SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  171
Télécharger pour lire hors ligne
เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้ สึก
                    เนือหา
                       ้
                    1. การรับรู้ และการตอบสนอง
                    2. เซลล์ ประสาท
                    3. การทางานของเซลล์ ประสาท
                    4. ศูนย์ ควบคุมระบบประสาท
                     5. การทางานของระบบ
                     ประสาท
                     6. อวัยวะรับความรู้ สึก
การรับรู้ และการตอบสนอง

   สิ่ งเร้ า                  หน่ วยรับความรู้ สึก             เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก




                                                                     หน่ วยแปลความรู้ สึก



การตอบสนอง                  หน่ วยปฏิบติการ
                                      ั               เซลล์ ประสาทสั่ งการ


            การรับรู้ การเปลียนแปลงต่ อสภาพแวดล้ อมของสิ่ งมีชีวิต
                             ่
การตอบสนองของสิ่ งมีชีวตเซลล์ เดียว
                                     ิ

เช่ น พารามีเซียม ไม่ มีระบบประสาททีแท้ จริง มี
                                        ่
เส้ นใยประสานงาน (co-ordinating fiber) ซึ่งอยู่ใต้
ผิวเซลล์ เชื่อมโยงระหว่ างโคนซิเลียแต่ ละเส้ นทาให้
เกิดการประสานงานกัน การโบกพัดของซีเลียทีอยู่    ่
รอบๆตัว ถ้ าหากตัดเส้ นใยนีพบว่ า พารามีเซียมไม่
                            ้
สามารถควบคุมการโบกพัดของซีเลียได้
การตอบสนองของสั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง
                                ี

ฟองนา เซลล์ แต่ ละเซลล์ของฟองนาจะมีการรับรู้และการตอบสนอง
        ้                         ้
แต่ ไม่ มีการประสานงานระหว่ างเซลล์
ไฮดรา ยังไม่ มีปมประสาท แต่ จะมีเส้ นใยประสาททีเ่ รียกว่ า
ร่ างแหประสาท ( nerve net ) มีลกษณะการเชื่อมโยงกันเป็ นร่ างแห
                                ั
กระจายอยู่รอบตัว เมื่อกระตุ้นจะทาให้ ทุกส่ วนของร่ างกายหดตัว
แต่ การเคลือนทีของกระแสประสาทช้ ากว่ าสั ตว์ ช้ันสู งมาก และการ
             ่ ่
เคลือนทีของกระแสประสาทนั้นไม่ มีทิศทางที่แน่ นอน
     ่ ่
การตอบสนองของสั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง
                         ี
             พลานาเรีย
             - มีเซลล์ ประสาทรวมตัวเป็ นกลุ่มโดยเฉพาะ
             บริเวณหัว เรียกกลุ่มของเซลล์ ประสาทเหล่ านั้นว่ า
             ปมประสาท (nerve ganglion)หรือเรียกว่ า สมอง
             (brain)
             - มีเส้ นประสาท (nerve cord)ขนานไปตาม
             ด้ านข้ างของลาตัวจากหัวจรดท้ ายลักษณะแบบ
             ขั้นบันได (ladder type)เส้ นประสาทดังกล่าว
             เชื่อมโยงติดกันเส้ นประสาททีวนรอบลาตัวเรียกว่ า
                                          ่
             วงแหวนประสาท (nerve ring)
การตอบสนองของสั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง
                                  ี
- ไส้ เดือนดิน กุ้ง หอย จะมีปมประสาทที่พฒนากว่ าของพลานาเรีย
                                             ั
   ทาหน้ าทีเ่ ป็ นสมองอยู่ทส่วนหัว มีเส้ นประสาททีเ่ ชื่อมต่ อปม
                            ี่
  ประสาททีมีอยู่ตามปล้ อง
               ่
- แมลง มีปมประสาทหลายปมทีอยู่เป็ นช่ วงๆบริเวณหน้ าท้ องของ
                                    ่
  แมลงและมีเส้ นประสาทย่ อยทีต่อไปยังอวัยวะต่ างๆเพือเพิมการรับรู้
                                  ่                        ่ ่
  และตอบสนองที่พฒนาดีขนสาหรับแมลง
                      ั        ึ้
การตอบสนองของคนและสั ตว์ มกระดูกสั นหลัง
                               ี

ในคนและสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังมีระบบประสาทพัฒนามาก
- เซลล์ ประสาทส่ วนใหญ่ รวมกันอยู่ทส่วนหัว เจริญพัฒนาไปเป็ น
                                      ี่
  สมอง ( brain )
- และมีไขสั นหลัง ( spinal cord ) ทอดยาวด้ านหลังของลาตัว
- ทั้งสมองและไขสั นหลังทาหน้ าทีเ่ ป็ นศูนย์ กลางของระบบ
  ประสาท โดยมีเส้ นประสาทแยกออกมาจากสมองและไขสั นหลัง
ลักษณะเส้ นประสาทของสมองและไขสั นหลัง
สมองของสั ตว์ มกระดูกสั นหลังขณะเอ็มบริโอ ( embryo )
                ี
มีลกษณะ
    ั
เป็ นหลอดกลวงเรียกว่ า นิวรัลทิวบ์ ( neueal tube ) แบ่ งเป็ น 3 ส่ วน คือ
- สมองส่ วนหน้ า
- สมองส่ วนกลาง
- สมองส่ วนหลัง
และส่ วนที่ต่อท้ ายคือไขสั นหลัง



ในสภาวะปกติท่ เซลล์ ประสาทไม่ ถูกกระตุ้น เซลล์ จะอยู่ในระยะพัก
              ี
ไขสันหลัง


พัฒนาการของสมองและไขสั นหลังของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
วิวฒนาการของสมองในสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
   ั
ระบบประสาทมีเนือเยือประสาท
                           ้ ่
ประกอบด้ วยเซลล์ 2 ชนิด คือ
• เซลล์ ประสาท
• เซลล์ คาจุน
         ้
เซลล์ ประสาท
- เซลล์ ประสาท ( nerve cell ) หรือนิวรอน ( neuron ) ซึ่งมีเป็ น
  จานวนมากในร่ างกาย
- แต่ ละเซลล์จะเชื่อมโยงต่ อกับเซลล์ ประสาทอืนเป็ นพันๆเซลล์
                                             ่
- ทาหน้ าทีเ่ กียวกับการรับรู้และการตอบสนอง
                ่
  การทางานของเซลล์ ประสาท

  Na+ ที่อยู่ภายในเซลล์ จะถูกลาเลียงออกโดยอาศัยพลังงานจาก
เซลล์ ประสาท ประกอบด้ วย

• ตัวเซลล์ ( cell body )
• ใยประสาท ( nerve fiber )
ตัวเซลล์ (cell body)

มีเส้ นผ่ านศูนย์ กลางประมาณ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมี
• ไซโทพลาซึม ( cytoplasm )
• นิวเคลียส ( nucleus ) ขนาดใหญ่
• ไมโทคอนเดรีย ( mitochondria )
• เอนโดพลาสมิกเรติคูลม ( endoplasmic reticolum )
                         ั
• กอลจิคอมเพล็กซ์ ( golgi complex )
ใยประสาท (nerve fiber)
เป็ นส่ วนที่ยนออกมาจากตัวเซลล์ มีลกษณะเป็ นแขนงเล็กๆ
              ื่                   ั
มี 2 ชนิด คือ
- เดนไดรต์ ( dendrite )
- แอกซอน ( axon )
เดนไดรต์ ( dendrite )
- เป็ นใยประสาททีนากระแสประสาทเข้ าสู่ ตวเซลล์
                  ่                     ั
- มีจานวนตั้งแต่ 1 ใยขึนไป
                       ้
- มักมีขนาดสั้ น
แอกซอน (axon)
-   เป็ นใยประสาทที่นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
-   มีจานวนเพียง 1 ใย
-   มักมีขนาดยาว
-   อาจมีเยือไมอีลนหุ้ม
            ่     ิ
ภาพถ่ ายกล้องจุลทรรศน์                    ภาพวาด


                         โครงสร้ างเซลล์ ประสาท
เยือไมอีลน ( myelin sheath )
                  ่     ิ

- เป็ นสารจาพวกลิพด ( lipid )
                     ิ
- เป็ นส่ วนหนึ่งของเซลล์ ชวัน ( schwann cell )
- รอยต่ อของเซลล์ ชวันแต่ ละเซลล์จะไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม เรียก
                                            ่     ิ
  บริเวณนั้นว่ า โนดออฟแรนเวียร์ ( node of ranvier )
เซลล์ ประสาทแบ่ งตามหน้ าทีได้ 3 ชนิด คือ
                                   ่


1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
2. เซลล์ประสาทสั่ งการ
3. เซลล์ประสาทประสานงาน
เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก ( sensory neuron )

- รับกระแสประสาทจากหน่ วยรับความรู้สึกส่ งไปยัง
เซลล์ประสาทสั่ งการในไขสันหลัง
 - ตัวเซลล์อยู่ทปมประสาทรากบนของไขสั นหลัง
                ี่
เซลล์ ประสาทสั่ งการ(motor neuron)


- นากระแสประสาทออกจาก
ไขสั นหลังหรือสมองไปยังหน่ วย
ปฏิบัติงาน เช่ น กล้ามเนือ
                         ้
เซลล์ ประสาทประสานงาน ( association neuron )

- ทาหน้ าที่เชื่อมต่ อระหว่ างเซลล์
ประสาทรับความรู้ สึกและ
เซลล์ประสาทสั่ งการ
- อยู่ภายในสมองและไขสั นหลัง
เซลล์ ประสาทแบ่ งตามรู ปร่ างโครงสร้ างได้ 3 ประเภทคือ

1. เซลล์ประสาทขั้วเดียว
2. เซลล์ประสาทสองขั้ว
3. เซลล์ประสาทหลายขั้ว
เซลล์ ประสาทขั้วเดียว ( unipolar neuron )

- มีใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์
เพียงเส้ นเดียว
- แยกออกเป็ นแอกซอนและเดนไดรต์
- ทาหน้ าทีเ่ ป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก
จากผิวหนัง
เซลล์ ประสาทสองขั้ว ( bipolar neuron )

- มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์สองเส้ น
- เป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก
- เช่ น เซลล์ประสาททีเ่ รตินาของตา,
เซลล์ ประสาทรับกลินของจมูก,
                   ่
เซลล์ ประสาทรับเสี ยงของหู เป็ นต้ น
เซลล์ ประสาทหลายขั้ว ( multipolar neuron )

- มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์
มากมาย
- เป็ นเซลล์ประสานงานและเซลล์
ประสาทสั่ งการ
เซลล์ คาจุน
                                 ้
         เป็ นเซลล์ ทแทรกอยู่ระหว่ างเซลล์ ประสาทเพือไม่ ให้ มีช่องว่ าง
                     ี่                                  ่
    เกิดขึนทาหน้ าที่
           ้
-   คาจุน
      ้
-   ให้ อาหาร
-   สนับสนุนการทาหน้ าทีของเซลล์ ประสาท
                              ่
-   คล้ ายกับเนือเยือเกียวพัน
                 ้ ่ ่
-   ตัวอย่ างเช่ น เซลล์ ชวัน ( scheann cell ) ทีสร้ างเยือไมอีลน
                                                 ่         ่    ี
เซลล์ ประสาทจะอยู่แบบสานต่ อเป็ น
 เครือข่ ายปลายแอกซอนของเซลล์ ประสาทหนึ่งจะไปอยู่ชิดกับ
- เดนไดรต์ ของเซลล์ ประสาทอืน
                            ่
- เซลล์กล้ ามเนือ้
- หน่ วยปฏิบัตงาน
               ิ
- เพือถ่ ายทอดกระแสประสาทบริเวณทีอยู่ชิดกันเรียกว่ า
     ่                           ่
ไซแนปส์ ( symapse )
ไซแนปส์ ระหว่ างเซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทประสานงาน
                     และเซลล์ประสาทสั่ งการ
การทางานของเซลล์ ประสาท

