SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
แนวทางการจัดการเรียนรู้
ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์
ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
ความนา
ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 หมวดที่ 4 ว่าด้วย แนวทางการจัดการศึกษา
ในมาตรา 24 กล่าวถึง การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องดาเนินการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรม ดังนี้ต่อไปนี้ ฝึกทักษะ
กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้
เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาและกล่าวเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและ
เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องดาเนินการ จัดเนื้อหาสาระ
และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด ความรู้และทักษะด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่อง
การจัดการ การบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืนจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องๆ
ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ดังที่ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 4–6) กล่าวไว้ว่า
ผู้เรียนมีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิตและสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ดังนั้นการเลือกใช้สื่อ นวัตกรรมมาจัดการเรียนการสอนอาจเป็นอีกหนึ่ง
วิธีที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ให้เกิดประสิทธิภาพได้
บทความนี้ต้องการเสนอให้ครูมีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้วิธีการรูปแบบ เทคนิคการจัดการเรียนรู้
ที่หลากหลายรูปแบบ
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
1. ความสาคัญของทักษะการคิด
ทิศนา แขมมณี (2540, หน้า 1) ได้วิเคราะห์สถานการณ์ด้านการคิด
กับการศึกษาไทยไว้ว่าปัจจุบันในวงการศึกษาไทยเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่า
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์หรือการคิดเป็นนั้น เป็นคุณสมบัติ
ที่พึงปรารถนาในสถานการณ์และสภาพปัจจุบันซึ่งบุคคลจาเป็นต้องมีทักษะ
ในการคิด เพื่อที่จะช่วยให้สามารถดารงชีวิตได้อย่างปกติสุขในสังคมที่ซับซ้อน
และเต็มไปด้วยปัญหาต่างๆ บุคคลจาเป็นต้องใช้การตัดสินใจอยู่เสมอและ
การตัดสินใจที่ดี ต้องอาศัยความสามารถในการคิดเป็นพื้นฐาน แต่การจัด
การเรียนการสอนในห้องเรียนทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาหรืออุดมศึกษา
การสอนการคิด ยังไม่ประสบผลสาเร็จตามคาดหวังถึงแม้ว่าจะได้นาวิธีสอน
แบบต่างๆ หลายๆ แบบเข้ามาใช้อย่างแพร่หลาย ดังจะเห็นได้จากผลการ
ประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาโดย สมศ. พบว่า ผู้เรียนมีความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และ
คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ในมาตรฐานที่ 4 มีผู้เรียนบรรลุผลน้อยมาก
จากแนวคิดนี้แสดงให้เห็นว่า นวัตกรรมมาจัดการเรียนการสอนอาจเป็น
อีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ให้เกิดประสิทธิภาพ
ได้ และครูผู้สอนจะต้องเป็นผู้บทบาทสาคัญในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ
การคิดของผู้เรียนอย่างแท้จริง
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
2. องค์ประกอบทักษะการคิดวิเคราะห์
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (2548, หน้ำ 39)
กล่ำวว่ำองค์ประกอบของกำรคิดวิเครำะห์ ประกอบด้วย
1.กำรตีควำม ควำมเข้ำใจและให้เหตุผลแก่สิ่งที่ต้องกำรวิเครำะห์เพื่อ
แปลควำมของสิ่งนั้นขึ้นกับควำมรู้ประสบกำรณ์และค่ำนิยม
2.กำรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในเรื่องที่จะวิเครำะห์
3.กำรช่ำงสังเกต สงสัย ช่ำงถำม ขอบเขตของคำถำมที่เกี่ยวข้องกับ
กำรคิดเชิงวิเครำะห์จะยึดหลัก 5W 1H คือ Who (ใคร) What (อะไร)
Where (ที่ไหน) When (เมื่อใด) Why (ทำไม) How (อย่ำงไร)
4. กำรหำควำมสัมพันธ์เชิงเหตุผล (คำถำม) ค้นหำคำตอบได้ว่ำ
อะไรเป็นสำเหตุให้เรื่องนั้นเชื่อมกับสิ่งนี้ได้อย่ำงไร เรื่องนี้ใครเกี่ยวข้อง เมื่อ
เกิดเรื่องนี้ส่งผลกระทบอย่ำงไร มีองค์ประกอบใดบ้ำงที่นำไปสู่กำรสิ่งนั้น
มีวิธีกำร ขั้นตอนกำรทำให้เกิดสิ่งนี้ได้อย่ำงไร มีแนวทำงแก้ไขปัญหำอย่ำงไรบ้ำง
ถ้ำทำเช่นนี้จะเกิดอะไรขึ้นในอนำคต ลำดับเหตุกำรณ์นี้ดูว่ำ เกิดขึ้นได้อย่ำงไร
เขำทำสิ่งนี้ได้อย่ำงไร สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เกิดขึ้นได้อย่ำงไร
แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้ของครูในชั้นเรียนต้องการนวัตกรรม
มาจัดการเรียนการสอนที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์
ให้เกิดประสิทธิภาพ จึงมีความจาเป็นแสวงหารูปแบบเทคนิคการสอน
ในการพัฒนาผู้เรียน เนื่องจากวิธีการสอนถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์และมีผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนั้นต้องจัดกระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่
ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
3. รูปแบบ/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้
1. การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)
