Protista Fungi Plantae Animalia
ได้แก่ แบคทีเรีย
โบราณ
แบคทีเรียและ
ไซยาโน
แบคทีเรีย
โพรโทซัว เห็ด
รา
ยีสต์
พืช สัตว์
Cell Prokaryotic Eukaryotic
Tissue ไม่มี มี
Embryo ไม่มี มี
Cell wall มีแต่ไม่เป็น
peptidoglyc
an
ถ้ามีจะเป็น
peptidoglyc
an
มีในสาหร่าย
เกิดจากสาร
แตกต่างกัน
มีเป็นสาร
chitin
มีเป็นสาร
cellulose
ไม่มี
Free Powerpoint Templates
Page 22
Free Powerpoint Templates
Page 23
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
Free Powerpoint Templates
Page 24
Free Powerpoint Templates
Page 25
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
Free Powerpoint Templates
Page 26
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
Free Powerpoint Templates
Page 27
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
ไวรัสและไวรอยด์
- ไม่เป็นเซลล์ (ไวรัส : capsid + DNA/RNA , ไวรอยด์ : DNA
- Obligate intracellular parasite
- ไวรัสก่อโรคในคน = ไข้หวัด ,ไข้หวัดใหญ่ ,โปลิโอ ,ชิคุนกุนยา ,ตัวอักเสบ ,ปอดบวม ,พิษสนัขบ้า ,
งูสวัด ,เริม ,ไข้เลือดออก ,ไข้เหลือง ,ไข้ทรพิษ ,หัด ,หัดเยอรมัน ,คางทูม ,เอดส์ ,ไข้หวัดนก ,ไข้หวัด
ใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ,ไข้หวัด SARS / ในพืช = ใบด่างของยาสูบและถั่วลิสง ใบหงิกของพริก
- ไวรัสที่พบในแบคทีเรีย = bacteriophage / phage
- ไวรอยด์เป็นปรสิตในพืช
Free Powerpoint Templates
Page 28
Kingdom Monera
- Prokaryote ,อาจมี/ไม่มีผนังเซลล์ก็ได้ (peptidoglycan) ,อาจอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือ colony หรือ
filament
- โครโมโซมแท่งเดียวไม่มี histone และใน cytosal อาจพบ plasmid (ดารงชีวิตสภาวะฉุกเฉิน)
- รูปร่าง = coccus / bacillus / spirillum
- บางชนิดสร้าง capsule : edospore (ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์แต่ทนต่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม)
- ผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรีย : นมเปรี้ยว โยเกิร์ต น้าส้มสายชู เนยแข็ง ปลาร้า ปลาส้ม ผักดอง
- โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย : คอตีบ ไอกรน บาคทะยัก หนองใน ไทฟอยด์ (ไข้รากสาดน้อย) ซิฟิลิส อหิวาตกโรค
บิดไม่มีตัว วัณโรค เรื้อน ปอดบวม
- มีความหลากหลายของ metabolism มากที่สุด
- Photoautotroph เช่น purple sulfur bacteria ,green sulfur bacteria (ได้กามะถัน) ,
cyanobacteria (ได้ออกซิเจน)
- Chemoautotroph เช่น nitrifying bacteria
- Heterotroph : decomposer / parasite
- บางชนิดตรึงไนโตรเจนได้ : Rhizobium (รากถั่ว) ,Azotobacter ,Nostoc (รากปรง) ,Anabaena
(แหนแดง) ,Oscillatoria
Free Powerpoint Templates
Page 29
Kingdom Monera
แบ่งออกเป็น 2 อาณาจักรย่อย
- Archaeabacteria = แบคทีเรียโบราณ อาศัยในสิ่งแวดล้อมสุดโต่ง ผนังเซลล์ไม่เป็น
peptidoglycan
1. Euryarchaeota = พวกสร้างแก๊สมีเทน/พวกชอบความเค็มจัด
2. Crenarchaeota = พวกชอบอุณหภูมิสูงจัด / พวกชอบกรดจัด
- Eubacteria มีการดารงชีวิตและ metabolism หลากหลายทีสุด ผนังเซลล์เป็น peptidoglycan
1. พวกแกรมบวก (สี crystal violet) เช่น Lactobacillus (สร้าง lactic acid)
,Streptomyces (ยาปฏิชีวนะ streptomycin) ,Bacillus (แอนแทรกซ์ : endospore)
Mycoplasma (เล็กสุด ไม่มีผนังเซลล์ บางชนิดก่อโรคปอดบวม)
2. พวกแกรมลบ (สี safranin) มีหลายกลุ่มได้แก่
- Proteobacteria มากสุด เช่น purple sulfur bacteria ,rhizobium
- Chlamydias ก่อโรคทางเพศสัมพันธ์ เช่น หนองในหรือโกโนเรีย
- Spirochetes ก่อโรคซิฟิลิสและฉี่หนู
- cyanobacteria หรือสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน สังเคราะห์แสงได้ (pigment) เช่น
Nostoc ,Anabaena ,Oscillatoria ,spirulina (สาหร่ายเกลียวทองมีโปรตีนสูง)
,Mycrocystic (หลั่งสาร hydroxylamine ทาให้น้าเสีย)
Free Powerpoint Templates
Page 30
Kingdom Monera
Free Powerpoint Templates
Page 31
Kingdom Protista
-Eukaryote ที่คล้ายสัตว์ (โพรโทซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย) คล้ายฟังไจ (ราเมือก)
- โพรโทซัว
1. Diplomonadida : eukaryote ชั้นต่า ไม่มี organelle มี flagellum หลายเส้น มี 2 นิวเคลียส เช่น
Giardia (ปรสิตลาไส้คน)
2. Parabasala : eukaryote ชั้นต่า ไม่มี organelle มี flagellum 2 เส้น เยื่อหุ้มเซลล์เป็นลอน เช่น
Trichonympha (ลาไส้ปลวก : mutualism ย่อย cellulos) ,Trichomonas (ติดเชื้อในช่องคลอด)
3. Euglenozoa : พวกเคลื่อนที่โดย flagellum เช่น Euglena (eyespot+chloroplast)
,Trypanosoma (ปรสิตโรคเหงานหลับ)
4. Alveolar : พวก alveoIi (ช่องเล็กๆใต้เยื่อหุ้มเซลล์)
- Dinoflagellate มี 2 flagellum (ขี้ปลาวาฬ/red tide : ทะเลเป็นพิษสัตว์น้าตาย)
- Apicomplexa ปรสิตมี organelle แทงโฮสต์ ไม่มี organelle เคลื่อนที่ (sporozoa) เช่น
Plasmodium (มาลาเรีย/ไข้จับสั่น) มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ
- Ciliate ใช้ cilia เคลื่อนที่ มีความหลากหลายมาก เช่น paramecium ,vorticella ,stentor
5. Rhizopoda : พวกเคลื่อนที่โดย psuedopodium เช่น amoeba ,entamoeba ที่สาคัญ E.
histolyca (โรคบิดมีตัว) E. gingivalis (ช่วยกินแบคทีเรียบริเวณฟัน)
ระวัง!!! E. coli /Escherichia coli เป็นแบคทีเรียช่วยสร้างวิตามินในลาไส้ใหญ่คน
Free Powerpoint Templates
Page 32
Kingdom Protista
- สาหร่าย เป็นผู้ผลิตกาลังสูงสุดในโลก มีรงควัตถุสังเคราะห์แสงชนิดต่างๆบรรจุใน chloroplast
1. Stramenopila : เซลล์สืบพันธุ์มี 2 flagellum (เส้นหนึ่งมีขนอีกเส้นไม่มี) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
• สาหร่ายสีน้าตาล มีสาร algin โครงสร้างซับซ้อนน้อยสุด เช่น Padina ,Laminaria
,Fucus (ทั้ง 3 ชนิดมี K สูง) ,Sagussum (สาหร่ายทุ่น มี I สูง) ,Kelp (ขนาดใหญ่ที่สุด)
• Diatom เซลล์เดียว ผนังเซลล์เป็น 2 ฝาประกบกัน (ซิลิกา) เมื่อตายทับถม เรียก
diatomamaceous earth (ขุดใช้ในอุตสาหกรรมขนาดกลาง : เครื่องแก้ว ยาขัดโลหะ
ยาสีฟัน)
2. Rhodophyta : สาหร่ายสีแดง ไม่พบระยะที่มี flagellum มีสาร agar ,carageenan (สกัด
ทาวุ้น) เช่น Porphyra (จีฉ่าย ,โนริ : ทาอาหาร) ,Gracillaria (สาหร่ายผมนาง : ผลิตวุ้น)
3. Chlorophyta : สาหร่ายสีเขียว เช่น Chlorella ,Scenedesmus (ทั้งคู่โปรตีนสูง)
Spirogyra (เทาน้า : ทาอาหาร) Acetabularia (ศึกษานิวเคลียส) Volvox (colony กลม)
Chlamydomonas ,Chara (สาหร่ายไฟ : ใกล้ชิดพืชมากที่สุด)
Free Powerpoint Templates
Page 33
Kingdom Protista
- ราเมือก (กลุ่ม mycetozoa)
- ต่างจากฟังไจตรงที่กินแบบ phagocytosis และเคลื่อนที่ได้
- เป็น decomposer เช่น Stemonitis ,
- Physarum (ปรสิตในพืช) เช่น Plasmodiophora (รากโป่งในกะหล่าปลี)
- มี 2 แบบ คือ
1. Plasmodial slime mold ก้อนหยึยๆ หลายนิวเคลียส คืบคลานหาอาหาร
2. Cellular slime mold เซลล์เดี่ยว อยู่อิสระ มี 1 นิวเคลียส
Free Powerpoint Templates
Page 34
Kingdom Fungi
- คือพวกเห็ด รา ยีสต์ มีความใกล้ชิดกับสัตว์มากกว่าพืช เป็น decomposer สาคัญในระบบนิเวศ
- eukaryote ที่มี hypha และ mycelium (หน้าที่หลั่งน้าย่อยและดูดซึม หรืออาจเปลี่ยนเป็น
อวัยวะกระจายสปอร์/fruiting body)
- ผนังเซลล์เป็นสาร chitin ,สังเคราะห์แสงไม่ได้
- ดารงชีวิตทั้งแบบ saprophytism (ย่อยสลาย) parasitism , mutualism (พึ่งพา)
- สร้างสปอร์ 2 ชนิด : sexual spore (meiosis) , asexual spore (mitosis)
- บางชนิดสร้างได้แต่ asexual spore เท่านั้น = fungi imperfecti (Penicillium ,Aspergillus)
- ราแดง (ข้าวแดงและเต้าหู้ยี้) Penicillium (penicillin) Aspergillus flavus (aflatoxin : liver
cancer) Aspergillus niger (citric acid) Rhizopus nigricans (fumaric acid) ยีสต์
(anaerobic respiration  EtOH + CO2 : หมักเหล้า ไวน์ ขนมปังฟู) การหมักซีอิ้ว/
เต้าเจี้ยว/ถั่วหมัก
- ก่อโรคในสัตว์ = กลาก เกลื้อน ง่ามเท้าเปื่อย / พืช = ราสนิม ราเขม่าดา ราน้าค้าง โรคใบไหม้
Free Powerpoint Templates
Page 35
Kingdom Fungi
- ไลเคนส์ เช่น ฝอยลม ฟองหิน (mutualism : ascomycete/basidiomycete + สาหร่าย
สีเขียว/สีเขียวแกมน้าเงิน) เป็นดัชนีวัดอากาศ (ไม่ขึ้นที่อากาศเป็นพิษ) /สิ่งมีชีวิตบุกเบิก
(กร่อนหินได้)
- ไลเคนส์ แบ่ง 3 ประเภท crustose (แผ่นบนหิน) foliose (ใบไม้แผ่นบาง) fruticose (ฝอยฟู)
- เราใช้ sexual spore เป็นเกณฑ์ในการจาแนก 4 phylum
1. Chytridomycota : พวก chytid (เป็นชนิดเดียวที่ sex cell และ spore มี flagellum)
สันนิษฐานว่าวิวัฒนาการมาจาก protist