การเกิดกระแสประสาท
- เมือมีสิ่งเร้ าต่ างๆ เช่ น เสี ยง
     ่
,ภาพ,ความร้ อน สารเคมีมา
กระตุ้นหน่ วยรับความรู้ สึก
- จะถูกเปลียนให้ เป็ นกระแส
              ่
ประสาท
จากการวิจัยของนักสรีรวิทยาของ
    ฮอดจ์ กน (A.L .Hodgkin) และฮักซ์ สีย์ (A.F. Huxley)
             ิ
    ทาให้ ทราบว่ ากระแสประสาทเกิดขึนได้ อย่ างไรโดยการนา
                                      ้
-   ไมโครอิเล็กโทรด (microelectrode)ซึ่งมีลกษณะเป็ นหลอดแก้ว
                                             ั
    ที่ดงให้ ยาวตรงปลายเรียวเป็ นท่ อขนาดเล็ก
        ึ
-   มาต่ อกับมาตรวัดความต่ างศักย์ ไฟฟ้ า (cathode ray
    oscilloscope)
-   จากนั้นเสี ยบปลายข้ างหนึ่งของไมโครอิเล็กโทรดเข้ าไปในแอก
    ซอนของหมึก
-   ส่ วนอีกปลายหนึ่งแตะที่ผวนอกของแอกซอนของหมึก
                            ิ
การวัดความต่ างศักย์ไฟฟาระหว่ างภายนอกและภายในเซลล์ประสาทของหมึก
                       ้
จากการทดลองพบว่ า
- ความต่ างศักย์ ไฟฟาระหว่ างภายในและภายนอกประสาทของ
                     ้
   หมึกวัดได้ – 70 มิลลิโวลต์ ซึ่งเป็ นศักย์ เยือเซลล์ ระยะพัก
                                                ่
(resting membrane potential)
- เยือหุ้มเซลล์มีโปรตีนทาหน้ าทีควบคุมการเข้ าออกของ
     ่                              ่
ไอออนเช่ น
                   Na+ เรียกว่ า ช่ องโซเดียม
                   K+ เรียกว่ า ช่ องโพแทสเซียม
ขณะทีเ่ ซลล์ ประสาทยังไม่ ถูกกระตุ้นซึ่งเป็ นระยะพักพบว่ า
- สารละลายภายนอกเซลล์มี Na+ สู งกว่ าสารละลายภายในเซลล์
- สารละลายภายในเซลล์มี K+สู งกว่ าสารละลายภายนอกเซลล์
- ทีเ่ ป็ นเช่ นนีอยู่ตลอดเวลาเพราะได้ รับพลังงานจาก ATP ซึ่ง
                  ้
  พลังงานจาก ATP จะไปดัน Na+ ออกไปนอกเซลล์ทางช่ อง
  โซเดียมและดึง K+ เข้ าไปในเซลล์ ทางช่ องโพแทสเซียมใน
  อัตราส่ วน 3 Na+ : 2 K+ เรียกกระบวนการนีว่า โซเดียม
                                                ้
  โพแทสเซียมปั๊ม (sodium potassium pump)
ขณะทีเ่ ซลล์ ถูกกระตุ้นซึ่งเป็ นระยะที่
        เรียกว่ า ดีโพลาไรเซชัน (depolarization)
- ทาให้ เกิดการเปลียนแปลงของศักย์ เยือเซลล์
                         ่                ่
- ช่ องโซเดียมเปิ ด แต่ ช่องโพแทสเซียมปิ ด
- Na+ เข้ าข้ างในเซลล์ มากขึนข้ างในมีความเป็ นบวกมากขึน (ความ
                                  ้                        ้
  ต่ างศักย์ ทเี่ ยือหุ้มเซลล์ จะเปลียนแปลงจาก – 70 มิลลิโวลต์
                    ่                ่
  เป็ น + 50 มิลลิโวลต์ )
หลังจากการกระตุ้นผ่ านไปเซลล์ กลับมาอยู่ในสภาวะเดิม
     ระยะนีเ้ รียกว่ า รีโพลาไรเซชัน (repolarization)
- ช่ องโซเดียมจะปิ ด ขณะทีโพแทสเซียมจะเปิ ด
                          ่
- ความต่ างศักย์ จะเปลียนกลับจาก + 50 มิลลิโวลต์ เป็ น
                       ่
– 70 มิลลิโวลต์
- กลับสู่ สภาพเดิม
การเปลียนแปลงศักย์ ไฟฟาขณะทีเ่ ซลล์ประสาทถูกกระตุ้น
       ่              ้
การเปลียนแปลงดังกล่าวเรียกว่ า แอกชันโพเทนเชียล
                  ่
    ( action potential ) หรือการเกิดกระแสประสาท ( nerve impluse )
- เกิดขึนตรงบริเวณทีถูกกระตุ้น
         ้                 ่
- ชักนาให้ บริเวณถัดไปเกิดการเปลียนแปลง ่
- บริเวณทีถูกกระตุ้นครั้งแรกกลับสู่ สภาพเดิม
              ่
- เป็ นเช่ นนีไปเรื่อยๆ
                ้
- มีผลให้ กระแสประสาทเคลือนไปตามความยาวของใยประสาทแบบจุด
                                 ่
  ต่ อจุดต่ อเนื่องกันของแอกซอนทีไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม
                                      ่    ่    ี
- นักวิทยาศาสตร์ พบว่ า การเกิดแอกชันโพเทนเชียลต้ องอาศัยระยะเวลา
  หนึ่ง
           ดังนั้น ถ้ ากระตุ้นเซลล์ประสาทในขณะทียงเกิดแอกชันโพเทนเชียล
                                                ่ั
  อยู่เซลล์ประสาทจะไม่ ตอบสนองกระแสประสาทจึงไม่ เกิดขึนใหม่ ้
เยือไมอีลน (myelin sheath) จะทาหน้ าที่
            ่     ี
- เป็ นฉนวนกั้นประจุไฟฟาทีผ่านเยือหุ้มเซลล์ ดังนั้นแอกซอนตรง
                       ้ ่       ่
   บริเวณทีมีเยือไมอีลนหุ้มจะไม่ มแอกชันโพเทนเชียลเกิดขึน
              ่ ่       ี          ี                    ้
- แต่ แอกชันโพเทนเชียลจะเคลือนทีจากโนดออฟแรนเวียร์ หนึ่งไป
                                 ่ ่
   ยังโนดออฟแรนเวียร์ ทอยู่ถดไปตลอดความยาวของใยประสาท
                            ี่ ั
- ดังนั้นการเคลือนทีของกระแสประสาทในใยประสาทที่มีเยือไมอี
                  ่ ่                                     ่
   ลีนหุ้มจึงผ่ านแบบกระโดดเป็ นช่ วงๆตามระยะของโนดออฟแรน
   เวียร์
- ใช้ เวลาน้ องกว่ าการเคลือนทีของกระแสประสาทในใยประสาทที่
                           ่ ่
   ไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม
            ่      ี
การเคลือนทีของกระแสประสาทไปตามแอกซอนทีมเี ยือหุ้มไมอีลนหุ้ม
       ่ ่                            ่ ่             ิ
ความเร็วของกระแสประสาทในแอกซอนที่ไม่ มีเยื่อไมอีลนหุ้มขึนอยู่กบ
                                                 ี      ้     ั

- ขนาดของเส้ นผ่ านศูนย์ กลางของใยประสาท
- ถ้ ามีขนาดใหญ่ จะนากระแสประสาทได้ เร็วกว่ าขนาดเล็ก
( เพราะความต้ านทานการเคลือนทีของไอออนจะผกผันกับ
                          ่ ่
พืนที่ภาคตัดขวางของใยประสาท )
   ้
แอกซอนทีมเี ยือไมอีลนหุ้ม ถ้ ามี
                     ่ ่         ี
- ขนาดใหญ่ และระยะห่ างระหว่ างโนดออฟแรนเวียร์ มากกว่ าจะมี
  การเคลือนทีของกระแสประสาทได้ เร็วกว่ า
         ่ ่
การทดลองของออทโต ลอวิ
การถ่ ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ ประสาท

  นักวิทยาศาสตร์ ชื่อ ออทโต ลอวิ ( otto Loewi ) ทดลอง
- นาหัวใจของกบที่ ยังมีชีวตอยู่มาผ่ าตัดเอาสมองทียงมี
                            ิ                         ่ั
  เส้ นประสาทคู่ที่ 10 ติดอยู่มาใส่ ไว้ ในจานเพาะเชื้อจานที่ 1 ทีมี
                                                                 ่
  นาเกลือแล้ วใช้ กระแสไฟฟากระตุ้นเส้ นประสาทนั้น พบว่ า หัวใจ
    ้                         ้
  กบเต้ นช้ าลงต่ อมาดูดสารละลายจากจานที่ 1 ใส่ ในจานที่ 2 ทีมี    ่
  หัวใจกบเหมือนกัน แต่ ไม่ มีเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 10 พบว่ า
  หัวใจกบในจานที่ 2 มีอตราการเต้ นของหัวใจช้ าลงเช่ นกัน
                          ั
จากการทดลองนีแสดงให้ เห็นว่ า
             ้
การกระตุ้นเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 10
- จะทาให้ มีการปล่ อยสารบางชนิดออกมายับยั้งการทางานของ
    กล้ ามเนือหัวใจ
              ้
เช่ นเดียวกัน
- การกระตุ้นใยประสาทที่ไปเลียงกล้ ามเนือนั้น
                             ้         ้
- โดยมีการหลังสารจากปลายประสาทกระตุ้นให้ กล้ ามเนือหดตัว
                 ่                                 ้
- สารหลังจากปลายประสาท เรียกว่ า สารสื่ อประสาท
            ่
    (neurotransmitter)
มีการค้ นพบว่ า
- บริเวณปลายแอกซอนมีสารสื่ อประสาทสู งมากซึ่งสารสื่ อ
  ประสาทนีทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางถ่ ายทอดกระแสประสาทจาก
            ้
  เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่ง
ปัจจุบนพบว่ าสารสื่ อประสาทมีหลายชนิด เช่ น
      ั
-   แอซิติลโคลีน ( acetylcholine )
-   เอพิเนฟริน ( eoinephrine)
-   นอร์ เอพิเนฟริน ( norepinephrine )
-   เอนดอร์ ฟีน ( endorphine )
จากการทดลองของออทโต ลอวิ สารทีหลังออกมาจาก
                                           ่ ่
เส้ นประสารทสมองคู่ที่ 10 (หลังจากถูกกระตุ้นด้ วย
กระแสไฟฟา) คือ แอซิตลโคลีน (acetylcholine)
          ้            ิ
จากการศึกษาพบว่ า
- บริเวณทีปลายแอกซอนของเซลล์ ประสาทหนึ่งมาอยู่ชิดกับเดนไดรต์
          ่
  ของอีกเซลล์ประสาทหนึ่งเรียกว่ า ไซแนปส์ (synapse)
- เป็ นช่ องกว้ างขนาด 0.5 ไมโครเมตร
- ทาให้ กระแสประสาทข้ ามผ่ านไปได้
ทีปลายของแอกซอนจะมี
  ่
- ถุงขนาดเล็กบรรจุสารสื่ อประสาท
- ไมโทคอนเดรียสะสมอยู่มาก
เมื่อกระแสประสาทเคลือนที่มาถึงปลายแอกซอนก่ อนไซแนปส์
                     ่
- ถุงบรรจุสารสื่ อประสาทจะเคลือนทีไปยังเยือหุ้มเซลล์บริเวณไซแนปส์
                                 ่ ่        ่
- แล้วปล่อยสารสื่ อประสาทออกไปเป็ นการนากระแสประสาทไปพร้ อมๆ
  กัน
- เมื่อสารสื่ อประสาทผ่ านช่ องไซแนปส์ มาแล้วจะไปจับกับโปรตีนตัวรับที่
  เยือหุ้มเซลล์ของเดนไดรต์ (หลังไซแนปส์ )
     ่
- ทาให้ เกิดการเคลือนทีของไอออนผ่ านเยือหุ้มเซลล์มีการเปลียนแปลง
                     ่ ่                ่                 ่
  ความต่ างศักย์
- ทาให้ เกิดการหลังกระแสประสาทต่ อไป
                   ่
สารสื่ อประสาทผ่ านช่ องไซแนปส์
สารทีเ่ หลืออยู่ทช่องไซแนปส์
                                 ี่
- จะถูกสลายอย่ างรวดเร็วโดยเอนไซม์
- เพือให้ เซลล์ประสาททางานได้ อก
     ่                         ี
สารทีได้ จากการสลาย
                         ่
- บางส่ วนอาจจะถูกนากลับไปสร้ างสารสื่ อประสาทใหม่
- บางส่ วนถูกกาจัดออกทางระบบเลือด
         ดังนั้น เดนไดรต์ จะถูกกระตุ้นในช่ วงเวลาสั้ นๆเฉพาะเวลาทีแอกซอน
                                                                  ่
  ปล่อยสารสื่ อประสาทเท่ านั้น
ปัจจุบนบันพบว่ ามีสารเคมีและยาหลายชนิดทีมผลต่ อการ
         ั                                 ่ ี
           ถ่ ายทอดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่ น
1. สารที่มาจากแบคทีเรียบางชนิด จะไป
- ยับยั้งการปล่อยสารสื่ อประสาท
- กระแสประสาทถ่ ายทอดไม่ ได้
- จึงเกิดอัมพาตขึน
                 ้
2. ยาระงับประสาท ทาให้
- สารสื่ อประสาทออกมาได้ น้อย
- กระแสประสาทสั่ งไปยังสมองน้ อยลง
- จึงเกิดอาการสงบไม่ วตกกังวล
                        ิ
ปัจจุบนบันพบว่ ามีสารเคมีและยาหลายชนิดทีมผลต่ อการ
       ั                                 ่ ี
         ถ่ ายทอดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่ น

3. สารจาพวก แอมเฟตามีน,นิโคติน,คาแฟอิน
     - กระตุ้นให้ มีการปล่ อยสารสื่ อประสาทออกมามาก
     - ทาให้ รู้ สึกตืนตัว หัวใจเต้ นเร็วนอนไม่ หลับ
                      ่
4. ยาฆ่ าแมลงบางชนิด
    - ไปทาลายหรือยับยั้งเอนไซม์ ทจะมาสลายสารสื่ อประสาท
                                         ี่
โครงสร้ างของระบบประสาท
       ถ้ าพิจารณาตามตาแหน่ งและโครงสร้ างจะแบ่ งระบบประสาท
   ได้ 2 ระบบ คือ
1. ระบบประสาทส่ วนกลาง (central nervous system หรือ CNS
   ได้ แก่ สมองและไขสั นหลัง
2. ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system หรือ
   PNS)
ระบบประสาทส่ วนกลาง (central nervous system หรือ CNS)
ทั้งสมองและไขสั นหลังมีเยือหุ้ม 3 ชั้น
                              ่
- ชั้นนอกสุ ด มีลกษณะหนาเหนียวและแข็งแรงปองกันการ
                     ั                         ้
     กระทบกระเทือนของเนือสมองและไขสั นหลัง
                                ้
- ชั้นกลาง มีลกษณะเป็ นเยือบางๆอยู่ระหว่ างชั้นนอกและชั้นใน
                   ั              ่
- ชั้นใน เป็ นชั้นทีแนบไปตามรอยโค้ งเว้ าของสมองและไขสั น
                       ่
     หลังมีเส้ นเลือดหล่อเลียงมากนาอาหารและออกซิเจนมาให้ เนือ
                            ้                               ้
     สมองกับไขสั นหลัง
ระหว่ างเยือหุ้มสมองชั้นกลางกับชั้นใน
                    ่

- เป็ นช่ องว่ างตามยาวติดต่ อกับช่ องภายในไขสั นหลังและโพรง
ในสมอง
- เป็ นทีอยู่ของนาเลียงสมองและไขสั นหลัง (cerebrospinal fluid)
          ่        ้ ้
สมอง ไขสั นหลัง และเยือหุ้มสมอง
                      ่
โรคนาเลียงสมองและไขสั นหลังอุดตัน
    ้ ้
สมอง (brain)ของคน

- มีนาหนัก 1.4 กิโลกรัม หรือ 3 ปอนด์
     ้
- บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะซึ่งป้ องกัน
สมองไม่ ให้ กระทบกระเทือน
- ประกอบด้ วยเซลล์ประสาทมากกว่ าร้ อยละ
90 ของเซลล์ประสาททั้งหมด (ส่ วนใหญ่ เป็ น
เซลล์ประสาทประสานงาน)
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease)
- เป็ นโรคทีเ่ กียวกับความเสื่ อมของเซลล์ ประสาทในสมองผู้ป่วยที่
                 ่
  เป็ นโรคนีเ้ นือสมองจะฝ่ อเล็กลงรอยหยักในสมองมีน้องลง นา
                 ้                                               ้
  เลียงสมองจะเพิมมากขึนมีอาการสู ญเสี ยความจาและความ
      ้             ่      ้
  ฉลาด
- สาเหตุการเกิดโรคยังไม่ ทราบแน่ ชัด แต่ ปัจจัยทีเ่ กียวข้ องมีหลาย
                                                      ่
  สาเหตุเช่ นความผิดปกติทางพันธุกรรมการสะสมสารพิษบาง
  ชนิด เช่ น อะลูมิเนียม เป็ นต้ น
สมองประกอบด้ วย 2 ส่ วน
1. ส่ วนนอกเป็ นสี เทา (grey matter)
      - มีตวเซลล์ ประสาท
           ั
      - และแอกซอนที่ไม่ มีเยือไมอีลน
                             ่     ิ
2. ส่ วนใน เป็ นเนือสี ขาว (white matter)
                   ้
     - มีแอกซอนทีมีเยือไมอีลนซึ่งเป็ นสารพวกลิพด (lipid)
                     ่ ่       ิ               ิ
เป็ นส่ วนประกอบ
สมองของคน
- มีพฒนาการสู งสุ ด ซับซ้ อนทีสุด
       ั                      ่
- มีอตราส่ วนระหว่ างนาหนักสมองต่ อนาหนักตัวมากกว่ าสั ตว์ อน
     ั                 ้            ้                       ื่
- มีรอยหยักบนสมองมาก
ซีกของสมอง มี 2 ซีก
สมองคนเราแบ่ งเป็ น 3 ส่ วน


1. สมองส่ วนหน้ า (forebrain)
2. สมองส่ วนกลาง (midbrain)
3. สมองส่ วนหลัง (hindbrain)
สมองส่ วนหน้ า (forebrain)
-   ออลแฟกเทอรีบัลบ์ (olfactory bulb)
-   เซรีบรัม (cerebrum)
-   ไฮโพทาลามัส (hypothalamus)
-   ทาลามัส (thalamus)
สมองส่ วนกลาง(midbrain)
- พัฒนารู ปเหลือเฉพาะ ออกติกโลบ (optic lobe)
สมองส่ วนหลัง (hindbrain)