 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนาเข้าสู่
บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจซึ่งอาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัยหรือเป็นเรื่องที่เชื่อมโยง
กับความรู้เดิมที่เพิ่งเรียนรู้มาแล้วเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถาม กาหนด
ประเด็นที่จะศึกษา ในกรณีที่ยังไม่มีประเด็นที่จะศึกษาครูอาจให้ศึกษา
 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) เมื่อทาความเข้าใจใน
ประเด็นหรือคาถามที่สนใจศึกษาอย่างถ่องแท้ มีการวางแผนกาหนดแนวทางการ
สารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐานกาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ
รวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ วิธีการตรวจสอบอาจทาได้
หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยสร้างสถานการณ์จาลอง (Simulation) การศึกษาหาข้อมูล
จากเอกสารอ้างอิงหรือจากแหล่งข้อมูลต่างๆเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลอย่าง
เพียงพอที่จะใช้ในขั้นต่อไป
 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ข้อมูล
อย่างเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบแล้วจึงนาข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มา
วิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผลที่ได้ในรูปต่างๆ
 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้าง
ขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนาแบบจาลอง
ข้อสรุปที่ได้ไปอธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่นๆ
 ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้
ด้วยกระบวนการ ต่างๆ จากขั้นนี้จะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่อง
อื่นๆ
(กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.)
จากข้อความนี้เสนอว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 5 E กระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้จึงช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งเนื้อหาหลักและหลักการ
ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ได้ความรู้ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ต่อไป อีกทั้ง ถือเป็นวิธีฝึกการคิดวิเคราะห์ มุ่งการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
3. รูปแบบ/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้
2. การเรียนการสอนแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (PBL)
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนั้นใช้นักเรียนเป็นสาคัญโดยมุ่งที่ใช้
ปัญหาจริงหรือสถานการณ์จาลองเป็นตัวเริ่มต้น กระตุ้นการเรียนรู้เพื่อให้
นักเรียนเกิดทักษะการคิดในขณะที่นักเรียนทางานโดยใช้ปัญหาเป็นศูนย์กลาง
หลังจากที่นักเรียนได้ ใช้ ความรู้พื้นฐานในการทาความเข้าใจ และอธิบายแนวคิด
ต่อปัญหานั้น แล้วสิ่งที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัญหาซึ่งนักเรียนไม่เข้าใจจะเป็น
ประเด็นที่ต้องเรียนรู้ต่อไปเพื่อให้ได้ความรู้มาอธิบายและแก้ปัญหาโดยนักเรียนจะ
พัฒนาแผนการเรียนรู้ที่จะนาไปสู่การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อการเรียนรู้
ในส่วนย่อยๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ไม่เข้าใจในปัญหาในการสืบค้น (พวงรัตน์
บุญญานุรักษ์ ; และ Majumder. 2544: 42)
ขั้นตอนกระบวนกำรแก้ปัญหำ
1. ทำกำรศึกษำปัญหำ ทำควำมเข้ำใจกับศัพท์ และควำมหมำย
2. เลือกระบุปัญหำ
3. วิเครำะห์ปัญหำ
4. ตั้งสมมุติฐำน
5. ลำดับควำมสำคัญของสมมติฐำน
6. สร้ำงวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้
7. หำข้อมูลเพิ่มเติมจำกแหล่งกำรเรียนรู้อื่น ๆ
8. รวบรวมกำรสังเครำะห์ข้อมูล
9. ทดสอบสมมุติฐำน
10. จัดทำสรุปและหลักกำรที่ได้จำกกำรศึกษำจำกปัญหำ
จากข้อความนี้เสนอว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
ผู้เรียนสามารถลงมือคิด ปฏิบัติ ผู้เรียนเป็นสาคัญ และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งจะ
เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์อีกวิธีหนึ่งที่เน้น
การส่งเสริมทักษะความสามารถด้านการคิด ส่งผลให้การเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์เกิดผลที่ดีขึ้น
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
3. รูปแบบ/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้
3. การเรียนการสอนแบบการเรียนรู้แบบโครงงาน
กำรจัดกำรเรียนรู้กระบวนกำรเรียนรู้แบบโครงงำนมีดังนี้
1. ขั้นนำเสนอ หมำยถึง ขั้นที่ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษำใบควำมรู้ กำหนด
สถำนกำรณ์ ศึกษำสถำนกำรณ์ เกม รูปภำพ หรือกำรใช้เทคนิคกำรตั้งคำถำม
เกี่ยวกับสำระกำรเรียนรู้ที่กำหนดในแผนกำรจัดกำรเรียนรู้แต่ละแผน เช่น สำระ
กำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรและสำระกำรเรียนรู้ที่เป็นขั้นตอนของโครงงำน เพื่อใช้
เป็นแนวทำงในกำรวำงแผนกำรเรียนรู้
2. ขั้นวำงแผน หมำยถึง ขั้นที่ผู้เรียนร่วมกันวำงแผน โดยกำรระดม
ควำมคิด อภิปรำยหำรือข้อสรุปของกลุ่มเพื่อใช้เป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติ
3. ขั้นปฏิบัติ หมำยถึง ขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเขียนสรุปรำยงำนผลที่
เกิดขึ้นจำกกำรวำงแผนร่วมกัน
4. ขั้นประเมินผล หมำยถึง ขั้นกำรวัดและประเมินผลตำมสภำพจริง
โดยให้บรรลุจุดประสงค์กำรเรียนรู้ที่กำหนดไว้
จากข้อความนี้เสนอว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น
การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญและเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าสู่กระบวนการสืบซึ่งเป็น
กระบวนการที่ผู้เรียนต้องใช้การคิดขั้นสูงที่ซับซ้อนขึ้น ดังนั้นจึงเป็นช่องทางที่ดีใน
การพัฒนากระบวนการทักษะการคิดของผู้เรียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
4. องค์ประกอบการวางแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด
1) การวิเคราะห์ตัวชี้วัด เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ /ความ
เชื่อมโยงแต่ละตัวชี้วัดที่สามารถนามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ ซึ่งอาจมา
จากกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันหรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัดบางตัวอาจ
ต้องฝึกซ้าเพื่อให้เกิดความชานาญ จึงสามารถอยู่มากกว่าหนึ่งกิจกรรม เพื่อให้
ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดได้อย่างครอบคลุม
2) ความคิดรวบยอด เป็นการวิเคราะห์แก่นความรู้ แต่ละมาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัดที่ผู้เรียนจะได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด
3) สาระการเรียนรู้ เป็นสาระการเรียนรู้ที่นามาใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ประกอบด้วย สาระการเรียนรู้
แกนกลาง และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)
4) ทักษะการคิด เป็นทักษะการคิดที่นามาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้อง
ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ที่วิเคราะห์ไว้ตามข้อ 1)
5) ชิ้นงาน/ภาระงาน ที่กาหนดต้องสะท้อนถึงความสามารถของผู้เรียน
จากการใช้ความรู้และทักษะการคิดที่กาหนดไว้ซึ่งสอดคล้องตามมาตรฐาน
การเรียนรู้/ตัวชี้วัด ในข้อ 1) โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้
๖) แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด เป็นเทคนิค/
วิธีการสอนที่จะใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และนาไปสู่การสร้างชิ้นงาน / ภาระงาน
และสอดแทรกด้วยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดที่กาหนดไว้ให้
ครบถ้วน ตามข้อ 4)
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.(2553).แนวทางการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับ
ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์และการเกษตรแห่งประเทศไทย.
จากข้อความนี้เสนอว่า การวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ถือเป็น
กระบวนการพัฒนาที่สาคัญเพื่อลงสู่การพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
บทสรุป
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการคิดวิเคราะห์เป็นกระบวนการทางสมองของผู้เรียน
เป็นกระบวนการเรียนรู้ถ้าผู้เรียนได้มีวิธีคิดอย่างเป็นระบบที่มีความใคร่ครวญ
ไตร่ตรอง แยกแยะแจกแจงเป็นส่วน จะทาให้ผู้เรียนได้พิจารณาสารจากการฟัง
หรืออ่านประเมินค่าแล้วสรุปเลือกเฟ้นการนาไปสู่การตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสมเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนมีความรู้
ความสามารถ และถ่ายทอดองค์ความรู้สิ่งประดิษฐ์ใหม่ด้วยการพูดการเขียนสู่การ
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ดารงตน ครูผู้สอนจึงมีบทบาทสาคัญใน
การออกแบบการเรียนรู้และถ่ายทอดความรู้โดยใช้นวัตกรรมมาจัดการเรียน
การสอนเพื่อพัฒนาด้านการคิดของผู้เรียน
บทความนี้ต้องการเสนอรูปแบบแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางให้ครูมี
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
วิเคราะห์ในองค์ประกอบการคิดวิเคราะห์ รูปแบบเทคนิควิธี การจัดทาแผนการ
จัดการเรียนรู้ เพื่อที่จะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนสอนใน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อนาสู่การพัฒนากระบวนการคิดสร้างสรรค์กับผู้เรียนให้
มีประสิทธิผลต่อไป
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
กลุ่มงานนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพท. เพชรบูรณ์ เขต 1.
(2552). คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน “คิด” สานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1.
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.(2553).รูปแบบและกลยุทธ์การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด . นครปฐม : คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป
แมเนจเม้นท์.
พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์.(2544) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา PROBLEM-BASED
LEARNING. วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.(2553).แนวทางการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับ
ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์และการเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.
*************************

