SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ ที่ 4

                                          เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
  ความหมายของระบบปฏิบัติการ

           ระบบปฏิบติการ Operating System : OS คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการจัดการระบบ เพื่อ
                   ั

                         ั
ติดต่อระหว่างฮาร์ ดแวร์ กบกับซอฟต์แวร์ ประเภทต่างๆให้สะดวกมากขึ้นเปรี ยบเสมือนเป็ นตัวกลางคอย

จัดการระบบคอมพิวเตอร์ ระหว่างโปรแกรมกับฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบติการ
                                                                                         ั

เป็ นเฟิ ร์ มแวร์ ก็ได้

Software, Hardware, Firmware

     • Software OS - เป็ นโปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่ อง ปรับปรุ งแก้ไขง่าย โดย OS ส่ วนใหญ่

           จะเป็ น Software OS

     • Hardware OS - ทาหน้าที่เดียวกับ Software OS แต่ทางานเร็ วกว่า ปรับปรุ งแก้ไขยาก มีราคาแพง

     • Firmware OS - หมายถึง โปรแกรมส่ วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ คือ ไมโครโปรแกรม (Micro

           program) เกิดจาก คาสั่งไมโคร (Microinstruction) ซึ่ งเป็ นชุดคาสั่งต่าสุ ดของระบบควบคุมการ

           ทางานของ CPU หลาย ๆ คาสั่งรวมกัน

หน้ าที่ของระบบปฏิบัติการ

                                             ้ ั
           1. เป็ นตัวกลางเชื่ อมโยงระหว่างผูใช้กบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการสั่งงาน

คอมพิวเตอร์ โดยการจัดเตรี ยมโปรแกรมระบบปฏิบติการใส่ ไว้ในฮาร์ ดดิสก์ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้
                                           ั

เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อกับผูใช้ ควบคุมการทางานฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมการใช้ดิสก์ไดร์ ฟ
                                ้

ฮาร์ ดดิสก์ คียบอร์ ด และจอภาพ เป็ นต้น
               ์

                                        ่
           2. ทางานร่ วมกับโปรแกรมที่อยูในรอม เมื่อเริ่ มบูทเครื่ อง OS จะทางานต่อจากโปรแกรมประเภท

                                                                                         ่
Firmware ที่จดเก็บไว้ในรอม จะทางานเมื่อเปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ เรามักเรี ยกFirmware นี้วา BIOS (Basic
             ั
Input Output System) โดย BIOS จะทาการตรวจสอบความพร้อม ระบบฮาร์ ดแวร์ ของคอมพิวเตอร์ จากนั้น

จึงส่ งหน้าที่ให้แก่ OS เพื่อให้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์

         3. จัดตารางการใช้ทรัพยากร การเข้าใช้หน่วยประมวลผลกลาง ของคาสังที่ผใช้สงงาน เช่นกาหนด
                                                                     ่ ู ้ ่ั
วิธีการจัดคิว (Queue) ของคาสั่ง เวลาที่ OS อนุ ญาตให้ใช้ซีพียู ของแต่ละคาสั่ง ทั้งนี้เพื่อให้หน่วย

ประมวลผลกลาง ทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด

         4. จัดการข้อมูลและสารสนเทศในหน่วยความจา ได้แก่การนาข้อมูลไปวาง (Placement)ใน

หน่วยความจา การแทนที่ขอมูลในหน่วยความจา (Replacement) การย้ายข้อมูลในหน่วยความจา
                      ้

         5. จัดการระบบการจัดเก็บไฟล์ขอมูลลงบนสื่ อสารอง (Secondary Storage Unit)
                                     ้

         6. นาโปรแกรมประเภทอื่น เข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ นอกจากประมวลผลแล้วยังคอย

ให้บริ การ เมื่อโปรแกรมต่างๆ ต้องการใช้ทรัพยากรของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่หน่วยความจา ฮาร์ ดดิสก์

ดิสก์ไดร์ ฟ เครื่ องพิมพ์ เป็ นต้น

         7. จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย

         8. จัดการเชื่ อมต่อและควบคุมอุปกรณ์รอบข้างของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่ องสแกนเนอร์ การ์ ดเสี ยง

และ โมเด็ม เป็ นต้น

คุณลักษณะของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ

พิจารณาคุณลักษณะของโปรแกรมระบบปฏิบติการตามลักษณะต่างๆ ดังนี้
                                  ั

    • จานวนงานที่ทาได้ ถ้ามีหลายโปรแกรมทางานพร้อมกันได้ เรี ยกว่า Multi - Tasking แต่ถา OS
                                                                                      ้

         ควบคุมให้โปรแกรมทางานได้ครั้งละ 1 โปรแกรมเท่านั้น เราเรี ยกว่า Single - Tasking



                                          Multi - Tasking
                                                                                                     Single - Tasking
• จานวนผู้ใช้ จานวนผูใช้ OS สามารถควบคุมการทางาน ให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานพร้อม ๆ
                           ้
      กันได้ หลายเครื่ องในระบบเครื อข่ายที่มีผใช้หลายคน ถ้า OS สามารถจัดการระบบที่มีผใช้หลายๆ
                                                ู้                                    ู้
      คน พร้อมกันได้ในระบบเรี ยกว่า Multi-User แต่ถา OS สามารถจัดการระบบ ได้เพียงเครื่ องเดียว
                                                         ้
      หรื อมีผใช้ระบบ ได้เพียงครั้งละ 1 คน เรี ยกว่า Single - User
              ู้
ระบบปฏิบัติการ แบบ Text-Based Command Language
   • ระบบปฏิบติการแบบตัวอักษรที่รับคาสั่งด้วยการพิมพ์คาสั่ง
                  ั
   • Input Device หลักคือ Keyboard
   • ผูใช้ตองรู ้คาสั่ง
        ้ ้




ระบบปฏิบัติการแบบ GUI Graphical User Interface




    • ระบบปฏิบติการแบบกราฟิ กที่รับคาสั่งด้วยการชี้และเลือกคาสั่งจาก Icon และ Menu
                ั
    • Input Device หลักคือ อุปกรณ์การชี้ (Pointing Devices)
        ประเภทของระบบปฏิบัติการ
        ระบบปฏิบัติการดอส (DOS : Disk Operating System)
               เริ่ มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่ อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรี ยกว่าโปรแกรม PC-DOS
ต่อมาบริ ษทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทวไป และได้รับความนิยมอย่าง
          ั                                                               ั่
แพร่ หลายมาจนถึงปั จจุบน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 6.22 ปัจจุบนมีซอฟต์แวร์
                         ั                                                                ั
ทางานภายใต้ระบบปฏิบติการ MS-DOS อยูเ่ ป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ รุ่นเก่าๆ ที่มี
                         ั
ทรัพยากรของระบบน้อย
       ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ MS-Dos