- เซรีเบลลัม (cerebellum)
- เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
- พอน (pons)
ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb)
เกียวข้ องกับการดมกลิน
   ่                  ่
- ในปลา สมองส่ วนนีจะมีขนาดใหญ่
                        ้
- ในคน สมองส่ วนนีไม่ ค่อยเจริญ
                    ้
เซรีบรัม (cerebrum)
เกียวกับความคิด ความจา เชาวน์ ปัญญา
   ่
- การรับสั มผัส
- การพูด การรับรู้ ภาษา
- การมองเห็น
- การรับรส
- การได้ ยน
          ิ
- การดมกลิน ่
- การทางานของกล้ ามเนือ ้
ไฮโพทาลามัส (hypothalamus)
เป็ นศูนย์ ควบคุม
- อุณหภูมของร่ างกาย
             ิ
- การนอนหลับ
- การเต้ นของหัวใจ
- ความดันเลือด
- ความต้ องการพืนฐานของร่ างกายเช่ น นา อาหาร การพักผ่ อน อารมณ์
                     ้                ้
    ความรู้สึกต่ างๆ
- ทาหน้ าทีสร้ างฮอร์ โมนประสาทมาควบคุมการหลังฮอร์ โมนของต่ อมใต้
               ่                              ่
    สมองส่ วนหน้ า
ทาลามัส (thalamus)
- เป็ นศูนย์ รวมกระแสประสาททีผ่านเข้ ามาแล้ วแยกกระแสประสาท
                             ่
  ส่ งไปยังสมองส่ วนหน้ าที่เกียวข้ องกับกระแสประสาทนั้นๆ
                               ่
ออกติกโลบ (optic lobe)
- ควบคุมการเคลือนไหวของนัยน์ ตาหัวและลาตัว เพือตอบสนอง
                 ่                            ่
  ต่ อแสงและเสี ยง
- ช่ วยควบคุมการเคลือนไหวของร่ างกาย
                    ่
เซรีเบลลัม (cerebellum)
- ควบคุมการทรงตัวของร่ างกาย
- ควบคุมการประสานการเคลือนไหวของร่ างกายให้ เป็ นไปอย่ าง
                          ่
  ราบรื่นสละสลวยและเที่ยงตรงทาให้ สามารถทางานละเอียดอ่อน
  ได้
เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
-   ควบคุมการเต้ นของหัวใจ
-   ควบคุมการหายใจ
-   ควบคุมความดันเลือด
-   เป็ นศูนย์ ควบคุมการกลืน การไอ การจาม การอาเจียนและการ
    สะอึก
พอน (pons)
- ควบคุมการเคียว การหลังนาลาย การเคลือนไหวของใบหน้ า
                ้       ่ ้          ่
- ควบคุมการหายใจ
- เป็ นทางผ่ านของกระแสประสาทระหว่ างเซรีบรัมกับเซรีเบลลัม
  และระหว่ างเซรีเบลลัมกับไขสั นหลัง
สมองของคน
ไขสั นหลัง (spinal cord)
- อยู่ภายในกระดูกสั นหลัง ตั้งแต่ กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรก
  ถึงกระดูกบริเวณเอวข้ อที่ 2
- ส่ วนปลายไขสั นหลังจะเรียวเล็กจนเหลือเพียงส่ วนของเยือหุ้ม
                                                         ่
  ไขสั นหลัง
ไขสั นหลังและเส้ นประสาทไขสั นหลัง
ถ้ าตัดไขสั นหลังตามขวางจะพบว่ า

- ด้ านนอก เป็ นเนือขาว (white matter) เป็ นบริเวณที่แอกซอนมี
                    ้
  เยือไมอีลนหุ้ม
     ่      ี
- ด้ านใน เป็ นเนือสี เทา (grey matter)เป็ นบริเวณที่มีตวเซลล์
                  ้                                     ั
  ประสาทอยู่หนาแน่ น
- ตรงกลาง จะมีช่องกลวง (central canal)เป็ นบริเวณที่มีนาเลียง
                                                            ้ ้
  สมองและไขสั นหลังบรรจุอยู่ภายใน
ส่ วนที่เป็ นเนือสี เทาของไขสั นหลัง
                             ้
- มีลกษณะคล้ายอักษรตัว H หรือ ปี กผีเสื้อ
      ั
- ปี กบนมี 2 ปี ก เรียก ดอร์ ซัลฮอร์ น (dorsal horn)
- ปี กล่ างมี 2 ปี ก เรียก เวนทรัลฮอร์ น (ventral horn)
ระบบประสาทรอบนอก
(peripheral nervous system หรือ PNS) ประกอบด้ วย

- เส้ นประสาทสมอง (cranial nerve) มี 12 คู่
- เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve) มี 31 คู่
เส้ นประสาทสมองของคน
เส้ นประสาทสมอง (cranial nerve)
-   เป็ นเส้ นประสาทที่ติดต่ อกับสมอง
-   แยกออกจากสมองเป็ นคู่ๆ
-   ของสั ตว์ นาและสั ตว์ ครึ่งบกครึ่งนามี 10 คู่
                ้                       ้
-   ของสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม นก และสั ตว์ เลือยคลานมี 12 คู่
                  ้          ้                    ้
-   บางเส้ นทาหน้ าทีเ่ ฉพาะรับความรู้ สึก
-   บางเส้ นเป็ นเส้ นประสาทสั่ งการ
-   บางเส้ นทาหน้ าทีเ่ ป็ นทั้งรับความรู้ สึกและสั่ งการ
เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve)
เป็ นเส้ นประสาททีแยกออกมาจากไขสั นหลังเป็ นคู่ๆ
                  ่
ในคนมีท้งหมด 31 คู่ แยกตามตาแหน่ งทีเ่ ส้ นประสาทไขสั นหลัง
           ั
ยืนออกมาคือ
  ่
         - บริเวณคอมี 8 คู่
         - บริเวณอกมี 12 คู่
         - บริเวณเอวมี 5 คู่
         - บริเวณกระเบนเหน็บมี 5 คู่
         - บริเวณก้นกบมี 1 คู่
เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve)

- ทุกเส้ นเป็ นเส้ นประสาทผสมคือรับความรู้สึกจากกล้ามเนือ้
บริเวณแขน ขาและลาตัวสั่ งการไปยังกล้ามเนือ แขน ขาและลาตัว
                                            ้
- ทีอยู่ใกล้กบไขสั นหลังจะแยกเป็ นรากบน (dorsal root)ต่ ออยู่
    ่         ั
กับดอร์ ซัลฮอร์ นของไขสั นหลัง
เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve)

- รากบนนีจะพองออกมาเป็ นปมประสาทรากบน
           ้
(dorsal root ganglion)
- ที่ต่อจากเวนทรัลฮอร์ นจะเป็ นรากล่าง (Ventral root)
- ทั้งรากบนและรากล่างจะรวมกันเป็ นเส้ นประสาทไข
สั นหลัง
โครงสร้ างภาคตัดขวางของไขสั นหลัง
การทดลองส่ งกระแสประสาทของเส้ นประสาทไขสั นหลังของกบ
        ก. เส้ นประสาทไขสันหลังที่ไปยังขากบ

        ข. ตัดรากล่างของเส้ นประสาทไขสันหลังระหว่างจุดที่ 1 กับ 2

        ค. ตัดรากบนของเส้ นประสาทไขสันหลังระหว่ างจุด 3 กับ 4
ทีปมประสาทรากบนมีตวเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก
      ่               ั
•   ซึ่งมีเดนไดรต์ อยู่ในเส้ นประสาทไขสั นหลัง
•   มีแอซอนอยู่ในรากบนยืนเข้ าไปในไขสั นหลัง
•   จะรับกระแสประสาทจากหน่ วยรับความรู้สึก
•   ส่ งผ่ านเซลล์ประสาทประสานงาน ซึ่งอยู่ในเนือสี เทา
                                                    ้
•   แล้วส่ งต่ อให้ เซลล์ประสาทสั่ งการซึ่งมีตัวเซลล์อยู่ในเนือสี เทา
                                                              ้
ทิศทางการเคลือนทีของกระแสประสาทเข้ าและออกจากไขสั นหลัง
             ่ ่
หน้ าทีของไขสั นหลัง คือ
          ่
• เป็ นศูนย์ กลางของการเคลือนไหวต่ างๆทีตอบสนองต่ อการสั มผัส
                             ่              ่
  ของร่ างกาย
• เป็ นตัวเชื่อมระหว่ างหน่ วยรับความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัตงาน
                                                           ิ
• เป็ นทางผ่ านไปกลับของกระแสประสาทระหว่ างไขสั นหลังกับ
  สมอง
การทางานของระบบประสาท
 การทางานของเส้ นประสาทในระบบประสาทรอบนอก
แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
• ส่ วนทีรับความรู้ สึก (sensory division)
          ่
• ส่ วนที่สั่งการ (motor division)
ถ้ าสั่ งการเกิดขึนกับหน่ วยปฏิบัติงาน
                   ้
• ทีบังคับได้ เช่ น กล้ ามเนือยึดกระดูก จัดเป็ นระบบประสาทโซ
    ่                        ้
  มาติก (somatic nervous system หรือ SNS)
• ทีบังคับไม่ ได้ เช่ นอวัยวะภายในและต่ อมต่ างๆ จัดเป็ นระบบ
      ่
  ประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system หรือ ANS)
แผนภาพการทางานของระบบประสาทในสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
ระบบประสาทอัตโมวัติ แบ่ งออกเป็ นระบบย่ อย 2 ระบบ คือ

• ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system )
• ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous system)
ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS)

หน่ วยรับความรู้สึก   เซลล์ประสาทรับความรู้สึก        เส้ นประสาทไขสันหลังหรือเส้ นประสาทสมอง




 หน่ วยปฏิบัตงาน
             ิ         เส้ นประสาทไขสันหลังหรือเส้ นประสาทสมอง           ไขสันหลังหรือสมอง




             แผนภาพแสดงการทางานของระบบประสาทโซมาติก
ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS)

• บางครั้งระบบประสาทโซมาติกอาจจะทางานโดยผ่ านไขสั น
  หลังอย่ างเดียว เช่ น การกระตุกขาเมือถูกเคาะทีหัวเข่ า
                                      ่         ่
ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS)

การตอบสนองสิ่ งเร้ าทีมากระตุ้น โดยการกระตุกขานั้น
                       ่
• เกิดขึนเองโดยอัตโนวัติ เรียกว่ า รีเฟล็กซ์ (reflex)
        ้
• กิริยาหรืออาการทีแสดงออกหรือมีสิ่งเร้ ามากระตุ้นเกิดขึนใน
                    ่                                       ้
  ระยะเวลาสั้ นๆ เรียกว่ า รีเฟล็กซ์ แอกชัน (reflex action)
• เป็ นการตอบสนองที่เกิดขึนทันทีทนใด โดยมิได้ มีการเตรียมตัว
                              ้        ั
  หรือคิดล่ วงหน้ าซึ่งเป็ นการสั่ งการของไขสั นหลัง
การเกิดรีเฟล็กซ์ แอกชัน
ก. เมือเคาะที่เอ็นใต้ หัวเข่ า ข.เมือเหยียบเศษแก้ ว
      ่                             ่
การทางานของระบบประสาททีเ่ ป็ นวงจรนีเ้ รียกว่ า
            รีเฟล็กซ์ อาร์ ก (reflex arc)
ซึ่งประกอบด้ วยหน่ วยย่ อย 5 หน่ วย คือ
 1. หน่ วยรับความรู้ สึก
 2. เซลล์ ประสาทความรู้ สึก
 3. เซลล์ ประสาทประสานงานในไขสันหลังหรือสมอง
 4. เซลล์ ประสาทสั่ งการ
 5. หน่ วยปฏิบัตงาน
                ิ
การเกิด รีเฟล็กซ์ อาร์ ก (reflex arc)
• บางครั้งรีเฟล็กซ์ อาร์ กอาจไม่ จาเป็ นต้ องมีเซลล์ ประสาท
  ประสาทงานก็ได้ เช่ น การกระตุกขาเมือเคาะทีหัวเข่ า เพราะจะ
                                           ่      ่
  ประกอบด้ วยเซลล์ ประสาทเพียง 2 ชนิด คือ เซลล์ประสาทรับ
  ความรู้ สึกและเซลล์ ประสาทสั่ งการ
ระบบประสาทอัตโนวัติ
             (automomic nervous system หรือ ANS)
• ขณะทีเ่ ราตื่นต้ นตกใจหัวใจจะเต้ นถี่เร็วและแรง
• แต่ เมื่อเวลาผ่ านไปหัวใจจะเต้ นช้ าลงและเข้ าสู่ สภาวะปกติ
การทางานของหัวใจดังกล่าวถูกควบคุมโดย
• ระบบประสาทซิมพาเทติก
• ระประสาทพาราซิมพาเทติก
ระบบประสาทอัตโนวัติ
         (automomic nervous system หรือ ANS)

• ทั้งสองระบบนีทางานนอกอานาจจิตใจจึงเรียกว่ าเป็ นระบบ
                  ้
  ประสาทอัตโนวัติซึ่งการทางานนั้นจะเป็ นแบบสภาวะตรงกัน
  ข้ ามเพือควบคุมการทางานของอวัยวะภายในของร่ างกาย เช่ น
          ่
         การเต้ นของหัวใจ ระบบประสาทซิมพาเทติก กระตุ้นการ
  เต้ นของหัวใจ แต่ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะไปยับยั้ง
  การเต้ นของหัวใจ
ระบบประสาทอัตโนวัติ
            (automomic nervous system หรือ ANS)
การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติประกอบด้ วย
• หน่ วยรับความรู้สึก ซึ่งส่ วนใหญ่ อยู่ทอวัยวะภายใน
                                         ่ี
• เซลล์ประสาทรับความรู้สึกรับกระแสประสาทผ่ านรากบนของ
   เส้ นประสาทไขสั นหลังเข้ าสู้ ไขสั นหลัง จากไขสั นหลังจะมีเซลล์ประสาท
   ไปไซแนปส์ กบเซลล์ประสาทสั่ งการทีปมประสาทอัตโนวัติ (antonomic
                   ั                        ่
   ganglion)เซลล์ประสาทที่ออกจากไขสั นหลังทีปมประสาทอัตโนวัตินี้
                                                 ่
   เรียกว่ า เซลล์ ประสาทก่อนไซแนปส์ และเซลล์ประสาทสั่ งการทีออกจาก
                                                                 ่
   ปมประสาทอัตโนวัติเรียกว่ า เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์
ระบบประสาทอัตโนวัติ
         (automomic nervous system หรือ ANS)
• ซึ่ง เซลล์ ประสาทหลังไซแนปส์ จะนากระแสประสาทสั่ งงานไป
  ยังกล้ ามเนือเรียบของอวัยวะภายใน กล้ ามเนือหัวใจและต่ อม
              ้                             ้
  ต่ างๆ
การควบคุมการทางานของระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
เปรียบเทียบวงจรประสาทของ
ก.ระบบประสาทโซมาติก       ข.ระบบประสาทอัตโนวัติ
ระบบประสาทอัตโนวัติ
            (automomic nervous system หรือ ANS)