Contenu connexe

Tendances

ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนothanatoso
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)Prachyanun Nilsook
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1Prachyanun Nilsook
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 

Tendances (20)

K2
K2K2
K2
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

En vedette

Hipertensión portal
Hipertensión portalHipertensión portal
Hipertensión portalErick034
 
Культура это ТЫ (брендук 2013)
Культура это ТЫ (брендук 2013)Культура это ТЫ (брендук 2013)
Культура это ТЫ (брендук 2013)Literature group STAN
 
Building a Brand That Increases Social Impact
Building a Brand That Increases Social ImpactBuilding a Brand That Increases Social Impact
Building a Brand That Increases Social ImpactMatthew Schwartz
 
Tips when going for an interview
Tips when going for an interviewTips when going for an interview
Tips when going for an interviewpenelopehavering
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5Wareerut Hunter
 
MVMPCH 15th anniversary
MVMPCH 15th anniversaryMVMPCH 15th anniversary
MVMPCH 15th anniversaryjo bitonio
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2Wareerut Hunter
 
Moving beyond the beer review public copy
Moving beyond the beer review public copyMoving beyond the beer review public copy
Moving beyond the beer review public copyAlan McCormick
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1Wareerut Hunter
 

En vedette (20)

Thermana Laško
Thermana LaškoThermana Laško
Thermana Laško
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
Hipertensión portal
Hipertensión portalHipertensión portal
Hipertensión portal
 
La pata andalucia final
La pata andalucia finalLa pata andalucia final
La pata andalucia final
 
Report
ReportReport
Report
 
Культура это ТЫ (брендук 2013)
Культура это ТЫ (брендук 2013)Культура это ТЫ (брендук 2013)
Культура это ТЫ (брендук 2013)
 