           การใช้คาสังดอส โดยการพิมพ์คาสังที่เครื่ องหมายพร้อมรับคาสัง ในลักษณะ Command Line ซึ่ง
                      ่                        ่                        ่
DOS ติดต่อกับผูใช้ดวยการพิมพ์คาสั่ง ไม่มีภาพกราฟิ กให้ใช้ เรี ยกว่าทางานในโหมดตัวอักษร Text Mode
                   ้ ้
           ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95Microsoft Windows 95
                                                       ั
                    วางจาหน่ายในช่วงปลายปี 1995 ใช้กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทวๆ ไป ที่มีคุณลักษณะ
                                                                            ่ั
ฮาร์ ดแวร์ และหน่วยความจาสู งกว่า Dos ต้องใช้พ้ืนที่ฮาร์ ดดิสก์ประมาณ 40 MB มีรูปแบบการติดต่อ
กับผูใช้ (User Interface) เป็ นภาพกราฟิ ก ทาให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งานยิงขึ้น การใช้งานควบคุม
      ้                                                                        ่
โปรแกรมโดยใช้เมาส์เป็ นส่ วนใหญ่ สามารถตรวจสอบอุปกรณ์ที่นามาเชื่ อมต่อใหม่ได้อย่างอัตโนมัติ
เรี ยกว่า (Plug and Play) นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการเชื่ อมต่อเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
           ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 98Microsoft Windows 98
                             เป็ นระบบปฏิบติการที่มีความสามารถสู ง พัฒนาต่อมาจาก วินโดวส์ 95 สามารถ
                                          ั
ทางานแบบหลายงาน (Multi-Tasking) มีผใช้ในระบบเพียงคนเดียวแบบ (Single- User) ได้ และสามารถ
                                            ู้
             ั
นาไปใช้กบคอมพิวเตอร์ ได้ทวไป ติดต่อกับผูใช้แบบ (GUI) เช่นเดียวกันกับวินโดวส์ 95 แต่ปรับรู ปแบบ
                                  ั่             ้
ให้ดูสวยงามและอัตโนมัติยงขึ้น มีความสามารถ ในการเชื่ อมต่อกับระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้สะดวก
                               ิ่
ยิงขึ้น มีโปรแกรม Internet Explore มาพร้อม
  ่
           ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows 95/98
ระบบปฏิบัติการ Windows ME Windows Millennium Edition
     เป็ นระบบปฏิบติการที่ถูกพัฒนาขึ้นมาจากวินโดวส์ 95 และ98ออกแบบมาให้เหมาะสมกับผูใช้ตามบ้าน
                    ั                                                                  ้
เป็ นระบบปฏิบติการที่ฉลาด ทันสมัย และเข้าใจผูใช้ มากกว่าวินโดวส์ 95 และ 98 หน้าตาของ Windows ME
                ั                               ้
จะมีรูปลักษณ์เหมือนกับวินโดวส์ 98 มาก เพียงแต่มีคุณลักษณะพิเศษที่เหนือกว่าเดิมมาก สามารถสร้าง
ระบบเครื อข่ายภายในบ้านได้มีความสามารถด้านอินเทอร์ เน็ตและมัลติมีเดียมากกว่าวินโดวส์ 98 อีกด้วย
           ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows ME




          ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 (Microsoft Windows 2000)
          เป็ นระบบปฏิบติการที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองระบบเครื อข่าย และเป็ น OS ที่สร้างขึ้นมาเป็ น GUI
                           ั
        ้                                            ั
ตั้งแต่ตน ดังนั้นในการนา Application เดิมๆ ที่เคยใช้กบระบบปฏิบติการดอส หรื อโปรแกรม ที่สั่งงาน
                                                                  ั
ฮาร์ดแวร์ โดยตรง มาใช้บนระบบปฏิบติการ วินโดวส์ 2000 อาจไม่ยอมทางานให้ แต่การทางานระบบ
                                        ั
Multi-Tasking และ Multi-User ใช้งานได้ดีกว่าตระกูลวินโดวส์ 95 และ 98 โดยทาการควบคุมขบวนการ
ทางานของแต่ละโปรแกรมได้ดีข้ ึน
          ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows 2000
ระบบปฏิบัติการ Windows NT (Microsoft Windows New Technology)
          เป็ นระบบปฏิบติการที่มีความสามารถในการจัดการเครื อข่าย ในระยะใกล้ (LAN : Local Area
                           ั
Network) โดยจัดการด้านการติดต่อสื่ อสาร ระหว่างคอมพิวเตอร์ และการรักษาความปลอดภัยใน
เครื อข่าย ได้เป็ นอย่างดี ในระบบเครื อข่ายจะมีผใช้งานหลายคน วินโดวส์ NT จะทาการจัดทรัพยากรของ
                                                ู้
ระบบ ให้มีการใช้ร่วมกันอย่างมีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด รวมถึงการติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่าง
คอมพิวเตอร์ ดวยกัน และรองรับการเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ต ได้เป็ นอย่างดี
                ้
          ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows NT