2. Zygomycota เช่น ราดา (rhizopus) บนขนมปัง : hypha ไม่มีผนังกั้น สร้าง
zygospore
3. Ascomycota มีจานวนมากสุด เช่น ยีสต์ โมเรล ทรัฟเฟิล ราแดง : hypha มีผนังกั้น สร้าง
ascospore ในถุง ascus (ยีสต์ เป็น unicellular ไม่มี hypha ,budding หรือ meiosis)
4. Basidiomycota เช่น เห็ดต่างๆ ราสนิม/เขม่าดา/mycorrhiza (mutualism กับรากสน
ช่วยดูดน้าและแร่ธาตุ : hypha มีผนังกั้น สร้าง basidiospore ใน fruiting body ขนาด
ใหญ่ ส่วนใหญ่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
Free Powerpoint Templates
Page 36
Kingdom Fungi
Free Powerpoint Templates
Page 37
Kingdom Plantae
พืชมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง (ผู้ผลิตอาหารในระบบนิเวศ : autotroph) มีประโยชน์ในด้านอื่น
,มากมาย แต่บางชนิดก็มีโทษ เช่น วัชพืชต่างๆ ทั้งหมดมีประมาณ 240,000 สปีชีส์ หรือมากกว่านี้
ซึ่งแพร่กระจายไปได้แทบทุกหนทุกแห่ง แตกต่างกันออกไปในแต่ละสภาพที่อยู่
หลักในการพิจารณาและจัดสิ่งมีชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรพืช
1. Eucaryotic cell มีการผสมพันธุ์ได้ Zygote  Embryo
2. ประกอบไปด้วยหลายเซลล์มารวมกันเป็น Tissue ทาหน้าที่เฉพาะอย่าง
3. ผนังเซลล์เป็นสารประกอบพวก Cellulose
4. มีคลอโรฟิลล์บรรจุอยู่ในเม็ด Chlorplast
5. โดยทั่วไปไม่เคลื่อนที่เองไม่ได้ แต่ในพืชหลายชนิดขณะเป็นเซลล์สืบพันธุ์เคลื่อนที่ได้ เช่น สเปิร์ม
ของมอส เฟิน ฯลฯ เพราะมีแฟลเจลลา
6. มีวงจรชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) : sexual reproduction (Sporophyte)
สลับกับ asexual reproduction (gametophyte)
Free Powerpoint Templates
Page 38
Free Powerpoint Templates
Page 39
อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็น 10 ไฟลัม ดังนี้
พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ
ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง มีเนื้อเยื่อลาเลียง
P. Hepatophyta
P. Anthocerophyta
P. Bryophyta
P. Lycophyta
P. Pterophyta
ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด
P. Cycadophyta
P. Ginkgophyta
P. Coniferophyta
P. Gnetophyta P. Anthophyta
Free Powerpoint Templates
Page 40
ความหลากหลายทางชีวภาพ:
Free Powerpoint Templates
Page 41
พืชที่ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง
Free Powerpoint Templates
Page 42
พืชที่มีเนื้อเยื่อลาเลียง (tracheophyta)
Free Powerpoint Templates
Page 43
พืชที่ไม่มีเมล็ด
Free Powerpoint Templates
Page 44
พืชที่มีเนื้อเยื่อลาเลียง (tracheophyta)
Free Powerpoint Templates
Page 45
พืชดอก Dicot Monocot
ใบเลี้ยง 2 ใบ 1 ใบ
เส้นใบ ร่างแห ขนาน
ราก แก้ว ฝอย
ท่อลาเลียงในราก เรียงตัวเป็นแฉก เรียงตัวเป็นวงกลม
ท่อลาเลียงในลาต้น เรียงเป็นวงอย่างมีระเบียบ จัดเป็นกลุ่มกระจัดกระจาย
Cambium มี ขยายขนาดด้านข้างได้ ไม่มี สูงขึ้นอย่างเดียว
จานวนกลีบดอก 4X .5X 3X
วิวัฒนาการ ต่ากว่าคล้าย gymnosperm สูงกว่า
Free Powerpoint Templates
Page 46
พืชที่มีเมล็ด
Free Powerpoint Templates
Page 47
Kingdom Animalia
- ต้องมีเนื้อเยื่อและเอ็มบริโอ ,muticellular ,consumer ,มี collagen เป็นโปรตีน conective tissue ,
จานวนมากสุด 3 ไฟลัมแรก คือ Arthropoda > Mollusca > Chordata
- เกณฑ์ที่ใช้จาแนก 9 ข้อ
1. Germ layer ในระยะตัวอ่อน 3 ชั้น = ectoderm / mesoderm /endoderm
- ไม่มี คือ ฟองน้า / 2 ชั้น (ecto/endo) คือ cnidarian /3 ชั้น คือ ที่เหลือ
2. Coelom คือ ช่องตัว
- ไม่มี คือ ฟองน้า cnidarian หนอนตัวแบบ / psuedocoelom (endo/meso) คือ หนอนตัว
กลม / eucoelom (meso/meso) คือที่เหลือ
3. สมมาตรร่างกาย (symmetry)
- ไม่มี เช่น ฟองน้า /รัศมี เช่น cnidarian /ด้านข้าง คือที่เหลือ
4. ปล้องลาตัว (segmentation,metamerism)
- พบเฉพาะ annelida arthropod และ chordate
5. ระบบทางเดินอาหาร (digestive tract)
- ไม่มี คือ ฟองน้า พยาธิตัวตืด / ไม่สมบูรณ์ (1 รู) cnidarian หนอนตัวแบน (เว้นตัวตืด) / สมบูรณ์
(2 รู : ปากและทวารหนัก) คือ ที่เหลือ
Free Powerpoint Templates
Page 48
Kingdom Animalia
6. การเจริญของ blastopore (พบเฉพาะสมมาตรด้านข้าง) : รูที่เกิดในระยะเอ็มบริโอ (blastula)
- Protostomia ปากเกิดก่อน ได้แก่ หนอนตัวกลม หนอนตัวแบน annelid mollusk arthropod
- Dueterostome ทวารหนักเกิดก่อน ได้แก่ echinoderm chordate
7. การเจริญของตัวอ่อน (พบในสัตว์ที่เป็น protostomia)
- แบบ trochophore ตัวอ่อนมี cilia ว่ายน้าได้ ได้แก่ หนอนตัวแบน mollusk annelid
- แบบ ecdysozoa ตัวอ่อนมีการลอกคราบขณะเจริญเติบโต ได้แก่ หนอนตัวกลม และ arthropod
8. ระบบประสาท (Nervous system)
- ไม่มี คือ ฟองน้า /ร่างแห คือ cnidarian / มีส่วนกลาง+dorsal nerve cord คือ chordate / มี
ส่วนกลาง+ventral nerve cord คือ ที่เหลือ
9. ระบบหมุนวียนโลหิล (circulatory system)
- ไม่มี คือ ฟองน้า cnidarian หนอนตัวแบน หนอนตัวกลม / ระบบเปิด (hemolymph ใน hemocoel)
คือ mollusk (ยกเว้นหมีก) arthropod echinoderm chordateชั้นต่า (เพรียงหัวหอม
,amphioxus) / ระบบปิด (blood vessel) ได้แก่ annelid mollusk (พวกหมึก) chordate
ชั้นสูง (vertebrate)
Free Powerpoint Templates
Page 49
Free Powerpoint Templates
Page 50
Kingdom Animalia
มี germ layerไม่มี germ layer
สัตว์ มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ
2 ชั้น/radial 3 ชั้น/bilateral
acoelom
pseudocoelom eucoelom
blastopore
ปล้องลาตัว
ทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
Proto(trocho) Proto(trocho) Proto(ecdy)Proto(ecdy) deutero
มีมีมี
ไม่มี ไม่สมบูรณ์ สมบูรณ์
ไม่มี Nerve net Ventral nerve cord Dorsal
Por Cni NemaPlaty Anna Mol Artho Echi Chord
Free Powerpoint Templates
Page 51
9 Phylum of Kingdom Animalia
1. P. Porifera คือ พวกฟองน้า มี ostia (น้าเข้า) และ osculum (น้าออก) , mesohyl (ชั้นวุ้น
กลาง) , collar cell/choanocyte (ดักจับ/ย่อยอาหาร) ,amoebocyte (ย่อย/ขนส่ง
สารอาหารและสร้าง spicule) จาแนกตามชนิด spicule ได้แก่ ฟองน้าถูตัว (spongin) ฟองน้า
หินปูน (CaCO3) และฟองน้าแก้ว (ซิลิกา)
Free Powerpoint Templates
Page 52
9 Phylum of Kingdom Animalia
2. P. Cnidaria เช่น ไฮดรา ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน โอบิเลีย , nematocyst (เข็ม
พิษในเซลล์ cnidocyte บน tentacle) , 2 รูปร่าง = polyp และ medusa (metagenesis :
วงชีพแบบสลับ) ,gastrovascular cavity , 2 ชั้น (กลาง : mesoglea ,มี gland cell (ย่อย
นอกเซลล์) และ nutritive cell (ย่อยในเซลล์)
Free Powerpoint Templates
Page 53
9 Phylum of Kingdom Animalia
3. P. Platyhelminthes คือ พวกหนอนตัวแบน มีทั้งอิสระ (พลานาเรีย) และปรสิต (พยาธิใบไม้/
ตัวตืด) ตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร พลานาเรียเกิด regeneration ได้ , flame cell ขับถ่าย และ
ส่วนใหญ่เป็น monoecious
Free Powerpoint Templates
Page 54
9 Phylum of Kingdom Animalia
4. P. Nematoda คือ หนอนตัวกลม มีทั้งอิสระ (หนอนในน้าส้มสายชู) ปรสิตในคน (พยาธิต่างๆ)
ปรสิตในพืช (ไส้เดือยฝอย) ,ไม่มีเลือดแต่ใช้การหมุนเวียนของเหลวใน pseudocoelom ,
excretory canal ,มักมี cuticle ห่อหุ้ม และ diecious
Free Powerpoint Templates
Page 55
9 Phylum of Kingdom Animalia
5. P. Annelida คือ หนอนมีปล้อง (หนอนเจริญสุด) ระบบเลือดปิดสีแดง (hemoglobin) ลาตัวเป็น
ปล้องมีเยื่อกั้น (septa) ส่วนใหญ่เป็น monoecious ,metanephridia ,ผิวหนังหายใจ
,pseudoheart (หลอดเลือดส่วนหัว) ตัวอย่างเช่น ไส้เดือน (setae เคลื่อนที่) ไส้เดือนทะเลหรือ
แม่เพรียง (setae และ parapodia : เคลื่อนที่และหายใจ) ปลิงน้าจืด (ไม่มีเดือย) ตัวสงกรานต์
ทากดูดเลือด
@ ตัวไหนดูดเลือดได้จะปล่อยสาร hirudin (เลือดไม่แข็งตัวคล้าย heparin ของเม็ดเลือดขาว)
Free Powerpoint Templates
Page 56
9 Phylum of Kingdom Animalia
6. P. Mollusca ร่างกาย 3 ส่วน คือ เท้า ตัวอ่อนนุ่ม และ mantle (ชั้นปกคลุมซึ่งสร้างเปลือกหินปูน)
,kidney ,gill เช่น ทาก ลิ่นทะเล (chiton สัตว์โบราณ) หอยฝาเดียว (asymmetry เช่น หอย
เต้าปูน) หอยสองฝา (bilateral ไม่มีหัว เช่น หอยแครง หอยแมลงภู่) หมึก หมึกยักษ์ และหอย
งวงช้าง (ชั้นสูง เพราะเปลี่ยน tentacle เป็นเท้า ,ระบบเลือดปิด hemocyanin ,siphon ,
ประสาทเจริญดีสุดใน invert ,บางชนิด pen หรือลิ้นทะเล)
@ หอยปากเป็ด
ปมประสาทสมอง(cerebral ganglion)
ปมประสาทที่อวัยวะภายใน(visceral ganglion)
ปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion)