Building a Brand That Increases Social Impact
Building a Brand That Increases Social ImpactBuilding a Brand That Increases Social Impact
Building a Brand That Increases Social Impact
 
Tips when going for an interview
Tips when going for an interviewTips when going for an interview
Tips when going for an interview
 
MSO 4
MSO 4MSO 4
MSO 4
 
MSO 3
MSO 3MSO 3
MSO 3
 
MSO 2
MSO 2MSO 2
MSO 2
 
Summerresearch2011
Summerresearch2011Summerresearch2011
Summerresearch2011
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
 
MVMPCH 15th anniversary
MVMPCH 15th anniversaryMVMPCH 15th anniversary
MVMPCH 15th anniversary
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
 
Moving beyond the beer review public copy
Moving beyond the beer review public copyMoving beyond the beer review public copy
Moving beyond the beer review public copy
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
 
Menú 2 3 nou
Menú 2 3 nouMenú 2 3 nou
Menú 2 3 nou
 
Menú 1 2 nou
Menú 1 2 nouMenú 1 2 nou
Menú 1 2 nou
 
Menú bebes nou
Menú bebes nouMenú bebes nou
Menú bebes nou
 

Similaire à สาระน่ารู้กับการสอนคิด

%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդwhawhasa06006
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)Ronnarit Thanmatikorn
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดSudaratJanthathep
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1dechathon
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...natthasarttier
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 

Similaire à สาระน่ารู้กับการสอนคิด (20)

%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
%E2%a4ç%c3%e8ҧ%a1Ԩ%a1%c3%c3%c1%a1%d2äդ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx
 
17
1717
17
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 

Plus de Wareerut Hunter

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3Wareerut Hunter
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 Wareerut Hunter
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยWareerut Hunter
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1Wareerut Hunter
 

Plus de Wareerut Hunter (20)

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทย
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
 

