SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 1.
วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ หมายถึง (มีชีวิตและไม่มีชีวิต)
→ ประชากร → → ระบบนิเวศ →
ชีวนิเวศ (Biome) หมายถึง มเขตภูมิศาสตร์ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ
องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน อุณหภูมิ
องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา
ไบโอมแบ่งตามเขตภูมิศาสตร์ เช่น ไบโอมทะเลทราย ไบโอมป่าสน
ระบบนิเวศ = +
หมายถึง 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร หมายถึง
1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว
2. ผู้บริโภค = สามารถสร้างอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์
3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็นประโยชน์
แก่พืช ออกมา และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์
การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานในระบบนิเวศ ให้เป็นพลังงานเคมี (อาหาร)โดยกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง แ ในระบบนิเวศ (ห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร) แต่
พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% ( 90%จะถูกใช้ในกระบวนการดํารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน
และบางส่วนบริโภคไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ) จะมีการถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลําดับสูงสุด
ใ
จุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต แต่พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลาย
ท้าย
พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid)
ผู้บริโภคสูงสุด
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 2.
1. พีระมิดจํานวน
2. พีระมิดมวลชีวภาพ
3. พีระมิดของพลังงาน 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว
1. อุณหภูมิ
1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุม
จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ)
1.2 คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น
1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย
1.4 ปริมาณ O2 ทําให
2. แสง
2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร)
2.2 พฤติกรรมการดํารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว
2.3 การหุบบานของดอกไม้เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า
3.
3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น
3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น
4. ดิน
4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทําให้พืชเจริญเติบโต
4.2
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 3.
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 4.
การปรับตัว (Adaptation) การปรับตัวมี 3 แบบ
1. การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง (รูปร่าง) เช่น
1.1
1.2 จระเข้ผิวลําตัวเป็นเกล็ด
1.3 โกงกางและพืชป่าชายเลน จะ
1.4 ผักตบชวา มีกระเปาะเก็บอากาศ
2. การปรับตัวทางด้านสรีระ (การทํางานอวัยวะ) เช่น
2.1
2.2
2.3 หนูแกงการู อยู่ในทะเ จากเมแทบอลิซึม (คล้ายอูฐ)
3. การปรับตัวทางด้านพฤติกรรม (ลักษณะนิสัย)
3.1 สัตว์ทะเลทรายออกหากินในเวลากลางคืน 3.2
3.3 เป็นต่อการดํารงชีวิต
วัฏจักรสาร ร่างกายประกอบด้วยธาตุต่างๆ เช่น O, C, H, N, Ca, P, S (สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์)
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 5.
- วัฏจักรคาร์บอน พบในสารอินทรีย์ทุกชนิด และหมุนเวียนผ่านหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสงในรูปแก๊ส CO2
- วัฏจักรไนโตรเจน องค์ประกอบของโปรตีนใน
โดยมีการหมุนเวียนผ่านพืช สัตว์และจุลินทรีย์
- วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการหมุนเวียนสู่บรรยากาศ
- ความสําคัญ เช่น เป็นตัวกลางในการทําปฏิกิริยา
รักษาสมดุลของอุณหภูมิ
ประชากร หมายถึง
N = จํานวนประชากร A =
การแพร่กระจายประชากร ได้แก่
ปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ แสง และกรด-เบส
ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น แย่งปัจจัยในการดํารงชีวิต
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 6.
โครงสร้างประชากรของมนุษย์
แบบ ก ฐานกว้าง ยอดแหลม พบในกัวเตมาลา เคนยา ไนจีเรีย
แบบ ข รูปกรวย ปากแคบ เช่น อเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา ไทย
แบบ ค เช่น สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย อิตาลี
แบบ ง รูปดอกบัวตูม แสดงว่าประชากรลดลง เช่น สิงคโปร์ เยอรมัน สวีเดน ฮังการี บัลกาเรีย
= และจะหยุดลง
ไป/คงตัว = มี 2 แบบ
1. จาก (ผู้
บุกเบิก)
→ ไลเคน (Pioneer Species) → มอส ลิเวอร์เวิร์ต → ไม้พุ่ม → ไม้ยืนต้น →
2. จึงเกิดการ
หรือใหม่ เช่น เกิดไฟไหม้ป่า เกิดโรคระบาด ทําให้เสียสมดุล
ปัจจุบันป
เช่น ภาวะโลกร้อน โอโซนในอากาศถูกทําลาย มีสารพิษตกค้างในดิน
- ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ทวีคูณเปรียบเสมือนโลกอยู่ในสภาวะเรือนกระจก (ปรากฏการณ์เรือนกระจก)
1. (ดูดกลืนความร้อน)
2. การตัดไม้ทําลายป่า ทําให้เกิดการสะสมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
3. การทําลายโอโซนในบรรยากาศ ทําให้รังสีอัลตราไวโอเลตชนิด UVc
อันตราย สาเหตุเกิดจากสาร CFC
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 7.
เซลล์ คือ เซลล์ การศึกษาต้องใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงหรืออิเล็กตรอน
องค์ประกอบของเซลล์
1. ส่วนห่อหุ้ม 2 ชนิด
1.1 ผนังเซลล์ โครงสร้างหลัก คือ เซลลูโลส ทําให้คงรูปร่าง
มถ่วงของโลกได้
1.2 ในเซลล์พืชจะอยู่ถัดจากผนังเซลล์ โครงสร้างหลัก คือ สาร
พวกไขมันเรียงตัวเป็น 2
2. นิวเคลียส
2.1 ถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม โดยมีโครโมโซมเป็นแหล่งข้อมูลทางพันธุกรรม
2.2 ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน
2.3 ควบคุมการแบ่งเซลล์
3. ไซโทพลาซึม เช่น
3.1 ร่างแหเอนโดพลาซึม สังเคราะห์และลําเลียงโปรตีน และบางส่วนทํา
3.2 กอลจิคอมเพลกซ์ เก็บรวบรวมโปรตีนและไขมันมาจากร่างแห
3.3 ไรโบโซม สังเคราะห์โปรตีน คือ ร่างแหเอนโดพลาซึม ลอยอิสระในไซโทพลาซึม/ไมโท
คอนเดรียและคลอโรพลาสต์
3.4 ไมโทคอนเดรีย ผลิตสารพลังงานสูง คือ ATP ของเซลล์
3.5 พบเฉพาะเซลล์พืช
3.6 ไลโซโซม พบเฉพาะในเซลล์สัตว์
การลําเลียงสารผ่านเซลล์ เซลล์จําเป็นต้องรับและกําจัดสารเข้าและออกจากเซลล์
1. 1.1 การแพร่ 1.2 การออสโมซิส
1.3 การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต 1.4 การลําเลียงแบบใช้พลังงาน
2. 2.1 เอกโซไซโทซิส 2.2 เอนโดไซโทซิส
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 8.
- การแพร่ คือ
ระหว่างอนุภาค เช่น ออกซิเจนในถุงลมเข้าสู่
ธาตุอาหารจากดินเข้าสู่รากพืช
- การออสโมซิส คือ หรือจาก
สรุป คือ 1. หรือเทียบได้กับสารละลายโซเดียมคลอไรด์
0.85% ทําให้เซลล์คงสภาพ 2. เซลล์พืชเต่งทําให้พืชกางใบรับแสง
- การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต เป็นการลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ในทิศทางเดียวกับการแพร่แต่รวดเร็วกว่า
หลายเท่าตัว เช่น การลําเลียงกลูโคส
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 9.
- การลําเลียงแบบใช้พลังงาน
ATP จากเซลล์ เช่น ลา การ
: อยู่ในถุง (Vesicle) ได้แก่
1. เอกโซไซโทซิส เป็ ออ
เช่น
2. เอนโดไซโทซิส เป็นการลําเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์
ใช้ประโยชน์ต่อไป
@
กลไกการรักษาดุลยภาพ าสมดุลของร่างกาย
1.
= โครงสร้างในการควบคุม คือ ปากใบ (เซลล์คุม 2 เซลล์ประกบกันภายในมี
คลอโรพลาสต์จึงสังเคราะห์แสงได้และเกิดการออสโมซิส) เปิด : และ ปิด :
1. ความเข้มของแสงสูงสังเคราะห์ด้วยแสงมากปากใบเปิด
2. ถ้ามากปากใบปิด (ระเหยยาก)
3. ถ้าน้อยปากใบปิด (ลดการสูญเสีย)
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 10.
2. เช่น อะมีบา พารามีเซียม จะมีโครงสร้าง
คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล
สารภายในและป้องกันไม่ให้เซลล์แตก
3. กจากเซลล์
ตลอดเวลา (กระบวนการลําเลียงแบบใช้พลังงาน)
สํา จะกินอาหารจาก
ทะเลทําให้ได้รับเกลือแร่ในร่างกายเกินความจําเป็นจึง
ต้อง
4. 65%-70%
เสียดุลยภาพ ต่อกระบวนการต่างๆ ของร่างกาย คือ ไต
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 11.