Free Powerpoint Templates
Page 57
9 Phylum of Kingdom Animalia
7. P. Arthropoda จานวนมากสุดในโลก exoskeleton (chitin) ,ระบบเลือดเปิด ,ร่างกาย 3 ส่วน (หัว+อก+ท้อง)
หรือ 2 ส่วน (cephalothorax+ท้อง) หรือเป็นปล้องๆ ,ลอกคราบเป็นระยะ (ecdyzoa) แต่เฉพาะแมลง ส่วน
crustacean จะมี metamorphosis
จาแนกเป็น 6 class (จานวนหนวด/ขา) ได้แก่
7.1 C. Arachnida เช่น แมงมุม แมงป่อง เห็บ ไรฝุ่น บึ้ง โดยร่างกายแบ่ง 2 ส่วน ,ใช้ book lung
7.2 C. Merostomata หรือแมงดาทะเล ร่างกายแบ่ง 2 ส่วน ,ใช้ book gill
7.3 C. Insecta หรือแมลง เหา หมัด ร่างกาย 3 ส่วน ระบบท่อลม ,Malpighian tubule เลือดไม่ใช้ลาเลียงแก๊ส (ไม่มีสี)
7.4 C. Chilopoda หรือพวก centipede เช่น ตะขาบ ตะเข็บ ร่างกายเป็นปล้อง มีพิษ ใช้ท่อลม
7.5 C. Diplopoda หรือพวก millipede เช่น กิ้งกือ กระสุนพระอินทร์ ชอบที่เน่าๆ ร่างกายเป็นปล้อง ใช้ท่อลม
7.6 C. Crustacea เช่น กุ้ง กั้ง ปู เหาไม้ ไรแดง ไรน้า ตัวกะปิ เพรียงหิน จักจั่นทะเล ร่างกาย 2 ส่วน สาคัญทาง
เศรษฐกิจ เลือดสีฟ้า (hemocyanin) green gland (หัวกุ้ง) และมีมันกุ้ง (สร้างน้าย่อย)
Arthropod
ไม่มีหนวด
มีหนวด
มีหนวด 2 คู่และขา
มีหนวด 1 คู่
มี 8 ขา
มี 10 ขา
มี 6 ขา
มีมากกว่า 6 ขา
ขาปล้องละ 1 คู่
ขาปล้องละ 2 คู่
C. Arachnida
C. Merostomata
C. Insecta
C. Chilopoda
C. Diplopoda
C. Crustacea
Free Powerpoint Templates
Page 58
Free Powerpoint Templates
Page 59
9 Phylum of Kingdom Animalia
8. P. Echinodermata สัตว์ทะเลทั้งหมด เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล อีแปะทะเล พลับพลึงทะเล
embryo (bilateral) พอโต (radial) ผิวบางหุ้มโครงร่างแข็งหินปูนภายใน ,water vascular
system (ลาเลียงสาร : isotonic ต่อทะเล) , tube feet (เคลื่อนที่ จับเหยื่อ หายใจ) ส่วน
ใหญ่ใช้ gill (ปลิงทะเล : respiratory tree ,nerve ring
Free Powerpoint Templates
Page 60
9 Phylum of Kingdom Animalia
9. P. chordata ต้องมีลักษณะทั้ง 4 อย่างน้อยช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต
- Dorsal nerve cord (ectodrem) สมองและไขสันหลัง
- Notochord (โครงร่างกาย) ส่วนใหญ่จะมีกระดูกสันหลังมาแทนที่เมื่อโตขึ้น
- Pharygeal gill slit
- Muscular tail
@ สัตว์ที่มีลักษณะทั้ง 4 ตลอดชีวิต คือ ปลาปากกลม กับ amphioxus
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ Portochordate กับ Vertebrate
• Protochordate : ชั้นต่า ไม่มีกระดูกสันหลัง ระบบเลือดเปิด แบ่งเป็น
1) Urochordate เช่น เพรียงหัวหอม (tunicate) มีสารคล้าย cellulose ปกปคลุม (tunic) ตอน
เด็กครบ 4 โตมาเหลือแต่ gill slit
2) Cephalochordate เช่น amphioxus หรือที่ปัจจุบันเรียก lancelet
Free Powerpoint Templates
Page 61
เพรียงหัวหอม
amphioxus
Free Powerpoint Templates
Page 62
P. Chordata
• Vertebrate (สัตว์มีกระดูกสันหลัง) : ชั้นสูง ระบบเลือดปิด hemoglobin อยู่ในเม็ดเลือดแดง
แบ่งเป็น 7 class
1. C. Agnatha (Cyclostomata) ปลาปากกลม (ไม่มีขากรรไกร) บางตัวเป็นปรสิต มีแต่ครีบเดี่ยว ไม่มีเกล็ด
เช่น hagfish ,lamprey
@ ปากมีขากรรไกร คือ ปลากระดูกอ่อนและปลากระดูกแข็ง มีทั้งครีบคู่และครีบเดี่ยว มีเกล็ด ส่วนใหญ่อิสระ
2. C. Chondricthyes ปลากระดูกอ่อน ไม่มี operculum เห็นเหงือกชัดเจน ปากอยู่ด้านท้อง ไม่มี air bladder
เช่น ปลาฉลาม ปลาฉนาก ปลากระเบน ปลากระต่าย
3. C. Osteichthyes คือ ปลากระดูกแข็ง มี operculum เห็นเงือกไม่ชัด ปากอยู่ข้างหน้า มี air bladder
(กระเพาะปลา) ได้แก่ ปลาทั่วไป
4. C. Amphibia สัตว์สะเทินน้า/บก ผิวเปียกชื้น ไม่มีเกล็ด มี metamorphosis เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง
คางคก จงโคร่ง จิ้งจกน้า (salamander) งูดิน หมาน้า
5. C. Reptilia สัตว์เลื้อยคลาน ผิวแห้ง มีเกล็ดหรือกระดอง เช่น เต่า งู จระเข้ จิ้งจก ตุ๊กแก ตุ๊ดตู่ กิ้งก่า
ตัวเงินตัวทอง ไดโนเสาร์
6. C. Aves สัตว์ปีก มี feather มี metabolism สูง (air sac สารองอากาศหายใจ) กระดูกโพรงตัวเบา ลดรูป
อวัยวะ (ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ รังไข่ข้างเดียว) เช่น นก ไก่ เป็ด เพนกวิน บรรพบุรุษร่วม reptile
(archaeopteryx)
Free Powerpoint Templates
Page 63
P. Chordata
7. C. Mammalia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มี fur/hair เอกลักษณ์ คือ ต่อมน้านม ใบหู กล้ามเนื้อกระบังลม ต่อม
เหงื่อ กระดูกหู 3 ชิ้น (ค้อน ทั่ง โกลน) เม็ดเลือดแดงไม่มี nucleus (โตเต็มที่) ได้แก่ คน ลิง ช้าง ม้า วัว
ควาย แมว หมา แพะ วาฬ โลมา พะยูน ค้างคาว ฯลฯ
Vertebrate
Superclass Pisces Superclass Tetrapoda
Agnatha Chondrichthyes Osteichthyes Amphibia Retilia Aves Mammalia
ปากปากกลม ปลากระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง amphibian reptile สัตว์ปีก Mammal
ครีบเดี่ยว ทั้งครีบคู่และเดี่ยว รยางค์ 2 คู่
ไม่มี มีขากรรไกร
มีเฉพาะกระดูกอ่อน มีกระดูกแข็งเป็นหลัก
หัวใจ 2 ห้อง 3 ห้อง 4 ไม่สมบูรณ์* 4 ห้องสมบูรณ์
ไม่มีถุงน้าคร่า มีถุงน้าคร่า
เส้นประสาทสมอง 10 คู่ เส้นประสาทสมอง 12 คู่
สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น
Free Powerpoint Templates
Page 64
Free Powerpoint Templates
Page 65
Vertebrate
- การขับถ่าย ใช้ไตทั้งหมด ส่วนการหายใจ พวกปลาใช้เหงือก ,amphibian ตอนเด็กใช้ผิวหนังและเหงือก
พอโตใช้ผิวหนังและปอด ,reptile/aves/mammal ใช้ปอดที่มี alveolus
- สัตว์เลือดเย็น metabolismและอุณหภูมิร่างกาย แปรผันตามสิ่งแวดล้อม ≠ สัตว์เลือดอุ่น (ผกผัน/คงที่)
- การสืบพันธุ์ ปลาฉลามปฏิสนธิภายใน ปลากระดูกแข็งภายนอก (เว้น เข็ม สอด สร้อย หางนกยูง)
,amphibian ภายนอก ไข่วุ้นหุ้ม , reptile/aves ภายใน ไข่เปลือกหุ้ม ,
mammal ภายใน ออกลูกเป็นไข่หรือตัว ใช้จาแนก เป็น 3 ประเภท
1) ไข่ เรียก monotreme เช่น ตุ่นปากเป็ด ตัวกินมดมีหนาม (คล้ายเม่น)
2) ตัว แต่รกไม่แข็งแรง ลูกต้องอยู่ในกระเป๋าหน้าท้อง เรียก marsupial เช่น จิงโจ้ หมีโคอาล่า โอพอสซัม
3) ตัว ใช้รกแลกเปลี่ยนแก๊ส/อาหาร/ของเสียกับแม่ เรียก eutherian มีหลาย order เช่น Primate (ลิง)
Cetacean (วาฬ โลมา)
@ Order Primate แขนขายาว , 5 นิ้ว , เล็บแบนแนบเนื้อ ,หัวแม่มืองอเข้าอุ้มมือได้ สมองใหญ่ พฤติกรรม
ซับซ้อน แบ่ง 2 กลุ่ม
1) Prosimian ลิงบนต้นไม้ เช่น ลิงลม (นางอาย) ทาร์เซียร์
2) Anthropoid มี 2 กลุ่ม
2.1) ลิงมีหาง ได้แก่ ลิงโลกใหม่ (อายุเก่ากว่า) อยู่บนต้นไม้ ใช้หางห้อยโหนได้ อเมริกา เช่น ลิงสไปเดอร์
และลิงโลกเก่า (อายุใหม่กว่า) เริ่มหากินบนพิ้น ไม่ห้อยโหน แอฟริกา/เอเชีย เช่น ลิงแสม ลิงบาบูน
2.2) ลิงไม่มีหาง (ape) มี 4 ชนิด คือ ชะนี อุรังอุตัง กอริลล่า และชิมแพนซี
Free Powerpoint Templates
Page 66
Free Powerpoint Templates
Page 67
Kingdom Animalia
Free Powerpoint Templates
Page 68
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!
Free Powerpoint Templates
Page 69
Human Evolution
- Australopithecus afarensis (ป้าลูซี่ เก่าแก่สุด เอธิโอเปีย) ซึ่งสามารถใช้ชีวิตบนพื้นดิน สามารถเดินสองขา
และเดินสี่ขาได้ ต่างจากลิงชนิดอื่นที่ไม่สามารถเดินสองขาได้ สาเหตุของการปรับตัวให้เดินสองขาได้นั้นเป็น
เพราะ การเดินสองขานั้นสามารถยืดตัวให้สูงขึ้น สามารถมองเห็นพื้นที่ทุ่งได้ไกลมากขึ้น
- Paranthropus boisei มีน้าหนักประมาณ 68 กิโลกรัม และสวนสูงประมาณ 130 เซนติเมตร มีโอกาสในการ
เดินทาง ค้นพบและตั้งถิ่นฐานใหม่ ๆ ขึ้นทั่วทวีปแอฟริกา พละกาลังในการดารงชีวิตได้ไช้มากขึ้น ร่างกายจึงได้
แข็งแกร่ง มีขนาดลาตัวที่ใหญ่ขึ้น แต่ยังไม่ได้ฉลาดขึ้น ยังไม่สามารถจะเรียกว่ามนุษย์ได้
- สปีชี่ส์ที่พัฒนาต่อมาที่น่าจะมีความเป็นมนุษย์รุ่นแรกคือ Homo Ergaster ซึ่งเชื่อกันว่า เป็นมนุษย์ต้นแบบที่
วิวัฒนาการเป็นมนุษย์ไปอีกหลายสาย คือ Homo Habilis (อยู่ในแอฟริกา ใช้มือประดิษฐ์เครื่องมือและสัมพันธ์
เป็นสังคม) Homo Erectus (หินเก่า ใช้ไฟ ล่าสัตว์ พัฒนาสังคม) อาศัยอยู่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (มนุษย์
ปักกิ่งและมนุษย์ชวา) และแอฟริกาตะวันออก เมื่อ 1.5 ล้านปีมาแล้ว มีความเป็นมนุษย์เต็มตัวแล้ว
- มนุษย์ นีแอนเดอธัส (Homo Neanderthalensis) อาศัยอยู่ในยุโรปและตะวันออกกลาง เมื่อ 100,000 ปี
มาแล้ว เป็นสปีชี่ส์ที่ตัวใหญ่ที่สุด อาศัยอยู่ตามถ้า ล่าสัตว์เป็นหลัก
- โฮโมแซเปียนส์ (Homo Sapiens) สายพันธุ์มนุษย์ ในยุโรปและตะวันออกกลาง มีอายุเมื่อ 250,000 ปีมาแล้ว
ยังชีพด้วยการล่าสัตว์เป็นอาหาร โดยใช้อาวุธที่ได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้าขึ้น
Free Powerpoint Templates
Page 70