สาระน่ารู้กับการสอนคิด

  • 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 ความนา ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 หมวดที่ 4 ว่าด้วย แนวทางการจัดการศึกษา ในมาตรา 24 กล่าวถึง การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องดาเนินการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรม ดังนี้ต่อไปนี้ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาและกล่าวเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและ เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องดาเนินการ จัดเนื้อหาสาระ และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด ความรู้และทักษะด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่อง การจัดการ การบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืนจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องๆ ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังที่ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 4–6) กล่าวไว้ว่า ผู้เรียนมีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิตและสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ดังนั้นการเลือกใช้สื่อ นวัตกรรมมาจัดการเรียนการสอนอาจเป็นอีกหนึ่ง วิธีที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ให้เกิดประสิทธิภาพได้ บทความนี้ต้องการเสนอให้ครูมีแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้วิธีการรูปแบบ เทคนิคการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลายรูปแบบ
  • 2. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 1. ความสาคัญของทักษะการคิด ทิศนา แขมมณี (2540, หน้า 1) ได้วิเคราะห์สถานการณ์ด้านการคิด กับการศึกษาไทยไว้ว่าปัจจุบันในวงการศึกษาไทยเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์หรือการคิดเป็นนั้น เป็นคุณสมบัติ ที่พึงปรารถนาในสถานการณ์และสภาพปัจจุบันซึ่งบุคคลจาเป็นต้องมีทักษะ ในการคิด เพื่อที่จะช่วยให้สามารถดารงชีวิตได้อย่างปกติสุขในสังคมที่ซับซ้อน และเต็มไปด้วยปัญหาต่างๆ บุคคลจาเป็นต้องใช้การตัดสินใจอยู่เสมอและ การตัดสินใจที่ดี ต้องอาศัยความสามารถในการคิดเป็นพื้นฐาน แต่การจัด การเรียนการสอนในห้องเรียนทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาหรืออุดมศึกษา การสอนการคิด ยังไม่ประสบผลสาเร็จตามคาดหวังถึงแม้ว่าจะได้นาวิธีสอน แบบต่างๆ หลายๆ แบบเข้ามาใช้อย่างแพร่หลาย ดังจะเห็นได้จากผลการ ประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาโดย สมศ. พบว่า ผู้เรียนมีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ในมาตรฐานที่ 4 มีผู้เรียนบรรลุผลน้อยมาก จากแนวคิดนี้แสดงให้เห็นว่า นวัตกรรมมาจัดการเรียนการสอนอาจเป็น อีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ให้เกิดประสิทธิภาพ ได้ และครูผู้สอนจะต้องเป็นผู้บทบาทสาคัญในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ การคิดของผู้เรียนอย่างแท้จริง
  • 3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 2. องค์ประกอบทักษะการคิดวิเคราะห์ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (2548, หน้ำ 39) กล่ำวว่ำองค์ประกอบของกำรคิดวิเครำะห์ ประกอบด้วย 1.กำรตีควำม ควำมเข้ำใจและให้เหตุผลแก่สิ่งที่ต้องกำรวิเครำะห์เพื่อ แปลควำมของสิ่งนั้นขึ้นกับควำมรู้ประสบกำรณ์และค่ำนิยม 2.กำรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในเรื่องที่จะวิเครำะห์ 3.กำรช่ำงสังเกต สงสัย ช่ำงถำม ขอบเขตของคำถำมที่เกี่ยวข้องกับ กำรคิดเชิงวิเครำะห์จะยึดหลัก 5W 1H คือ Who (ใคร) What (อะไร) Where (ที่ไหน) When (เมื่อใด) Why (ทำไม) How (อย่ำงไร) 4. กำรหำควำมสัมพันธ์เชิงเหตุผล (คำถำม) ค้นหำคำตอบได้ว่ำ อะไรเป็นสำเหตุให้เรื่องนั้นเชื่อมกับสิ่งนี้ได้อย่ำงไร เรื่องนี้ใครเกี่ยวข้อง เมื่อ เกิดเรื่องนี้ส่งผลกระทบอย่ำงไร มีองค์ประกอบใดบ้ำงที่นำไปสู่กำรสิ่งนั้น มีวิธีกำร ขั้นตอนกำรทำให้เกิดสิ่งนี้ได้อย่ำงไร มีแนวทำงแก้ไขปัญหำอย่ำงไรบ้ำง ถ้ำทำเช่นนี้จะเกิดอะไรขึ้นในอนำคต ลำดับเหตุกำรณ์นี้ดูว่ำ เกิดขึ้นได้อย่ำงไร เขำทำสิ่งนี้ได้อย่ำงไร สิ่งนี้เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เกิดขึ้นได้อย่ำงไร แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้ของครูในชั้นเรียนต้องการนวัตกรรม มาจัดการเรียนการสอนที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ ให้เกิดประสิทธิภาพ จึงมีความจาเป็นแสวงหารูปแบบเทคนิคการสอน ในการพัฒนาผู้เรียน เนื่องจากวิธีการสอนถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์และมีผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนั้นต้องจัดกระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่ ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ
  • 4. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 3. รูปแบบ/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ 1. การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)  ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนาเข้าสู่ บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจซึ่งอาจเกิดขึ้นเองจากความสงสัยหรือเป็นเรื่องที่เชื่อมโยง กับความรู้เดิมที่เพิ่งเรียนรู้มาแล้วเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถาม กาหนด ประเด็นที่จะศึกษา ในกรณีที่ยังไม่มีประเด็นที่จะศึกษาครูอาจให้ศึกษา  ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) เมื่อทาความเข้าใจใน ประเด็นหรือคาถามที่สนใจศึกษาอย่างถ่องแท้ มีการวางแผนกาหนดแนวทางการ สารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐานกาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ วิธีการตรวจสอบอาจทาได้ หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยสร้างสถานการณ์จาลอง (Simulation) การศึกษาหาข้อมูล จากเอกสารอ้างอิงหรือจากแหล่งข้อมูลต่างๆเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลอย่าง เพียงพอที่จะใช้ในขั้นต่อไป  ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อได้ข้อมูล อย่างเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบแล้วจึงนาข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มา วิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผลที่ได้ในรูปต่างๆ  ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้าง ขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนาแบบจาลอง ข้อสรุปที่ได้ไปอธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่นๆ  ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการ ต่างๆ จากขั้นนี้จะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่อง อื่นๆ (กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.) จากข้อความนี้เสนอว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 5 E กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้จึงช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งเนื้อหาหลักและหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ได้ความรู้ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ ต่อไป อีกทั้ง ถือเป็นวิธีฝึกการคิดวิเคราะห์ มุ่งการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ
  • 5. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 3. รูปแบบ/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ 2. การเรียนการสอนแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (PBL) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนั้นใช้นักเรียนเป็นสาคัญโดยมุ่งที่ใช้ ปัญหาจริงหรือสถานการณ์จาลองเป็นตัวเริ่มต้น กระตุ้นการเรียนรู้เพื่อให้ นักเรียนเกิดทักษะการคิดในขณะที่นักเรียนทางานโดยใช้ปัญหาเป็นศูนย์กลาง หลังจากที่นักเรียนได้ ใช้ ความรู้พื้นฐานในการทาความเข้าใจ และอธิบายแนวคิด ต่อปัญหานั้น แล้วสิ่งที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัญหาซึ่งนักเรียนไม่เข้าใจจะเป็น ประเด็นที่ต้องเรียนรู้ต่อไปเพื่อให้ได้ความรู้มาอธิบายและแก้ปัญหาโดยนักเรียนจะ พัฒนาแผนการเรียนรู้ที่จะนาไปสู่การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ ในส่วนย่อยๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ไม่เข้าใจในปัญหาในการสืบค้น (พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์ ; และ Majumder. 2544: 42) ขั้นตอนกระบวนกำรแก้ปัญหำ 1. ทำกำรศึกษำปัญหำ ทำควำมเข้ำใจกับศัพท์ และควำมหมำย 2. เลือกระบุปัญหำ 3. วิเครำะห์ปัญหำ 4. ตั้งสมมุติฐำน 5. ลำดับควำมสำคัญของสมมติฐำน 6. สร้ำงวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้ 7. หำข้อมูลเพิ่มเติมจำกแหล่งกำรเรียนรู้อื่น ๆ 8. รวบรวมกำรสังเครำะห์ข้อมูล 9. ทดสอบสมมุติฐำน 10. จัดทำสรุปและหลักกำรที่ได้จำกกำรศึกษำจำกปัญหำ จากข้อความนี้เสนอว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ผู้เรียนสามารถลงมือคิด ปฏิบัติ ผู้เรียนเป็นสาคัญ และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งจะ เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์อีกวิธีหนึ่งที่เน้น การส่งเสริมทักษะความสามารถด้านการคิด ส่งผลให้การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์เกิดผลที่ดีขึ้น
  • 6. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 3. รูปแบบ/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ 3. การเรียนการสอนแบบการเรียนรู้แบบโครงงาน กำรจัดกำรเรียนรู้กระบวนกำรเรียนรู้แบบโครงงำนมีดังนี้ 1. ขั้นนำเสนอ หมำยถึง ขั้นที่ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษำใบควำมรู้ กำหนด สถำนกำรณ์ ศึกษำสถำนกำรณ์ เกม รูปภำพ หรือกำรใช้เทคนิคกำรตั้งคำถำม เกี่ยวกับสำระกำรเรียนรู้ที่กำหนดในแผนกำรจัดกำรเรียนรู้แต่ละแผน เช่น สำระ กำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรและสำระกำรเรียนรู้ที่เป็นขั้นตอนของโครงงำน เพื่อใช้ เป็นแนวทำงในกำรวำงแผนกำรเรียนรู้ 2. ขั้นวำงแผน หมำยถึง ขั้นที่ผู้เรียนร่วมกันวำงแผน โดยกำรระดม ควำมคิด อภิปรำยหำรือข้อสรุปของกลุ่มเพื่อใช้เป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติ 3. ขั้นปฏิบัติ หมำยถึง ขั้นที่ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเขียนสรุปรำยงำนผลที่ เกิดขึ้นจำกกำรวำงแผนร่วมกัน 4. ขั้นประเมินผล หมำยถึง ขั้นกำรวัดและประเมินผลตำมสภำพจริง โดยให้บรรลุจุดประสงค์กำรเรียนรู้ที่กำหนดไว้ จากข้อความนี้เสนอว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญและเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าสู่กระบวนการสืบซึ่งเป็น กระบวนการที่ผู้เรียนต้องใช้การคิดขั้นสูงที่ซับซ้อนขึ้น ดังนั้นจึงเป็นช่องทางที่ดีใน การพัฒนากระบวนการทักษะการคิดของผู้เรียน