ที่ปมประสาทอัตโนวัติ
• สารสื่ อประสาทที่ใช้ ระหว่ างก่อนและหลังไซแนปส์ คือ แอซิติลลีน
แต่ สารสื่ อประสาททีหลังมาควบคุมหน่ วยปฎิบัตงานจะต่ างกัน
                    ่ ่                      ิ
• ถ้ าเป็ นระบบประสาทพาราซิมพาเทติก เป็ นแอซิติลโคลีน
• แต่ ถ้าเป็ นระบประสาทซิมพาเทติก เป็ นนอร์ เอพิเนฟริน
อวัยวะรับความรู้ สึก

• กระแสประสาทจากอวัยวะรับความรู้ สึกทุกชนิดเป็ นสั ญญาณทาง
  ไฟฟาเคมีท้งสิ้น
       ้        ั
• ปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์ ยงไม่ ทราบแน่ ขดว่ า สมองแปลสั ญญาณ
         ั               ั               ั
  เหล่ านีได้ อย่ างไง
           ้
• แต่ การทีสมองแปลความรู้ สึกได้ แตกต่ างกันนั้นเกิดจากสมองมี
             ่
  บริเวณเฉพาะทาหน้ าทีรับกระแสประสาทจากอวัยวะรับความรู้ สึก
                       ่
  ชนิดต่ างๆ
นัยน์ ตาและการมองเห็น
เลนต์ ตา




นัยน์ ตาและการมองเห็น
นัยน์ ตาและการมองเห็น
นัยน์ ตาของคน
• มีรูปร่ างค่ อนข้ างกลมอยู่ภายในเบ้ าตา
• มีขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลางประมาณ 2.5 เซนติเมตร
• มีผนังลูกตา 3 ชั้น
   1. สเคลอรา (sclera)
   2. โครอยด์ (choroid)
    3. เรตินา (retina)
สเคลอรา (sclera)

• เป็ นชั้นทีเ่ หนียวแต่ ไม่ ยดหยุ่น
                              ื
• ตอนหน้ าสุ ดจะโปร่ งใสและนูนออกมาเรียกกระจกตา (cornea)มี
  ความสาคัญมากถ้ าเป็ นอันตรายหรือพิการจะมีผลกระทบต่ อ
  การมองเห็น
โครอยด์ (choroid)
• เป็ นชั้นทีมหลอดเลือดมาเลียงและมีสารสี แผ่ กระจายอยู่เป็ น
             ่ ี            ้
  จานวนมากเพือปองการไม่ ให้ แสงสว่ างทะลุผ่านไปยังด้ านหลัง
                 ่ ้
  ของนัยน์ ตาโดยตรง
เลนส์ ตา (lens)
• เป็ นเลนส์ นูนอยู่ถดจากกระจกตาเข้ าไปเล็กน้ อย
                        ั
• มีลกษณะใสกั้นนัยน์ ตาออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
        ั
       1.ช่ องหน้ าเลนส์
       2. ช่ องหลังเลนส์
            ซึ่งทั้งสองช่ องนีจะมีของเหลวบรรจุอยู่และของเหลวนั้นจะ
                              ้
  ช่ วยทาให้ ลูกตาเต่ งและคงสภาพได้ และช่ วยให้ การหักเหของแสง
  ทีผ่านเข้ ามา
     ่
เลนส์ ตา (lens)
• ด้ านหน้ าของเลนส์ ตามีม่านตา (iris) ยืนลงมาจกผนังโครอยด์ ท้งบนและ
                                                ่                       ั
   ล่างส่ วนช่ องกลางเป็ นช่ องทีให้ แสงผ่ านเข้ ามาเรียกช่ องนีว่า รูม่านตา
                                 ่                                ้
   (pupil)
• ขนาดของรูม่านตาจะกว้ างหรือแคบขึนอยู่กบม่ านตาทีมกล้ามเนือทางาน
                                            ้      ั          ่ ี         ้
   อยู่ 2 ชนิดคือ
    1. กล้ามเนือวงกลม
                ้
    2. กล้ามเนือที่เรียงตัวตามแนวรัศมี
                  ้
** ม่ านตาทาหน้ าทีควบคุมปริมาณแสงทีผ่านเข้ าสู้ นัยน์ ตา
                     ่                        ่
เรตินา (retina)
• เป็ นบริเวณทีมเี ซลล์ รับแสงซึ่งแบ่ งตามรู ปร่ างได้ 2 ชนิด คือ
                    ่
 1. เซลล์ รูปแท่ ง (rod cell)
 2. เซลล์ รูปกรวย (cone cell)
      ซึ่งเซลล์ ท้งสองทาหน้ าที่ เปลียนพลังงานแสงให้ เป็ นกระแส
                  ั                  ่
  ประสาท
โครงสร้ างและตาแหน่ งของเซลล์ในชั้นเรตินา
เซลล์ รูปแท่ ง

• ไวต่ อการรับแสงสว่ างแม้ ในทีมีแสงสว่ างน้ อย
                                ่
• ไม่ สามารถแยกความแตกต่ างของสี ได้
• ในนัยน์ ตาแต่ ละข้ างจะ
เซลล์ รูปแท่ งมีประมาณ 125 ล้ านเซลล์
เซลล์ รูปกรวย
• แยกความแตกต่ างของสี ต่างๆได้
• บอกสี ได้ ถูกต้ องเมือมีแสงสว่ างมาก
                       ่
• ในนัยต์ ตาแต่ ละข้ างจะมี
เซลล์ รูปกรวยประมาณ 7 ล้ านเซลล์
แบบทดสอบตาบอดสี




รูปที่ 1                 รูปที่ 2
แบบทดสอบตาบอดสี




รูปที่ 3                     รูปที่ 4
แบบทดสอบตาบอดสี




รูปที่ 5                     รูปที่ 6
แบบทดสอบตาบอดสี




รูปที่ 7                     รูปที่ 8
แบบทดสอบตาบอดสี




    รูปที่ 10
เรตินา (retina)

• ในชั้นเรตินายังมีเซลล์ ประสาทที่รับกระแสประสาทไปยังใย
  ประสาทของเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 2 แล้ วส่ งไปยังสมองส่ วน
  เซรีบรัมเพือแปลเป็ นภาพตามทีตามองเห็น
             ่                  ่
เรตินา (retina)
**บริเวณตรงกลางของเรตินาทีเ่ รียกว่ า โฟเวีย (fovea)
• จะมีเซลล์ รูปกรวยอยู่หนาแน่ นกว่ าบริเวณอืน่
• ดังนั้นภาพทีตกบริเวณนีจะเห็นชัดเจนมากทีสุด
               ่           ้                   ่
**บริเวณของเรตินาที่มีแต่ แอกซอนออกจากนัยน์ ตาเพือรวม่
เป็ นเส้ นประสาทตา
• จะไม่ มีเซลล์รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวยอยู่เลย
• ทาให้ เกิดภาพบริเวณนี้ เรียกบริเวณนีว่า จุดบอด (blind spot)
                                      ้
เรตินา (retina)
ในการเกิดภาพเมื่อแสงจากวัตถุผ่านเข้ าสู่ กระจกตา
• โดยมีเลนส์ ตาทาหน้ าที่รวมแสง
• ทาภาพตกทีเ่ รตินา
• เกิดกระแสประสาทส่ งไปยังสมองเพือแปลความหมาย
                                     ่
เอ็นยืดเลนส์ กล้ ามเนือยืดเลนส์
                      ้
• เลนส์ ตาถูกยืดด้ วย เอ็นยืดเลนส์ (suspensory ligament) โดยที่
  เอ็นนั้นอยู่ตดกับ กล้ ามเนือยืดเลนส์ (ciliary muscle)
               ิ             ้
• ดังนั้น การหดตัวและคลายตัวของกล้ ามเนือยึดเลนส์ จงมีผลทา
                                              ้         ึ
  ให้ เอ็นยึดเลนส์ หย่ อนหรือตึงได้
เอ็นยืดเลนส์ กล้ ามเนือยืดเลนส์
                          ้
•   หากกล้ ามเนือยึดเลนส์ หดตัว
                  ้
•   เอ็นยึดเลนส์ หย่ อนลง
•   ทาให้ เลนส์ โป่ งออก ผิวของเลนส์ โค้ งนูนมากขึน
                                                  ้
•   จุดโฟกัสใกล้เลนส์ มากขึน ้
•   เหมาะสาหรับการมองภาพในระยะใกล้
เอ็นยืดเลนส์ กล้ ามเนือยืดเลนส์
                       ้
ถ้ าวัตถุอยู่ไกล
• เลนส์ ตาจะต้ องมีความนูนลดลงซึ่งเกิดจากการคลายตัวของ
    กล้ ามเนือยึดเลนส์ น้นเอง
              ้          ั
การเปลียนแปลงรูปร่ างของเลนส์ ตา
                             ่
ก.วัตถุอยู่ใกล้ เลนส์ ตาโค้งนูนมาก ข.วัตถุอยู่ไกล เลนส์ ตาโค้งนูนน้ อย
การแก้ ไขปัญหาสาหรับคนมีปัญหาเรื่องสายตา
ปัจจุบันสามารถแก้ไขได้ โดยการใส่ แว่ นตาทีประกอบด้ วย
                                          ่
• เลนส์ เว้ าสาหรับคนสายตาสั้น
• เลนส์ นูนสาหรับคนสายตายาว
• ในกรณีคนสายตาเอียงซึ่งเกิดจาก จากสาเหตุและมีวธีการแก้ไขดังต่ อไปนี้
                                                     ิ
 1. ความโค้ งของกระจกตาในแนวต่ างๆไม่ เท่ ากันทาให้ เห็นเส้ นของแผ่ นภาพ
   ทดสอบสายตาเอียงในแนวใดแนวหนึ่งไม่ ชัดเจน
  2. แก้ไขโดยใช้ เลนส์ ทรงกระบอก (cylindrical lens)ซึ่งมีด้านหน้ าเว้ า
   ด้ านหลังนูน
กลไกการมองเห็น
            ทีเ่ ยือหุ้มเซลล์ รูปแท่ งจะมี สารสี ม่วงแดง ชื่อ โรดอปซิน
                   ่
  (rhodopsin) ฝังตัวอยู่
• ซึ่งสารสี ม่วงแดงชื่อ โรดอปซิน (rhodopsin) นีประกอบด้ วย
                                                      ้
  1.โปรตีนออปซิน (opsin)
  2. สารเรตินอล(retinol)
กลไกการมองเห็น

• เมื่อมีแสง มากระตุ้นเซลล์รูปแท่ ง โมเลกุลของเรตินอลจะ
  เปลียนแปลงจะเกาะกับโมเลกุลของออปซินไม่ ได้
       ่
• เกิดกระแสประสาทเดินทางไปยังเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 2 เพือ
                                                        ่
  ส่ งไปยังสมองให้ แปลงเป็ นภาพ
• เมื่อไม่ มีแสง ออปซินและเรตินอลจะรวมตัวกันเป็ นโรดอปซิน
  ไม่ ได้
การเปลียนแปลงโรดอปซินในเซลล์รูปแท่ ง
       ่
กลไกการมองเห็น
• เรตินอล เป็ นสารที่ร่างกายสั งเคราะห์ ขนจากวิตามิน A
                                         ึ้
• ถ้ าร่ างกายขาดวิตามิน A จะทาให้ เกิดโรคตาฟางในช่ วงเวลาที่มี
  แสงน้ อย เช่ น ตอนพลบคา  ่
กลไกการมองเห็น
      เซลล์ รูปกรวย แบ่ งตามความไวต่ อช่ วงความยาวคลืนของแสง
                                                     ่
ได้ 3 ชนิด คือ เซลล์ รูปกรวยที่ไวต่ อ
• แสงสี นาเงิน
            ้
• แสงสี แดง
• แสงสี เขียว
สี กบการมองเห็น
    ั
กลไกการมองเห็น
การที่สมองแยกสี ต่างๆได้ มากกว่ า 1 สี เพราะมี
• การกระตุ้นเซลล์ รูปกรวยแต่ ละชนิดพร้ อมๆกันด้ วยความเข็ม
  ของแสงสี ต่างๆกันจึงเกิดการผสมของแสงสี ต่างๆขึนเช่ น
                                                  ้
ขณะมองวัตถุสีม่วง
• เซลล์ รูปกรวยทีไวต่ อแสงสี แดงและสี นาเงินจะถูกกระตุ้น
                 ่                          ้
  พร้ อมๆกัน ทาให้ วตถุน้ันเป็ นสี ม่วงเป็ นต้ น
                    ั
การมองเห็นแสงสี ต่างๆ
กลไกการมองเห็น
• ถ้ าเซลล์รูปกรวยทีไวต่ อแสงสี ใดสี หนึ่งบกพร่ องจะทาให้ เกิดอาการตา
                      ่
  บอดสี (color blind)
          ดังนั้นอาการตาบอดสี (color blind)จึงเป็ นลักษณะที่เกียวข้ องกับ
                                                                 ่
  ความบกพร่ องในการแยกแยะความแตกต่ างของสี ทพบมากทีสุดคือ บอด
                                                     ่ี        ่
  สี แดงและสี ม่วง
• ไม่ จัดว่ าตาบอดสี เป็ นความผิดปกติร้ายแรง
• ส่ วนใหญ่ เกิดจากพันธุกรรม
• พบในเพศชายมากกว่ าเพศหญิง
หูและการได้ ยน
                                     ิ

หู (ear)เป็ นอวัยวะรับสั มผัสที่ทาหน้ าที่
• ได้ ยน
       ิ
• ทรงตัว
หูและการได้ ยน
                                         ิ
หูของคนแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
• หูส่วนนอก
• หูส่วนกลาง
• หูส่วนใน
หูส่วนนอก (outer ear)ประกอบด้ วย

• ใบหู (ear pinna)
• รู หู (ear canal)
• เยือแก้ วหู (ear dram หรือ tympanic membrane)
     ่
หูส่วนกลาง(middle ear)
• มีลกษณะเป็ นโพรงติดต่ อกับโพรงจมูกและมีท่อติดต่ อกับคอหอย
         ั
   เรียกว่ า ท่ อยูสเตเชียน (eustachian tube
• หูส่วนกลางประกอบด้ วย
  1. กระดูกค้อน (malleus)
  2. กระดูกทัง (incus)
                 ่
   3. กระดูกโกลน (stapes)
** คลืนเสี ยงทีผ่านเข้ าถึงหูส่วนในจะขยายเพิมจากหูส่วนนอก
       ่           ่                         ่
ประมาณ 22 เท่ า
หูส่วนใน(inner ear)ประกอบด้ วย

• โครงสร้ างที่ใช้ ฟังเสี ยง เรียกว่ า คอเคลีย (cochlea)
• โครงสร้ างที่ใช้ ในการทรงตัวเรียกว่ า เซมิเซอร์ ควลาร์ แคเนล
                                                      ิ
  (semicircular canal)
หูส่วนใน(inner ear)
โครงสร้ างทีใช้ ฟังเสี ยง
              ่
• อยู่ทางด้ านหน้ าของหูส่วนใน เป็ นท่ อทีม้วนตัวลักษณะคล้ายก้นหอย
                                          ่
   เรียกว่ า คอเคลีย (cochlea)
โครงสร้ างภายในหูคน
หูส่วนใน(inner ear)