Contenu connexe

Tendances

ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
nang_phy29
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
Wann Rattiya
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
yangclang22
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 

Tendances (20)

ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 

En vedette

สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
Wichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
Wichai Likitponrak
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
Wichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
Wichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1
Wichai Likitponrak
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 

En vedette (20)

Energy flow1
Energy flow1Energy flow1
Energy flow1
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
Midterm1 m6 51
Midterm1 m6 51Midterm1 m6 51
Midterm1 m6 51
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2สอบกลางภาคชีวะ51 2
สอบกลางภาคชีวะ51 2
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
สอบปลายภาคชีวะ51 1m-5
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
Final1 m6 51
Final1 m6 51Final1 m6 51
Final1 m6 51
 
Cell
CellCell
Cell
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1สอบกลางภาคชีวะ51 1
สอบกลางภาคชีวะ51 1
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
 
Midterm2 m6 51
Midterm2 m6 51Midterm2 m6 51
Midterm2 m6 51
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1
 
Final 2 m6 51
Final 2 m6 51Final 2 m6 51
Final 2 m6 51
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 

Similaire à ม.6biodiver

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
krunidhswk
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
feeonameray
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
Wichai Likitponrak
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
Subaidah Yunuh
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
ssusera700ad
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
Wichai Likitponrak
 

Similaire à ม.6biodiver (20)

1
11
1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
1
11
1
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 

