SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
งานวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
โดยใช้แบบฝึกหัดเสริมทักษะการเขียน
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4/8
มิสนันท์นิชา นิธิวงศ์กุลภัทร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าโดยใช้แบบฝึกหัดเสริมทักษะการ
เขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4/8
ชื่อผู้วิจัย มิสนันท์นิชา นิธิวงศ์กุลภัทร
หลักการและเหตุผล
ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของคนในชาติ เพื่อการสื่อสารทา ความเข้าใจและใช้ภาษาในการ
ประกอบกิจการงาน ทั้งส่วนตน ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและประเทศชาติ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้
การบันทึกเรื่องราวจากอดีตถึงปัจจุบัน และเป็นวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทยจึงต้อง
เรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะอย่างถูกต้องเหมาะสมในการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ แสวงหาความรู้
และประสบการณ์ เรียนรู้ในฐานะเป็นวัฒนธรรมทางภาษาให้เกิดความชื่นชม และภูมิใจในภาษาไทย
ในสภาพปัจจุบันพบว่ามีปัญหาการเขียนสะกดคาผิด โดยเฉพาะคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
อันเนื่องมาจากการ ออกเสียง หรือตามประกาศ แผ่นป้ายโฆษณา และอินเตอร์เน็ต ไม่ถูกต้อง ปัญหา
เหล่านี้จะส่งผลให้นักเรียนสับสน เกิดการเขียนสะกดคาผิด และอาจทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไป
ไม่ตรงตามการสื่อสารซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของผู้เรียน ถ้าผู้เรียนมีความถูกต้อง ชัดเจนใน
การเขียนสะกดคา จะช่วยให้สื่อความหมายได้ดี
จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะแก้ปัญหาโดยการสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ
การเขียนสะกดคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการเขียนคาเพื่อที่จะได้
นาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง หากนักเรียนได้มีเวลาและตั้งใจฝึกอย่างจริงจัง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8
2. เพื่อเปรียบเทียบการ เขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ของของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4/8 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดแบบฝึก หัดเสริมทักษะการเขียนคาที่มี
ตัว ร ล และคาควบกล้า
เอกสาร / ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์ของคาควบกล้า
คาควบกล้า (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู่ต้นพยางค์และใช้สระ
เดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงกล้าเป็นพยางค์เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์นั้นจะผันเป็นไปตามเสียง
พยัญชนะตัวหน้า
คาที่มี ร เป็นคาควบกล้า
คาควบกล้าคือคาที่อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทั้งสองตัวหน้า เป็นเสียงกล้าพร้อมกันมี กร-
ขร- คร- ตร- ปร- พร- เช่น เต่ากระ มะกรูด ปลากราย กราบพระ ครีบ ปลา หอยแครง
คาที่มี ล เป็นคาควบกล้า
คาควบกล้าคือคาที่อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทั้งสองตัวหน้า เป็นเสียงกล้าพร้อมกันมี กล-
ขล- คล- ปล- พล- เช่น ของกลาง เป่าขลุ่ย กล่องนม เปลวไฟ ลาคลอง ปลีกล้วย พลอย แปลง
ผัก เกล็ดปลา ตีกลอง
พยัญชนะต้นควบกับ ล ได้แก่ เปล่า ปลีก คลาน คลุก เคล้า เปลี่ยนแปลง กลบ กลม เพลิดเพลิน
เกลี้ยกล่อม เกลียวคลื่น คล่องแคล่ว เกล้า
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
1. นักเรียนสามารถใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ในการ
แก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 ได้
2. นักเรียนสามารถเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ถูกต้องและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี
ขึ้น
3. ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ในการสอนซ่อมเสริม โดยให้
นักเรียนนาไปฝึกในห้องเรียน หรือที่บ้านได้
ขอบเขตของการวิจัย
1. ในการวิจัยพัฒนา ครั้งนี้เป็นการสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล
และคาควบกล้าวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8
2. ประชากรกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียน
อัสสัมชัญแผนกประถม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 15 คน
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถมจานวน 15 คน
ตัวแปรของการวิจัย
- ตัวแปรต้น ได้แก่ แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
- ตัวแปรตามได้แก่ การพัฒนาด้านการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าของนักเรียน
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง แบบฝึกที่นามาเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบ
กล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่นักเรียนได้รับจากการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา
ควบกล้าถูกต้อง ตามแบบฝึกหัดเสริมทักษะที่ครูสร้างขึ้น
3. ประชากร หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
4. กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
จานวน 15 คน
กรอบแนวคิดในการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย
ในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ใน
การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา
ควบกล้าสูงกว่าก่อนใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
วิธีดาเนินงานการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถมจานวน 15 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8
ขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย
ศึกษาเอกสารหลักสูตร เนื้อหาวิชาภาษาไทย ปัญหาการการการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบ
กล้าดาเนินการคัดเลือกแบบฝึกการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าโดยใช้กระบวนการดังนี้
1. สังเกตปัญหาที่เกิดขึ้นขณะดาเนินการสอน
2. พิจารณาแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในข้อ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลือกเนื้อหาใน
ส่วนที่จะสร้างแบบฝึกนั้น ว่าจะทาเรื่องใดบ้าง กาหนดเป็นโครงเรื่องไว้
3. ศึกษารูปแบบของการสร้างแบบฝึกจากเอกสารตัวอย่าง
4. ออกแบบชุดฝึกแต่ละชุด ให้มีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ
5. ลงมือสร้างแบบฝึกในแต่ละชุด
6. ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
7. นาไปทดลองใช้แล้วบันทึกผลเพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง
8. ปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
9. นาไปใช้จริงและเผยแพร่ต่อไป
ตัวแปรต้น
- แบบฝึกเสริมทักษะการ
เขียนคาที่มีตัว ร ล และคา
ควบกล้า
ตัวแปรตาม
- การพัฒนาด้านการเขียนคา
ที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยดาเนินการเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25557
เวลา 12.40-13.10 น. ดังนี้
1. ผู้วิจัยทาการทดสอบก่อนเรียน ( Pre test ) ใช้แบบทดสอบเรื่องการเขียนคาที่มีตัว ร ล
และคาควบกล้าแล้วบันทึกลงแบบการให้คะแนน
2. ผู้วิจัยดาเนินการทดลองโดยให้นักเรียนใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล
และคาควบกล้า
3. ทาการทดสอบหลังเรียน ( Post test ) โดยใช้แบบทดสอบเรื่องการเขียนคาที่มีตัว ร ล
และคาควบกล้าชุดเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ คือ ผู้วิจัยตรวจแบบบันทึกคะแนนของนักเรียนก่อน
เรียนและหลังเรียนทั้ง ๒ ครั้ง มาเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ คือ เปรียบเทียบเป็นจานวนร้อยละ
N แทนจานวนกลุ่มตัวอย่าง
X แทนคะแนนเฉลี่ย
£D แทนผลรวมของผลต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ คือ ผู้วิจัยตรวจแบบบันทึกคะแนนของนักเรียนก่อน
เรียนและหลังเรียนทั้ง 2 ครั้ง มาเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ คือ เปรียบเทียบเป็นจานวนร้อยละ
ตารางเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังใช้แบบฝึกเสริมทักษะ
การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
ลาดับที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนใช้แบบฝึก(30) คะแนนหลังใช้แบบฝึก(30) D
1 ด.ช.อภิวิชญ์ แซ่โค้ว 23 30 7
2 ด.ช.ชุติพนธ์ สมบูรณ์กิจโกศล 22 29 7
3 ด.ช.จามิกร กาปั่นทอง 23 29 6
4 ด.ช.พศิน ชนาพรรณ 18 28 10
5 ด.ช.ภูริณัฐ บัญชาวุฒิ 21 29 8
6 ด.ช.กมล ทรัพย์เกตโสภา 22 27 5
7 ด.ช.พฤฒินันท์ จรัสจารุมนต์ 18 29 11
8 ด.ช.กฤตเมธ พัฒนกิจไพบูลย์ 20 28 8
9 ด.ช.ธนธัช อนุชาติชัยกุล 20 29 9
10 ด.ช.ชญนนท์ เตชอมรธนกิจ 17 24 7
11 ด.ช.ธฤต นามนิราศภัย 24 29 5
12 ด.ช.ธนกร ตระกูลบุญนากิจ 17 29 12
13 ด.ช.กษิดิษฐ์ รังสีวิจิตรประภา 23 28 5
14 ด.ช.ปุญญพัฒน์ ลีลาพากเพียร 18 27 9
15 ด.ช.ชวนากร มนัสเพียรเลิศ 24 27 3
เฉลี่ย ( X ) 20.66 28.13
ค่าร้อยละ 68.88 % 93.77 %
จากตารางเปรียบเทียบ แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทาง การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ( กลุ่มตัวอย่าง 15 คน ) หลังจากฝึกด้วยแบบฝึกทักษะการเขียนคาที่มี
ตัว ร ล และคาควบกล้าแล้วมีคะแนนสูงขึ้นกว่าก่อนใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา
ควบกล้าจาก 68.88 %% เป็น 93.77 %
สรุปผลการวิจัย
คะแนนทดสอบหลังใช้ชุดแบบฝึกทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนนสูงจากก่อนใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา
ควบกล้า 68.88 % เป็น 93.77 % ซึ่งแสดงว่า การใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และ
คาควบกล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
อภิปรายผลการวิจัย
จากผลการวิจัยที่เกี่ยวกับ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าที่กล่าวมาแล้ว ทาให้ทราบว่า
ความสาคัญใน การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ของนักเรียน เกิดจากวิธีสอนของครูเป็น
องค์ประกอบสาคัญ แต่ครูยังขาดอุปกรณ์ที่เป็นแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบ
กล้าที่มีเนื้อหาตรงกับความสนใจของนักเรี ยน ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างแบบฝึก
เสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าเพื่อช่วยพัฒนาความสามารถในการเขียนคาที่มีตัว ร
ล และคาควบกล้าของนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
ข้อเสนอแนะ
1. ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ควรนาแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร
ล และคาควบกล้าไปใช้ในการเรียนการสอน หรือใช้ในการสอนซ่อมเสริม
2. ควรมีการสร้างชุดแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ในระดับชั้น
ต่างๆ อย่างทั่วถึง
3. ควรมีการนาชุดแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ไปทดลองใช้กับ
หลายๆ โรงเรียน เพื่อสรุปผลและปรับปรุงแก้ไข
4. ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้อง ควรสนับสนุนให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างชุดแบบฝึกทักษะ
การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าและวิธีอื่นๆ ให้แก่คณะครูในโรงเรียน