ไตของคนมี 2 ข้าง อยู่ในช่องท้องบริเวณเอว
ทางท่อไตและเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ อปัสสาวะ ระกอบด้วย
หน่วยไต จํานวนมากประมาณ 1 ล้านหน่วย ประกอบด้วย โกลเมอรูลัส
การทํางานของไต เส้นเลือดแดง (ออกซิเจนและของเสีย)  โกลเมอรูลัส (พลาสมาผ่าน) โบว์แมนส์ แคปซูล
กรองมี ประโยชน์และของเสีย)  ท่อของหน่วยไต ( ะโยชน์
คลุมสู่กระแสเลือด)
สารกรองผ่านโกลเมอรูลัส แยกเป็นกลุ่ม
1. ได้แก่ ยูเรีย ยูริก ต้องกําจัดออกจากร่างกาย
2. แต่มีมากเกินไป เช่น
3. เช่น กลูโคส กรดอะมิโน โปรตีน จะไม่พบในปัสสาวะเพราะดูดกลับหมด
4. คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง
ในกระบวนการดูดกลับ จะใช้วิธีการแพร่ การออสโมซิสและการลําเลียงแบบใช้พลังงาน
1. เช่น เล่นกีฬา ทํางานหนัก ท้องเสีย จะทําให้เลือดข้น ความดัน-
2. โรคเบาหวาน ยทําให้โกลเมอรูลัสเสียสมบัติในการกรอง ทําให้พบอัลบูมินในปัสสาวะ
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 12.
3. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
4. เช่น ผักโขม ใบชะพลู แต่สามารถป้องกันได้โดยทานโปรตีน
5. ไตวาย ไม่สามารถทํางานได้ อาจมีสาเหตุจาก การสูญเสียเลือด/ของเหลวมาก
5. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกาย
ควบคุมโดยเอนไซม์ pH เช่น ในกระเพาะ (กรด) ลําไส้เล็ก
(เบส) ในร่างกายเกิดจากปฏิกิริยาของการหายใจ (กรด)
ไตมีบทบาทสําคัญในการรักษาความเป็นกรด-เบสของเลือด pH
ของ H+
และ NH+4
งลดความเป็นกรดของเลือด ได้แก่
โซเดียมไอออน (Na+
) และไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO-3
) ถ้า pH ของเลือดสูงเกินไปจะเกิดตรงกันข้าม
6. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย มีผลต่อการทํางานของเอนไซม์ เพราะโปรตีนจะเสียสภาพโดยปกติ
อุณหภูมิภายในร่างกายอยู่ระหว่าง 35.8-37.7 องศาเซลเซียส
จึงส่งผลกระทบต่อกระบวนการต่างๆ ในร่างกาย
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ศูนย์กลางควบคุม คือ สมองส่วนไฮโพทาลามัส
สัตว์เลือดอุ่น
เช่น สัตว์ปีก
สัตว์เลือดเย็น
เช่น ปลา
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ภูมิคุ้มกัน เป็นกลไกการป้องกันตนเองจากโรค เช่น ผิวหนัง ลมหายใจ
หรือทางเดินอาหาร แอนติเจน
1. ผิวหนัง คเข้าสู่ร่างกาย ถ้าถูกทําลายเกินกว่า 80% จะทําให้ให้ตายได้ และรูขุมขน
เช่น ช่องปาก ช่องจมูก คอ เปลือกตาด้านใน ท่อปัสสาวะ และท่อเปิดของ
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 13.
อวัยวะสืบพันธุ์ กเหนียวมาเคลือบไว้
แอนติเจนก่อนจะเข้าสู่เซลล์ ( +ไลโซไซม ทางเดินหาย+ซิเลีย)
2. เซลล์เม็ดเลือดขาว สร้างไขกระดูก
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
ฟาโกไซต์ และปล่อยเอนไซม์จากไลโซโซมไปย่อย
ลิมโฟไซต์
3.
ลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่างเซลล์ เป็นตัวกลางในการนําสาร เข้าเซลล์
เวนใหญ่บริเวณใกล้หัวใจ
ทําหน้า ได้แก่
- มีเม็ดเลือดขาวอยู่รวมกัน ลักษณะ
เป็นรูปไข่ขนาดแตกต่างกัน โคนขา คอ(ทอนซิล)
- ม้าม มีขนาดใหญ่ อยู่ใต้กะบังลมด้านซ้าย ในระยะเอ็มบริโอม้ามสร้างเม็ดเลือด
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 14.
- ต่อมไทมัส วใจ ทํา
4. การสร้างภูมิคุ้มกัน ในร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้
4.1 เช่น การสร้างแอนติบอดีจากเม็ดเลือดขาว
4.2 ภูมิคุ้มกันแบบรับมา เป็นการรับภูมิคุ้มกันมาโดยตรง เช่น นมแม่ มีแอนติบอดีอยู่แล้ว หรือเซรุ่ม (แก้พิษงู)
4.3 ภูมิคุ้มกันแบบก่อเอง เช่น ร่างกายสร้างแอนติบอดี
ชนิดของวัคซีน - เช่น วัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน และคางทูม
- เช่น ไอกรน ไทฟอยด์ และอหิวาตกโรค
- เรียกว่า ทอกซอยด์ เช่น คอตีบ บาดทะยัก
5. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
5.1 ภูมิแพ้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันตอบสนองต่อแอนติเจนบางชนิดรุนแรงเกิดอันตรายต่อร่างกาย เช่น ฝุ่นละออง
5.2 โรคเอสแอลอี
5.3 โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ HIV คือ สามารถ
ทําลายเม็ดเลือดขาวโดยตรง มจํานวนตัวเองโดยใช้วัตถุดิบของเม็ดเลือดขาวในการสร้างเซลล์ สามารถ
แพร่กระจายไปตามอวัยวะต่างๆ เช่น ไขกระดูก สมอง ปอด ไต และดวงตา ( )
ติดต่อทางเลือด การมีเพศสัมพันธ์
6. หมู่เลือด เม็ดเลือดแดงของคนมีแอนติเจนอยู่ 2 ชนิด คือ A และ B 2 ชนิด คือ
แอนติบอดี A และ B
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 15.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
- ลักษณะทางพันธุกรรม คือ เช่น -สอง
, -แหลม, - , สันจมูกโด่ง-ไม่โด่ง, - , -พับไม่ได้,
มือเรียวยาว- , -
- โครโมโซมและสารพันธุกรรม ภายในนิวเคลียส เรียกว่า ดีเอ็นเอ เป็นสายยาวพันรอบแกนโปรตีนฮิสโตน เส้นใย
บางๆ ยกว่า โครมาทิน โครโมโซม และมีการจําลอง
คนมีจํานวน 46 แท่ง โดยจะมีคู่เหมือน เรียก ฮอมอโลกัสโครโมโซม จํานวนนเซลล์ร่างกายมี 2 ชุด เขียนแทนด้วย 2n
ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มีคู่เหมือนมีเพียง 1 ชุด เขียนแทนด้วย n
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
1. ระยะอินเทอร์เฟส เซลล์เตรียมความพร้อมในการแบ่งเซลล์ ได้แก่ การสังเคราะห์ เอนไซม์ โปรตีน ออร์แกเนลล์
2 เท่า ทําให้เกิดการจําลองโครโมโซมจาก เป็น 2 Chromatid
2. ระยะโพรเฟส เซนทริโอลสร้างเส้นใยสปินเดิล
3. ระยะเมทาเฟส เห็นได้ชัดเจน โครโมโซมเรียงตัวแนวกลาง มีเส้นใยสปิน
เดิลจับอยู่ตรงตําแหน่งเซนโทรเมียร์ โดยยึดกับโปรตีนไคนีโทคอร์
4. ระยะแอนาเฟส โครมาทิดแยกจากกันโดยการหดตัวของเส้นใยสปินเดิล ทําให้โครโมโซมแยกเป็น 2 กลุ่ม
5. ระยะเทโลเฟส (Telophase) ทําให้เห็นนิวเคลียส 2 อัน
การแบ่งไซโทพลาซึมมี 2 กรณี 1. เซลล์สัตว์ อกจากกันได้
เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ 2. เซลล์พืช และสะสมสารเซลลูโลสทําให้ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 16.
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เป็นกระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งเป็น 2 ระยะใหญ่ คือ ไมโอซิส I และไมโอซิส II
ไมโอซิส I
ระยะอินเตอร์เฟส I เตรียมความพร้อมเหมือนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ระยะโพรเฟส I คู่ฮอมอโลกัส
ระยะเมทาเฟส I โครโมโซมจะเรียงอยู่กลางเแบบคู่ฮอมอโลกัส โดยมีเส้นใยสปินเดิลจับอยู่ตรงเซนโทรเมีย
ระยะแอนาเฟส I
ระยะเทโลเฟส I ได้นิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส+แบ่งไซโทพลาซึม แต่ในบางเซลล์
อาจจะไม่เกิดก็ได้
ไมโอซิส II
ระยะอินเตอร์เฟส II ไม่มีการจําลองตัวเอง แต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิดแล้ว ส่วนระยะโพรเฟส II แอนา
เฟส II เทโลเฟส II จะคล้ายการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส + 4 เซลล์
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 17.