Plus de Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ม.6biodiver

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 Free Powerpoint Templates บทที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ รายวิชาชีววิทยา 5 (ว33245) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 ความหลากหลายทางชีวภาพ:
  • 3. Free Powerpoint Templates Page 3 ความหลากหลายทางชีวภาพ: ความหลากหลายทาง พันธุกรรมข้าวโพด
  • 4. Free Powerpoint Templates Page 4 4 สาเหตุของการเกิด ความหลากหลายทางพันธุกรรม • การคัดเลือกจากธรรมชาติ (natural selection) • การอพยพเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่อาศัย (migration) • การกลายพันธุ์ (mutation) • การปรับปรุงพันธุ์ (breeding of plant & animal) • พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) สาเหตุความหลากหลายของชนิดพันธุ์ - การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิศาสตร์ - การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร - การปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิศาสตร์และแหล่งอาหาร จนเกิดความแตกต่างทางรูปร่างสัณฐาน แยกกลุ่ม และผสมพันธุ์ภายในกลุ่ม
  • 5. Free Powerpoint Templates Page 5 การเกิดสปีชีส์ (Speciation) การที่สปีชีส์ดั้งเดิมแยกออกจากกันไปตาม สภาพภูมิศาสตร์ รูปร่างสัณฐาน ความสามารถของการผสมพันธุ์กัน ตลอดจน ความแตกต่างขององค์ประกอบทางพันธุกรรม
  • 6. Free Powerpoint Templates Page 6 ความหลากหลายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศบนบกระบบนิเวศในน้ำ
  • 7. Free Powerpoint Templates Page 7 ความสาคัญ ของความหลากหลายทางชีวภาพ
  • 8. Free Powerpoint Templates Page 8 8 การบริการให้ความรู้ การวิจัย การฝึกอบรม การอนุรักษ์
  • 9. Free Powerpoint Templates Page 9 ความหลากหลายทางชีวภาพ:
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10 เกณฑ์ทั่วไปในการจาแนกสิ่งมีชีวิต • การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตมีมาตั้งแต่อดีตเมื่อประมาณ 350 ปีก่อน คริสต์ศักราช • โดยนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้ • อริสโตเติล (Aristotle ) แบ่งสิ่งมีชีวิตเป็น 2 พวกคือ 1. พืช 2. สัตว์ • จอห์น เรย์ ( John Ray ) นักพฤกษศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่ใช้คาว่า สปีชีส์ ( Species )แบ่งพืชออกเป็น 2 กลุ่ม 1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว 2. พืชใบเลี้ยงคู่ • คาโรลัส ลินเนียส ( carolus Linnaeus ) นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดนจาแนก พืชมีดอกออกเป็นหมวดหมู่ โดยใช้จานวนเกสรตัวผู้และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของ สิ่งมีชีวิตเป็นคนแรกบิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธานสมัยใหม่
  • 11. Free Powerpoint Templates Page 11 ความหลากหลายทางชีวภาพ:
  • 12. Free Powerpoint Templates Page 12 ตัวอย่างการหมวดหมู่ของมนุษย์ 1 หมวดหมู่ Kingdom Animalia เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม ประกอบด้วย หลาเซลล์มีการแบ่งหน้าที่ของแต่ละเซลล์เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่างแบบถาวร ไม่มี คลอโรฟิลล์ สร้างอาหารเองไม่ได้ ดารงชีวิตได้หลายลักษณะทั้งบนบกในน้า และบางชนิด เป็นปรสิต อาณาจักรนี้ได้แก่สัตว์ทุกชนิด ตั้งแต่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจนถึงสัตว์ที่มีกระดูก สันหลัง 2 หมวดหมู่ Phylum Chordata ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีแกนลาตัว 3 หมวดหมู่ Class Mammalia ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีต่อมน้านม ขนสั้นเล็ก ๆ (hair) 4 หมวดหมู่ Order Primate ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีนิ้ว5นิ้ว ปลายนิ้วมีเส้นแบน นิ้วหัวแม่มือพับขวางกับนิ้วอื่นๆ 5 หมวดหมู่ Family Homonidaeลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ เดิน 2 ขา มีฟันเขี้ยวเล็กอยู่ ระดับเดียวกับฟันอื่น 6 หมวดหมู่ Genus Homo ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ สามารถประดิษฐ์เครื่องมือและ สะสมเครื่องมือไว้ 7 หมวดหมู่ Species sapiens sapiens ลักษณะสิ่งมีชีวิตในหมวดหมู่ มีความสามารถเชิง ศิลป์ วาดรูปไว้
  • 14. Free Powerpoint Templates Page 14 เกณฑ์การตั้งชื่อ ชื่อวิทยาศาสตร์ (ภาษาละติน) ส่วนใหญ่จะตั้งขึ้นตามลักษณะเฉพาะ, ถิ่นที่อยู่อาศัย ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ, ชื่อบุคคลที่ค้นพบ หรือตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลสาคัญๆ ตัวอย่างเช่น ดอกไม้ทะเล Stichodactyla gigantea ซึ่งเป็นหนึ่งในดอกไม้ทะเลที่มีขนาดใหญ่มาก ที่สุด (Gigantea = Giant = สิ่งทีมีขนาดใหญ่มาก), ปลาการ์ตูน Amphiprion chagosensis จะพบในเฉพาะบริเวณหมู่เกาะ Chagos ใน มหาสมุทอินเดีย ดอกไม้ทะเล S. haddoni เพื่อเป็นเกียรติแก่ Alfred C. Haddon นักสังคมศาสตร์ท่าน หนึ่ง ผู้ซึ่งสะสมและศึกษาดอกไม้ทะเลเป็นงานอดิเรก
  • 15. Free Powerpoint Templates Page 15 เลขทะเบียน : 7-53000-001-0133 ชื่อทั่วไป : พริกขี้หนู ชื่อสามัญ : Bird Chilli ชื่อพื้นเมือง : พริกขี้หนู (กลาง) ; พริกแด้ , พริกนก (เหนือ) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capsicum frutescens L. var. frutescens ชื่อวงศ์ : SOLANACEAE
  • 16. Free Powerpoint Templates Page 16 เกณฑ์ที่ใช้จาแนกสิ่งมีชีวิต 1. ลักษณะโครงสร้างภายในและภายนอก แบ่งเป็น homologous structure กับ analogous stucture เช่น ครีบของปลากับครีบของปลาวาฬ ,ปีกของนกกับแขนของมนุษย์ 2. ลักษณะแบบแผนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา นก กบ และคน ในระยะตัวอ่อนจะมีลักษณะช่องเหงือกที่คล้ายคลึงกัน 3. ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต (Fossil) เทอราโนดอล กับ อาร์คีออปเทอรริกซ์ มี ขากรรไกรยาวมีฟันปลายปีกมีนิ้วคล้ายคลึงกันจึงจัดนกและสัตว์เลื้อยคลานไว้เป็นพวกใกล้เคียงกัน 4. ลักษณะโครงสร้างและสารเคมีภายในเซลล์เช่น คลอโรพลาสต์ มีในเซลล์พืชแต่ไม่มีในเซลล์สัตว์ เซนทริโอล และไลโซโซมพบในเซลล์สัตว์เท่านั้น 5. ลักษณะพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต เช่น จิงโจ้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่มีเฉพาะทวีป ออสสเตรเลีย แต่มีกระเป๋าหน้าท้องจึงจัดอยู่ในกลุ่มกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมในทวีปอื่นๆ
  • 18. Free Powerpoint Templates Page 18 ความหลากหลายทางชีวภาพ :
  • 19. Free Powerpoint Templates Page 19 บรรยากาศเทียม CH4 H2 NH3 H2O คอนเดนเซอร์ การทดลองของมิลเลอร์ใน ห้องปฏิบัติการโดยใช้ บรรยากาศเทียม กาเนิดสิ่งมีชีวิต :
  • 20. Free Powerpoint Templates Page 20 กาเนิดสิ่งมีชีวิต : Prokaryote Eukaryote Symbiosis
  • 21. Free Powerpoint Templates Page 21 ความหลากหลายทางชีวภาพ: การจาแนกสิ่งมีชีวิตนั้น นักอนุกรมวิธานอาจจัดให้อยู่ใน 3 domain หรือ 5 kingdom ก็ได้ domain Archaea Bacteria Eukarya Kingdom monera Protista Fungi Plantae Animalia ได้แก่ แบคทีเรีย โบราณ แบคทีเรียและ ไซยาโน แบคทีเรีย โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ พืช สัตว์ Cell Prokaryotic Eukaryotic Tissue ไม่มี มี Embryo ไม่มี มี Cell wall มีแต่ไม่เป็น peptidoglyc an ถ้ามีจะเป็น peptidoglyc an มีในสาหร่าย เกิดจากสาร แตกต่างกัน มีเป็นสาร chitin มีเป็นสาร cellulose ไม่มี
  • 23. Free Powerpoint Templates Page 23 ความหลากหลายทางชีวภาพ:
  • 25. Free Powerpoint Templates Page 25 ความหลากหลายทางชีวภาพ:
  • 26. Free Powerpoint Templates Page 26 ความหลากหลายทางชีวภาพ:
  • 27. Free Powerpoint Templates Page 27 ความหลากหลายทางชีวภาพ: ไวรัสและไวรอยด์ - ไม่เป็นเซลล์ (ไวรัส : capsid + DNA/RNA , ไวรอยด์ : DNA - Obligate intracellular parasite - ไวรัสก่อโรคในคน = ไข้หวัด ,ไข้หวัดใหญ่ ,โปลิโอ ,ชิคุนกุนยา ,ตัวอักเสบ ,ปอดบวม ,พิษสนัขบ้า , งูสวัด ,เริม ,ไข้เลือดออก ,ไข้เหลือง ,ไข้ทรพิษ ,หัด ,หัดเยอรมัน ,คางทูม ,เอดส์ ,ไข้หวัดนก ,ไข้หวัด ใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ,ไข้หวัด SARS / ในพืช = ใบด่างของยาสูบและถั่วลิสง ใบหงิกของพริก - ไวรัสที่พบในแบคทีเรีย = bacteriophage / phage - ไวรอยด์เป็นปรสิตในพืช