ระบบปฏิบัติการ Windows XP (Microsoft Windows Experience)
         เริ่ มวางตลาดในปี ค.ศ. 2001 โดยคาว่า XP ย่อมาจาก experience แปลว่ามีประสบการณ์ ทุกๆ 2 ปี
บริ ษทผูผลิตจะวางตลาดวินโดวส์รุ่นใหม่ๆ โดยได้ใส่ เทคโนโลยีที่ทนสมัย และเปลี่ยนแปลงสิ่ งที่เป็ น
     ั ้                                                        ั
ข้อด้อยของรุ่ นเก่า Windows XP มีจุดเด่นและความสามารถมากมาย ไม่วาจะเป็ นระบบใช้งานที่ดูสวยงาม
                                                                     ่
และง่ายกว่าวินโดวส์รุ่นเก่าๆ มีระบบช่วยเหลือในการปรับแต่งมากมาย เหมาะสาหรับนักคอมพิวเตอร์
มือใหม่ และผูใช้งานทัวไปอย่างยิง
                 ้      ่        ่
          ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows XP
Windows XP มีให้เลือกใช้สองรุ่ นคือ Windows XP Home Edition ซึ่งเหมาะสาหรับผูใช้งานตาม้
บ้าน ที่ไม่เชื่อมต่อกับเครื อข่าย และอีกรุ่ นคือ Windows Xp Professional Edition ซึ่ งเหมาะกับผูใช้งานใน
                                                                                                 ้
องค์กรตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับระบบเครื อข่ายได้ดี คนที่ใช้วนโดวส์เวอร์
                                                                                                   ิ
ชัน XP จะต้องใช้เครื่ องที่มีทรัพยากรมาก เช่น ซี พยู เพนเทียม 300 MHz ขึ้นไป แรมไม่ต่ากว่า 128 MB
  ่                                                 ี
                        ่
ฮาร์ ดดิสก์เหลือพื้นที่วางมากกว่า 1.5 GB เป็ นต้น
         ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ Linux
         เป็ นระบบปฏิบติการที่มีความสามารถสู ง ในการบริ หารระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต มีลกษณะ
                          ั                                                                          ั
                                                             ่
คล้ายการจาลองการทางาน มาจากยูนิกซ์ แต่จะมีความยืดหยุนในการทางานมากกว่า เป็ นระบบปฏิบติการ              ั
ประเภทแจกฟรี (Open Source) ผูนาไปใช้งาน สามารถที่จะพัฒนาและปรับปรุ งในส่ วนที่เกิดปั ญหาระหว่าง
                                    ้
ใช้งานได้ทนที อีกทั้งยังสามารถปรับให้เข้ากับฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้เพื่อให้ได้ประสิ ทธิ ภาพของระบบมากที่สุด
             ั
และยังมีการเพิมสมรรถนะ (Update) อยูตลอดเวลา
                 ่                          ่




         ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Linux
         ถือกาเนิดขึ้นในฟิ นแลนด์ ปี คศ. 1980 โดยลีนุส โทรวัลด์ส (Linus Trovalds) นักศึกษาภาควิชา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) ในมหาวิทยาลัยเฮลซิ งกิ
         ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ Unix
                                                                        ั
         เป็ นระบบปฏิบติการที่เคยพัฒนาในห้องแล็บ Bellสร้างขึ้นเพื่อใช้กบเครื่ องมินิคอมพิวเตอร์ และ
                          ั
เมนเฟรม ใช้ในการควบคุมการทางานของศูนย์คอมพิวเตอร์ ที่มีการเชื่ อมลูกข่ายคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์
ต่อพ่วงเป็ นจานวนมาก ดังนั้นยูนิกซ์ จึงมักใช้ในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ และมีการ
                                                                          ั
เชื่อมต่อเครื อข่ายระยะไกลต่อมาได้มีการพัฒนาให้สามารถนายูนิกซ์มาใช้กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ได้ คาดว่า
ยูนิกซ์จะเป็ นที่นิยมต่อไป
ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Unix




      • ลักษณะการทางาน ยูนิกซ์ ติดต่อกับผูใช้ได้โดยการพิมพ์คาสั่งลงบนเครื่ องหมาย Prompt Sign แต่
                                               ้
                                                                   ่
         ในปั จจุบน สามารถจาลองจอภาพการทางานของยูนิกซ์ ให้อยูในสภาพแวดล้อมของวินโดวส์ได้
                    ั
         แล้ว ทาให้สามารถทางานติดต่อกับผูใช้ได้สะดวกมากยิงขึ้น
                                             ้               ่
      • คุณสมบัติพิเศษของยูนิกซ์ คือ เรื่ องของการรักษาความปลอดภัย ในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
         รวมทั้งมีความสามารถสู งในด้านการติดต่อสื่ อสารระยะไกลระหว่างคอมพิวเตอร์ ทาให้ยนิกซ์ถูกู
         นามาใช้เป็ นระบบปฏิบติการสาหรับเครื อข่ายของโลกที่เรี ยกว่า อินเทอร์ เน็ต ดังนั้นก่อนที่ผใช้จะ
                                  ั                                                               ู้
         เข้าสู่ ระบบยูนิกซ์ ได้จะต้องทาการพิมพ์ Login Name และ (Password)
      ระบบปฏิบัติการ Mac (Macintosh)
             เป็ นระบบ ปฏิบติการของเครื่ องแมคอินทอช เป็ นผลิตภัณฑ์แรกที่ประสบความสาเร็ จเกี่ยวกับ
                               ั
การทางานแบบ GUI ในปี ค.ศ. 1984 ของบริ ษท Apple ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็ นระบบปฏิบติการ Mac
                                                 ั                                           ั
OS โดยเวอร์ ชนล่าสุ ดมีชื่อเรี ยกว่า Mac OS X เหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ ที่ผลิตโดยบริ ษท Apple และมี
                  ั                                                                  ั
ความสามารถในการทางานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multitasking) เหมาะกับงานในด้านเดสก์ทอปพับลิช
ชิ่ง (Desktop Publishing)
             ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Mac
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ วสต้ า (Microsoft Windows Vista)
                                 ิ
          Microsoft Windows Vista เป็ นโปรแกรมระบบปฏิบติการรุ่ นใหม่ล่าสุ ดจากไมโครซอฟท์ ที่พฒนา
                                                             ั                                ั
ต่อจาก Windows XP และ Windows Server 2003 ที่ได้รับการปรับปรุ งและพัฒนาให้มีความล้ าสมัย ทั้ง
รู ปร่ างหน้าตา และฟังก์ชนการใช้งานต่างๆ และได้ปรับปรุ งเรื่ องความปลอดภัยและเน็ตเวิร์คให้สามารถ
                            ั่
                               ่        ั                  ั
ทางานได้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ปั จจุบนได้วางจาหน่ายให้กบองค์กรธุ รกิจวันที่ 8 พฤศจิกายน 2549 และ
                  ั ้ ั่
วางจาหน่ายให้กบผูใช้ทวไปวันที่ 30 มกราคม 2550
          Windows Vista นั้นมาพร้อมกับรู ปร่ างหน้าตาแบบใหม่หมด เพื่อที่จะได้ รับประโยชน์จากกราฟิ ก 3
มิติแบบฮาร์ ดแวร์ หน้าต่างของโปรแกรมนั้นจะ ถูกเปลี่ยนใหม่เป็ นแบบแก้วใส (Glass) ให้ความรู้สึกที่มีมิติ
และความลึก เข้าไปเมื่อคุณเปิ ดหลายๆวินโดว์พร้อมกันบนหน้าจอ หน้าตาของ Vista นี้ มีชื่อว่า Aero Glass
ไม่เพียงแค่มนใสๆได้ ยังมีลูกเล่นที่เรี ยกว่า Windows Preview
              ั
           ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows Vista




Windows                                                                                    7
         Windows 7 คือ ระบบปฏิบติการตัวใหม่ล่าสุ ดจากไมโครซอฟท์ มีกา หนดวางจา หน่ายในวันที่ 22
                                     ั
ตุลาคม 2009 หลังจากที่วางจา หน่าย Windows Vista ซึ่ งทางยอดขายได้สูงมาก (แต่ผลตอบรับไม่ค่อยน่า
พอใจ) ในช่วง 2 – 3 ปี ที่ผานมา โดย Windows 7 นี้นบได้เป็ นระบบปฏิบติการรุ่ นที่ 7 ของไมโครซอฟท์
                            ่                         ั                      ั
นับตั้งแต่ Windows 1.0 เป็ นต้นมา
         ทีมาของชื่อ Windows 7
            ่
         ตั้งแต่ Windows รุ่ นแรก (1.0) นั้น ถ้าลองนับดูเล่นๆ ไมโครซอฟท์มีระบบปฏิบติการณ์ Windows
                                                                                           ั
มาแล้วไม่ต่ากว่า 10 รุ่ นครับ แต่ทา ไม Windows รุ่ นนี้ซ่ ึ งน่าจะชื่อว่า Windows 11 หรื อ Windows 12 หรื อ
                      ่
Windows 2009 ก็วากันไปแต่ทา ไมกลับมาชื่อ Windows 7 ทางทีมผูสร้าง Windows เค้าให้คา ตอบไว้แบบนี้
                                                                         ้
รุ่ นแรก ถึงรุ่ นที่สาม คือ Windows 1.0 – 3.0 ตามลาดับ *
1. รุ่ นที่สี่ ได้แก่ Windows 95 (4.0) , 98 (4.0.1998) , Me (4.90.3000)
           2. รุ่ นที่หา ได้แก่ Windows 2000 (5.0) และ Windows XP (5.1)
                         ้
           3. รุ่ นที่หก Windows Vista (6.0)
           4. และรุ่ นที่เจ็ดก็คือ Windows 7 (6.1)
            * Windows 1.0 – 3.1 ยังไม่ใช่ระบบปฏิบติการเต็มตัวครับ เป็ นเพียงโปรแกรมที่ทา งานบนดอส
                                                          ั
รุ่ นต่ างๆ ของ Windows 7




        ไมโครซอฟท์ได้ทาการแบ่งรุ่ นต่างๆ ของ Windows 7 ออกเป็ น 6 รุ่ นย่อยๆ แต่ท่ีจะมีวางขายสา
หรับผูใช้ทวๆ ไปจะมีแค่ 3 รุ่ นเท่านั้น ได้แก่ Home Premium, Professional และ Ultimate ส่ วนรุ่ นอื่นๆ ที่
       ้ ่ั
ไม่ได้วางขายจะมีสาหรับผูใช้อื่นๆ เช่น ติดตั้ง มาพร้อมกับเครื่ อง เป็ นต้น
                         ้

           สาหรับ Windows 7 ทั้ง 6 รุ่ นก็มีดังนีครับ
                                                    ้
           1. Windows 7 Starter รุ่ นเล็กสุ ด มีฟีเจอร์ การทา งานน้อยสุ ด เหมาะสา หรับเล่นเน็ต เช็คอีเมลล์รุ่นนี้
ไม่มีวางขาย แต่จะติดตั้ง มาพร้อมกับ Netbook เท่านั้น
           2. Windows 7 Home Basic รุ่ นนี้ไม่มีวางขาย แต่จะติดตั้ง มาพร้อมกับเครื่ องใหม่ๆ เท่านั้น และจะมี
เฉพาะในบางประเทศเท่านั้น
           3. Windows 7 Home Premium เป็ นรุ่ นเล็กสุ ดที่มีวางขายแบบกล่องทัวโลก มาพร้อมกับ
                                                                                ่
ความสามารถด้านมัลติมีเดียครบครัน สา หรับผูใช้ทวไปเพียงรุ่ นนี้ก็เพียงพอแล้วครับ
                                                      ้ ั่
           4.Windows 7 Professional รุ่ นนี้ฟีเจอร์ ทว ไปไม่แตกต่างจากรุ่ น Home Premium เท่าไรนัก ที่เพิ่ม
                                                       ั่
เข้ามาคือสามารถใช้ Windows XP Mode ได้
           5. Windows 7 Ultimate เชื่อว่าหลายคนคงได้ลองใช้กนมาบ้างแล้ว เป็ นรุ่ นใหญ่สุดของ Windows 7
                                                                  ั
ที่เพิ่มคุณสมบัติอย่าง Bitlocker และสามารถเปลี่ยน UI เป็ นภาษาต่างๆ ได้
           6. Windows 7 Enterprise รุ่ นนี้ไม่มีอะไรแตกต่างจากรุ่ น Ultimate ครับ แต่จะมีขายสา หรับองค์กร
ขนาดใหญ่เท่านั้น

Contenu connexe

Tendances

ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวMilkSick
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวMilkSick
 
ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]Pheeranan Thetkham
 
ระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวPheeranan Thetkham
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSiriwan Udomtragulwong
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSiriwan Udomtragulwong
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการrunjaun
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการrunjaun
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 

Tendances (14)

ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
 
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาวระบบปฏิบั..[1] ขาว
ระบบปฏิบั..[1] ขาว
 
ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]ระบบปฏิบั..[1]
ระบบปฏิบั..[1]
 
ระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมวระบบปฏิบั..[1] แมว
ระบบปฏิบั..[1] แมว
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 

En vedette

แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนMayuree Janpakwaen
 

En vedette (19)

Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Lernning 10.1
Lernning 10.1Lernning 10.1
Lernning 10.1
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Lernning 12
Lernning 12Lernning 12
Lernning 12
 
Lernning 11
Lernning 11Lernning 11
Lernning 11
 
Lernning 10.2
Lernning 10.2Lernning 10.2
Lernning 10.2
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Prostes
ProstesProstes
Prostes
 
Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 07
Lernning 07Lernning 07
Lernning 07
 
Lernning 14
Lernning 14Lernning 14
Lernning 14
 
Lernning 13
Lernning 13Lernning 13
Lernning 13
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Lernning 15
Lernning 15Lernning 15
Lernning 15
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 

Similaire à Learnning 04

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นwiratchadaporn
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
Ch03 handout
Ch03 handoutCh03 handout
Ch03 handoutNaret Su
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มNoomim
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตยระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตยToey_Wanatsanan
 
ระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบpuangtong
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01tonglots
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)jiratchayalert
 

Similaire à Learnning 04 (20)

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Ch03 handout
Ch03 handoutCh03 handout
Ch03 handout
 
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้มระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
ระบบปฏิบัติการ1 มิ้ม
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตยระบบปฏิบัติการ เตย
ระบบปฏิบัติการ เตย
 
ระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบระบบปฏิบัติการ โบ
ระบบปฏิบัติการ โบ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
 
บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
 

Plus de Mayuree Janpakwaen (14)

Job 15
Job 15Job 15
Job 15
 
Job 14
Job 14Job 14
Job 14
 
Job 13
Job 13Job 13
Job 13
 
Job 08
Job 08Job 08
Job 08
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
Job 07
Job 07Job 07
Job 07
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 4
Job 4Job 4
Job 4
 