ขดตัวพันรอบโปรตีนฮิสโตน = โครมาทิน  โครโมโซม ( 1 หรือ 2 โครมาติด)
- มีหน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ ต่อกันเป็นสายยาว ประกอบด้วย
1. (S) 5 อะตอม
2. หมู่ฟอสเฟต (P) PO4
3-
3. ไนโตรจีนัสเบส มี 4 ชนิด ได้แก่ อะดีนิน (A) ไทมีน (T) ไซโทซีน (C) กวานีน (G)
สายดีเอ็นเอของคน = สายของนิวคลีโอไทด์ 2 สาย พันเกลียวเวียนขวา โดย A = T และ C ≡ G ลําดับของเบสบน
สายดีเอ็นเอ
-
1. างๆ ได้
2.
3. จะทําให้ลักษณะพันธุกรรมแตกต่างไป
เทชัน ทําให้เกิดวิวัฒนาการ
@ แอลลีล เช่น ยีน A เป็น
แอลลีลกับ a โดยยีน A เป็นยีนเด่น a เป็นยีนด้อย ถ้าให้ N
คางบุ๋ม n เป็น N เป็นแอลลีลกับ n จะมีลักษณะโครโมโซมได้ 3 แบบ
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 18.
- การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สามารถเขียนเป็นแผนผังการถ่ายทอดลักษณะเรียกว่า เพดดีกรี
โดยใช้สัญลักษณ์
- โครโมโซมในเซลล์ของคนมี 2 ชนิด คือ โครโมโซมร่างกายมี 22
คู่ โครโมโซมเพศ 1 คู่ 2 แบบ ยีนเด่น ( โรคเท้าแสนปม และคนแคระ) และยีนด้อย (ทาลัสซี
เมีย : โลหิตจางมาแต่กําเนิด ดีซ่านไม่เติบโตสมอายุ ตับม้ามโต กะโหลกศีรษะหนา โหนกแก้มสูง คาง
และกระดูกกรรไกรกว้าง กระดูกเปราะ ,ลักษณะผิวเผือก : ไม่สามารถผลิตเมลานิน ทํา
ให้ผิวหนัง ขน ผม และตาไม่มีสี)
@ 1 ใน 4 กรณีมีพ่อและแม่มียีนด้อยแฝงอยู่ (พาหะ)
- มโซมเพศ มี 1 คู่ 2 แบบ XX เป็นหญิง XY เป็นชาย
X มักพบเป็นยีนด้อย เช่น ยีนตาบอดสี ยีนโรคภาวะบกพร่องเอนไซม์ กลูโคส-6-ฟอสเฟต ยีนโรคเลือดไหลไม่หยุด
ลักษณะดังกล่าวจะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง X เพียง 1 แท่ง แต่เพศหญิงมี X 2
แท่ง โอกาสเกิดในเพศชายจึงสูงกว่า เช่นยีนตาบอดสีแทนด้วยยีนด้อย c ยีนตาปกติ C
แผ
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 19.
- 2 แอลลีล คือ แอลลีลเด่น และแอลลีลด้อย แต่
2 แอลลีล เช่น ลักษณะหมู่เลือด A B O ของคนมี 3 แอลลีล คือ IA
, IB
, i แอลลีล A สร้าง
แบบ A แอลลีล B B ส่วนแอลลีล i
เม็ดเลือดแดง จึงพบจีโนไทป์และฟีโนไทป์ได้ดังตาราง
- ากสาเหตุหลายประการ เช่น การผ่าเหล่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การ
ปรับปรุงพันธุ์โดยคน
การผ่าเหล่า คือ 2 แบบ
1. การกลายพันธุ์ของโครโมโซม เช่น 3n,4n จะมีการเจริญเติบโตมากกว่าปกติ (2n)
2. การกลายพันธุ์ของยีน เช่น โรคทางพันธุกรรม ลักษณะผิวเผือก ลักษณะลวดลายบนใบหรือดอกของพืช
สาเหตุของการเกิดการกลายพันธุ์
1. เกิดเองตามธรรมชาติ
2. รังสีสามารถทําให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ เช่น รังสีแกมมา เช่น พุทธรักษา เบญจมาศ ปทุมมา
3. สารเคมี เช่น
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ เป็นแนวความคิดของ ชาร์ล ดาร์วิน ได้เสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ
เขาพบว่า นก
จาบบนเกาะกาลาปากอสมีลักษณะจะงอยปากแตกต่างกัน (ปรับ
พันธุกรรม) ผล = อดได้มีความแข็งแรงและมีความหลากหลายทางพันธุกรรม
การคัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โดยคน
ความต้องการของคน เช่น การคัดเลือกพันธุ์ปลาทับทิม ( โครงกระดูกเล็ก
ก้างน้อย รสชาติดี ต้านทานต่อโรค : พัฒนามาจากพันธุ์ปลา
ผสมข้ามพันธุ์) การปรับปรุงพันธุ์ข้าว ( คือ พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกได้
ทุกภาค ใช้เวลา 160 วัน ทนแล้ง/ เค็ม มาอาบรังสีแกมมา เกิดมิวเทชันได้พันธุ์ข้าว กข 6 กข 10 และกข
15 กข 6 ให้ผลผลิตสูง ทนแล้ง ต้านทานโรคไหม้และโรคใบจุด
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 20.
กข 15 เท่ากับข้าวดอกมะลิ 105 แต่ กข 15 10 วัน
ได้เร็วกว่า ต้านทานโรคได้ดีกว่าข้าวดอกมะลิ 105)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นการนําความรู้ด้านชีววิทยา ในสาขาพันธุศาสตร์มาประยุกต์ เช่น
- พันธุวิศวกรรม โดยการสร้าง DNA สายผสมโดยการถ่ายยีน
เรียกว่า
ในปัจจุบัน เช่น ฝ้ายบีทีและข้าวโพดบีที ต้านทานแมลง (แบคทีเรีย
Bacillus thuringiensis สร้างโปรตีนเป็นพิษต่อแมลง) พริก มะละกอ ต้านทานไวรัส ยีนสังเคราะห์โปรตีนห่อหุ้ม
อนุภาคไวรัสทําให้ไวรัสไม่สามารถทําอันตราย) การผลิตอินซูลินโดยแบคทีเรีย ทําโดยตัดยีนอินซูลินจากคนปกติ
ถ่ายลงไปในพลาสมิดของแบคทีเรีย (เป็น DNA ) ให้ได้ยีนอินซูลินเป็น
จํานวนมาก และสังเคราะห์อินซูลินได้
- การโคลน หมายถึง สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เช่น สัตว์
= แกะ วัว นิโคลและการโคลนวัวนมตัวแรก
อิง
- เป็นการโคลนในพืช
ควบคุมแสงสว่าง อุณหภูมิ และกระตุ้นการเจริญของพืชด้วยฮอร์โมนพืช ประโยชน์
1.
2.
3.
4.
- ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ของคนเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล เพราะคนทุกคน
ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของลูกจะได้
ประโยชน์
1. กรณีบุคคลสูญหาย
2. พิสูจน์ความสัมพันธ์ของพ่อแม่และลูก
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 21.
ความก้าวหน้าทางพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
1. ด้านการเกษตร สร้างพืช GMO เช่น ต้านทานโรค ทนแล้ง ให้ผลผลิตคุณค่าทางอาหาร
2. การพัฒนาผลิตสัตว์ เช่น การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวอ่อน การโคลน
3. การแพทย์และสาธารณสุข เช่น การตรวจโรคหาความบกพร่องก่อนแต่งงาน การรักษาโรคด้วยวิธียีนบําบัด
4. เทคโนโลยีดีเอ็นเอ เช่น พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ชนิด
1. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา : ระบบนิเวศมีชนิด แตกต่างกัน
2. ความหลากหลายของสปีชีส์ : บนโลก
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม :
คือ
ายคลึงกันในระดับโครโมโซม ทําให้โครโมโซมจากพ่อและแม่สามารถเข้าคู่กันได้ เช่น
แต่ละสปีชีส์จะมีลักษณะเด่นเฉพาะไม่เหมือน Species แต่
เพศผู้และเพศเมีย
การเกิดสปีชีส์ใหม่ เกิดการคัดเลือกตามธรรมชาติ
เช่น แต่มีเหตุ
2 กลุ่ม
งมีชีวิตได้ประมาณ 1.5
ล้านสปีชีส์
นักชีววิทยาได้จัดจําแนกหมวดหมู่โดยเกณฑ์ต่างๆ
1. จุดกําเนิดของอวัยวะ 2. สารเคมีภายในเซลล์
3. ออร์แกเนลล์ในเซลล์ 4.
5. แบบแผนการเจริญเติบโต 6. หลักฐานทางวิวัฒนาการ
7. การแพร่กระจายตามสภาพภูมิศาสตร์
5 อาณาจักร
1. อาณาจักรมอเนอรา (Monera)
2. อาณาจักรโพรทิสตา (Protista)
3. อาณาจักรเห็ดราและยีสต์ (Fungi)
4. อาณาจักรพืช (Plantae)
5. อาณาจักรสัตว์ (Animalia)
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 22.