คอเคลีย (cochlea)
• ภายในของคอเคลียมีของเหลวบรรจุอยู่
• เมื่อคลืนเสี ยงผ่ านเข้ ามาถึงคอเคลียจะทาให้ ของเหลวนั้นสั่ นสะเทือน
           ่
• เปลียนสั ญญาณเสี ยงเป็ นกระแสประสาท
        ่
• กระตุ้นเซลล์รับเสี ยงให้ ส่งกระแสประสาทไปยังเส้ นประสาทรับเสี ยง
  (auditory nerve)
• เพือเข้ าไปทีเ่ ซรีบรัมซึ่งเป็ นศูนย์ ควบคุมการได้ ยนเพือจะแปลผลต่ อไป
      ่                                               ิ ่
หูส่วนใน(inner ear)
โครงสร้ างทีใช้ ในการทรงตัว
            ่
• อยู่ทางด้ านหลังของหูส่วนในทาหน้ าทีรับรู้เกียวกับการเอียงและการ
                                      ่        ่
   หมุนของศรีษะตลอดจนการทรงตัวของร่ างกาย
• ลักษณะเป็ นหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอด ตั้งฉากกันเรียกว่ า เซมิเซอร์ ควิ
   ลาร์ แคเนล (semicircularcanal)
หูส่วนใน(inner ear)
• เซมิเซอร์ ควลาร์ แคเนล (semicircularcanal)
              ิ
• ภายในจะมีของเหลวบรรจุอยู่
• ทีโคนหลอดมีส่วนโป่ งพองออกมาเรียก แอมพูลลา (ampulla)มีเซลล์รับ
    ่
  ความรู้สึกทีมขน (hair cell)ที่ไวต่ อการไหลของของเหลวภายในหลอด
                ่ ี
  เมื่อมีการเปลียนแปลงตาแหน่ งของศรีษะขณะร่ างกายเคลือนไหว
                  ่                                      ่
• กระตุ้นเซลล์ที่รับรู้เกียวกับการทรงตัวให้ ส่งกระแสประสาทไปรวมกับ
                          ่
  เส้ นประสาทรับเสี ยงเข้ าสู่ สมอง
จมูกกับการดูดกลิน
                 ่
• คนเรารับกลินได้ เพราะภายในโพรงจมูกด้ านบนมีเยือบุจมูก
               ่                                       ่
  (olfactory)ซึ่งมีเซลล์ รับกลินรวมกันอยู่เรียกว่ า ออลแฟกทอรี
                               ่
  บัลบ์ (olfactory bulb)
จมูกกับการดูดกลิน
                ่
• เซลล์ ประสาทรับกลิน (olfactory neuron)สามารถทีจะ
                         ่                           ่
• เปลียนสารที่ทาให้ เกิดกลินเป็ นกระแสประสาท
       ่                     ่
• แล้ วส่ งต่ อไปตาม เส้ นประสาทรับกลิน (olfactory nerve)ไปยัง
                                      ่
  สมองส่ วนซีรีบรัมเพือแปลเป็ นกลินออกมา
                           ่       ่
โครงสร้ างภายในของจมูก
ลินกับการรับรส
    ้
• ด้ านบนของผิวลินจะมีปุ๋มเล็กๆจานวนมาก ปุ๋ มเหล่านีคอ ปุ๋ มลิน
                     ้                                  ้ ื    ้
  (papilla)ซึ่งประกอบด้ วยตุ่มรับรส (taste bud)หลายตุ่ มทาหน้ าทีรับรส
                                                                 ่
• แต่ ละตุ่มรับรสจะมีเซลล์รับรส (gustatory cell)ซึ่งต่ อกับใยประสาท
• เมื่อตุ่มรับรสได้ รับการกระตุ้นจะเกิดกระแสประสาทส่ งไปตาม
  เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 7 และ 9
• ไปยังสมองส่ วนซีรีบรัมบริเวณศูนย์ รับรสเพือแปลออกมาว่ าเป็ นรสอะไร
                                             ่
ลินกับการรับรส
    ้
ตุ้มรับรส มี 4 ชนิด กระจายอยู่บนลิน ได้ แก่
                                     ้
• ตุ่มรับรสหวาน อยู่ทปลายลิน
                           ี่      ้
• ตุ่มรับรสขม อยู่ทโคนลิน
                     ่ี         ้
• ตุ่มรับรสเปรี้ยว อยู่ทข้างลิน
                              ี่ ้
• ตุ้มรับรสเค็ม อยู่ทปลายและข้ างลิน
                        ี่             ้
ลินกับการรับรส
  ้
        การรับรู้ รสอาหาร เกิดจาก การทางานของอวัยวะหลาย
ส่ วนเข้ ามาเกียวข้ อง เช่ น ถ้ าดืมนามะนาวเย็นๆ
               ่                   ่ ้
• จะได้ รสเปริ้ยวจากกลิน    ่
• ได้ กลินมะนาวจากจมูก
          ่
• รู้ สึกเย็นจากลินทีสัมผัสกับนามะนาว
                   ้ ่               ้
ผิวหนังกับการรับความรู้ สึก
• นอกจากผิวหนังเป็ นอวัยวะทีห่อหุ้มร่ างกายแล้ วยังจัดเป็ น
                              ่
  อวัยวะรับความรู้ สึกทีมีพนทีผวรับความรู้ สึกมากกว่ าอวัยวะอืน
                        ่ ื้ ่ ิ                              ่
ผิวหนัง(skin)
• มีหน่ วยรับความรู้ สึกซึ่งไวต่ อการกระตุ้นเฉพาะอย่ างเช่ น
 1. หน่ วยรับความดัน มีลกษณะคล้ ายหัวหอมผ่ าซีก
                            ั
   1.1 มีเดนไดรต์ อยู่ตรงกลาง
   1.2 มีเนือเยือเกียวพันหุ้มปลายประสาทอยู่รอบๆ
            ้ ่ ่
   1.3 ฝังลึกอยู่ในผิวหนังบริเวณหนังแท้ (dermis)
ผิวหนัง(skin)
2. หน่ วยรับความรู้ สึกเจ็บปวด มีลกษณะปลายแตกเป็ นฝอย ปลาย
                                    ั
   เดนไดรต์ แทรกอยู่ในชั้นหนังกาพร้ า (epidermis)
3. หน่ วยรับสั มผัส บางหน่ วยอยู่เป็ นอิสระ บางหน่ วยพันอยู่รอบ
   โคนขน เมื่อลูบเส้ นขนเบาๆก็จะรับรู้ การสั มผัสได้ เช่ นกัน
4. หน่ วยรับความรู้ ลกหน่ วยรับความรู้ สึกร้ อนเย็นอยู่ในชั้นหนังแท้
                     ึ
ปลายประสาททีทาหนาทีรับความรู้สึกต่ างๆบริเวณผิวหนัง
            ่      ่
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

Contenu connexe

Tendances

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 

Tendances (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 

Similaire à ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2poonwork
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนองWichai Likitponrak
 