  • 28. Free Powerpoint Templates Page 28 Kingdom Monera - Prokaryote ,อาจมี/ไม่มีผนังเซลล์ก็ได้ (peptidoglycan) ,อาจอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวหรือ colony หรือ filament - โครโมโซมแท่งเดียวไม่มี histone และใน cytosal อาจพบ plasmid (ดารงชีวิตสภาวะฉุกเฉิน) - รูปร่าง = coccus / bacillus / spirillum - บางชนิดสร้าง capsule : edospore (ไม่จัดเป็นการสืบพันธุ์แต่ทนต่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม) - ผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรีย : นมเปรี้ยว โยเกิร์ต น้าส้มสายชู เนยแข็ง ปลาร้า ปลาส้ม ผักดอง - โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย : คอตีบ ไอกรน บาคทะยัก หนองใน ไทฟอยด์ (ไข้รากสาดน้อย) ซิฟิลิส อหิวาตกโรค บิดไม่มีตัว วัณโรค เรื้อน ปอดบวม - มีความหลากหลายของ metabolism มากที่สุด - Photoautotroph เช่น purple sulfur bacteria ,green sulfur bacteria (ได้กามะถัน) , cyanobacteria (ได้ออกซิเจน) - Chemoautotroph เช่น nitrifying bacteria - Heterotroph : decomposer / parasite - บางชนิดตรึงไนโตรเจนได้ : Rhizobium (รากถั่ว) ,Azotobacter ,Nostoc (รากปรง) ,Anabaena (แหนแดง) ,Oscillatoria
  • 29. Free Powerpoint Templates Page 29 Kingdom Monera แบ่งออกเป็น 2 อาณาจักรย่อย - Archaeabacteria = แบคทีเรียโบราณ อาศัยในสิ่งแวดล้อมสุดโต่ง ผนังเซลล์ไม่เป็น peptidoglycan 1. Euryarchaeota = พวกสร้างแก๊สมีเทน/พวกชอบความเค็มจัด 2. Crenarchaeota = พวกชอบอุณหภูมิสูงจัด / พวกชอบกรดจัด - Eubacteria มีการดารงชีวิตและ metabolism หลากหลายทีสุด ผนังเซลล์เป็น peptidoglycan 1. พวกแกรมบวก (สี crystal violet) เช่น Lactobacillus (สร้าง lactic acid) ,Streptomyces (ยาปฏิชีวนะ streptomycin) ,Bacillus (แอนแทรกซ์ : endospore) Mycoplasma (เล็กสุด ไม่มีผนังเซลล์ บางชนิดก่อโรคปอดบวม) 2. พวกแกรมลบ (สี safranin) มีหลายกลุ่มได้แก่ - Proteobacteria มากสุด เช่น purple sulfur bacteria ,rhizobium - Chlamydias ก่อโรคทางเพศสัมพันธ์ เช่น หนองในหรือโกโนเรีย - Spirochetes ก่อโรคซิฟิลิสและฉี่หนู - cyanobacteria หรือสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน สังเคราะห์แสงได้ (pigment) เช่น Nostoc ,Anabaena ,Oscillatoria ,spirulina (สาหร่ายเกลียวทองมีโปรตีนสูง) ,Mycrocystic (หลั่งสาร hydroxylamine ทาให้น้าเสีย)
  • 30. Free Powerpoint Templates Page 30 Kingdom Monera
  • 31. Free Powerpoint Templates Page 31 Kingdom Protista -Eukaryote ที่คล้ายสัตว์ (โพรโทซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย) คล้ายฟังไจ (ราเมือก) - โพรโทซัว 1. Diplomonadida : eukaryote ชั้นต่า ไม่มี organelle มี flagellum หลายเส้น มี 2 นิวเคลียส เช่น Giardia (ปรสิตลาไส้คน) 2. Parabasala : eukaryote ชั้นต่า ไม่มี organelle มี flagellum 2 เส้น เยื่อหุ้มเซลล์เป็นลอน เช่น Trichonympha (ลาไส้ปลวก : mutualism ย่อย cellulos) ,Trichomonas (ติดเชื้อในช่องคลอด) 3. Euglenozoa : พวกเคลื่อนที่โดย flagellum เช่น Euglena (eyespot+chloroplast) ,Trypanosoma (ปรสิตโรคเหงานหลับ) 4. Alveolar : พวก alveoIi (ช่องเล็กๆใต้เยื่อหุ้มเซลล์) - Dinoflagellate มี 2 flagellum (ขี้ปลาวาฬ/red tide : ทะเลเป็นพิษสัตว์น้าตาย) - Apicomplexa ปรสิตมี organelle แทงโฮสต์ ไม่มี organelle เคลื่อนที่ (sporozoa) เช่น Plasmodium (มาลาเรีย/ไข้จับสั่น) มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ - Ciliate ใช้ cilia เคลื่อนที่ มีความหลากหลายมาก เช่น paramecium ,vorticella ,stentor 5. Rhizopoda : พวกเคลื่อนที่โดย psuedopodium เช่น amoeba ,entamoeba ที่สาคัญ E. histolyca (โรคบิดมีตัว) E. gingivalis (ช่วยกินแบคทีเรียบริเวณฟัน) ระวัง!!! E. coli /Escherichia coli เป็นแบคทีเรียช่วยสร้างวิตามินในลาไส้ใหญ่คน
  • 32. Free Powerpoint Templates Page 32 Kingdom Protista - สาหร่าย เป็นผู้ผลิตกาลังสูงสุดในโลก มีรงควัตถุสังเคราะห์แสงชนิดต่างๆบรรจุใน chloroplast 1. Stramenopila : เซลล์สืบพันธุ์มี 2 flagellum (เส้นหนึ่งมีขนอีกเส้นไม่มี) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม • สาหร่ายสีน้าตาล มีสาร algin โครงสร้างซับซ้อนน้อยสุด เช่น Padina ,Laminaria ,Fucus (ทั้ง 3 ชนิดมี K สูง) ,Sagussum (สาหร่ายทุ่น มี I สูง) ,Kelp (ขนาดใหญ่ที่สุด) • Diatom เซลล์เดียว ผนังเซลล์เป็น 2 ฝาประกบกัน (ซิลิกา) เมื่อตายทับถม เรียก diatomamaceous earth (ขุดใช้ในอุตสาหกรรมขนาดกลาง : เครื่องแก้ว ยาขัดโลหะ ยาสีฟัน) 2. Rhodophyta : สาหร่ายสีแดง ไม่พบระยะที่มี flagellum มีสาร agar ,carageenan (สกัด ทาวุ้น) เช่น Porphyra (จีฉ่าย ,โนริ : ทาอาหาร) ,Gracillaria (สาหร่ายผมนาง : ผลิตวุ้น) 3. Chlorophyta : สาหร่ายสีเขียว เช่น Chlorella ,Scenedesmus (ทั้งคู่โปรตีนสูง) Spirogyra (เทาน้า : ทาอาหาร) Acetabularia (ศึกษานิวเคลียส) Volvox (colony กลม) Chlamydomonas ,Chara (สาหร่ายไฟ : ใกล้ชิดพืชมากที่สุด)
  • 33. Free Powerpoint Templates Page 33 Kingdom Protista - ราเมือก (กลุ่ม mycetozoa) - ต่างจากฟังไจตรงที่กินแบบ phagocytosis และเคลื่อนที่ได้ - เป็น decomposer เช่น Stemonitis , - Physarum (ปรสิตในพืช) เช่น Plasmodiophora (รากโป่งในกะหล่าปลี) - มี 2 แบบ คือ 1. Plasmodial slime mold ก้อนหยึยๆ หลายนิวเคลียส คืบคลานหาอาหาร 2. Cellular slime mold เซลล์เดี่ยว อยู่อิสระ มี 1 นิวเคลียส
  • 34. Free Powerpoint Templates Page 34 Kingdom Fungi - คือพวกเห็ด รา ยีสต์ มีความใกล้ชิดกับสัตว์มากกว่าพืช เป็น decomposer สาคัญในระบบนิเวศ - eukaryote ที่มี hypha และ mycelium (หน้าที่หลั่งน้าย่อยและดูดซึม หรืออาจเปลี่ยนเป็น อวัยวะกระจายสปอร์/fruiting body) - ผนังเซลล์เป็นสาร chitin ,สังเคราะห์แสงไม่ได้ - ดารงชีวิตทั้งแบบ saprophytism (ย่อยสลาย) parasitism , mutualism (พึ่งพา) - สร้างสปอร์ 2 ชนิด : sexual spore (meiosis) , asexual spore (mitosis) - บางชนิดสร้างได้แต่ asexual spore เท่านั้น = fungi imperfecti (Penicillium ,Aspergillus) - ราแดง (ข้าวแดงและเต้าหู้ยี้) Penicillium (penicillin) Aspergillus flavus (aflatoxin : liver cancer) Aspergillus niger (citric acid) Rhizopus nigricans (fumaric acid) ยีสต์ (anaerobic respiration  EtOH + CO2 : หมักเหล้า ไวน์ ขนมปังฟู) การหมักซีอิ้ว/ เต้าเจี้ยว/ถั่วหมัก - ก่อโรคในสัตว์ = กลาก เกลื้อน ง่ามเท้าเปื่อย / พืช = ราสนิม ราเขม่าดา ราน้าค้าง โรคใบไหม้
  • 35. Free Powerpoint Templates Page 35 Kingdom Fungi - ไลเคนส์ เช่น ฝอยลม ฟองหิน (mutualism : ascomycete/basidiomycete + สาหร่าย สีเขียว/สีเขียวแกมน้าเงิน) เป็นดัชนีวัดอากาศ (ไม่ขึ้นที่อากาศเป็นพิษ) /สิ่งมีชีวิตบุกเบิก (กร่อนหินได้) - ไลเคนส์ แบ่ง 3 ประเภท crustose (แผ่นบนหิน) foliose (ใบไม้แผ่นบาง) fruticose (ฝอยฟู) - เราใช้ sexual spore เป็นเกณฑ์ในการจาแนก 4 phylum 1. Chytridomycota : พวก chytid (เป็นชนิดเดียวที่ sex cell และ spore มี flagellum) สันนิษฐานว่าวิวัฒนาการมาจาก protist 2. Zygomycota เช่น ราดา (rhizopus) บนขนมปัง : hypha ไม่มีผนังกั้น สร้าง zygospore 3. Ascomycota มีจานวนมากสุด เช่น ยีสต์ โมเรล ทรัฟเฟิล ราแดง : hypha มีผนังกั้น สร้าง ascospore ในถุง ascus (ยีสต์ เป็น unicellular ไม่มี hypha ,budding หรือ meiosis) 4. Basidiomycota เช่น เห็ดต่างๆ ราสนิม/เขม่าดา/mycorrhiza (mutualism กับรากสน ช่วยดูดน้าและแร่ธาตุ : hypha มีผนังกั้น สร้าง basidiospore ใน fruiting body ขนาด ใหญ่ ส่วนใหญ่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
  • 36. Free Powerpoint Templates Page 36 Kingdom Fungi