More Related Content

What's hot

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
0872191189
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
tanakit pintong
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
waranyuati
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
madechada
 

What's hot (20)

การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 

Viewers also liked

รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
chaiwat vichianchai
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
Aroonswat
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
Abdul Mahama
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
aapiaa
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
an1030
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
physical04
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
PleSW2
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
thkitiya
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
Kamolthip Boonpo
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาการพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 

Similar to งานวิจัยในชั้นเรียนปี56

จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
Suwakhon Phus
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
Suwakhon Phus
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
Waree Wera
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
ต. เตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
Pignoi Chimpong
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
krupornpana55
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 

Similar to งานวิจัยในชั้นเรียนปี56 (20)

lertlah
lertlahlertlah
lertlah
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
new portfolio
new portfolionew portfolio
new portfolio
 
portfolio
portfolioportfolio
portfolio
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 

งานวิจัยในชั้นเรียนปี56

  • 1. งานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า โดยใช้แบบฝึกหัดเสริมทักษะการเขียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4/8 มิสนันท์นิชา นิธิวงศ์กุลภัทร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
  • 2. ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าโดยใช้แบบฝึกหัดเสริมทักษะการ เขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4/8 ชื่อผู้วิจัย มิสนันท์นิชา นิธิวงศ์กุลภัทร หลักการและเหตุผล ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของคนในชาติ เพื่อการสื่อสารทา ความเข้าใจและใช้ภาษาในการ ประกอบกิจการงาน ทั้งส่วนตน ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและประเทศชาติ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ การบันทึกเรื่องราวจากอดีตถึงปัจจุบัน และเป็นวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทยจึงต้อง เรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะอย่างถูกต้องเหมาะสมในการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ และประสบการณ์ เรียนรู้ในฐานะเป็นวัฒนธรรมทางภาษาให้เกิดความชื่นชม และภูมิใจในภาษาไทย ในสภาพปัจจุบันพบว่ามีปัญหาการเขียนสะกดคาผิด โดยเฉพาะคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า อันเนื่องมาจากการ ออกเสียง หรือตามประกาศ แผ่นป้ายโฆษณา และอินเตอร์เน็ต ไม่ถูกต้อง ปัญหา เหล่านี้จะส่งผลให้นักเรียนสับสน เกิดการเขียนสะกดคาผิด และอาจทาให้ความหมายของคาเปลี่ยนไป ไม่ตรงตามการสื่อสารซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของผู้เรียน ถ้าผู้เรียนมีความถูกต้อง ชัดเจนใน การเขียนสะกดคา จะช่วยให้สื่อความหมายได้ดี จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะแก้ปัญหาโดยการสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนสะกดคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการเขียนคาเพื่อที่จะได้ นาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง หากนักเรียนได้มีเวลาและตั้งใจฝึกอย่างจริงจัง วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 2. เพื่อเปรียบเทียบการ เขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ของของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4/8 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดแบบฝึก หัดเสริมทักษะการเขียนคาที่มี ตัว ร ล และคาควบกล้า เอกสาร / ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง หลักเกณฑ์ของคาควบกล้า คาควบกล้า (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู่ต้นพยางค์และใช้สระ เดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงกล้าเป็นพยางค์เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์นั้นจะผันเป็นไปตามเสียง พยัญชนะตัวหน้า คาที่มี ร เป็นคาควบกล้า คาควบกล้าคือคาที่อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทั้งสองตัวหน้า เป็นเสียงกล้าพร้อมกันมี กร- ขร- คร- ตร- ปร- พร- เช่น เต่ากระ มะกรูด ปลากราย กราบพระ ครีบ ปลา หอยแครง
  • 3. คาที่มี ล เป็นคาควบกล้า คาควบกล้าคือคาที่อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น ทั้งสองตัวหน้า เป็นเสียงกล้าพร้อมกันมี กล- ขล- คล- ปล- พล- เช่น ของกลาง เป่าขลุ่ย กล่องนม เปลวไฟ ลาคลอง ปลีกล้วย พลอย แปลง ผัก เกล็ดปลา ตีกลอง พยัญชนะต้นควบกับ ล ได้แก่ เปล่า ปลีก คลาน คลุก เคล้า เปลี่ยนแปลง กลบ กลม เพลิดเพลิน เกลี้ยกล่อม เกลียวคลื่น คล่องแคล่ว เกล้า ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 1. นักเรียนสามารถใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ในการ แก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 ได้ 2. นักเรียนสามารถเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ถูกต้องและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี ขึ้น 3. ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ในการสอนซ่อมเสริม โดยให้ นักเรียนนาไปฝึกในห้องเรียน หรือที่บ้านได้ ขอบเขตของการวิจัย 1. ในการวิจัยพัฒนา ครั้งนี้เป็นการสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 2. ประชากรกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียน อัสสัมชัญแผนกประถม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 15 คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถมจานวน 15 คน ตัวแปรของการวิจัย - ตัวแปรต้น ได้แก่ แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า - ตัวแปรตามได้แก่ การพัฒนาด้านการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าของนักเรียน นิยามศัพท์เฉพาะ 1. แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง แบบฝึกที่นามาเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบ กล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่นักเรียนได้รับจากการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา ควบกล้าถูกต้อง ตามแบบฝึกหัดเสริมทักษะที่ครูสร้างขึ้น 3. ประชากร หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม
  • 4. 4. กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม จานวน 15 คน กรอบแนวคิดในการวิจัย สมมติฐานการวิจัย ในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ใน การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา ควบกล้าสูงกว่าก่อนใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า วิธีดาเนินงานการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถมจานวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/8 ขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย ศึกษาเอกสารหลักสูตร เนื้อหาวิชาภาษาไทย ปัญหาการการการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบ กล้าดาเนินการคัดเลือกแบบฝึกการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าโดยใช้กระบวนการดังนี้ 1. สังเกตปัญหาที่เกิดขึ้นขณะดาเนินการสอน 2. พิจารณาแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในข้อ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลือกเนื้อหาใน ส่วนที่จะสร้างแบบฝึกนั้น ว่าจะทาเรื่องใดบ้าง กาหนดเป็นโครงเรื่องไว้ 3. ศึกษารูปแบบของการสร้างแบบฝึกจากเอกสารตัวอย่าง 4. ออกแบบชุดฝึกแต่ละชุด ให้มีรูปแบบที่หลากหลาย น่าสนใจ 5. ลงมือสร้างแบบฝึกในแต่ละชุด 6. ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ 7. นาไปทดลองใช้แล้วบันทึกผลเพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง 8. ปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 9. นาไปใช้จริงและเผยแพร่ต่อไป ตัวแปรต้น - แบบฝึกเสริมทักษะการ เขียนคาที่มีตัว ร ล และคา ควบกล้า ตัวแปรตาม - การพัฒนาด้านการเขียนคา ที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า