Similaire à ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
 

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

  • 1. เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้ สึก เนือหา ้ 1. การรับรู้ และการตอบสนอง 2. เซลล์ ประสาท 3. การทางานของเซลล์ ประสาท 4. ศูนย์ ควบคุมระบบประสาท 5. การทางานของระบบ ประสาท 6. อวัยวะรับความรู้ สึก
  • 2. การรับรู้ และการตอบสนอง สิ่ งเร้ า หน่ วยรับความรู้ สึก เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก หน่ วยแปลความรู้ สึก การตอบสนอง หน่ วยปฏิบติการ ั เซลล์ ประสาทสั่ งการ การรับรู้ การเปลียนแปลงต่ อสภาพแวดล้ อมของสิ่ งมีชีวิต ่
  • 3. การตอบสนองของสิ่ งมีชีวตเซลล์ เดียว ิ เช่ น พารามีเซียม ไม่ มีระบบประสาททีแท้ จริง มี ่ เส้ นใยประสานงาน (co-ordinating fiber) ซึ่งอยู่ใต้ ผิวเซลล์ เชื่อมโยงระหว่ างโคนซิเลียแต่ ละเส้ นทาให้ เกิดการประสานงานกัน การโบกพัดของซีเลียทีอยู่ ่ รอบๆตัว ถ้ าหากตัดเส้ นใยนีพบว่ า พารามีเซียมไม่ ้ สามารถควบคุมการโบกพัดของซีเลียได้
  • 4. การตอบสนองของสั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง ี ฟองนา เซลล์ แต่ ละเซลล์ของฟองนาจะมีการรับรู้และการตอบสนอง ้ ้ แต่ ไม่ มีการประสานงานระหว่ างเซลล์ ไฮดรา ยังไม่ มีปมประสาท แต่ จะมีเส้ นใยประสาททีเ่ รียกว่ า ร่ างแหประสาท ( nerve net ) มีลกษณะการเชื่อมโยงกันเป็ นร่ างแห ั กระจายอยู่รอบตัว เมื่อกระตุ้นจะทาให้ ทุกส่ วนของร่ างกายหดตัว แต่ การเคลือนทีของกระแสประสาทช้ ากว่ าสั ตว์ ช้ันสู งมาก และการ ่ ่ เคลือนทีของกระแสประสาทนั้นไม่ มีทิศทางที่แน่ นอน ่ ่
  • 5. การตอบสนองของสั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง ี พลานาเรีย - มีเซลล์ ประสาทรวมตัวเป็ นกลุ่มโดยเฉพาะ บริเวณหัว เรียกกลุ่มของเซลล์ ประสาทเหล่ านั้นว่ า ปมประสาท (nerve ganglion)หรือเรียกว่ า สมอง (brain) - มีเส้ นประสาท (nerve cord)ขนานไปตาม ด้ านข้ างของลาตัวจากหัวจรดท้ ายลักษณะแบบ ขั้นบันได (ladder type)เส้ นประสาทดังกล่าว เชื่อมโยงติดกันเส้ นประสาททีวนรอบลาตัวเรียกว่ า ่ วงแหวนประสาท (nerve ring)
  • 6. การตอบสนองของสั ตว์ ไม่ มกระดูกสั นหลัง ี - ไส้ เดือนดิน กุ้ง หอย จะมีปมประสาทที่พฒนากว่ าของพลานาเรีย ั ทาหน้ าทีเ่ ป็ นสมองอยู่ทส่วนหัว มีเส้ นประสาททีเ่ ชื่อมต่ อปม ี่ ประสาททีมีอยู่ตามปล้ อง ่ - แมลง มีปมประสาทหลายปมทีอยู่เป็ นช่ วงๆบริเวณหน้ าท้ องของ ่ แมลงและมีเส้ นประสาทย่ อยทีต่อไปยังอวัยวะต่ างๆเพือเพิมการรับรู้ ่ ่ ่ และตอบสนองที่พฒนาดีขนสาหรับแมลง ั ึ้
  • 7. การตอบสนองของคนและสั ตว์ มกระดูกสั นหลัง ี ในคนและสั ตว์ มีกระดูกสั นหลังมีระบบประสาทพัฒนามาก - เซลล์ ประสาทส่ วนใหญ่ รวมกันอยู่ทส่วนหัว เจริญพัฒนาไปเป็ น ี่ สมอง ( brain ) - และมีไขสั นหลัง ( spinal cord ) ทอดยาวด้ านหลังของลาตัว - ทั้งสมองและไขสั นหลังทาหน้ าทีเ่ ป็ นศูนย์ กลางของระบบ ประสาท โดยมีเส้ นประสาทแยกออกมาจากสมองและไขสั นหลัง
  • 9. สมองของสั ตว์ มกระดูกสั นหลังขณะเอ็มบริโอ ( embryo ) ี มีลกษณะ ั เป็ นหลอดกลวงเรียกว่ า นิวรัลทิวบ์ ( neueal tube ) แบ่ งเป็ น 3 ส่ วน คือ - สมองส่ วนหน้ า - สมองส่ วนกลาง - สมองส่ วนหลัง และส่ วนที่ต่อท้ ายคือไขสั นหลัง ในสภาวะปกติท่ เซลล์ ประสาทไม่ ถูกกระตุ้น เซลล์ จะอยู่ในระยะพัก ี
  • 12. ระบบประสาทมีเนือเยือประสาท ้ ่ ประกอบด้ วยเซลล์ 2 ชนิด คือ • เซลล์ ประสาท • เซลล์ คาจุน ้
  • 13. เซลล์ ประสาท - เซลล์ ประสาท ( nerve cell ) หรือนิวรอน ( neuron ) ซึ่งมีเป็ น จานวนมากในร่ างกาย - แต่ ละเซลล์จะเชื่อมโยงต่ อกับเซลล์ ประสาทอืนเป็ นพันๆเซลล์ ่ - ทาหน้ าทีเ่ กียวกับการรับรู้และการตอบสนอง ่ การทางานของเซลล์ ประสาท Na+ ที่อยู่ภายในเซลล์ จะถูกลาเลียงออกโดยอาศัยพลังงานจาก
  • 14. เซลล์ ประสาท ประกอบด้ วย • ตัวเซลล์ ( cell body ) • ใยประสาท ( nerve fiber )
  • 15. ตัวเซลล์ (cell body) มีเส้ นผ่ านศูนย์ กลางประมาณ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมี • ไซโทพลาซึม ( cytoplasm ) • นิวเคลียส ( nucleus ) ขนาดใหญ่ • ไมโทคอนเดรีย ( mitochondria ) • เอนโดพลาสมิกเรติคูลม ( endoplasmic reticolum ) ั • กอลจิคอมเพล็กซ์ ( golgi complex )
  • 16. ใยประสาท (nerve fiber) เป็ นส่ วนที่ยนออกมาจากตัวเซลล์ มีลกษณะเป็ นแขนงเล็กๆ ื่ ั มี 2 ชนิด คือ - เดนไดรต์ ( dendrite ) - แอกซอน ( axon )
  • 17. เดนไดรต์ ( dendrite ) - เป็ นใยประสาททีนากระแสประสาทเข้ าสู่ ตวเซลล์ ่ ั - มีจานวนตั้งแต่ 1 ใยขึนไป ้ - มักมีขนาดสั้ น
  • 18. แอกซอน (axon) - เป็ นใยประสาทที่นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ - มีจานวนเพียง 1 ใย - มักมีขนาดยาว - อาจมีเยือไมอีลนหุ้ม ่ ิ
  • 19. ภาพถ่ ายกล้องจุลทรรศน์ ภาพวาด โครงสร้ างเซลล์ ประสาท
  • 20. เยือไมอีลน ( myelin sheath ) ่ ิ - เป็ นสารจาพวกลิพด ( lipid ) ิ - เป็ นส่ วนหนึ่งของเซลล์ ชวัน ( schwann cell ) - รอยต่ อของเซลล์ ชวันแต่ ละเซลล์จะไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม เรียก ่ ิ บริเวณนั้นว่ า โนดออฟแรนเวียร์ ( node of ranvier )
  • 21. เซลล์ ประสาทแบ่ งตามหน้ าทีได้ 3 ชนิด คือ ่ 1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก 2. เซลล์ประสาทสั่ งการ 3. เซลล์ประสาทประสานงาน
  • 22. เซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก ( sensory neuron ) - รับกระแสประสาทจากหน่ วยรับความรู้สึกส่ งไปยัง เซลล์ประสาทสั่ งการในไขสันหลัง - ตัวเซลล์อยู่ทปมประสาทรากบนของไขสั นหลัง ี่
  • 23. เซลล์ ประสาทสั่ งการ(motor neuron) - นากระแสประสาทออกจาก ไขสั นหลังหรือสมองไปยังหน่ วย ปฏิบัติงาน เช่ น กล้ามเนือ ้
  • 24. เซลล์ ประสาทประสานงาน ( association neuron ) - ทาหน้ าที่เชื่อมต่ อระหว่ างเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึกและ เซลล์ประสาทสั่ งการ - อยู่ภายในสมองและไขสั นหลัง
  • 25. เซลล์ ประสาทแบ่ งตามรู ปร่ างโครงสร้ างได้ 3 ประเภทคือ 1. เซลล์ประสาทขั้วเดียว 2. เซลล์ประสาทสองขั้ว 3. เซลล์ประสาทหลายขั้ว
  • 26. เซลล์ ประสาทขั้วเดียว ( unipolar neuron ) - มีใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์ เพียงเส้ นเดียว - แยกออกเป็ นแอกซอนและเดนไดรต์ - ทาหน้ าทีเ่ ป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก จากผิวหนัง
  • 27. เซลล์ ประสาทสองขั้ว ( bipolar neuron ) - มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์สองเส้ น - เป็ นเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก - เช่ น เซลล์ประสาททีเ่ รตินาของตา, เซลล์ ประสาทรับกลินของจมูก, ่ เซลล์ ประสาทรับเสี ยงของหู เป็ นต้ น
  • 28. เซลล์ ประสาทหลายขั้ว ( multipolar neuron ) - มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์ มากมาย - เป็ นเซลล์ประสานงานและเซลล์ ประสาทสั่ งการ
  • 29. เซลล์ คาจุน ้ เป็ นเซลล์ ทแทรกอยู่ระหว่ างเซลล์ ประสาทเพือไม่ ให้ มีช่องว่ าง ี่ ่ เกิดขึนทาหน้ าที่ ้ - คาจุน ้ - ให้ อาหาร - สนับสนุนการทาหน้ าทีของเซลล์ ประสาท ่ - คล้ ายกับเนือเยือเกียวพัน ้ ่ ่ - ตัวอย่ างเช่ น เซลล์ ชวัน ( scheann cell ) ทีสร้ างเยือไมอีลน ่ ่ ี
  • 30. เซลล์ ประสาทจะอยู่แบบสานต่ อเป็ น เครือข่ ายปลายแอกซอนของเซลล์ ประสาทหนึ่งจะไปอยู่ชิดกับ - เดนไดรต์ ของเซลล์ ประสาทอืน ่ - เซลล์กล้ ามเนือ้ - หน่ วยปฏิบัตงาน ิ - เพือถ่ ายทอดกระแสประสาทบริเวณทีอยู่ชิดกันเรียกว่ า ่ ่ ไซแนปส์ ( symapse )
  • 31. ไซแนปส์ ระหว่ างเซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสั่ งการ
  • 32. การทางานของเซลล์ ประสาท การเกิดกระแสประสาท - เมือมีสิ่งเร้ าต่ างๆ เช่ น เสี ยง ่ ,ภาพ,ความร้ อน สารเคมีมา กระตุ้นหน่ วยรับความรู้ สึก - จะถูกเปลียนให้ เป็ นกระแส ่ ประสาท
  • 33. จากการวิจัยของนักสรีรวิทยาของ ฮอดจ์ กน (A.L .Hodgkin) และฮักซ์ สีย์ (A.F. Huxley) ิ ทาให้ ทราบว่ ากระแสประสาทเกิดขึนได้ อย่ างไรโดยการนา ้ - ไมโครอิเล็กโทรด (microelectrode)ซึ่งมีลกษณะเป็ นหลอดแก้ว ั ที่ดงให้ ยาวตรงปลายเรียวเป็ นท่ อขนาดเล็ก ึ - มาต่ อกับมาตรวัดความต่ างศักย์ ไฟฟ้ า (cathode ray oscilloscope) - จากนั้นเสี ยบปลายข้ างหนึ่งของไมโครอิเล็กโทรดเข้ าไปในแอก ซอนของหมึก - ส่ วนอีกปลายหนึ่งแตะที่ผวนอกของแอกซอนของหมึก ิ
  • 35. จากการทดลองพบว่ า - ความต่ างศักย์ ไฟฟาระหว่ างภายในและภายนอกประสาทของ ้ หมึกวัดได้ – 70 มิลลิโวลต์ ซึ่งเป็ นศักย์ เยือเซลล์ ระยะพัก ่ (resting membrane potential) - เยือหุ้มเซลล์มีโปรตีนทาหน้ าทีควบคุมการเข้ าออกของ ่ ่ ไอออนเช่ น Na+ เรียกว่ า ช่ องโซเดียม K+ เรียกว่ า ช่ องโพแทสเซียม
  • 36. ขณะทีเ่ ซลล์ ประสาทยังไม่ ถูกกระตุ้นซึ่งเป็ นระยะพักพบว่ า - สารละลายภายนอกเซลล์มี Na+ สู งกว่ าสารละลายภายในเซลล์ - สารละลายภายในเซลล์มี K+สู งกว่ าสารละลายภายนอกเซลล์ - ทีเ่ ป็ นเช่ นนีอยู่ตลอดเวลาเพราะได้ รับพลังงานจาก ATP ซึ่ง ้ พลังงานจาก ATP จะไปดัน Na+ ออกไปนอกเซลล์ทางช่ อง โซเดียมและดึง K+ เข้ าไปในเซลล์ ทางช่ องโพแทสเซียมใน อัตราส่ วน 3 Na+ : 2 K+ เรียกกระบวนการนีว่า โซเดียม ้ โพแทสเซียมปั๊ม (sodium potassium pump)
  • 37. ขณะทีเ่ ซลล์ ถูกกระตุ้นซึ่งเป็ นระยะที่ เรียกว่ า ดีโพลาไรเซชัน (depolarization) - ทาให้ เกิดการเปลียนแปลงของศักย์ เยือเซลล์ ่ ่ - ช่ องโซเดียมเปิ ด แต่ ช่องโพแทสเซียมปิ ด - Na+ เข้ าข้ างในเซลล์ มากขึนข้ างในมีความเป็ นบวกมากขึน (ความ ้ ้ ต่ างศักย์ ทเี่ ยือหุ้มเซลล์ จะเปลียนแปลงจาก – 70 มิลลิโวลต์ ่ ่ เป็ น + 50 มิลลิโวลต์ )
  • 38. หลังจากการกระตุ้นผ่ านไปเซลล์ กลับมาอยู่ในสภาวะเดิม ระยะนีเ้ รียกว่ า รีโพลาไรเซชัน (repolarization) - ช่ องโซเดียมจะปิ ด ขณะทีโพแทสเซียมจะเปิ ด ่ - ความต่ างศักย์ จะเปลียนกลับจาก + 50 มิลลิโวลต์ เป็ น ่ – 70 มิลลิโวลต์ - กลับสู่ สภาพเดิม
  • 40. การเปลียนแปลงดังกล่าวเรียกว่ า แอกชันโพเทนเชียล ่ ( action potential ) หรือการเกิดกระแสประสาท ( nerve impluse ) - เกิดขึนตรงบริเวณทีถูกกระตุ้น ้ ่ - ชักนาให้ บริเวณถัดไปเกิดการเปลียนแปลง ่ - บริเวณทีถูกกระตุ้นครั้งแรกกลับสู่ สภาพเดิม ่ - เป็ นเช่ นนีไปเรื่อยๆ ้ - มีผลให้ กระแสประสาทเคลือนไปตามความยาวของใยประสาทแบบจุด ่ ต่ อจุดต่ อเนื่องกันของแอกซอนทีไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม ่ ่ ี - นักวิทยาศาสตร์ พบว่ า การเกิดแอกชันโพเทนเชียลต้ องอาศัยระยะเวลา หนึ่ง ดังนั้น ถ้ ากระตุ้นเซลล์ประสาทในขณะทียงเกิดแอกชันโพเทนเชียล ่ั อยู่เซลล์ประสาทจะไม่ ตอบสนองกระแสประสาทจึงไม่ เกิดขึนใหม่ ้
  • 41.
  • 42. เยือไมอีลน (myelin sheath) จะทาหน้ าที่ ่ ี - เป็ นฉนวนกั้นประจุไฟฟาทีผ่านเยือหุ้มเซลล์ ดังนั้นแอกซอนตรง ้ ่ ่ บริเวณทีมีเยือไมอีลนหุ้มจะไม่ มแอกชันโพเทนเชียลเกิดขึน ่ ่ ี ี ้ - แต่ แอกชันโพเทนเชียลจะเคลือนทีจากโนดออฟแรนเวียร์ หนึ่งไป ่ ่ ยังโนดออฟแรนเวียร์ ทอยู่ถดไปตลอดความยาวของใยประสาท ี่ ั - ดังนั้นการเคลือนทีของกระแสประสาทในใยประสาทที่มีเยือไมอี ่ ่ ่ ลีนหุ้มจึงผ่ านแบบกระโดดเป็ นช่ วงๆตามระยะของโนดออฟแรน เวียร์ - ใช้ เวลาน้ องกว่ าการเคลือนทีของกระแสประสาทในใยประสาทที่ ่ ่ ไม่ มีเยือไมอีลนหุ้ม ่ ี
  • 44. ความเร็วของกระแสประสาทในแอกซอนที่ไม่ มีเยื่อไมอีลนหุ้มขึนอยู่กบ ี ้ ั - ขนาดของเส้ นผ่ านศูนย์ กลางของใยประสาท - ถ้ ามีขนาดใหญ่ จะนากระแสประสาทได้ เร็วกว่ าขนาดเล็ก ( เพราะความต้ านทานการเคลือนทีของไอออนจะผกผันกับ ่ ่ พืนที่ภาคตัดขวางของใยประสาท ) ้