1, อาณาจักรมอเนอรา ลักษณะของเซลล์จะไม่มีนิวเคลียส(Prokaryote) การ
ดํารงชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร บางชนิดเป็นปรสิตหรือสร้างอาหารได้เอง
ได้แก่ ความสําคัญ
1. ทําให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ 2. ผลิตสารเคมี เช่น แอซิโตน กรดแลกติก ยาปฏิชีวนะ
3. เนยแข็ง ผักดอง ปลาร้า 4. ตรึงไนโตรเจน เช่น ไรโซเบียม แอนาบีนา นอสตอก
5. เป็นสาเหตุของโรคปอดบวม วัณโรค อหิวาตกโรค และแอนแทรกซ์
2. อาณาจักรโพรทิสตา
ลักษณะคล้ายพืช คือมีคลอโรพลาสต์ ของโรค แบ่งได้
1. เช่น ยูกลีนา อะมีบา วอร์ติเซลลา
2. เช่น ทริปพาโนโซมเป็นสาเหตุของโรคเหงาหลับ
3. เช่น ยูกลีนา ไดอะตอม เช่น สาหร่ายเคลป์ ซาร์กัสซัม ลา
มินาเรีย พาไดนา สาหร่ายสีแดง เช่น จีฉ่าย สาหร่ายผมนาง สาหร่ายสีเขียว เช่น คลอเรลลา สไปโรไจรา สาหร่ายไฟ
4. เช่น สาหร่ายสีแดง สาหร่ายสีเขียว
3. อาณาจักรฟังไจ สืบพันธุ์โดยการ
สร้างสปอร์ การดํารงชีวิตเป็นแบบปรสิตหรือผู้ย่อยสลายอินทรียสาร ความสําคัญ
1. เช่น ราไมคอร์ไรซา 2. ผลิตกรดฟูมาริก เช่น ไรโซปัส
3. เป็นอาหารของคน เช่น เห็ดต่างๆ 4. ยีสต์ใช้ทําขนมปัง แอลกอฮอล์ B12
5. เพนนิซิเลียม ใช้ผลิตยาเพนนิซิลิน เป็นยาปฏิชีวนะ 6. ราแอสเพอจิลัสในธัญพืช : พิษอะฟลาทอกซิน(มะเร็งตับ)
7. ฟังไจเป็นปรสิตในพืช เช่น ราสนิม ปริสิตในคน เช่น
4. อาณาจักรพืช งมีชีวิตหลายเซลล์ สร้างอาหารได้เองด้วยการสังเคราะห์ด้วยแสง
มีผนังเซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลส แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ 2 กลุ่ม ตามลักษณะ
ของท่อลําเลียง คือ ได้แก่ มอส ท่อลําเลียงเป็นกลุ่มใหญ่ ได้แก่ เฟิน ตีนตุ๊กแก
หญ้าถอดปล้อง สน ปรง แปะก๊วย พืชกลุ่มต่างๆ ได้แก่
1. ไบรโอไฟต์ เช่น ข้าวตอกฤๅษีหรือสแฟกนัมมอส ใช้
เป็นวัสดุคลุ
2. เฟิน 400 ล้านปีมาแล้วกลุ่มของเฟินมี
หลายสปีชีส์ มีความสําคัญต่างๆ
- ใช้เป็นไม้ประดับ เช่น ข้าหลวงหลังลาย ชายผ้าสีดา เฟินก้านดํา เฟินใบมะขาม - ใช้เป็นอาหาร เช่น ผักแว่น
- เช่น ย่านลิเภา - เป็นปุ๋ ยไนโตรเจนให้กับต้นข้าว เช่น แหนแดง
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 23.
3. 360 ล้านปี 2 ชนิด คือ โคน
เพศผู้และโคนเพศเมีย เมล็ด พืชเมล็ดเปลือย (Gymnosperm) ความสําคัญ
3.1 ปรง
3.2 แป๊ะก๊วย เมล็ดมีอาหารสะสมทานได้ สารสกัดจากใบช่วยรักษาความสมบูรณ์ของผนังหลอดเลือดฝอย และปรับ
ระบบหมุนเวียนเลือด ต่อต้านการอักเสบ การบวม ป้องกันการเกิดอัมพาต
3.3 สน
3.4
4. พืชดอก มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์สร้างเมล็ดในรังไข่
แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ความสําคัญ 4.1
คาร์โบไฮเดรตของคน เช่น ข้าวเจ้า ข้าวสาลี 4.2 ต้นไม้ยืนต้น ใช้สร้างบ้าน เช่น ไม้สัก ไม้มะค่า
ฯลฯ 4.3 ไม้ดอก, ไม้ผล, พืชผัก ใช้เป็นไม้ประดับไม้ผลและพืชผัก ใช้เป็นอาหาร มีความสําคัญต่อเศรษฐกิจ
5. อาณาจักรสัตว์ วโดยการ
ไม่สามารถสร้างอาหารได้ เป็นผู้บริโภค แบ่งเป็นหลายกลุ่ม
1. มีความสําคัญกับระบบนิเวศโดย
และเป็นอาหารของหอยและปลา เช่น
2. ปะการัง มีลําตัวกลวงมีหนวดรอบปาก ปะการังมีความสําคัญกับระบบนิเวศทางทะเล
( ) เช่น ไฮดรา แมงกะพรุน ซีแอนีโมนี กัลปังหา
3. หนอนตัวแบน มีลําตัวแบน เช่น พยาธิใบไม้พยาธิตัวตืด และ พลานาเรีย
4. หนอนตัวกลม มีลําตัวรูปทรงกระบอก ไม่มีปล้อง เช่น พยาธิเส้นด้าย
5. แอนเนลิดา มีลําตัวเป็นปล้อง มีระบบเลือด เช่น ไส้เดือนดิน ทําให้ดินมีอากาศถ่ายเท
เหมาะแก่การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์เกิดการย่อยสลายได้ดี กิน
เช่น ปลิงและทาก เลือดชาและฮิรูดิน ม่ให้แข็งตัว
6. มอลลัสก์ ได้แก่ หอย หอยทาก หอยนางรม หอยงวงช้าง หมึกยักษ์หมึกกระดอง และหมึกกล้วย (อาหารมนุษย์)
7. อาร์โทรพอด มีจํานวนสปีชีส์มาก ได้แก่ แมลง อาร์โทรพอดมีลําตัวเป็นปล้อง มีรยางค์เป็นข้อต่อกัน มีเปลือกแข็ง
ประกอบด้วย ไคทิน พบได้เกือบทุกแห่งบนโลก เป็นอาหารของมนุษย์เช่น กุ้ง ปู แมงดาทะเล เช่น
แมงมุม แมงป่อง เห็บ ตะขาบ เช่น แมลง
8. เอไคโนเดิร์ม เช่น ปลิงทะเล พลับพลึงทะเล ดาวขนนก ดาวมงกุฎหนาม ดาวทะเล
9. โพรโทคอร์เดต เป็นสัตว์กลุ่มเดียวกับสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น เพรียง
หัวหอม แอมฟิออกซัส
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 24.
10. สัตว์มีกระดูกสันหลัง แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ได้แก่ ปลา สัตว์
สัตว์ปีก
- เช่น
- ได้แก่ กบ เขียด คางคก ซาลามานเดอร์ งูดิน
- ได้แก่ จระเข้เต่า
- สัตว์ปีก เป็นสัตว์เลือดอุ่ จึงบินได้
- เช่น ตุ่นปากเป็ด กลุ่ม
เช่น จิงโจ้โอพอสซัม โคอาลา เช่น คน ลิง ช้าง ม้า วัว ควาย
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 25.
ไวรัส มีลักษณะเป็นเซลล์ โครงสร้างประกอบด้วยโปรตีนหุ้มสารพันธุกรรม มีขนาดเล็กมาก
แต่ถ้าอยู่นอก
เซลล์จะไม่สามารถทํากิจกรรมใดๆ มีลักษณะเป็นอนุภาค รูปร่างหลายแบบ เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น เอดส์
ไข้หวัดใหญ่ โปลิโอ ตับอักเสบ งูสวัด พิษสุนัขบ้า และไข้หวัดนก
สามารถป้องกันไวรัสได้บางชนิด
คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ
1. ความสําคัญต่อระบบนิเวศ ให้ประโยชน์ต่อโลก เช่น แนวปะการัง เป็น
2. ความหลากหลายของสายพันธุ์ในสปีชีส์เดียวกัน เช่น
3. ความหลากหลายของสปีชีส์ ทําให้เกิดประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง เช่น
อุตสาหกรรมยาง พืชและสัตว์
ในทางยารักษาโรคหลายชนิด เช่น สารเปลาโนทอล (Plaonotol) จากต้นเปล้าน้อย ใช้รักษาโรคกระเพาะและลําไส้ได้
4. ความหลากหลายทางชีวภาพ ทําให้เกิดความหลากหลายชีวิตในธรรมชาติ ก่อให้เกิดจินตนาการและเกิดความ
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 26.
เอกสารประกอบการเรียนรู
เรื่อง
ชีววิทยาพื้นฐาน
(Basic of Biology)
รายวิชาวิทยาศาสตร (ชีววิทยา) รหัสวิชา ว31140
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 (ทุกแผนการเรียน)
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่.......ชั้น............