  • 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยดาเนินการเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 25557 เวลา 12.40-13.10 น. ดังนี้ 1. ผู้วิจัยทาการทดสอบก่อนเรียน ( Pre test ) ใช้แบบทดสอบเรื่องการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าแล้วบันทึกลงแบบการให้คะแนน 2. ผู้วิจัยดาเนินการทดลองโดยให้นักเรียนใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า 3. ทาการทดสอบหลังเรียน ( Post test ) โดยใช้แบบทดสอบเรื่องการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าชุดเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ คือ ผู้วิจัยตรวจแบบบันทึกคะแนนของนักเรียนก่อน เรียนและหลังเรียนทั้ง ๒ ครั้ง มาเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ คือ เปรียบเทียบเป็นจานวนร้อยละ N แทนจานวนกลุ่มตัวอย่าง X แทนคะแนนเฉลี่ย £D แทนผลรวมของผลต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ คือ ผู้วิจัยตรวจแบบบันทึกคะแนนของนักเรียนก่อน เรียนและหลังเรียนทั้ง 2 ครั้ง มาเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ คือ เปรียบเทียบเป็นจานวนร้อยละ
  • 6. ตารางเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ลาดับที่ รายชื่อนักเรียน คะแนนก่อนใช้แบบฝึก(30) คะแนนหลังใช้แบบฝึก(30) D 1 ด.ช.อภิวิชญ์ แซ่โค้ว 23 30 7 2 ด.ช.ชุติพนธ์ สมบูรณ์กิจโกศล 22 29 7 3 ด.ช.จามิกร กาปั่นทอง 23 29 6 4 ด.ช.พศิน ชนาพรรณ 18 28 10 5 ด.ช.ภูริณัฐ บัญชาวุฒิ 21 29 8 6 ด.ช.กมล ทรัพย์เกตโสภา 22 27 5 7 ด.ช.พฤฒินันท์ จรัสจารุมนต์ 18 29 11 8 ด.ช.กฤตเมธ พัฒนกิจไพบูลย์ 20 28 8 9 ด.ช.ธนธัช อนุชาติชัยกุล 20 29 9 10 ด.ช.ชญนนท์ เตชอมรธนกิจ 17 24 7 11 ด.ช.ธฤต นามนิราศภัย 24 29 5 12 ด.ช.ธนกร ตระกูลบุญนากิจ 17 29 12 13 ด.ช.กษิดิษฐ์ รังสีวิจิตรประภา 23 28 5 14 ด.ช.ปุญญพัฒน์ ลีลาพากเพียร 18 27 9 15 ด.ช.ชวนากร มนัสเพียรเลิศ 24 27 3 เฉลี่ย ( X ) 20.66 28.13 ค่าร้อยละ 68.88 % 93.77 % จากตารางเปรียบเทียบ แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทาง การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ( กลุ่มตัวอย่าง 15 คน ) หลังจากฝึกด้วยแบบฝึกทักษะการเขียนคาที่มี ตัว ร ล และคาควบกล้าแล้วมีคะแนนสูงขึ้นกว่าก่อนใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา ควบกล้าจาก 68.88 %% เป็น 93.77 %
  • 7. สรุปผลการวิจัย คะแนนทดสอบหลังใช้ชุดแบบฝึกทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนนสูงจากก่อนใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคา ควบกล้า 68.88 % เป็น 93.77 % ซึ่งแสดงว่า การใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และ คาควบกล้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิจัยที่เกี่ยวกับ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าที่กล่าวมาแล้ว ทาให้ทราบว่า ความสาคัญใน การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ของนักเรียน เกิดจากวิธีสอนของครูเป็น องค์ประกอบสาคัญ แต่ครูยังขาดอุปกรณ์ที่เป็นแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบ กล้าที่มีเนื้อหาตรงกับความสนใจของนักเรี ยน ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างแบบฝึก เสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าเพื่อช่วยพัฒนาความสามารถในการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าของนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ควรนาแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าไปใช้ในการเรียนการสอน หรือใช้ในการสอนซ่อมเสริม 2. ควรมีการสร้างชุดแบบฝึกเสริมทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ในระดับชั้น ต่างๆ อย่างทั่วถึง 3. ควรมีการนาชุดแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้า ไปทดลองใช้กับ หลายๆ โรงเรียน เพื่อสรุปผลและปรับปรุงแก้ไข 4. ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้อง ควรสนับสนุนให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างชุดแบบฝึกทักษะ การเขียนคาที่มีตัว ร ล และคาควบกล้าและวิธีอื่นๆ ให้แก่คณะครูในโรงเรียน