  • 45. แอกซอนทีมเี ยือไมอีลนหุ้ม ถ้ ามี ่ ่ ี - ขนาดใหญ่ และระยะห่ างระหว่ างโนดออฟแรนเวียร์ มากกว่ าจะมี การเคลือนทีของกระแสประสาทได้ เร็วกว่ า ่ ่
  • 47. การถ่ ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ ประสาท นักวิทยาศาสตร์ ชื่อ ออทโต ลอวิ ( otto Loewi ) ทดลอง - นาหัวใจของกบที่ ยังมีชีวตอยู่มาผ่ าตัดเอาสมองทียงมี ิ ่ั เส้ นประสาทคู่ที่ 10 ติดอยู่มาใส่ ไว้ ในจานเพาะเชื้อจานที่ 1 ทีมี ่ นาเกลือแล้ วใช้ กระแสไฟฟากระตุ้นเส้ นประสาทนั้น พบว่ า หัวใจ ้ ้ กบเต้ นช้ าลงต่ อมาดูดสารละลายจากจานที่ 1 ใส่ ในจานที่ 2 ทีมี ่ หัวใจกบเหมือนกัน แต่ ไม่ มีเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 10 พบว่ า หัวใจกบในจานที่ 2 มีอตราการเต้ นของหัวใจช้ าลงเช่ นกัน ั
  • 48. จากการทดลองนีแสดงให้ เห็นว่ า ้ การกระตุ้นเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 10 - จะทาให้ มีการปล่ อยสารบางชนิดออกมายับยั้งการทางานของ กล้ ามเนือหัวใจ ้ เช่ นเดียวกัน - การกระตุ้นใยประสาทที่ไปเลียงกล้ ามเนือนั้น ้ ้ - โดยมีการหลังสารจากปลายประสาทกระตุ้นให้ กล้ ามเนือหดตัว ่ ้ - สารหลังจากปลายประสาท เรียกว่ า สารสื่ อประสาท ่ (neurotransmitter)
  • 49. มีการค้ นพบว่ า - บริเวณปลายแอกซอนมีสารสื่ อประสาทสู งมากซึ่งสารสื่ อ ประสาทนีทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางถ่ ายทอดกระแสประสาทจาก ้ เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่ง
  • 50. ปัจจุบนพบว่ าสารสื่ อประสาทมีหลายชนิด เช่ น ั - แอซิติลโคลีน ( acetylcholine ) - เอพิเนฟริน ( eoinephrine) - นอร์ เอพิเนฟริน ( norepinephrine ) - เอนดอร์ ฟีน ( endorphine )
  • 51. จากการทดลองของออทโต ลอวิ สารทีหลังออกมาจาก ่ ่ เส้ นประสารทสมองคู่ที่ 10 (หลังจากถูกกระตุ้นด้ วย กระแสไฟฟา) คือ แอซิตลโคลีน (acetylcholine) ้ ิ
  • 52. จากการศึกษาพบว่ า - บริเวณทีปลายแอกซอนของเซลล์ ประสาทหนึ่งมาอยู่ชิดกับเดนไดรต์ ่ ของอีกเซลล์ประสาทหนึ่งเรียกว่ า ไซแนปส์ (synapse) - เป็ นช่ องกว้ างขนาด 0.5 ไมโครเมตร - ทาให้ กระแสประสาทข้ ามผ่ านไปได้
  • 53. ทีปลายของแอกซอนจะมี ่ - ถุงขนาดเล็กบรรจุสารสื่ อประสาท - ไมโทคอนเดรียสะสมอยู่มาก
  • 54. เมื่อกระแสประสาทเคลือนที่มาถึงปลายแอกซอนก่ อนไซแนปส์ ่ - ถุงบรรจุสารสื่ อประสาทจะเคลือนทีไปยังเยือหุ้มเซลล์บริเวณไซแนปส์ ่ ่ ่ - แล้วปล่อยสารสื่ อประสาทออกไปเป็ นการนากระแสประสาทไปพร้ อมๆ กัน - เมื่อสารสื่ อประสาทผ่ านช่ องไซแนปส์ มาแล้วจะไปจับกับโปรตีนตัวรับที่ เยือหุ้มเซลล์ของเดนไดรต์ (หลังไซแนปส์ ) ่ - ทาให้ เกิดการเคลือนทีของไอออนผ่ านเยือหุ้มเซลล์มีการเปลียนแปลง ่ ่ ่ ่ ความต่ างศักย์ - ทาให้ เกิดการหลังกระแสประสาทต่ อไป ่
  • 56. สารทีเ่ หลืออยู่ทช่องไซแนปส์ ี่ - จะถูกสลายอย่ างรวดเร็วโดยเอนไซม์ - เพือให้ เซลล์ประสาททางานได้ อก ่ ี
  • 57. สารทีได้ จากการสลาย ่ - บางส่ วนอาจจะถูกนากลับไปสร้ างสารสื่ อประสาทใหม่ - บางส่ วนถูกกาจัดออกทางระบบเลือด ดังนั้น เดนไดรต์ จะถูกกระตุ้นในช่ วงเวลาสั้ นๆเฉพาะเวลาทีแอกซอน ่ ปล่อยสารสื่ อประสาทเท่ านั้น
  • 58. ปัจจุบนบันพบว่ ามีสารเคมีและยาหลายชนิดทีมผลต่ อการ ั ่ ี ถ่ ายทอดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่ น 1. สารที่มาจากแบคทีเรียบางชนิด จะไป - ยับยั้งการปล่อยสารสื่ อประสาท - กระแสประสาทถ่ ายทอดไม่ ได้ - จึงเกิดอัมพาตขึน ้ 2. ยาระงับประสาท ทาให้ - สารสื่ อประสาทออกมาได้ น้อย - กระแสประสาทสั่ งไปยังสมองน้ อยลง - จึงเกิดอาการสงบไม่ วตกกังวล ิ
  • 59. ปัจจุบนบันพบว่ ามีสารเคมีและยาหลายชนิดทีมผลต่ อการ ั ่ ี ถ่ ายทอดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่ น 3. สารจาพวก แอมเฟตามีน,นิโคติน,คาแฟอิน - กระตุ้นให้ มีการปล่ อยสารสื่ อประสาทออกมามาก - ทาให้ รู้ สึกตืนตัว หัวใจเต้ นเร็วนอนไม่ หลับ ่ 4. ยาฆ่ าแมลงบางชนิด - ไปทาลายหรือยับยั้งเอนไซม์ ทจะมาสลายสารสื่ อประสาท ี่
  • 60. โครงสร้ างของระบบประสาท ถ้ าพิจารณาตามตาแหน่ งและโครงสร้ างจะแบ่ งระบบประสาท ได้ 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่ วนกลาง (central nervous system หรือ CNS ได้ แก่ สมองและไขสั นหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system หรือ PNS)
  • 61. ระบบประสาทส่ วนกลาง (central nervous system หรือ CNS) ทั้งสมองและไขสั นหลังมีเยือหุ้ม 3 ชั้น ่ - ชั้นนอกสุ ด มีลกษณะหนาเหนียวและแข็งแรงปองกันการ ั ้ กระทบกระเทือนของเนือสมองและไขสั นหลัง ้ - ชั้นกลาง มีลกษณะเป็ นเยือบางๆอยู่ระหว่ างชั้นนอกและชั้นใน ั ่ - ชั้นใน เป็ นชั้นทีแนบไปตามรอยโค้ งเว้ าของสมองและไขสั น ่ หลังมีเส้ นเลือดหล่อเลียงมากนาอาหารและออกซิเจนมาให้ เนือ ้ ้ สมองกับไขสั นหลัง
  • 62. ระหว่ างเยือหุ้มสมองชั้นกลางกับชั้นใน ่ - เป็ นช่ องว่ างตามยาวติดต่ อกับช่ องภายในไขสั นหลังและโพรง ในสมอง - เป็ นทีอยู่ของนาเลียงสมองและไขสั นหลัง (cerebrospinal fluid) ่ ้ ้
  • 63. สมอง ไขสั นหลัง และเยือหุ้มสมอง ่
  • 65. สมอง (brain)ของคน - มีนาหนัก 1.4 กิโลกรัม หรือ 3 ปอนด์ ้ - บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะซึ่งป้ องกัน สมองไม่ ให้ กระทบกระเทือน - ประกอบด้ วยเซลล์ประสาทมากกว่ าร้ อยละ 90 ของเซลล์ประสาททั้งหมด (ส่ วนใหญ่ เป็ น เซลล์ประสาทประสานงาน)
  • 66. โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) - เป็ นโรคทีเ่ กียวกับความเสื่ อมของเซลล์ ประสาทในสมองผู้ป่วยที่ ่ เป็ นโรคนีเ้ นือสมองจะฝ่ อเล็กลงรอยหยักในสมองมีน้องลง นา ้ ้ เลียงสมองจะเพิมมากขึนมีอาการสู ญเสี ยความจาและความ ้ ่ ้ ฉลาด - สาเหตุการเกิดโรคยังไม่ ทราบแน่ ชัด แต่ ปัจจัยทีเ่ กียวข้ องมีหลาย ่ สาเหตุเช่ นความผิดปกติทางพันธุกรรมการสะสมสารพิษบาง ชนิด เช่ น อะลูมิเนียม เป็ นต้ น
  • 67. สมองประกอบด้ วย 2 ส่ วน 1. ส่ วนนอกเป็ นสี เทา (grey matter) - มีตวเซลล์ ประสาท ั - และแอกซอนที่ไม่ มีเยือไมอีลน ่ ิ 2. ส่ วนใน เป็ นเนือสี ขาว (white matter) ้ - มีแอกซอนทีมีเยือไมอีลนซึ่งเป็ นสารพวกลิพด (lipid) ่ ่ ิ ิ เป็ นส่ วนประกอบ
  • 68. สมองของคน - มีพฒนาการสู งสุ ด ซับซ้ อนทีสุด ั ่ - มีอตราส่ วนระหว่ างนาหนักสมองต่ อนาหนักตัวมากกว่ าสั ตว์ อน ั ้ ้ ื่ - มีรอยหยักบนสมองมาก
  • 70.
  • 71. สมองคนเราแบ่ งเป็ น 3 ส่ วน 1. สมองส่ วนหน้ า (forebrain) 2. สมองส่ วนกลาง (midbrain) 3. สมองส่ วนหลัง (hindbrain)
  • 72. สมองส่ วนหน้ า (forebrain) - ออลแฟกเทอรีบัลบ์ (olfactory bulb) - เซรีบรัม (cerebrum) - ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) - ทาลามัส (thalamus)
  • 73. สมองส่ วนกลาง(midbrain) - พัฒนารู ปเหลือเฉพาะ ออกติกโลบ (optic lobe)
  • 74. สมองส่ วนหลัง (hindbrain) - เซรีเบลลัม (cerebellum) - เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) - พอน (pons)
  • 75. ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb) เกียวข้ องกับการดมกลิน ่ ่ - ในปลา สมองส่ วนนีจะมีขนาดใหญ่ ้ - ในคน สมองส่ วนนีไม่ ค่อยเจริญ ้
  • 76. เซรีบรัม (cerebrum) เกียวกับความคิด ความจา เชาวน์ ปัญญา ่ - การรับสั มผัส - การพูด การรับรู้ ภาษา - การมองเห็น - การรับรส - การได้ ยน ิ - การดมกลิน ่ - การทางานของกล้ ามเนือ ้
  • 77. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เป็ นศูนย์ ควบคุม - อุณหภูมของร่ างกาย ิ - การนอนหลับ - การเต้ นของหัวใจ - ความดันเลือด - ความต้ องการพืนฐานของร่ างกายเช่ น นา อาหาร การพักผ่ อน อารมณ์ ้ ้ ความรู้สึกต่ างๆ - ทาหน้ าทีสร้ างฮอร์ โมนประสาทมาควบคุมการหลังฮอร์ โมนของต่ อมใต้ ่ ่ สมองส่ วนหน้ า
  • 78. ทาลามัส (thalamus) - เป็ นศูนย์ รวมกระแสประสาททีผ่านเข้ ามาแล้ วแยกกระแสประสาท ่ ส่ งไปยังสมองส่ วนหน้ าที่เกียวข้ องกับกระแสประสาทนั้นๆ ่
  • 79. ออกติกโลบ (optic lobe) - ควบคุมการเคลือนไหวของนัยน์ ตาหัวและลาตัว เพือตอบสนอง ่ ่ ต่ อแสงและเสี ยง - ช่ วยควบคุมการเคลือนไหวของร่ างกาย ่
  • 80. เซรีเบลลัม (cerebellum) - ควบคุมการทรงตัวของร่ างกาย - ควบคุมการประสานการเคลือนไหวของร่ างกายให้ เป็ นไปอย่ าง ่ ราบรื่นสละสลวยและเที่ยงตรงทาให้ สามารถทางานละเอียดอ่อน ได้
  • 81. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) - ควบคุมการเต้ นของหัวใจ - ควบคุมการหายใจ - ควบคุมความดันเลือด - เป็ นศูนย์ ควบคุมการกลืน การไอ การจาม การอาเจียนและการ สะอึก
  • 82. พอน (pons) - ควบคุมการเคียว การหลังนาลาย การเคลือนไหวของใบหน้ า ้ ่ ้ ่ - ควบคุมการหายใจ - เป็ นทางผ่ านของกระแสประสาทระหว่ างเซรีบรัมกับเซรีเบลลัม และระหว่ างเซรีเบลลัมกับไขสั นหลัง
  • 84. ไขสั นหลัง (spinal cord) - อยู่ภายในกระดูกสั นหลัง ตั้งแต่ กระดูกสั นหลังบริเวณคอข้ อแรก ถึงกระดูกบริเวณเอวข้ อที่ 2 - ส่ วนปลายไขสั นหลังจะเรียวเล็กจนเหลือเพียงส่ วนของเยือหุ้ม ่ ไขสั นหลัง
  • 86. ถ้ าตัดไขสั นหลังตามขวางจะพบว่ า - ด้ านนอก เป็ นเนือขาว (white matter) เป็ นบริเวณที่แอกซอนมี ้ เยือไมอีลนหุ้ม ่ ี - ด้ านใน เป็ นเนือสี เทา (grey matter)เป็ นบริเวณที่มีตวเซลล์ ้ ั ประสาทอยู่หนาแน่ น - ตรงกลาง จะมีช่องกลวง (central canal)เป็ นบริเวณที่มีนาเลียง ้ ้ สมองและไขสั นหลังบรรจุอยู่ภายใน
  • 87. ส่ วนที่เป็ นเนือสี เทาของไขสั นหลัง ้ - มีลกษณะคล้ายอักษรตัว H หรือ ปี กผีเสื้อ ั - ปี กบนมี 2 ปี ก เรียก ดอร์ ซัลฮอร์ น (dorsal horn) - ปี กล่ างมี 2 ปี ก เรียก เวนทรัลฮอร์ น (ventral horn)
  • 88. ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system หรือ PNS) ประกอบด้ วย - เส้ นประสาทสมอง (cranial nerve) มี 12 คู่ - เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve) มี 31 คู่
  • 90. เส้ นประสาทสมอง (cranial nerve) - เป็ นเส้ นประสาทที่ติดต่ อกับสมอง - แยกออกจากสมองเป็ นคู่ๆ - ของสั ตว์ นาและสั ตว์ ครึ่งบกครึ่งนามี 10 คู่ ้ ้ - ของสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนานม นก และสั ตว์ เลือยคลานมี 12 คู่ ้ ้ ้ - บางเส้ นทาหน้ าทีเ่ ฉพาะรับความรู้ สึก - บางเส้ นเป็ นเส้ นประสาทสั่ งการ - บางเส้ นทาหน้ าทีเ่ ป็ นทั้งรับความรู้ สึกและสั่ งการ
  • 91. เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve) เป็ นเส้ นประสาททีแยกออกมาจากไขสั นหลังเป็ นคู่ๆ ่ ในคนมีท้งหมด 31 คู่ แยกตามตาแหน่ งทีเ่ ส้ นประสาทไขสั นหลัง ั ยืนออกมาคือ ่ - บริเวณคอมี 8 คู่ - บริเวณอกมี 12 คู่ - บริเวณเอวมี 5 คู่ - บริเวณกระเบนเหน็บมี 5 คู่ - บริเวณก้นกบมี 1 คู่
  • 92. เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve) - ทุกเส้ นเป็ นเส้ นประสาทผสมคือรับความรู้สึกจากกล้ามเนือ้ บริเวณแขน ขาและลาตัวสั่ งการไปยังกล้ามเนือ แขน ขาและลาตัว ้ - ทีอยู่ใกล้กบไขสั นหลังจะแยกเป็ นรากบน (dorsal root)ต่ ออยู่ ่ ั กับดอร์ ซัลฮอร์ นของไขสั นหลัง
  • 93. เส้ นประสาทไขสั นหลัง (spinal nerve) - รากบนนีจะพองออกมาเป็ นปมประสาทรากบน ้ (dorsal root ganglion) - ที่ต่อจากเวนทรัลฮอร์ นจะเป็ นรากล่าง (Ventral root) - ทั้งรากบนและรากล่างจะรวมกันเป็ นเส้ นประสาทไข สั นหลัง
  • 95. การทดลองส่ งกระแสประสาทของเส้ นประสาทไขสั นหลังของกบ ก. เส้ นประสาทไขสันหลังที่ไปยังขากบ ข. ตัดรากล่างของเส้ นประสาทไขสันหลังระหว่างจุดที่ 1 กับ 2 ค. ตัดรากบนของเส้ นประสาทไขสันหลังระหว่ างจุด 3 กับ 4
  • 96. ทีปมประสาทรากบนมีตวเซลล์ ประสาทรับความรู้ สึก ่ ั • ซึ่งมีเดนไดรต์ อยู่ในเส้ นประสาทไขสั นหลัง • มีแอซอนอยู่ในรากบนยืนเข้ าไปในไขสั นหลัง • จะรับกระแสประสาทจากหน่ วยรับความรู้สึก • ส่ งผ่ านเซลล์ประสาทประสานงาน ซึ่งอยู่ในเนือสี เทา ้ • แล้วส่ งต่ อให้ เซลล์ประสาทสั่ งการซึ่งมีตัวเซลล์อยู่ในเนือสี เทา ้