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

Contenu connexe

Tendances

7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 newเลิกเสี่ยง. ป่าน
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาNuttarika Kornkeaw
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มWichai Likitponrak
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 

En vedette

เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมSuntharee Yodkham
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

En vedette (6)

เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similaire à วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)

ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนdnavaroj
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 

Similaire à วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา) (20)

ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Bio physics period1
Bio physics period1Bio physics period1
Bio physics period1
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซน
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 

Plus de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)

  • 1. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 1. วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ หมายถึง (มีชีวิตและไม่มีชีวิต) → ประชากร → → ระบบนิเวศ → ชีวนิเวศ (Biome) หมายถึง มเขตภูมิศาสตร์ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน อุณหภูมิ องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา ไบโอมแบ่งตามเขตภูมิศาสตร์ เช่น ไบโอมทะเลทราย ไบโอมป่าสน ระบบนิเวศ = + หมายถึง 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร หมายถึง 1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว 2. ผู้บริโภค = สามารถสร้างอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์ 3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็นประโยชน์ แก่พืช ออกมา และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์ การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานในระบบนิเวศ ให้เป็นพลังงานเคมี (อาหาร)โดยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง แ ในระบบนิเวศ (ห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร) แต่ พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% ( 90%จะถูกใช้ในกระบวนการดํารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วนบริโภคไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ) จะมีการถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลําดับสูงสุด ใ จุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต แต่พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลาย ท้าย พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid) ผู้บริโภคสูงสุด
  • 2. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 2. 1. พีระมิดจํานวน 2. พีระมิดมวลชีวภาพ 3. พีระมิดของพลังงาน 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว 1. อุณหภูมิ 1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุม จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ) 1.2 คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น 1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย 1.4 ปริมาณ O2 ทําให 2. แสง 2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร) 2.2 พฤติกรรมการดํารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว 2.3 การหุบบานของดอกไม้เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า 3. 3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น 3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น 4. ดิน 4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทําให้พืชเจริญเติบโต 4.2
  • 3. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 3.
  • 4. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 4. การปรับตัว (Adaptation) การปรับตัวมี 3 แบบ 1. การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง (รูปร่าง) เช่น 1.1 1.2 จระเข้ผิวลําตัวเป็นเกล็ด 1.3 โกงกางและพืชป่าชายเลน จะ 1.4 ผักตบชวา มีกระเปาะเก็บอากาศ 2. การปรับตัวทางด้านสรีระ (การทํางานอวัยวะ) เช่น 2.1 2.2 2.3 หนูแกงการู อยู่ในทะเ จากเมแทบอลิซึม (คล้ายอูฐ) 3. การปรับตัวทางด้านพฤติกรรม (ลักษณะนิสัย) 3.1 สัตว์ทะเลทรายออกหากินในเวลากลางคืน 3.2 3.3 เป็นต่อการดํารงชีวิต วัฏจักรสาร ร่างกายประกอบด้วยธาตุต่างๆ เช่น O, C, H, N, Ca, P, S (สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์)
  • 5. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 5. - วัฏจักรคาร์บอน พบในสารอินทรีย์ทุกชนิด และหมุนเวียนผ่านหายใจและการสังเคราะห์ด้วยแสงในรูปแก๊ส CO2 - วัฏจักรไนโตรเจน องค์ประกอบของโปรตีนใน โดยมีการหมุนเวียนผ่านพืช สัตว์และจุลินทรีย์ - วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการหมุนเวียนสู่บรรยากาศ - ความสําคัญ เช่น เป็นตัวกลางในการทําปฏิกิริยา รักษาสมดุลของอุณหภูมิ ประชากร หมายถึง N = จํานวนประชากร A = การแพร่กระจายประชากร ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ แสง และกรด-เบส ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น แย่งปัจจัยในการดํารงชีวิต
  • 6. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 6. โครงสร้างประชากรของมนุษย์ แบบ ก ฐานกว้าง ยอดแหลม พบในกัวเตมาลา เคนยา ไนจีเรีย แบบ ข รูปกรวย ปากแคบ เช่น อเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา ไทย แบบ ค เช่น สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย อิตาลี แบบ ง รูปดอกบัวตูม แสดงว่าประชากรลดลง เช่น สิงคโปร์ เยอรมัน สวีเดน ฮังการี บัลกาเรีย = และจะหยุดลง ไป/คงตัว = มี 2 แบบ 1. จาก (ผู้ บุกเบิก) → ไลเคน (Pioneer Species) → มอส ลิเวอร์เวิร์ต → ไม้พุ่ม → ไม้ยืนต้น → 2. จึงเกิดการ หรือใหม่ เช่น เกิดไฟไหม้ป่า เกิดโรคระบาด ทําให้เสียสมดุล ปัจจุบันป เช่น ภาวะโลกร้อน โอโซนในอากาศถูกทําลาย มีสารพิษตกค้างในดิน - ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ทวีคูณเปรียบเสมือนโลกอยู่ในสภาวะเรือนกระจก (ปรากฏการณ์เรือนกระจก) 1. (ดูดกลืนความร้อน) 2. การตัดไม้ทําลายป่า ทําให้เกิดการสะสมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3. การทําลายโอโซนในบรรยากาศ ทําให้รังสีอัลตราไวโอเลตชนิด UVc อันตราย สาเหตุเกิดจากสาร CFC