Job 03
Job 03Job 03
Job 03
 
Job 12
Job 12Job 12
Job 12
 
Job 11
Job 11Job 11
Job 11
 
Job10.2
Job10.2Job10.2
Job10.2
 
Job10.1
Job10.1Job10.1
Job10.1
 

Learnning 04

  • 1. ใบความรู้ ที่ 4 เรื่อง ระบบปฏิบัติการ ความหมายของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบติการ Operating System : OS คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการจัดการระบบ เพื่อ ั ั ติดต่อระหว่างฮาร์ ดแวร์ กบกับซอฟต์แวร์ ประเภทต่างๆให้สะดวกมากขึ้นเปรี ยบเสมือนเป็ นตัวกลางคอย จัดการระบบคอมพิวเตอร์ ระหว่างโปรแกรมกับฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบติการ ั เป็ นเฟิ ร์ มแวร์ ก็ได้ Software, Hardware, Firmware • Software OS - เป็ นโปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่ อง ปรับปรุ งแก้ไขง่าย โดย OS ส่ วนใหญ่ จะเป็ น Software OS • Hardware OS - ทาหน้าที่เดียวกับ Software OS แต่ทางานเร็ วกว่า ปรับปรุ งแก้ไขยาก มีราคาแพง • Firmware OS - หมายถึง โปรแกรมส่ วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ คือ ไมโครโปรแกรม (Micro program) เกิดจาก คาสั่งไมโคร (Microinstruction) ซึ่ งเป็ นชุดคาสั่งต่าสุ ดของระบบควบคุมการ ทางานของ CPU หลาย ๆ คาสั่งรวมกัน หน้ าที่ของระบบปฏิบัติการ ้ ั 1. เป็ นตัวกลางเชื่ อมโยงระหว่างผูใช้กบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการสั่งงาน คอมพิวเตอร์ โดยการจัดเตรี ยมโปรแกรมระบบปฏิบติการใส่ ไว้ในฮาร์ ดดิสก์ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ ั เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อกับผูใช้ ควบคุมการทางานฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมการใช้ดิสก์ไดร์ ฟ ้ ฮาร์ ดดิสก์ คียบอร์ ด และจอภาพ เป็ นต้น ์ ่ 2. ทางานร่ วมกับโปรแกรมที่อยูในรอม เมื่อเริ่ มบูทเครื่ อง OS จะทางานต่อจากโปรแกรมประเภท ่ Firmware ที่จดเก็บไว้ในรอม จะทางานเมื่อเปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ เรามักเรี ยกFirmware นี้วา BIOS (Basic ั
  • 2. Input Output System) โดย BIOS จะทาการตรวจสอบความพร้อม ระบบฮาร์ ดแวร์ ของคอมพิวเตอร์ จากนั้น จึงส่ งหน้าที่ให้แก่ OS เพื่อให้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ 3. จัดตารางการใช้ทรัพยากร การเข้าใช้หน่วยประมวลผลกลาง ของคาสังที่ผใช้สงงาน เช่นกาหนด ่ ู ้ ่ั วิธีการจัดคิว (Queue) ของคาสั่ง เวลาที่ OS อนุ ญาตให้ใช้ซีพียู ของแต่ละคาสั่ง ทั้งนี้เพื่อให้หน่วย ประมวลผลกลาง ทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด 4. จัดการข้อมูลและสารสนเทศในหน่วยความจา ได้แก่การนาข้อมูลไปวาง (Placement)ใน หน่วยความจา การแทนที่ขอมูลในหน่วยความจา (Replacement) การย้ายข้อมูลในหน่วยความจา ้ 5. จัดการระบบการจัดเก็บไฟล์ขอมูลลงบนสื่ อสารอง (Secondary Storage Unit) ้ 6. นาโปรแกรมประเภทอื่น เข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ นอกจากประมวลผลแล้วยังคอย ให้บริ การ เมื่อโปรแกรมต่างๆ ต้องการใช้ทรัพยากรของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่หน่วยความจา ฮาร์ ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ ฟ เครื่ องพิมพ์ เป็ นต้น 7. จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย 8. จัดการเชื่ อมต่อและควบคุมอุปกรณ์รอบข้างของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่ องสแกนเนอร์ การ์ ดเสี ยง และ โมเด็ม เป็ นต้น คุณลักษณะของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ พิจารณาคุณลักษณะของโปรแกรมระบบปฏิบติการตามลักษณะต่างๆ ดังนี้ ั • จานวนงานที่ทาได้ ถ้ามีหลายโปรแกรมทางานพร้อมกันได้ เรี ยกว่า Multi - Tasking แต่ถา OS ้ ควบคุมให้โปรแกรมทางานได้ครั้งละ 1 โปรแกรมเท่านั้น เราเรี ยกว่า Single - Tasking Multi - Tasking Single - Tasking
  • 3. • จานวนผู้ใช้ จานวนผูใช้ OS สามารถควบคุมการทางาน ให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานพร้อม ๆ ้ กันได้ หลายเครื่ องในระบบเครื อข่ายที่มีผใช้หลายคน ถ้า OS สามารถจัดการระบบที่มีผใช้หลายๆ ู้ ู้ คน พร้อมกันได้ในระบบเรี ยกว่า Multi-User แต่ถา OS สามารถจัดการระบบ ได้เพียงเครื่ องเดียว ้ หรื อมีผใช้ระบบ ได้เพียงครั้งละ 1 คน เรี ยกว่า Single - User ู้ ระบบปฏิบัติการ แบบ Text-Based Command Language • ระบบปฏิบติการแบบตัวอักษรที่รับคาสั่งด้วยการพิมพ์คาสั่ง ั • Input Device หลักคือ Keyboard • ผูใช้ตองรู ้คาสั่ง ้ ้ ระบบปฏิบัติการแบบ GUI Graphical User Interface • ระบบปฏิบติการแบบกราฟิ กที่รับคาสั่งด้วยการชี้และเลือกคาสั่งจาก Icon และ Menu ั • Input Device หลักคือ อุปกรณ์การชี้ (Pointing Devices) ประเภทของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการดอส (DOS : Disk Operating System) เริ่ มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่ อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรี ยกว่าโปรแกรม PC-DOS ต่อมาบริ ษทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทวไป และได้รับความนิยมอย่าง ั ั่ แพร่ หลายมาจนถึงปั จจุบน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 6.22 ปัจจุบนมีซอฟต์แวร์ ั ั