  • 37. Free Powerpoint Templates Page 37 Kingdom Plantae พืชมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง (ผู้ผลิตอาหารในระบบนิเวศ : autotroph) มีประโยชน์ในด้านอื่น ,มากมาย แต่บางชนิดก็มีโทษ เช่น วัชพืชต่างๆ ทั้งหมดมีประมาณ 240,000 สปีชีส์ หรือมากกว่านี้ ซึ่งแพร่กระจายไปได้แทบทุกหนทุกแห่ง แตกต่างกันออกไปในแต่ละสภาพที่อยู่ หลักในการพิจารณาและจัดสิ่งมีชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรพืช 1. Eucaryotic cell มีการผสมพันธุ์ได้ Zygote  Embryo 2. ประกอบไปด้วยหลายเซลล์มารวมกันเป็น Tissue ทาหน้าที่เฉพาะอย่าง 3. ผนังเซลล์เป็นสารประกอบพวก Cellulose 4. มีคลอโรฟิลล์บรรจุอยู่ในเม็ด Chlorplast 5. โดยทั่วไปไม่เคลื่อนที่เองไม่ได้ แต่ในพืชหลายชนิดขณะเป็นเซลล์สืบพันธุ์เคลื่อนที่ได้ เช่น สเปิร์ม ของมอส เฟิน ฯลฯ เพราะมีแฟลเจลลา 6. มีวงจรชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) : sexual reproduction (Sporophyte) สลับกับ asexual reproduction (gametophyte)
  • 39. Free Powerpoint Templates Page 39 อาณาจักรพืช ได้แบ่งออกเป็น 10 ไฟลัม ดังนี้ พืช มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง มีเนื้อเยื่อลาเลียง P. Hepatophyta P. Anthocerophyta P. Bryophyta P. Lycophyta P. Pterophyta ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด P. Cycadophyta P. Ginkgophyta P. Coniferophyta P. Gnetophyta P. Anthophyta
  • 40. Free Powerpoint Templates Page 40 ความหลากหลายทางชีวภาพ:
  • 41. Free Powerpoint Templates Page 41 พืชที่ไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง
  • 42. Free Powerpoint Templates Page 42 พืชที่มีเนื้อเยื่อลาเลียง (tracheophyta)
  • 43. Free Powerpoint Templates Page 43 พืชที่ไม่มีเมล็ด
  • 44. Free Powerpoint Templates Page 44 พืชที่มีเนื้อเยื่อลาเลียง (tracheophyta)
  • 45. Free Powerpoint Templates Page 45 พืชดอก Dicot Monocot ใบเลี้ยง 2 ใบ 1 ใบ เส้นใบ ร่างแห ขนาน ราก แก้ว ฝอย ท่อลาเลียงในราก เรียงตัวเป็นแฉก เรียงตัวเป็นวงกลม ท่อลาเลียงในลาต้น เรียงเป็นวงอย่างมีระเบียบ จัดเป็นกลุ่มกระจัดกระจาย Cambium มี ขยายขนาดด้านข้างได้ ไม่มี สูงขึ้นอย่างเดียว จานวนกลีบดอก 4X .5X 3X วิวัฒนาการ ต่ากว่าคล้าย gymnosperm สูงกว่า
  • 46. Free Powerpoint Templates Page 46 พืชที่มีเมล็ด
  • 47. Free Powerpoint Templates Page 47 Kingdom Animalia - ต้องมีเนื้อเยื่อและเอ็มบริโอ ,muticellular ,consumer ,มี collagen เป็นโปรตีน conective tissue , จานวนมากสุด 3 ไฟลัมแรก คือ Arthropoda > Mollusca > Chordata - เกณฑ์ที่ใช้จาแนก 9 ข้อ 1. Germ layer ในระยะตัวอ่อน 3 ชั้น = ectoderm / mesoderm /endoderm - ไม่มี คือ ฟองน้า / 2 ชั้น (ecto/endo) คือ cnidarian /3 ชั้น คือ ที่เหลือ 2. Coelom คือ ช่องตัว - ไม่มี คือ ฟองน้า cnidarian หนอนตัวแบบ / psuedocoelom (endo/meso) คือ หนอนตัว กลม / eucoelom (meso/meso) คือที่เหลือ 3. สมมาตรร่างกาย (symmetry) - ไม่มี เช่น ฟองน้า /รัศมี เช่น cnidarian /ด้านข้าง คือที่เหลือ 4. ปล้องลาตัว (segmentation,metamerism) - พบเฉพาะ annelida arthropod และ chordate 5. ระบบทางเดินอาหาร (digestive tract) - ไม่มี คือ ฟองน้า พยาธิตัวตืด / ไม่สมบูรณ์ (1 รู) cnidarian หนอนตัวแบน (เว้นตัวตืด) / สมบูรณ์ (2 รู : ปากและทวารหนัก) คือ ที่เหลือ
  • 48. Free Powerpoint Templates Page 48 Kingdom Animalia 6. การเจริญของ blastopore (พบเฉพาะสมมาตรด้านข้าง) : รูที่เกิดในระยะเอ็มบริโอ (blastula) - Protostomia ปากเกิดก่อน ได้แก่ หนอนตัวกลม หนอนตัวแบน annelid mollusk arthropod - Dueterostome ทวารหนักเกิดก่อน ได้แก่ echinoderm chordate 7. การเจริญของตัวอ่อน (พบในสัตว์ที่เป็น protostomia) - แบบ trochophore ตัวอ่อนมี cilia ว่ายน้าได้ ได้แก่ หนอนตัวแบน mollusk annelid - แบบ ecdysozoa ตัวอ่อนมีการลอกคราบขณะเจริญเติบโต ได้แก่ หนอนตัวกลม และ arthropod 8. ระบบประสาท (Nervous system) - ไม่มี คือ ฟองน้า /ร่างแห คือ cnidarian / มีส่วนกลาง+dorsal nerve cord คือ chordate / มี ส่วนกลาง+ventral nerve cord คือ ที่เหลือ 9. ระบบหมุนวียนโลหิล (circulatory system) - ไม่มี คือ ฟองน้า cnidarian หนอนตัวแบน หนอนตัวกลม / ระบบเปิด (hemolymph ใน hemocoel) คือ mollusk (ยกเว้นหมีก) arthropod echinoderm chordateชั้นต่า (เพรียงหัวหอม ,amphioxus) / ระบบปิด (blood vessel) ได้แก่ annelid mollusk (พวกหมึก) chordate ชั้นสูง (vertebrate)
  • 50. Free Powerpoint Templates Page 50 Kingdom Animalia มี germ layerไม่มี germ layer สัตว์ มีเนื้อเยื่อและเอมบริโอ 2 ชั้น/radial 3 ชั้น/bilateral acoelom pseudocoelom eucoelom blastopore ปล้องลาตัว ทางเดินอาหาร ระบบประสาท Proto(trocho) Proto(trocho) Proto(ecdy)Proto(ecdy) deutero มีมีมี ไม่มี ไม่สมบูรณ์ สมบูรณ์ ไม่มี Nerve net Ventral nerve cord Dorsal Por Cni NemaPlaty Anna Mol Artho Echi Chord
  • 51. Free Powerpoint Templates Page 51 9 Phylum of Kingdom Animalia 1. P. Porifera คือ พวกฟองน้า มี ostia (น้าเข้า) และ osculum (น้าออก) , mesohyl (ชั้นวุ้น กลาง) , collar cell/choanocyte (ดักจับ/ย่อยอาหาร) ,amoebocyte (ย่อย/ขนส่ง สารอาหารและสร้าง spicule) จาแนกตามชนิด spicule ได้แก่ ฟองน้าถูตัว (spongin) ฟองน้า หินปูน (CaCO3) และฟองน้าแก้ว (ซิลิกา)
  • 52. Free Powerpoint Templates Page 52 9 Phylum of Kingdom Animalia 2. P. Cnidaria เช่น ไฮดรา ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน โอบิเลีย , nematocyst (เข็ม พิษในเซลล์ cnidocyte บน tentacle) , 2 รูปร่าง = polyp และ medusa (metagenesis : วงชีพแบบสลับ) ,gastrovascular cavity , 2 ชั้น (กลาง : mesoglea ,มี gland cell (ย่อย นอกเซลล์) และ nutritive cell (ย่อยในเซลล์)
  • 53. Free Powerpoint Templates Page 53 9 Phylum of Kingdom Animalia 3. P. Platyhelminthes คือ พวกหนอนตัวแบน มีทั้งอิสระ (พลานาเรีย) และปรสิต (พยาธิใบไม้/ ตัวตืด) ตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร พลานาเรียเกิด regeneration ได้ , flame cell ขับถ่าย และ ส่วนใหญ่เป็น monoecious
  • 54. Free Powerpoint Templates Page 54 9 Phylum of Kingdom Animalia 4. P. Nematoda คือ หนอนตัวกลม มีทั้งอิสระ (หนอนในน้าส้มสายชู) ปรสิตในคน (พยาธิต่างๆ) ปรสิตในพืช (ไส้เดือยฝอย) ,ไม่มีเลือดแต่ใช้การหมุนเวียนของเหลวใน pseudocoelom , excretory canal ,มักมี cuticle ห่อหุ้ม และ diecious
  • 55. Free Powerpoint Templates Page 55 9 Phylum of Kingdom Animalia 5. P. Annelida คือ หนอนมีปล้อง (หนอนเจริญสุด) ระบบเลือดปิดสีแดง (hemoglobin) ลาตัวเป็น ปล้องมีเยื่อกั้น (septa) ส่วนใหญ่เป็น monoecious ,metanephridia ,ผิวหนังหายใจ ,pseudoheart (หลอดเลือดส่วนหัว) ตัวอย่างเช่น ไส้เดือน (setae เคลื่อนที่) ไส้เดือนทะเลหรือ แม่เพรียง (setae และ parapodia : เคลื่อนที่และหายใจ) ปลิงน้าจืด (ไม่มีเดือย) ตัวสงกรานต์ ทากดูดเลือด @ ตัวไหนดูดเลือดได้จะปล่อยสาร hirudin (เลือดไม่แข็งตัวคล้าย heparin ของเม็ดเลือดขาว)
  • 56. Free Powerpoint Templates Page 56 9 Phylum of Kingdom Animalia 6. P. Mollusca ร่างกาย 3 ส่วน คือ เท้า ตัวอ่อนนุ่ม และ mantle (ชั้นปกคลุมซึ่งสร้างเปลือกหินปูน) ,kidney ,gill เช่น ทาก ลิ่นทะเล (chiton สัตว์โบราณ) หอยฝาเดียว (asymmetry เช่น หอย เต้าปูน) หอยสองฝา (bilateral ไม่มีหัว เช่น หอยแครง หอยแมลงภู่) หมึก หมึกยักษ์ และหอย งวงช้าง (ชั้นสูง เพราะเปลี่ยน tentacle เป็นเท้า ,ระบบเลือดปิด hemocyanin ,siphon , ประสาทเจริญดีสุดใน invert ,บางชนิด pen หรือลิ้นทะเล) @ หอยปากเป็ด ปมประสาทสมอง(cerebral ganglion) ปมประสาทที่อวัยวะภายใน(visceral ganglion) ปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion)