  • 7. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 7. เซลล์ คือ เซลล์ การศึกษาต้องใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงหรืออิเล็กตรอน องค์ประกอบของเซลล์ 1. ส่วนห่อหุ้ม 2 ชนิด 1.1 ผนังเซลล์ โครงสร้างหลัก คือ เซลลูโลส ทําให้คงรูปร่าง มถ่วงของโลกได้ 1.2 ในเซลล์พืชจะอยู่ถัดจากผนังเซลล์ โครงสร้างหลัก คือ สาร พวกไขมันเรียงตัวเป็น 2 2. นิวเคลียส 2.1 ถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม โดยมีโครโมโซมเป็นแหล่งข้อมูลทางพันธุกรรม 2.2 ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน 2.3 ควบคุมการแบ่งเซลล์ 3. ไซโทพลาซึม เช่น 3.1 ร่างแหเอนโดพลาซึม สังเคราะห์และลําเลียงโปรตีน และบางส่วนทํา 3.2 กอลจิคอมเพลกซ์ เก็บรวบรวมโปรตีนและไขมันมาจากร่างแห 3.3 ไรโบโซม สังเคราะห์โปรตีน คือ ร่างแหเอนโดพลาซึม ลอยอิสระในไซโทพลาซึม/ไมโท คอนเดรียและคลอโรพลาสต์ 3.4 ไมโทคอนเดรีย ผลิตสารพลังงานสูง คือ ATP ของเซลล์ 3.5 พบเฉพาะเซลล์พืช 3.6 ไลโซโซม พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ การลําเลียงสารผ่านเซลล์ เซลล์จําเป็นต้องรับและกําจัดสารเข้าและออกจากเซลล์ 1. 1.1 การแพร่ 1.2 การออสโมซิส 1.3 การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต 1.4 การลําเลียงแบบใช้พลังงาน 2. 2.1 เอกโซไซโทซิส 2.2 เอนโดไซโทซิส
  • 8. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 8. - การแพร่ คือ ระหว่างอนุภาค เช่น ออกซิเจนในถุงลมเข้าสู่ ธาตุอาหารจากดินเข้าสู่รากพืช - การออสโมซิส คือ หรือจาก สรุป คือ 1. หรือเทียบได้กับสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.85% ทําให้เซลล์คงสภาพ 2. เซลล์พืชเต่งทําให้พืชกางใบรับแสง - การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต เป็นการลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ในทิศทางเดียวกับการแพร่แต่รวดเร็วกว่า หลายเท่าตัว เช่น การลําเลียงกลูโคส
  • 9. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 9. - การลําเลียงแบบใช้พลังงาน ATP จากเซลล์ เช่น ลา การ : อยู่ในถุง (Vesicle) ได้แก่ 1. เอกโซไซโทซิส เป็ ออ เช่น 2. เอนโดไซโทซิส เป็นการลําเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ ใช้ประโยชน์ต่อไป @ กลไกการรักษาดุลยภาพ าสมดุลของร่างกาย 1. = โครงสร้างในการควบคุม คือ ปากใบ (เซลล์คุม 2 เซลล์ประกบกันภายในมี คลอโรพลาสต์จึงสังเคราะห์แสงได้และเกิดการออสโมซิส) เปิด : และ ปิด : 1. ความเข้มของแสงสูงสังเคราะห์ด้วยแสงมากปากใบเปิด 2. ถ้ามากปากใบปิด (ระเหยยาก) 3. ถ้าน้อยปากใบปิด (ลดการสูญเสีย)
  • 10. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 10. 2. เช่น อะมีบา พารามีเซียม จะมีโครงสร้าง คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล สารภายในและป้องกันไม่ให้เซลล์แตก 3. กจากเซลล์ ตลอดเวลา (กระบวนการลําเลียงแบบใช้พลังงาน) สํา จะกินอาหารจาก ทะเลทําให้ได้รับเกลือแร่ในร่างกายเกินความจําเป็นจึง ต้อง 4. 65%-70% เสียดุลยภาพ ต่อกระบวนการต่างๆ ของร่างกาย คือ ไต
  • 11. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 11. ไตของคนมี 2 ข้าง อยู่ในช่องท้องบริเวณเอว ทางท่อไตและเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ อปัสสาวะ ระกอบด้วย หน่วยไต จํานวนมากประมาณ 1 ล้านหน่วย ประกอบด้วย โกลเมอรูลัส การทํางานของไต เส้นเลือดแดง (ออกซิเจนและของเสีย)  โกลเมอรูลัส (พลาสมาผ่าน) โบว์แมนส์ แคปซูล กรองมี ประโยชน์และของเสีย)  ท่อของหน่วยไต ( ะโยชน์ คลุมสู่กระแสเลือด) สารกรองผ่านโกลเมอรูลัส แยกเป็นกลุ่ม 1. ได้แก่ ยูเรีย ยูริก ต้องกําจัดออกจากร่างกาย 2. แต่มีมากเกินไป เช่น 3. เช่น กลูโคส กรดอะมิโน โปรตีน จะไม่พบในปัสสาวะเพราะดูดกลับหมด 4. คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง ในกระบวนการดูดกลับ จะใช้วิธีการแพร่ การออสโมซิสและการลําเลียงแบบใช้พลังงาน 1. เช่น เล่นกีฬา ทํางานหนัก ท้องเสีย จะทําให้เลือดข้น ความดัน- 2. โรคเบาหวาน ยทําให้โกลเมอรูลัสเสียสมบัติในการกรอง ทําให้พบอัลบูมินในปัสสาวะ
  • 12. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 12. 3. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย 4. เช่น ผักโขม ใบชะพลู แต่สามารถป้องกันได้โดยทานโปรตีน 5. ไตวาย ไม่สามารถทํางานได้ อาจมีสาเหตุจาก การสูญเสียเลือด/ของเหลวมาก 5. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกาย ควบคุมโดยเอนไซม์ pH เช่น ในกระเพาะ (กรด) ลําไส้เล็ก (เบส) ในร่างกายเกิดจากปฏิกิริยาของการหายใจ (กรด) ไตมีบทบาทสําคัญในการรักษาความเป็นกรด-เบสของเลือด pH ของ H+ และ NH+4 งลดความเป็นกรดของเลือด ได้แก่ โซเดียมไอออน (Na+ ) และไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO-3 ) ถ้า pH ของเลือดสูงเกินไปจะเกิดตรงกันข้าม 6. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย มีผลต่อการทํางานของเอนไซม์ เพราะโปรตีนจะเสียสภาพโดยปกติ อุณหภูมิภายในร่างกายอยู่ระหว่าง 35.8-37.7 องศาเซลเซียส จึงส่งผลกระทบต่อกระบวนการต่างๆ ในร่างกาย การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ศูนย์กลางควบคุม คือ สมองส่วนไฮโพทาลามัส สัตว์เลือดอุ่น เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลือดเย็น เช่น ปลา ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ภูมิคุ้มกัน เป็นกลไกการป้องกันตนเองจากโรค เช่น ผิวหนัง ลมหายใจ หรือทางเดินอาหาร แอนติเจน 1. ผิวหนัง คเข้าสู่ร่างกาย ถ้าถูกทําลายเกินกว่า 80% จะทําให้ให้ตายได้ และรูขุมขน เช่น ช่องปาก ช่องจมูก คอ เปลือกตาด้านใน ท่อปัสสาวะ และท่อเปิดของ
  • 13. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 13. อวัยวะสืบพันธุ์ กเหนียวมาเคลือบไว้ แอนติเจนก่อนจะเข้าสู่เซลล์ ( +ไลโซไซม ทางเดินหาย+ซิเลีย) 2. เซลล์เม็ดเลือดขาว สร้างไขกระดูก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ฟาโกไซต์ และปล่อยเอนไซม์จากไลโซโซมไปย่อย ลิมโฟไซต์ 3. ลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่างเซลล์ เป็นตัวกลางในการนําสาร เข้าเซลล์ เวนใหญ่บริเวณใกล้หัวใจ ทําหน้า ได้แก่ - มีเม็ดเลือดขาวอยู่รวมกัน ลักษณะ เป็นรูปไข่ขนาดแตกต่างกัน โคนขา คอ(ทอนซิล) - ม้าม มีขนาดใหญ่ อยู่ใต้กะบังลมด้านซ้าย ในระยะเอ็มบริโอม้ามสร้างเม็ดเลือด
  • 14. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 14. - ต่อมไทมัส วใจ ทํา 4. การสร้างภูมิคุ้มกัน ในร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ 4.1 เช่น การสร้างแอนติบอดีจากเม็ดเลือดขาว 4.2 ภูมิคุ้มกันแบบรับมา เป็นการรับภูมิคุ้มกันมาโดยตรง เช่น นมแม่ มีแอนติบอดีอยู่แล้ว หรือเซรุ่ม (แก้พิษงู) 4.3 ภูมิคุ้มกันแบบก่อเอง เช่น ร่างกายสร้างแอนติบอดี ชนิดของวัคซีน - เช่น วัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน และคางทูม - เช่น ไอกรน ไทฟอยด์ และอหิวาตกโรค - เรียกว่า ทอกซอยด์ เช่น คอตีบ บาดทะยัก 5. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน 5.1 ภูมิแพ้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันตอบสนองต่อแอนติเจนบางชนิดรุนแรงเกิดอันตรายต่อร่างกาย เช่น ฝุ่นละออง 5.2 โรคเอสแอลอี 5.3 โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ HIV คือ สามารถ ทําลายเม็ดเลือดขาวโดยตรง มจํานวนตัวเองโดยใช้วัตถุดิบของเม็ดเลือดขาวในการสร้างเซลล์ สามารถ แพร่กระจายไปตามอวัยวะต่างๆ เช่น ไขกระดูก สมอง ปอด ไต และดวงตา ( ) ติดต่อทางเลือด การมีเพศสัมพันธ์ 6. หมู่เลือด เม็ดเลือดแดงของคนมีแอนติเจนอยู่ 2 ชนิด คือ A และ B 2 ชนิด คือ แอนติบอดี A และ B