  • 4. ทางานภายใต้ระบบปฏิบติการ MS-DOS อยูเ่ ป็ นจานวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์ รุ่นเก่าๆ ที่มี ั ทรัพยากรของระบบน้อย ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ MS-Dos การใช้คาสังดอส โดยการพิมพ์คาสังที่เครื่ องหมายพร้อมรับคาสัง ในลักษณะ Command Line ซึ่ง ่ ่ ่ DOS ติดต่อกับผูใช้ดวยการพิมพ์คาสั่ง ไม่มีภาพกราฟิ กให้ใช้ เรี ยกว่าทางานในโหมดตัวอักษร Text Mode ้ ้ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95Microsoft Windows 95 ั วางจาหน่ายในช่วงปลายปี 1995 ใช้กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทวๆ ไป ที่มีคุณลักษณะ ่ั ฮาร์ ดแวร์ และหน่วยความจาสู งกว่า Dos ต้องใช้พ้ืนที่ฮาร์ ดดิสก์ประมาณ 40 MB มีรูปแบบการติดต่อ กับผูใช้ (User Interface) เป็ นภาพกราฟิ ก ทาให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งานยิงขึ้น การใช้งานควบคุม ้ ่ โปรแกรมโดยใช้เมาส์เป็ นส่ วนใหญ่ สามารถตรวจสอบอุปกรณ์ที่นามาเชื่ อมต่อใหม่ได้อย่างอัตโนมัติ เรี ยกว่า (Plug and Play) นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการเชื่ อมต่อเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 98Microsoft Windows 98 เป็ นระบบปฏิบติการที่มีความสามารถสู ง พัฒนาต่อมาจาก วินโดวส์ 95 สามารถ ั ทางานแบบหลายงาน (Multi-Tasking) มีผใช้ในระบบเพียงคนเดียวแบบ (Single- User) ได้ และสามารถ ู้ ั นาไปใช้กบคอมพิวเตอร์ ได้ทวไป ติดต่อกับผูใช้แบบ (GUI) เช่นเดียวกันกับวินโดวส์ 95 แต่ปรับรู ปแบบ ั่ ้ ให้ดูสวยงามและอัตโนมัติยงขึ้น มีความสามารถ ในการเชื่ อมต่อกับระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้สะดวก ิ่ ยิงขึ้น มีโปรแกรม Internet Explore มาพร้อม ่ ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows 95/98
  • 5. ระบบปฏิบัติการ Windows ME Windows Millennium Edition เป็ นระบบปฏิบติการที่ถูกพัฒนาขึ้นมาจากวินโดวส์ 95 และ98ออกแบบมาให้เหมาะสมกับผูใช้ตามบ้าน ั ้ เป็ นระบบปฏิบติการที่ฉลาด ทันสมัย และเข้าใจผูใช้ มากกว่าวินโดวส์ 95 และ 98 หน้าตาของ Windows ME ั ้ จะมีรูปลักษณ์เหมือนกับวินโดวส์ 98 มาก เพียงแต่มีคุณลักษณะพิเศษที่เหนือกว่าเดิมมาก สามารถสร้าง ระบบเครื อข่ายภายในบ้านได้มีความสามารถด้านอินเทอร์ เน็ตและมัลติมีเดียมากกว่าวินโดวส์ 98 อีกด้วย ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows ME ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 (Microsoft Windows 2000) เป็ นระบบปฏิบติการที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองระบบเครื อข่าย และเป็ น OS ที่สร้างขึ้นมาเป็ น GUI ั ้ ั ตั้งแต่ตน ดังนั้นในการนา Application เดิมๆ ที่เคยใช้กบระบบปฏิบติการดอส หรื อโปรแกรม ที่สั่งงาน ั ฮาร์ดแวร์ โดยตรง มาใช้บนระบบปฏิบติการ วินโดวส์ 2000 อาจไม่ยอมทางานให้ แต่การทางานระบบ ั Multi-Tasking และ Multi-User ใช้งานได้ดีกว่าตระกูลวินโดวส์ 95 และ 98 โดยทาการควบคุมขบวนการ ทางานของแต่ละโปรแกรมได้ดีข้ ึน ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows 2000
  • 6. ระบบปฏิบัติการ Windows NT (Microsoft Windows New Technology) เป็ นระบบปฏิบติการที่มีความสามารถในการจัดการเครื อข่าย ในระยะใกล้ (LAN : Local Area ั Network) โดยจัดการด้านการติดต่อสื่ อสาร ระหว่างคอมพิวเตอร์ และการรักษาความปลอดภัยใน เครื อข่าย ได้เป็ นอย่างดี ในระบบเครื อข่ายจะมีผใช้งานหลายคน วินโดวส์ NT จะทาการจัดทรัพยากรของ ู้ ระบบ ให้มีการใช้ร่วมกันอย่างมีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด รวมถึงการติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่าง คอมพิวเตอร์ ดวยกัน และรองรับการเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ต ได้เป็ นอย่างดี ้ ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows NT ระบบปฏิบัติการ Windows XP (Microsoft Windows Experience) เริ่ มวางตลาดในปี ค.ศ. 2001 โดยคาว่า XP ย่อมาจาก experience แปลว่ามีประสบการณ์ ทุกๆ 2 ปี บริ ษทผูผลิตจะวางตลาดวินโดวส์รุ่นใหม่ๆ โดยได้ใส่ เทคโนโลยีที่ทนสมัย และเปลี่ยนแปลงสิ่ งที่เป็ น ั ้ ั ข้อด้อยของรุ่ นเก่า Windows XP มีจุดเด่นและความสามารถมากมาย ไม่วาจะเป็ นระบบใช้งานที่ดูสวยงาม ่ และง่ายกว่าวินโดวส์รุ่นเก่าๆ มีระบบช่วยเหลือในการปรับแต่งมากมาย เหมาะสาหรับนักคอมพิวเตอร์ มือใหม่ และผูใช้งานทัวไปอย่างยิง ้ ่ ่ ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows XP
  • 7. Windows XP มีให้เลือกใช้สองรุ่ นคือ Windows XP Home Edition ซึ่งเหมาะสาหรับผูใช้งานตาม้ บ้าน ที่ไม่เชื่อมต่อกับเครื อข่าย และอีกรุ่ นคือ Windows Xp Professional Edition ซึ่ งเหมาะกับผูใช้งานใน ้ องค์กรตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับระบบเครื อข่ายได้ดี คนที่ใช้วนโดวส์เวอร์ ิ ชัน XP จะต้องใช้เครื่ องที่มีทรัพยากรมาก เช่น ซี พยู เพนเทียม 300 MHz ขึ้นไป แรมไม่ต่ากว่า 128 MB ่ ี ่ ฮาร์ ดดิสก์เหลือพื้นที่วางมากกว่า 1.5 GB เป็ นต้น ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ Linux เป็ นระบบปฏิบติการที่มีความสามารถสู ง ในการบริ หารระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต มีลกษณะ ั ั ่ คล้ายการจาลองการทางาน มาจากยูนิกซ์ แต่จะมีความยืดหยุนในการทางานมากกว่า เป็ นระบบปฏิบติการ ั ประเภทแจกฟรี (Open Source) ผูนาไปใช้งาน สามารถที่จะพัฒนาและปรับปรุ งในส่ วนที่เกิดปั ญหาระหว่าง ้ ใช้งานได้ทนที อีกทั้งยังสามารถปรับให้เข้ากับฮาร์ ดแวร์ ที่ใช้เพื่อให้ได้ประสิ ทธิ ภาพของระบบมากที่สุด ั และยังมีการเพิมสมรรถนะ (Update) อยูตลอดเวลา ่ ่ ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Linux ถือกาเนิดขึ้นในฟิ นแลนด์ ปี คศ. 1980 โดยลีนุส โทรวัลด์ส (Linus Trovalds) นักศึกษาภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) ในมหาวิทยาลัยเฮลซิ งกิ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ Unix ั เป็ นระบบปฏิบติการที่เคยพัฒนาในห้องแล็บ Bellสร้างขึ้นเพื่อใช้กบเครื่ องมินิคอมพิวเตอร์ และ ั เมนเฟรม ใช้ในการควบคุมการทางานของศูนย์คอมพิวเตอร์ ที่มีการเชื่ อมลูกข่ายคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ ต่อพ่วงเป็ นจานวนมาก ดังนั้นยูนิกซ์ จึงมักใช้ในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ และมีการ ั เชื่อมต่อเครื อข่ายระยะไกลต่อมาได้มีการพัฒนาให้สามารถนายูนิกซ์มาใช้กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ได้ คาดว่า ยูนิกซ์จะเป็ นที่นิยมต่อไป