  • 57. Free Powerpoint Templates Page 57 9 Phylum of Kingdom Animalia 7. P. Arthropoda จานวนมากสุดในโลก exoskeleton (chitin) ,ระบบเลือดเปิด ,ร่างกาย 3 ส่วน (หัว+อก+ท้อง) หรือ 2 ส่วน (cephalothorax+ท้อง) หรือเป็นปล้องๆ ,ลอกคราบเป็นระยะ (ecdyzoa) แต่เฉพาะแมลง ส่วน crustacean จะมี metamorphosis จาแนกเป็น 6 class (จานวนหนวด/ขา) ได้แก่ 7.1 C. Arachnida เช่น แมงมุม แมงป่อง เห็บ ไรฝุ่น บึ้ง โดยร่างกายแบ่ง 2 ส่วน ,ใช้ book lung 7.2 C. Merostomata หรือแมงดาทะเล ร่างกายแบ่ง 2 ส่วน ,ใช้ book gill 7.3 C. Insecta หรือแมลง เหา หมัด ร่างกาย 3 ส่วน ระบบท่อลม ,Malpighian tubule เลือดไม่ใช้ลาเลียงแก๊ส (ไม่มีสี) 7.4 C. Chilopoda หรือพวก centipede เช่น ตะขาบ ตะเข็บ ร่างกายเป็นปล้อง มีพิษ ใช้ท่อลม 7.5 C. Diplopoda หรือพวก millipede เช่น กิ้งกือ กระสุนพระอินทร์ ชอบที่เน่าๆ ร่างกายเป็นปล้อง ใช้ท่อลม 7.6 C. Crustacea เช่น กุ้ง กั้ง ปู เหาไม้ ไรแดง ไรน้า ตัวกะปิ เพรียงหิน จักจั่นทะเล ร่างกาย 2 ส่วน สาคัญทาง เศรษฐกิจ เลือดสีฟ้า (hemocyanin) green gland (หัวกุ้ง) และมีมันกุ้ง (สร้างน้าย่อย) Arthropod ไม่มีหนวด มีหนวด มีหนวด 2 คู่และขา มีหนวด 1 คู่ มี 8 ขา มี 10 ขา มี 6 ขา มีมากกว่า 6 ขา ขาปล้องละ 1 คู่ ขาปล้องละ 2 คู่ C. Arachnida C. Merostomata C. Insecta C. Chilopoda C. Diplopoda C. Crustacea
  • 59. Free Powerpoint Templates Page 59 9 Phylum of Kingdom Animalia 8. P. Echinodermata สัตว์ทะเลทั้งหมด เช่น ดาวทะเล เม่นทะเล อีแปะทะเล พลับพลึงทะเล embryo (bilateral) พอโต (radial) ผิวบางหุ้มโครงร่างแข็งหินปูนภายใน ,water vascular system (ลาเลียงสาร : isotonic ต่อทะเล) , tube feet (เคลื่อนที่ จับเหยื่อ หายใจ) ส่วน ใหญ่ใช้ gill (ปลิงทะเล : respiratory tree ,nerve ring
  • 60. Free Powerpoint Templates Page 60 9 Phylum of Kingdom Animalia 9. P. chordata ต้องมีลักษณะทั้ง 4 อย่างน้อยช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต - Dorsal nerve cord (ectodrem) สมองและไขสันหลัง - Notochord (โครงร่างกาย) ส่วนใหญ่จะมีกระดูกสันหลังมาแทนที่เมื่อโตขึ้น - Pharygeal gill slit - Muscular tail @ สัตว์ที่มีลักษณะทั้ง 4 ตลอดชีวิต คือ ปลาปากกลม กับ amphioxus แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ Portochordate กับ Vertebrate • Protochordate : ชั้นต่า ไม่มีกระดูกสันหลัง ระบบเลือดเปิด แบ่งเป็น 1) Urochordate เช่น เพรียงหัวหอม (tunicate) มีสารคล้าย cellulose ปกปคลุม (tunic) ตอน เด็กครบ 4 โตมาเหลือแต่ gill slit 2) Cephalochordate เช่น amphioxus หรือที่ปัจจุบันเรียก lancelet
  • 61. Free Powerpoint Templates Page 61 เพรียงหัวหอม amphioxus
  • 62. Free Powerpoint Templates Page 62 P. Chordata • Vertebrate (สัตว์มีกระดูกสันหลัง) : ชั้นสูง ระบบเลือดปิด hemoglobin อยู่ในเม็ดเลือดแดง แบ่งเป็น 7 class 1. C. Agnatha (Cyclostomata) ปลาปากกลม (ไม่มีขากรรไกร) บางตัวเป็นปรสิต มีแต่ครีบเดี่ยว ไม่มีเกล็ด เช่น hagfish ,lamprey @ ปากมีขากรรไกร คือ ปลากระดูกอ่อนและปลากระดูกแข็ง มีทั้งครีบคู่และครีบเดี่ยว มีเกล็ด ส่วนใหญ่อิสระ 2. C. Chondricthyes ปลากระดูกอ่อน ไม่มี operculum เห็นเหงือกชัดเจน ปากอยู่ด้านท้อง ไม่มี air bladder เช่น ปลาฉลาม ปลาฉนาก ปลากระเบน ปลากระต่าย 3. C. Osteichthyes คือ ปลากระดูกแข็ง มี operculum เห็นเงือกไม่ชัด ปากอยู่ข้างหน้า มี air bladder (กระเพาะปลา) ได้แก่ ปลาทั่วไป 4. C. Amphibia สัตว์สะเทินน้า/บก ผิวเปียกชื้น ไม่มีเกล็ด มี metamorphosis เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง คางคก จงโคร่ง จิ้งจกน้า (salamander) งูดิน หมาน้า 5. C. Reptilia สัตว์เลื้อยคลาน ผิวแห้ง มีเกล็ดหรือกระดอง เช่น เต่า งู จระเข้ จิ้งจก ตุ๊กแก ตุ๊ดตู่ กิ้งก่า ตัวเงินตัวทอง ไดโนเสาร์ 6. C. Aves สัตว์ปีก มี feather มี metabolism สูง (air sac สารองอากาศหายใจ) กระดูกโพรงตัวเบา ลดรูป อวัยวะ (ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ รังไข่ข้างเดียว) เช่น นก ไก่ เป็ด เพนกวิน บรรพบุรุษร่วม reptile (archaeopteryx)
  • 63. Free Powerpoint Templates Page 63 P. Chordata 7. C. Mammalia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มี fur/hair เอกลักษณ์ คือ ต่อมน้านม ใบหู กล้ามเนื้อกระบังลม ต่อม เหงื่อ กระดูกหู 3 ชิ้น (ค้อน ทั่ง โกลน) เม็ดเลือดแดงไม่มี nucleus (โตเต็มที่) ได้แก่ คน ลิง ช้าง ม้า วัว ควาย แมว หมา แพะ วาฬ โลมา พะยูน ค้างคาว ฯลฯ Vertebrate Superclass Pisces Superclass Tetrapoda Agnatha Chondrichthyes Osteichthyes Amphibia Retilia Aves Mammalia ปากปากกลม ปลากระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง amphibian reptile สัตว์ปีก Mammal ครีบเดี่ยว ทั้งครีบคู่และเดี่ยว รยางค์ 2 คู่ ไม่มี มีขากรรไกร มีเฉพาะกระดูกอ่อน มีกระดูกแข็งเป็นหลัก หัวใจ 2 ห้อง 3 ห้อง 4 ไม่สมบูรณ์* 4 ห้องสมบูรณ์ ไม่มีถุงน้าคร่า มีถุงน้าคร่า เส้นประสาทสมอง 10 คู่ เส้นประสาทสมอง 12 คู่ สัตว์เลือดเย็น สัตว์เลือดอุ่น
  • 65. Free Powerpoint Templates Page 65 Vertebrate - การขับถ่าย ใช้ไตทั้งหมด ส่วนการหายใจ พวกปลาใช้เหงือก ,amphibian ตอนเด็กใช้ผิวหนังและเหงือก พอโตใช้ผิวหนังและปอด ,reptile/aves/mammal ใช้ปอดที่มี alveolus - สัตว์เลือดเย็น metabolismและอุณหภูมิร่างกาย แปรผันตามสิ่งแวดล้อม ≠ สัตว์เลือดอุ่น (ผกผัน/คงที่) - การสืบพันธุ์ ปลาฉลามปฏิสนธิภายใน ปลากระดูกแข็งภายนอก (เว้น เข็ม สอด สร้อย หางนกยูง) ,amphibian ภายนอก ไข่วุ้นหุ้ม , reptile/aves ภายใน ไข่เปลือกหุ้ม , mammal ภายใน ออกลูกเป็นไข่หรือตัว ใช้จาแนก เป็น 3 ประเภท 1) ไข่ เรียก monotreme เช่น ตุ่นปากเป็ด ตัวกินมดมีหนาม (คล้ายเม่น) 2) ตัว แต่รกไม่แข็งแรง ลูกต้องอยู่ในกระเป๋าหน้าท้อง เรียก marsupial เช่น จิงโจ้ หมีโคอาล่า โอพอสซัม 3) ตัว ใช้รกแลกเปลี่ยนแก๊ส/อาหาร/ของเสียกับแม่ เรียก eutherian มีหลาย order เช่น Primate (ลิง) Cetacean (วาฬ โลมา) @ Order Primate แขนขายาว , 5 นิ้ว , เล็บแบนแนบเนื้อ ,หัวแม่มืองอเข้าอุ้มมือได้ สมองใหญ่ พฤติกรรม ซับซ้อน แบ่ง 2 กลุ่ม 1) Prosimian ลิงบนต้นไม้ เช่น ลิงลม (นางอาย) ทาร์เซียร์ 2) Anthropoid มี 2 กลุ่ม 2.1) ลิงมีหาง ได้แก่ ลิงโลกใหม่ (อายุเก่ากว่า) อยู่บนต้นไม้ ใช้หางห้อยโหนได้ อเมริกา เช่น ลิงสไปเดอร์ และลิงโลกเก่า (อายุใหม่กว่า) เริ่มหากินบนพิ้น ไม่ห้อยโหน แอฟริกา/เอเชีย เช่น ลิงแสม ลิงบาบูน 2.2) ลิงไม่มีหาง (ape) มี 4 ชนิด คือ ชะนี อุรังอุตัง กอริลล่า และชิมแพนซี
  • 67. Free Powerpoint Templates Page 67 Kingdom Animalia
  • 68. Free Powerpoint Templates Page 68 “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!
  • 69. Free Powerpoint Templates Page 69 Human Evolution - Australopithecus afarensis (ป้าลูซี่ เก่าแก่สุด เอธิโอเปีย) ซึ่งสามารถใช้ชีวิตบนพื้นดิน สามารถเดินสองขา และเดินสี่ขาได้ ต่างจากลิงชนิดอื่นที่ไม่สามารถเดินสองขาได้ สาเหตุของการปรับตัวให้เดินสองขาได้นั้นเป็น เพราะ การเดินสองขานั้นสามารถยืดตัวให้สูงขึ้น สามารถมองเห็นพื้นที่ทุ่งได้ไกลมากขึ้น - Paranthropus boisei มีน้าหนักประมาณ 68 กิโลกรัม และสวนสูงประมาณ 130 เซนติเมตร มีโอกาสในการ เดินทาง ค้นพบและตั้งถิ่นฐานใหม่ ๆ ขึ้นทั่วทวีปแอฟริกา พละกาลังในการดารงชีวิตได้ไช้มากขึ้น ร่างกายจึงได้ แข็งแกร่ง มีขนาดลาตัวที่ใหญ่ขึ้น แต่ยังไม่ได้ฉลาดขึ้น ยังไม่สามารถจะเรียกว่ามนุษย์ได้ - สปีชี่ส์ที่พัฒนาต่อมาที่น่าจะมีความเป็นมนุษย์รุ่นแรกคือ Homo Ergaster ซึ่งเชื่อกันว่า เป็นมนุษย์ต้นแบบที่ วิวัฒนาการเป็นมนุษย์ไปอีกหลายสาย คือ Homo Habilis (อยู่ในแอฟริกา ใช้มือประดิษฐ์เครื่องมือและสัมพันธ์ เป็นสังคม) Homo Erectus (หินเก่า ใช้ไฟ ล่าสัตว์ พัฒนาสังคม) อาศัยอยู่ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (มนุษย์ ปักกิ่งและมนุษย์ชวา) และแอฟริกาตะวันออก เมื่อ 1.5 ล้านปีมาแล้ว มีความเป็นมนุษย์เต็มตัวแล้ว - มนุษย์ นีแอนเดอธัส (Homo Neanderthalensis) อาศัยอยู่ในยุโรปและตะวันออกกลาง เมื่อ 100,000 ปี มาแล้ว เป็นสปีชี่ส์ที่ตัวใหญ่ที่สุด อาศัยอยู่ตามถ้า ล่าสัตว์เป็นหลัก - โฮโมแซเปียนส์ (Homo Sapiens) สายพันธุ์มนุษย์ ในยุโรปและตะวันออกกลาง มีอายุเมื่อ 250,000 ปีมาแล้ว ยังชีพด้วยการล่าสัตว์เป็นอาหาร โดยใช้อาวุธที่ได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้าขึ้น