  • 15. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 15. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม - ลักษณะทางพันธุกรรม คือ เช่น -สอง , -แหลม, - , สันจมูกโด่ง-ไม่โด่ง, - , -พับไม่ได้, มือเรียวยาว- , - - โครโมโซมและสารพันธุกรรม ภายในนิวเคลียส เรียกว่า ดีเอ็นเอ เป็นสายยาวพันรอบแกนโปรตีนฮิสโตน เส้นใย บางๆ ยกว่า โครมาทิน โครโมโซม และมีการจําลอง คนมีจํานวน 46 แท่ง โดยจะมีคู่เหมือน เรียก ฮอมอโลกัสโครโมโซม จํานวนนเซลล์ร่างกายมี 2 ชุด เขียนแทนด้วย 2n ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มีคู่เหมือนมีเพียง 1 ชุด เขียนแทนด้วย n การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส 1. ระยะอินเทอร์เฟส เซลล์เตรียมความพร้อมในการแบ่งเซลล์ ได้แก่ การสังเคราะห์ เอนไซม์ โปรตีน ออร์แกเนลล์ 2 เท่า ทําให้เกิดการจําลองโครโมโซมจาก เป็น 2 Chromatid 2. ระยะโพรเฟส เซนทริโอลสร้างเส้นใยสปินเดิล 3. ระยะเมทาเฟส เห็นได้ชัดเจน โครโมโซมเรียงตัวแนวกลาง มีเส้นใยสปิน เดิลจับอยู่ตรงตําแหน่งเซนโทรเมียร์ โดยยึดกับโปรตีนไคนีโทคอร์ 4. ระยะแอนาเฟส โครมาทิดแยกจากกันโดยการหดตัวของเส้นใยสปินเดิล ทําให้โครโมโซมแยกเป็น 2 กลุ่ม 5. ระยะเทโลเฟส (Telophase) ทําให้เห็นนิวเคลียส 2 อัน การแบ่งไซโทพลาซึมมี 2 กรณี 1. เซลล์สัตว์ อกจากกันได้ เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ 2. เซลล์พืช และสะสมสารเซลลูโลสทําให้ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
  • 16. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 16. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เป็นกระบวนการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งเป็น 2 ระยะใหญ่ คือ ไมโอซิส I และไมโอซิส II ไมโอซิส I ระยะอินเตอร์เฟส I เตรียมความพร้อมเหมือนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ระยะโพรเฟส I คู่ฮอมอโลกัส ระยะเมทาเฟส I โครโมโซมจะเรียงอยู่กลางเแบบคู่ฮอมอโลกัส โดยมีเส้นใยสปินเดิลจับอยู่ตรงเซนโทรเมีย ระยะแอนาเฟส I ระยะเทโลเฟส I ได้นิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส+แบ่งไซโทพลาซึม แต่ในบางเซลล์ อาจจะไม่เกิดก็ได้ ไมโอซิส II ระยะอินเตอร์เฟส II ไม่มีการจําลองตัวเอง แต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิดแล้ว ส่วนระยะโพรเฟส II แอนา เฟส II เทโลเฟส II จะคล้ายการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส + 4 เซลล์
  • 17. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 17. ขดตัวพันรอบโปรตีนฮิสโตน = โครมาทิน  โครโมโซม ( 1 หรือ 2 โครมาติด) - มีหน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ ต่อกันเป็นสายยาว ประกอบด้วย 1. (S) 5 อะตอม 2. หมู่ฟอสเฟต (P) PO4 3- 3. ไนโตรจีนัสเบส มี 4 ชนิด ได้แก่ อะดีนิน (A) ไทมีน (T) ไซโทซีน (C) กวานีน (G) สายดีเอ็นเอของคน = สายของนิวคลีโอไทด์ 2 สาย พันเกลียวเวียนขวา โดย A = T และ C ≡ G ลําดับของเบสบน สายดีเอ็นเอ - 1. างๆ ได้ 2. 3. จะทําให้ลักษณะพันธุกรรมแตกต่างไป เทชัน ทําให้เกิดวิวัฒนาการ @ แอลลีล เช่น ยีน A เป็น แอลลีลกับ a โดยยีน A เป็นยีนเด่น a เป็นยีนด้อย ถ้าให้ N คางบุ๋ม n เป็น N เป็นแอลลีลกับ n จะมีลักษณะโครโมโซมได้ 3 แบบ
  • 18. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 18. - การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สามารถเขียนเป็นแผนผังการถ่ายทอดลักษณะเรียกว่า เพดดีกรี โดยใช้สัญลักษณ์ - โครโมโซมในเซลล์ของคนมี 2 ชนิด คือ โครโมโซมร่างกายมี 22 คู่ โครโมโซมเพศ 1 คู่ 2 แบบ ยีนเด่น ( โรคเท้าแสนปม และคนแคระ) และยีนด้อย (ทาลัสซี เมีย : โลหิตจางมาแต่กําเนิด ดีซ่านไม่เติบโตสมอายุ ตับม้ามโต กะโหลกศีรษะหนา โหนกแก้มสูง คาง และกระดูกกรรไกรกว้าง กระดูกเปราะ ,ลักษณะผิวเผือก : ไม่สามารถผลิตเมลานิน ทํา ให้ผิวหนัง ขน ผม และตาไม่มีสี) @ 1 ใน 4 กรณีมีพ่อและแม่มียีนด้อยแฝงอยู่ (พาหะ) - มโซมเพศ มี 1 คู่ 2 แบบ XX เป็นหญิง XY เป็นชาย X มักพบเป็นยีนด้อย เช่น ยีนตาบอดสี ยีนโรคภาวะบกพร่องเอนไซม์ กลูโคส-6-ฟอสเฟต ยีนโรคเลือดไหลไม่หยุด ลักษณะดังกล่าวจะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง X เพียง 1 แท่ง แต่เพศหญิงมี X 2 แท่ง โอกาสเกิดในเพศชายจึงสูงกว่า เช่นยีนตาบอดสีแทนด้วยยีนด้อย c ยีนตาปกติ C แผ
  • 19. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 19. - 2 แอลลีล คือ แอลลีลเด่น และแอลลีลด้อย แต่ 2 แอลลีล เช่น ลักษณะหมู่เลือด A B O ของคนมี 3 แอลลีล คือ IA , IB , i แอลลีล A สร้าง แบบ A แอลลีล B B ส่วนแอลลีล i เม็ดเลือดแดง จึงพบจีโนไทป์และฟีโนไทป์ได้ดังตาราง - ากสาเหตุหลายประการ เช่น การผ่าเหล่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การ ปรับปรุงพันธุ์โดยคน การผ่าเหล่า คือ 2 แบบ 1. การกลายพันธุ์ของโครโมโซม เช่น 3n,4n จะมีการเจริญเติบโตมากกว่าปกติ (2n) 2. การกลายพันธุ์ของยีน เช่น โรคทางพันธุกรรม ลักษณะผิวเผือก ลักษณะลวดลายบนใบหรือดอกของพืช สาเหตุของการเกิดการกลายพันธุ์ 1. เกิดเองตามธรรมชาติ 2. รังสีสามารถทําให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ เช่น รังสีแกมมา เช่น พุทธรักษา เบญจมาศ ปทุมมา 3. สารเคมี เช่น การคัดเลือกโดยธรรมชาติ เป็นแนวความคิดของ ชาร์ล ดาร์วิน ได้เสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ เขาพบว่า นก จาบบนเกาะกาลาปากอสมีลักษณะจะงอยปากแตกต่างกัน (ปรับ พันธุกรรม) ผล = อดได้มีความแข็งแรงและมีความหลากหลายทางพันธุกรรม การคัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โดยคน ความต้องการของคน เช่น การคัดเลือกพันธุ์ปลาทับทิม ( โครงกระดูกเล็ก ก้างน้อย รสชาติดี ต้านทานต่อโรค : พัฒนามาจากพันธุ์ปลา ผสมข้ามพันธุ์) การปรับปรุงพันธุ์ข้าว ( คือ พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกได้ ทุกภาค ใช้เวลา 160 วัน ทนแล้ง/ เค็ม มาอาบรังสีแกมมา เกิดมิวเทชันได้พันธุ์ข้าว กข 6 กข 10 และกข 15 กข 6 ให้ผลผลิตสูง ทนแล้ง ต้านทานโรคไหม้และโรคใบจุด
  • 20. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 20. กข 15 เท่ากับข้าวดอกมะลิ 105 แต่ กข 15 10 วัน ได้เร็วกว่า ต้านทานโรคได้ดีกว่าข้าวดอกมะลิ 105) เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นการนําความรู้ด้านชีววิทยา ในสาขาพันธุศาสตร์มาประยุกต์ เช่น - พันธุวิศวกรรม โดยการสร้าง DNA สายผสมโดยการถ่ายยีน เรียกว่า ในปัจจุบัน เช่น ฝ้ายบีทีและข้าวโพดบีที ต้านทานแมลง (แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis สร้างโปรตีนเป็นพิษต่อแมลง) พริก มะละกอ ต้านทานไวรัส ยีนสังเคราะห์โปรตีนห่อหุ้ม อนุภาคไวรัสทําให้ไวรัสไม่สามารถทําอันตราย) การผลิตอินซูลินโดยแบคทีเรีย ทําโดยตัดยีนอินซูลินจากคนปกติ ถ่ายลงไปในพลาสมิดของแบคทีเรีย (เป็น DNA ) ให้ได้ยีนอินซูลินเป็น จํานวนมาก และสังเคราะห์อินซูลินได้ - การโคลน หมายถึง สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เช่น สัตว์ = แกะ วัว นิโคลและการโคลนวัวนมตัวแรก อิง - เป็นการโคลนในพืช ควบคุมแสงสว่าง อุณหภูมิ และกระตุ้นการเจริญของพืชด้วยฮอร์โมนพืช ประโยชน์ 1. 2. 3. 4. - ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ของคนเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล เพราะคนทุกคน ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของลูกจะได้ ประโยชน์ 1. กรณีบุคคลสูญหาย 2. พิสูจน์ความสัมพันธ์ของพ่อแม่และลูก