  • 8. ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Unix • ลักษณะการทางาน ยูนิกซ์ ติดต่อกับผูใช้ได้โดยการพิมพ์คาสั่งลงบนเครื่ องหมาย Prompt Sign แต่ ้ ่ ในปั จจุบน สามารถจาลองจอภาพการทางานของยูนิกซ์ ให้อยูในสภาพแวดล้อมของวินโดวส์ได้ ั แล้ว ทาให้สามารถทางานติดต่อกับผูใช้ได้สะดวกมากยิงขึ้น ้ ่ • คุณสมบัติพิเศษของยูนิกซ์ คือ เรื่ องของการรักษาความปลอดภัย ในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีความสามารถสู งในด้านการติดต่อสื่ อสารระยะไกลระหว่างคอมพิวเตอร์ ทาให้ยนิกซ์ถูกู นามาใช้เป็ นระบบปฏิบติการสาหรับเครื อข่ายของโลกที่เรี ยกว่า อินเทอร์ เน็ต ดังนั้นก่อนที่ผใช้จะ ั ู้ เข้าสู่ ระบบยูนิกซ์ ได้จะต้องทาการพิมพ์ Login Name และ (Password) ระบบปฏิบัติการ Mac (Macintosh) เป็ นระบบ ปฏิบติการของเครื่ องแมคอินทอช เป็ นผลิตภัณฑ์แรกที่ประสบความสาเร็ จเกี่ยวกับ ั การทางานแบบ GUI ในปี ค.ศ. 1984 ของบริ ษท Apple ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็ นระบบปฏิบติการ Mac ั ั OS โดยเวอร์ ชนล่าสุ ดมีชื่อเรี ยกว่า Mac OS X เหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ ที่ผลิตโดยบริ ษท Apple และมี ั ั ความสามารถในการทางานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multitasking) เหมาะกับงานในด้านเดสก์ทอปพับลิช ชิ่ง (Desktop Publishing) ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Mac
  • 9. ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ วสต้ า (Microsoft Windows Vista) ิ Microsoft Windows Vista เป็ นโปรแกรมระบบปฏิบติการรุ่ นใหม่ล่าสุ ดจากไมโครซอฟท์ ที่พฒนา ั ั ต่อจาก Windows XP และ Windows Server 2003 ที่ได้รับการปรับปรุ งและพัฒนาให้มีความล้ าสมัย ทั้ง รู ปร่ างหน้าตา และฟังก์ชนการใช้งานต่างๆ และได้ปรับปรุ งเรื่ องความปลอดภัยและเน็ตเวิร์คให้สามารถ ั่ ่ ั ั ทางานได้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ปั จจุบนได้วางจาหน่ายให้กบองค์กรธุ รกิจวันที่ 8 พฤศจิกายน 2549 และ ั ้ ั่ วางจาหน่ายให้กบผูใช้ทวไปวันที่ 30 มกราคม 2550 Windows Vista นั้นมาพร้อมกับรู ปร่ างหน้าตาแบบใหม่หมด เพื่อที่จะได้ รับประโยชน์จากกราฟิ ก 3 มิติแบบฮาร์ ดแวร์ หน้าต่างของโปรแกรมนั้นจะ ถูกเปลี่ยนใหม่เป็ นแบบแก้วใส (Glass) ให้ความรู้สึกที่มีมิติ และความลึก เข้าไปเมื่อคุณเปิ ดหลายๆวินโดว์พร้อมกันบนหน้าจอ หน้าตาของ Vista นี้ มีชื่อว่า Aero Glass ไม่เพียงแค่มนใสๆได้ ยังมีลูกเล่นที่เรี ยกว่า Windows Preview ั ตัวอย่างหน้ าต่ างระบบปฏิบัติการ Windows Vista Windows 7 Windows 7 คือ ระบบปฏิบติการตัวใหม่ล่าสุ ดจากไมโครซอฟท์ มีกา หนดวางจา หน่ายในวันที่ 22 ั ตุลาคม 2009 หลังจากที่วางจา หน่าย Windows Vista ซึ่ งทางยอดขายได้สูงมาก (แต่ผลตอบรับไม่ค่อยน่า พอใจ) ในช่วง 2 – 3 ปี ที่ผานมา โดย Windows 7 นี้นบได้เป็ นระบบปฏิบติการรุ่ นที่ 7 ของไมโครซอฟท์ ่ ั ั นับตั้งแต่ Windows 1.0 เป็ นต้นมา ทีมาของชื่อ Windows 7 ่ ตั้งแต่ Windows รุ่ นแรก (1.0) นั้น ถ้าลองนับดูเล่นๆ ไมโครซอฟท์มีระบบปฏิบติการณ์ Windows ั มาแล้วไม่ต่ากว่า 10 รุ่ นครับ แต่ทา ไม Windows รุ่ นนี้ซ่ ึ งน่าจะชื่อว่า Windows 11 หรื อ Windows 12 หรื อ ่ Windows 2009 ก็วากันไปแต่ทา ไมกลับมาชื่อ Windows 7 ทางทีมผูสร้าง Windows เค้าให้คา ตอบไว้แบบนี้ ้ รุ่ นแรก ถึงรุ่ นที่สาม คือ Windows 1.0 – 3.0 ตามลาดับ *
  • 10. 1. รุ่ นที่สี่ ได้แก่ Windows 95 (4.0) , 98 (4.0.1998) , Me (4.90.3000) 2. รุ่ นที่หา ได้แก่ Windows 2000 (5.0) และ Windows XP (5.1) ้ 3. รุ่ นที่หก Windows Vista (6.0) 4. และรุ่ นที่เจ็ดก็คือ Windows 7 (6.1) * Windows 1.0 – 3.1 ยังไม่ใช่ระบบปฏิบติการเต็มตัวครับ เป็ นเพียงโปรแกรมที่ทา งานบนดอส ั รุ่ นต่ างๆ ของ Windows 7 ไมโครซอฟท์ได้ทาการแบ่งรุ่ นต่างๆ ของ Windows 7 ออกเป็ น 6 รุ่ นย่อยๆ แต่ท่ีจะมีวางขายสา หรับผูใช้ทวๆ ไปจะมีแค่ 3 รุ่ นเท่านั้น ได้แก่ Home Premium, Professional และ Ultimate ส่ วนรุ่ นอื่นๆ ที่ ้ ่ั ไม่ได้วางขายจะมีสาหรับผูใช้อื่นๆ เช่น ติดตั้ง มาพร้อมกับเครื่ อง เป็ นต้น ้ สาหรับ Windows 7 ทั้ง 6 รุ่ นก็มีดังนีครับ ้ 1. Windows 7 Starter รุ่ นเล็กสุ ด มีฟีเจอร์ การทา งานน้อยสุ ด เหมาะสา หรับเล่นเน็ต เช็คอีเมลล์รุ่นนี้ ไม่มีวางขาย แต่จะติดตั้ง มาพร้อมกับ Netbook เท่านั้น 2. Windows 7 Home Basic รุ่ นนี้ไม่มีวางขาย แต่จะติดตั้ง มาพร้อมกับเครื่ องใหม่ๆ เท่านั้น และจะมี เฉพาะในบางประเทศเท่านั้น 3. Windows 7 Home Premium เป็ นรุ่ นเล็กสุ ดที่มีวางขายแบบกล่องทัวโลก มาพร้อมกับ ่ ความสามารถด้านมัลติมีเดียครบครัน สา หรับผูใช้ทวไปเพียงรุ่ นนี้ก็เพียงพอแล้วครับ ้ ั่ 4.Windows 7 Professional รุ่ นนี้ฟีเจอร์ ทว ไปไม่แตกต่างจากรุ่ น Home Premium เท่าไรนัก ที่เพิ่ม ั่ เข้ามาคือสามารถใช้ Windows XP Mode ได้ 5. Windows 7 Ultimate เชื่อว่าหลายคนคงได้ลองใช้กนมาบ้างแล้ว เป็ นรุ่ นใหญ่สุดของ Windows 7 ั ที่เพิ่มคุณสมบัติอย่าง Bitlocker และสามารถเปลี่ยน UI เป็ นภาษาต่างๆ ได้ 6. Windows 7 Enterprise รุ่ นนี้ไม่มีอะไรแตกต่างจากรุ่ น Ultimate ครับ แต่จะมีขายสา หรับองค์กร ขนาดใหญ่เท่านั้น