  • 7. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 4. องค์ประกอบการวางแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด 1) การวิเคราะห์ตัวชี้วัด เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ /ความ เชื่อมโยงแต่ละตัวชี้วัดที่สามารถนามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันได้ ซึ่งอาจมา จากกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันหรือต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัดบางตัวอาจ ต้องฝึกซ้าเพื่อให้เกิดความชานาญ จึงสามารถอยู่มากกว่าหนึ่งกิจกรรม เพื่อให้ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดได้อย่างครอบคลุม 2) ความคิดรวบยอด เป็นการวิเคราะห์แก่นความรู้ แต่ละมาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัดที่ผู้เรียนจะได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด 3) สาระการเรียนรู้ เป็นสาระการเรียนรู้ที่นามาใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ แกนกลาง และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี) 4) ทักษะการคิด เป็นทักษะการคิดที่นามาพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้อง ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ที่วิเคราะห์ไว้ตามข้อ 1) 5) ชิ้นงาน/ภาระงาน ที่กาหนดต้องสะท้อนถึงความสามารถของผู้เรียน จากการใช้ความรู้และทักษะการคิดที่กาหนดไว้ซึ่งสอดคล้องตามมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด ในข้อ 1) โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ๖) แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด เป็นเทคนิค/ วิธีการสอนที่จะใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และนาไปสู่การสร้างชิ้นงาน / ภาระงาน และสอดแทรกด้วยการใช้กระบวนการพัฒนาทักษะการคิดที่กาหนดไว้ให้ ครบถ้วน ตามข้อ 4) สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.(2553).แนวทางการจัดกิจกรรม การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับ ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์และการเกษตรแห่งประเทศไทย. จากข้อความนี้เสนอว่า การวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ถือเป็น กระบวนการพัฒนาที่สาคัญเพื่อลงสู่การพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน
  • 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 บทสรุป ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการคิดวิเคราะห์เป็นกระบวนการทางสมองของผู้เรียน เป็นกระบวนการเรียนรู้ถ้าผู้เรียนได้มีวิธีคิดอย่างเป็นระบบที่มีความใคร่ครวญ ไตร่ตรอง แยกแยะแจกแจงเป็นส่วน จะทาให้ผู้เรียนได้พิจารณาสารจากการฟัง หรืออ่านประเมินค่าแล้วสรุปเลือกเฟ้นการนาไปสู่การตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสมเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และถ่ายทอดองค์ความรู้สิ่งประดิษฐ์ใหม่ด้วยการพูดการเขียนสู่การ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ดารงตน ครูผู้สอนจึงมีบทบาทสาคัญใน การออกแบบการเรียนรู้และถ่ายทอดความรู้โดยใช้นวัตกรรมมาจัดการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาด้านการคิดของผู้เรียน บทความนี้ต้องการเสนอรูปแบบแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางให้ครูมี ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ในองค์ประกอบการคิดวิเคราะห์ รูปแบบเทคนิควิธี การจัดทาแผนการ จัดการเรียนรู้ เพื่อที่จะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนสอนใน รายวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อนาสู่การพัฒนากระบวนการคิดสร้างสรรค์กับผู้เรียนให้ มีประสิทธิผลต่อไป
  • 9. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วารีรัตน์ สติราษฎร์ ศึกษานิเทศก์ สพป. พะเยา เขต 2 บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว กลุ่มงานนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพท. เพชรบูรณ์ เขต 1. (2552). คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน “คิด” สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.(2553).รูปแบบและกลยุทธ์การจัด กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด . นครปฐม : คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์. พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์.(2544) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา PROBLEM-BASED LEARNING. วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.(2553).แนวทางการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับ ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์และการเกษตรแห่ง ประเทศไทย. *************************