  • 21. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 21. ความก้าวหน้าทางพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ 1. ด้านการเกษตร สร้างพืช GMO เช่น ต้านทานโรค ทนแล้ง ให้ผลผลิตคุณค่าทางอาหาร 2. การพัฒนาผลิตสัตว์ เช่น การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวอ่อน การโคลน 3. การแพทย์และสาธารณสุข เช่น การตรวจโรคหาความบกพร่องก่อนแต่งงาน การรักษาโรคด้วยวิธียีนบําบัด 4. เทคโนโลยีดีเอ็นเอ เช่น พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ชนิด 1. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา : ระบบนิเวศมีชนิด แตกต่างกัน 2. ความหลากหลายของสปีชีส์ : บนโลก 3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม : คือ ายคลึงกันในระดับโครโมโซม ทําให้โครโมโซมจากพ่อและแม่สามารถเข้าคู่กันได้ เช่น แต่ละสปีชีส์จะมีลักษณะเด่นเฉพาะไม่เหมือน Species แต่ เพศผู้และเพศเมีย การเกิดสปีชีส์ใหม่ เกิดการคัดเลือกตามธรรมชาติ เช่น แต่มีเหตุ 2 กลุ่ม งมีชีวิตได้ประมาณ 1.5 ล้านสปีชีส์ นักชีววิทยาได้จัดจําแนกหมวดหมู่โดยเกณฑ์ต่างๆ 1. จุดกําเนิดของอวัยวะ 2. สารเคมีภายในเซลล์ 3. ออร์แกเนลล์ในเซลล์ 4. 5. แบบแผนการเจริญเติบโต 6. หลักฐานทางวิวัฒนาการ 7. การแพร่กระจายตามสภาพภูมิศาสตร์ 5 อาณาจักร 1. อาณาจักรมอเนอรา (Monera) 2. อาณาจักรโพรทิสตา (Protista) 3. อาณาจักรเห็ดราและยีสต์ (Fungi) 4. อาณาจักรพืช (Plantae) 5. อาณาจักรสัตว์ (Animalia)
  • 22. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 22. 1, อาณาจักรมอเนอรา ลักษณะของเซลล์จะไม่มีนิวเคลียส(Prokaryote) การ ดํารงชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร บางชนิดเป็นปรสิตหรือสร้างอาหารได้เอง ได้แก่ ความสําคัญ 1. ทําให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ 2. ผลิตสารเคมี เช่น แอซิโตน กรดแลกติก ยาปฏิชีวนะ 3. เนยแข็ง ผักดอง ปลาร้า 4. ตรึงไนโตรเจน เช่น ไรโซเบียม แอนาบีนา นอสตอก 5. เป็นสาเหตุของโรคปอดบวม วัณโรค อหิวาตกโรค และแอนแทรกซ์ 2. อาณาจักรโพรทิสตา ลักษณะคล้ายพืช คือมีคลอโรพลาสต์ ของโรค แบ่งได้ 1. เช่น ยูกลีนา อะมีบา วอร์ติเซลลา 2. เช่น ทริปพาโนโซมเป็นสาเหตุของโรคเหงาหลับ 3. เช่น ยูกลีนา ไดอะตอม เช่น สาหร่ายเคลป์ ซาร์กัสซัม ลา มินาเรีย พาไดนา สาหร่ายสีแดง เช่น จีฉ่าย สาหร่ายผมนาง สาหร่ายสีเขียว เช่น คลอเรลลา สไปโรไจรา สาหร่ายไฟ 4. เช่น สาหร่ายสีแดง สาหร่ายสีเขียว 3. อาณาจักรฟังไจ สืบพันธุ์โดยการ สร้างสปอร์ การดํารงชีวิตเป็นแบบปรสิตหรือผู้ย่อยสลายอินทรียสาร ความสําคัญ 1. เช่น ราไมคอร์ไรซา 2. ผลิตกรดฟูมาริก เช่น ไรโซปัส 3. เป็นอาหารของคน เช่น เห็ดต่างๆ 4. ยีสต์ใช้ทําขนมปัง แอลกอฮอล์ B12 5. เพนนิซิเลียม ใช้ผลิตยาเพนนิซิลิน เป็นยาปฏิชีวนะ 6. ราแอสเพอจิลัสในธัญพืช : พิษอะฟลาทอกซิน(มะเร็งตับ) 7. ฟังไจเป็นปรสิตในพืช เช่น ราสนิม ปริสิตในคน เช่น 4. อาณาจักรพืช งมีชีวิตหลายเซลล์ สร้างอาหารได้เองด้วยการสังเคราะห์ด้วยแสง มีผนังเซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลส แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ 2 กลุ่ม ตามลักษณะ ของท่อลําเลียง คือ ได้แก่ มอส ท่อลําเลียงเป็นกลุ่มใหญ่ ได้แก่ เฟิน ตีนตุ๊กแก หญ้าถอดปล้อง สน ปรง แปะก๊วย พืชกลุ่มต่างๆ ได้แก่ 1. ไบรโอไฟต์ เช่น ข้าวตอกฤๅษีหรือสแฟกนัมมอส ใช้ เป็นวัสดุคลุ 2. เฟิน 400 ล้านปีมาแล้วกลุ่มของเฟินมี หลายสปีชีส์ มีความสําคัญต่างๆ - ใช้เป็นไม้ประดับ เช่น ข้าหลวงหลังลาย ชายผ้าสีดา เฟินก้านดํา เฟินใบมะขาม - ใช้เป็นอาหาร เช่น ผักแว่น - เช่น ย่านลิเภา - เป็นปุ๋ ยไนโตรเจนให้กับต้นข้าว เช่น แหนแดง
  • 23. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 23. 3. 360 ล้านปี 2 ชนิด คือ โคน เพศผู้และโคนเพศเมีย เมล็ด พืชเมล็ดเปลือย (Gymnosperm) ความสําคัญ 3.1 ปรง 3.2 แป๊ะก๊วย เมล็ดมีอาหารสะสมทานได้ สารสกัดจากใบช่วยรักษาความสมบูรณ์ของผนังหลอดเลือดฝอย และปรับ ระบบหมุนเวียนเลือด ต่อต้านการอักเสบ การบวม ป้องกันการเกิดอัมพาต 3.3 สน 3.4 4. พืชดอก มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์สร้างเมล็ดในรังไข่ แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ความสําคัญ 4.1 คาร์โบไฮเดรตของคน เช่น ข้าวเจ้า ข้าวสาลี 4.2 ต้นไม้ยืนต้น ใช้สร้างบ้าน เช่น ไม้สัก ไม้มะค่า ฯลฯ 4.3 ไม้ดอก, ไม้ผล, พืชผัก ใช้เป็นไม้ประดับไม้ผลและพืชผัก ใช้เป็นอาหาร มีความสําคัญต่อเศรษฐกิจ 5. อาณาจักรสัตว์ วโดยการ ไม่สามารถสร้างอาหารได้ เป็นผู้บริโภค แบ่งเป็นหลายกลุ่ม 1. มีความสําคัญกับระบบนิเวศโดย และเป็นอาหารของหอยและปลา เช่น 2. ปะการัง มีลําตัวกลวงมีหนวดรอบปาก ปะการังมีความสําคัญกับระบบนิเวศทางทะเล ( ) เช่น ไฮดรา แมงกะพรุน ซีแอนีโมนี กัลปังหา 3. หนอนตัวแบน มีลําตัวแบน เช่น พยาธิใบไม้พยาธิตัวตืด และ พลานาเรีย 4. หนอนตัวกลม มีลําตัวรูปทรงกระบอก ไม่มีปล้อง เช่น พยาธิเส้นด้าย 5. แอนเนลิดา มีลําตัวเป็นปล้อง มีระบบเลือด เช่น ไส้เดือนดิน ทําให้ดินมีอากาศถ่ายเท เหมาะแก่การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์เกิดการย่อยสลายได้ดี กิน เช่น ปลิงและทาก เลือดชาและฮิรูดิน ม่ให้แข็งตัว 6. มอลลัสก์ ได้แก่ หอย หอยทาก หอยนางรม หอยงวงช้าง หมึกยักษ์หมึกกระดอง และหมึกกล้วย (อาหารมนุษย์) 7. อาร์โทรพอด มีจํานวนสปีชีส์มาก ได้แก่ แมลง อาร์โทรพอดมีลําตัวเป็นปล้อง มีรยางค์เป็นข้อต่อกัน มีเปลือกแข็ง ประกอบด้วย ไคทิน พบได้เกือบทุกแห่งบนโลก เป็นอาหารของมนุษย์เช่น กุ้ง ปู แมงดาทะเล เช่น แมงมุม แมงป่อง เห็บ ตะขาบ เช่น แมลง 8. เอไคโนเดิร์ม เช่น ปลิงทะเล พลับพลึงทะเล ดาวขนนก ดาวมงกุฎหนาม ดาวทะเล 9. โพรโทคอร์เดต เป็นสัตว์กลุ่มเดียวกับสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น เพรียง หัวหอม แอมฟิออกซัส
  • 24. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 24. 10. สัตว์มีกระดูกสันหลัง แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ได้แก่ ปลา สัตว์ สัตว์ปีก - เช่น - ได้แก่ กบ เขียด คางคก ซาลามานเดอร์ งูดิน - ได้แก่ จระเข้เต่า - สัตว์ปีก เป็นสัตว์เลือดอุ่ จึงบินได้ - เช่น ตุ่นปากเป็ด กลุ่ม เช่น จิงโจ้โอพอสซัม โคอาลา เช่น คน ลิง ช้าง ม้า วัว ควาย
  • 25. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 25. ไวรัส มีลักษณะเป็นเซลล์ โครงสร้างประกอบด้วยโปรตีนหุ้มสารพันธุกรรม มีขนาดเล็กมาก แต่ถ้าอยู่นอก เซลล์จะไม่สามารถทํากิจกรรมใดๆ มีลักษณะเป็นอนุภาค รูปร่างหลายแบบ เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น เอดส์ ไข้หวัดใหญ่ โปลิโอ ตับอักเสบ งูสวัด พิษสุนัขบ้า และไข้หวัดนก สามารถป้องกันไวรัสได้บางชนิด คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ความสําคัญต่อระบบนิเวศ ให้ประโยชน์ต่อโลก เช่น แนวปะการัง เป็น 2. ความหลากหลายของสายพันธุ์ในสปีชีส์เดียวกัน เช่น 3. ความหลากหลายของสปีชีส์ ทําให้เกิดประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง เช่น อุตสาหกรรมยาง พืชและสัตว์ ในทางยารักษาโรคหลายชนิด เช่น สารเปลาโนทอล (Plaonotol) จากต้นเปล้าน้อย ใช้รักษาโรคกระเพาะและลําไส้ได้ 4. ความหลากหลายทางชีวภาพ ทําให้เกิดความหลากหลายชีวิตในธรรมชาติ ก่อให้เกิดจินตนาการและเกิดความ
  • 26. โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียน 2 / 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 26. เอกสารประกอบการเรียนรู เรื่อง ชีววิทยาพื้นฐาน (Basic of Biology) รายวิชาวิทยาศาสตร (ชีววิทยา) รหัสวิชา ว31140 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 (ทุกแผนการเรียน) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่.......ชั้น............ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1