  • 98. หน้ าทีของไขสั นหลัง คือ ่ • เป็ นศูนย์ กลางของการเคลือนไหวต่ างๆทีตอบสนองต่ อการสั มผัส ่ ่ ของร่ างกาย • เป็ นตัวเชื่อมระหว่ างหน่ วยรับความรู้ สึกกับหน่ วยปฏิบัตงาน ิ • เป็ นทางผ่ านไปกลับของกระแสประสาทระหว่ างไขสั นหลังกับ สมอง
  • 99. การทางานของระบบประสาท การทางานของเส้ นประสาทในระบบประสาทรอบนอก แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ • ส่ วนทีรับความรู้ สึก (sensory division) ่ • ส่ วนที่สั่งการ (motor division)
  • 100. ถ้ าสั่ งการเกิดขึนกับหน่ วยปฏิบัติงาน ้ • ทีบังคับได้ เช่ น กล้ ามเนือยึดกระดูก จัดเป็ นระบบประสาทโซ ่ ้ มาติก (somatic nervous system หรือ SNS) • ทีบังคับไม่ ได้ เช่ นอวัยวะภายในและต่ อมต่ างๆ จัดเป็ นระบบ ่ ประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system หรือ ANS)
  • 102. ระบบประสาทอัตโมวัติ แบ่ งออกเป็ นระบบย่ อย 2 ระบบ คือ • ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system ) • ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous system)
  • 103. ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS) หน่ วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เส้ นประสาทไขสันหลังหรือเส้ นประสาทสมอง หน่ วยปฏิบัตงาน ิ เส้ นประสาทไขสันหลังหรือเส้ นประสาทสมอง ไขสันหลังหรือสมอง แผนภาพแสดงการทางานของระบบประสาทโซมาติก
  • 104. ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS) • บางครั้งระบบประสาทโซมาติกอาจจะทางานโดยผ่ านไขสั น หลังอย่ างเดียว เช่ น การกระตุกขาเมือถูกเคาะทีหัวเข่ า ่ ่
  • 105. ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS) การตอบสนองสิ่ งเร้ าทีมากระตุ้น โดยการกระตุกขานั้น ่ • เกิดขึนเองโดยอัตโนวัติ เรียกว่ า รีเฟล็กซ์ (reflex) ้ • กิริยาหรืออาการทีแสดงออกหรือมีสิ่งเร้ ามากระตุ้นเกิดขึนใน ่ ้ ระยะเวลาสั้ นๆ เรียกว่ า รีเฟล็กซ์ แอกชัน (reflex action) • เป็ นการตอบสนองที่เกิดขึนทันทีทนใด โดยมิได้ มีการเตรียมตัว ้ ั หรือคิดล่ วงหน้ าซึ่งเป็ นการสั่ งการของไขสั นหลัง
  • 106. การเกิดรีเฟล็กซ์ แอกชัน ก. เมือเคาะที่เอ็นใต้ หัวเข่ า ข.เมือเหยียบเศษแก้ ว ่ ่
  • 107. การทางานของระบบประสาททีเ่ ป็ นวงจรนีเ้ รียกว่ า รีเฟล็กซ์ อาร์ ก (reflex arc) ซึ่งประกอบด้ วยหน่ วยย่ อย 5 หน่ วย คือ 1. หน่ วยรับความรู้ สึก 2. เซลล์ ประสาทความรู้ สึก 3. เซลล์ ประสาทประสานงานในไขสันหลังหรือสมอง 4. เซลล์ ประสาทสั่ งการ 5. หน่ วยปฏิบัตงาน ิ
  • 108.
  • 109. การเกิด รีเฟล็กซ์ อาร์ ก (reflex arc) • บางครั้งรีเฟล็กซ์ อาร์ กอาจไม่ จาเป็ นต้ องมีเซลล์ ประสาท ประสาทงานก็ได้ เช่ น การกระตุกขาเมือเคาะทีหัวเข่ า เพราะจะ ่ ่ ประกอบด้ วยเซลล์ ประสาทเพียง 2 ชนิด คือ เซลล์ประสาทรับ ความรู้ สึกและเซลล์ ประสาทสั่ งการ
  • 110. ระบบประสาทอัตโนวัติ (automomic nervous system หรือ ANS) • ขณะทีเ่ ราตื่นต้ นตกใจหัวใจจะเต้ นถี่เร็วและแรง • แต่ เมื่อเวลาผ่ านไปหัวใจจะเต้ นช้ าลงและเข้ าสู่ สภาวะปกติ การทางานของหัวใจดังกล่าวถูกควบคุมโดย • ระบบประสาทซิมพาเทติก • ระประสาทพาราซิมพาเทติก
  • 111. ระบบประสาทอัตโนวัติ (automomic nervous system หรือ ANS) • ทั้งสองระบบนีทางานนอกอานาจจิตใจจึงเรียกว่ าเป็ นระบบ ้ ประสาทอัตโนวัติซึ่งการทางานนั้นจะเป็ นแบบสภาวะตรงกัน ข้ ามเพือควบคุมการทางานของอวัยวะภายในของร่ างกาย เช่ น ่ การเต้ นของหัวใจ ระบบประสาทซิมพาเทติก กระตุ้นการ เต้ นของหัวใจ แต่ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะไปยับยั้ง การเต้ นของหัวใจ
  • 112. ระบบประสาทอัตโนวัติ (automomic nervous system หรือ ANS) การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติประกอบด้ วย • หน่ วยรับความรู้สึก ซึ่งส่ วนใหญ่ อยู่ทอวัยวะภายใน ่ี • เซลล์ประสาทรับความรู้สึกรับกระแสประสาทผ่ านรากบนของ เส้ นประสาทไขสั นหลังเข้ าสู้ ไขสั นหลัง จากไขสั นหลังจะมีเซลล์ประสาท ไปไซแนปส์ กบเซลล์ประสาทสั่ งการทีปมประสาทอัตโนวัติ (antonomic ั ่ ganglion)เซลล์ประสาทที่ออกจากไขสั นหลังทีปมประสาทอัตโนวัตินี้ ่ เรียกว่ า เซลล์ ประสาทก่อนไซแนปส์ และเซลล์ประสาทสั่ งการทีออกจาก ่ ปมประสาทอัตโนวัติเรียกว่ า เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์
  • 113. ระบบประสาทอัตโนวัติ (automomic nervous system หรือ ANS) • ซึ่ง เซลล์ ประสาทหลังไซแนปส์ จะนากระแสประสาทสั่ งงานไป ยังกล้ ามเนือเรียบของอวัยวะภายใน กล้ ามเนือหัวใจและต่ อม ้ ้ ต่ างๆ
  • 116. ระบบประสาทอัตโนวัติ (automomic nervous system หรือ ANS) ที่ปมประสาทอัตโนวัติ • สารสื่ อประสาทที่ใช้ ระหว่ างก่อนและหลังไซแนปส์ คือ แอซิติลลีน แต่ สารสื่ อประสาททีหลังมาควบคุมหน่ วยปฎิบัตงานจะต่ างกัน ่ ่ ิ • ถ้ าเป็ นระบบประสาทพาราซิมพาเทติก เป็ นแอซิติลโคลีน • แต่ ถ้าเป็ นระบประสาทซิมพาเทติก เป็ นนอร์ เอพิเนฟริน
  • 117. อวัยวะรับความรู้ สึก • กระแสประสาทจากอวัยวะรับความรู้ สึกทุกชนิดเป็ นสั ญญาณทาง ไฟฟาเคมีท้งสิ้น ้ ั • ปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์ ยงไม่ ทราบแน่ ขดว่ า สมองแปลสั ญญาณ ั ั ั เหล่ านีได้ อย่ างไง ้ • แต่ การทีสมองแปลความรู้ สึกได้ แตกต่ างกันนั้นเกิดจากสมองมี ่ บริเวณเฉพาะทาหน้ าทีรับกระแสประสาทจากอวัยวะรับความรู้ สึก ่ ชนิดต่ างๆ
  • 120. นัยน์ ตาและการมองเห็น นัยน์ ตาของคน • มีรูปร่ างค่ อนข้ างกลมอยู่ภายในเบ้ าตา • มีขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลางประมาณ 2.5 เซนติเมตร • มีผนังลูกตา 3 ชั้น 1. สเคลอรา (sclera) 2. โครอยด์ (choroid) 3. เรตินา (retina)
  • 121. สเคลอรา (sclera) • เป็ นชั้นทีเ่ หนียวแต่ ไม่ ยดหยุ่น ื • ตอนหน้ าสุ ดจะโปร่ งใสและนูนออกมาเรียกกระจกตา (cornea)มี ความสาคัญมากถ้ าเป็ นอันตรายหรือพิการจะมีผลกระทบต่ อ การมองเห็น
  • 122. โครอยด์ (choroid) • เป็ นชั้นทีมหลอดเลือดมาเลียงและมีสารสี แผ่ กระจายอยู่เป็ น ่ ี ้ จานวนมากเพือปองการไม่ ให้ แสงสว่ างทะลุผ่านไปยังด้ านหลัง ่ ้ ของนัยน์ ตาโดยตรง
  • 123. เลนส์ ตา (lens) • เป็ นเลนส์ นูนอยู่ถดจากกระจกตาเข้ าไปเล็กน้ อย ั • มีลกษณะใสกั้นนัยน์ ตาออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ั 1.ช่ องหน้ าเลนส์ 2. ช่ องหลังเลนส์ ซึ่งทั้งสองช่ องนีจะมีของเหลวบรรจุอยู่และของเหลวนั้นจะ ้ ช่ วยทาให้ ลูกตาเต่ งและคงสภาพได้ และช่ วยให้ การหักเหของแสง ทีผ่านเข้ ามา ่
  • 124. เลนส์ ตา (lens) • ด้ านหน้ าของเลนส์ ตามีม่านตา (iris) ยืนลงมาจกผนังโครอยด์ ท้งบนและ ่ ั ล่างส่ วนช่ องกลางเป็ นช่ องทีให้ แสงผ่ านเข้ ามาเรียกช่ องนีว่า รูม่านตา ่ ้ (pupil) • ขนาดของรูม่านตาจะกว้ างหรือแคบขึนอยู่กบม่ านตาทีมกล้ามเนือทางาน ้ ั ่ ี ้ อยู่ 2 ชนิดคือ 1. กล้ามเนือวงกลม ้ 2. กล้ามเนือที่เรียงตัวตามแนวรัศมี ้ ** ม่ านตาทาหน้ าทีควบคุมปริมาณแสงทีผ่านเข้ าสู้ นัยน์ ตา ่ ่
  • 125. เรตินา (retina) • เป็ นบริเวณทีมเี ซลล์ รับแสงซึ่งแบ่ งตามรู ปร่ างได้ 2 ชนิด คือ ่ 1. เซลล์ รูปแท่ ง (rod cell) 2. เซลล์ รูปกรวย (cone cell) ซึ่งเซลล์ ท้งสองทาหน้ าที่ เปลียนพลังงานแสงให้ เป็ นกระแส ั ่ ประสาท
  • 127. เซลล์ รูปแท่ ง • ไวต่ อการรับแสงสว่ างแม้ ในทีมีแสงสว่ างน้ อย ่ • ไม่ สามารถแยกความแตกต่ างของสี ได้ • ในนัยน์ ตาแต่ ละข้ างจะ เซลล์ รูปแท่ งมีประมาณ 125 ล้ านเซลล์
  • 128. เซลล์ รูปกรวย • แยกความแตกต่ างของสี ต่างๆได้ • บอกสี ได้ ถูกต้ องเมือมีแสงสว่ างมาก ่ • ในนัยต์ ตาแต่ ละข้ างจะมี เซลล์ รูปกรวยประมาณ 7 ล้ านเซลล์
  • 134. เรตินา (retina) • ในชั้นเรตินายังมีเซลล์ ประสาทที่รับกระแสประสาทไปยังใย ประสาทของเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 2 แล้ วส่ งไปยังสมองส่ วน เซรีบรัมเพือแปลเป็ นภาพตามทีตามองเห็น ่ ่
  • 135. เรตินา (retina) **บริเวณตรงกลางของเรตินาทีเ่ รียกว่ า โฟเวีย (fovea) • จะมีเซลล์ รูปกรวยอยู่หนาแน่ นกว่ าบริเวณอืน่ • ดังนั้นภาพทีตกบริเวณนีจะเห็นชัดเจนมากทีสุด ่ ้ ่ **บริเวณของเรตินาที่มีแต่ แอกซอนออกจากนัยน์ ตาเพือรวม่ เป็ นเส้ นประสาทตา • จะไม่ มีเซลล์รูปแท่ งและเซลล์ รูปกรวยอยู่เลย • ทาให้ เกิดภาพบริเวณนี้ เรียกบริเวณนีว่า จุดบอด (blind spot) ้
  • 136. เรตินา (retina) ในการเกิดภาพเมื่อแสงจากวัตถุผ่านเข้ าสู่ กระจกตา • โดยมีเลนส์ ตาทาหน้ าที่รวมแสง • ทาภาพตกทีเ่ รตินา • เกิดกระแสประสาทส่ งไปยังสมองเพือแปลความหมาย ่
  • 137. เอ็นยืดเลนส์ กล้ ามเนือยืดเลนส์ ้ • เลนส์ ตาถูกยืดด้ วย เอ็นยืดเลนส์ (suspensory ligament) โดยที่ เอ็นนั้นอยู่ตดกับ กล้ ามเนือยืดเลนส์ (ciliary muscle) ิ ้ • ดังนั้น การหดตัวและคลายตัวของกล้ ามเนือยึดเลนส์ จงมีผลทา ้ ึ ให้ เอ็นยึดเลนส์ หย่ อนหรือตึงได้
  • 138. เอ็นยืดเลนส์ กล้ ามเนือยืดเลนส์ ้ • หากกล้ ามเนือยึดเลนส์ หดตัว ้ • เอ็นยึดเลนส์ หย่ อนลง • ทาให้ เลนส์ โป่ งออก ผิวของเลนส์ โค้ งนูนมากขึน ้ • จุดโฟกัสใกล้เลนส์ มากขึน ้ • เหมาะสาหรับการมองภาพในระยะใกล้
  • 139. เอ็นยืดเลนส์ กล้ ามเนือยืดเลนส์ ้ ถ้ าวัตถุอยู่ไกล • เลนส์ ตาจะต้ องมีความนูนลดลงซึ่งเกิดจากการคลายตัวของ กล้ ามเนือยึดเลนส์ น้นเอง ้ ั
  • 140. การเปลียนแปลงรูปร่ างของเลนส์ ตา ่ ก.วัตถุอยู่ใกล้ เลนส์ ตาโค้งนูนมาก ข.วัตถุอยู่ไกล เลนส์ ตาโค้งนูนน้ อย
  • 141. การแก้ ไขปัญหาสาหรับคนมีปัญหาเรื่องสายตา ปัจจุบันสามารถแก้ไขได้ โดยการใส่ แว่ นตาทีประกอบด้ วย ่ • เลนส์ เว้ าสาหรับคนสายตาสั้น • เลนส์ นูนสาหรับคนสายตายาว • ในกรณีคนสายตาเอียงซึ่งเกิดจาก จากสาเหตุและมีวธีการแก้ไขดังต่ อไปนี้ ิ 1. ความโค้ งของกระจกตาในแนวต่ างๆไม่ เท่ ากันทาให้ เห็นเส้ นของแผ่ นภาพ ทดสอบสายตาเอียงในแนวใดแนวหนึ่งไม่ ชัดเจน 2. แก้ไขโดยใช้ เลนส์ ทรงกระบอก (cylindrical lens)ซึ่งมีด้านหน้ าเว้ า ด้ านหลังนูน
  • 142. กลไกการมองเห็น ทีเ่ ยือหุ้มเซลล์ รูปแท่ งจะมี สารสี ม่วงแดง ชื่อ โรดอปซิน ่ (rhodopsin) ฝังตัวอยู่ • ซึ่งสารสี ม่วงแดงชื่อ โรดอปซิน (rhodopsin) นีประกอบด้ วย ้ 1.โปรตีนออปซิน (opsin) 2. สารเรตินอล(retinol)
  • 143. กลไกการมองเห็น • เมื่อมีแสง มากระตุ้นเซลล์รูปแท่ ง โมเลกุลของเรตินอลจะ เปลียนแปลงจะเกาะกับโมเลกุลของออปซินไม่ ได้ ่ • เกิดกระแสประสาทเดินทางไปยังเส้ นประสาทสมองคู่ที่ 2 เพือ ่ ส่ งไปยังสมองให้ แปลงเป็ นภาพ • เมื่อไม่ มีแสง ออปซินและเรตินอลจะรวมตัวกันเป็ นโรดอปซิน ไม่ ได้
  • 145. กลไกการมองเห็น • เรตินอล เป็ นสารที่ร่างกายสั งเคราะห์ ขนจากวิตามิน A ึ้ • ถ้ าร่ างกายขาดวิตามิน A จะทาให้ เกิดโรคตาฟางในช่ วงเวลาที่มี แสงน้ อย เช่ น ตอนพลบคา ่
  • 146. กลไกการมองเห็น เซลล์ รูปกรวย แบ่ งตามความไวต่ อช่ วงความยาวคลืนของแสง ่ ได้ 3 ชนิด คือ เซลล์ รูปกรวยที่ไวต่ อ • แสงสี นาเงิน ้ • แสงสี แดง • แสงสี เขียว
  • 148. กลไกการมองเห็น การที่สมองแยกสี ต่างๆได้ มากกว่ า 1 สี เพราะมี • การกระตุ้นเซลล์ รูปกรวยแต่ ละชนิดพร้ อมๆกันด้ วยความเข็ม ของแสงสี ต่างๆกันจึงเกิดการผสมของแสงสี ต่างๆขึนเช่ น ้ ขณะมองวัตถุสีม่วง • เซลล์ รูปกรวยทีไวต่ อแสงสี แดงและสี นาเงินจะถูกกระตุ้น ่ ้ พร้ อมๆกัน ทาให้ วตถุน้ันเป็ นสี ม่วงเป็ นต้ น ั
  • 150. กลไกการมองเห็น • ถ้ าเซลล์รูปกรวยทีไวต่ อแสงสี ใดสี หนึ่งบกพร่ องจะทาให้ เกิดอาการตา ่ บอดสี (color blind) ดังนั้นอาการตาบอดสี (color blind)จึงเป็ นลักษณะที่เกียวข้ องกับ ่ ความบกพร่ องในการแยกแยะความแตกต่ างของสี ทพบมากทีสุดคือ บอด ่ี ่ สี แดงและสี ม่วง • ไม่ จัดว่ าตาบอดสี เป็ นความผิดปกติร้ายแรง • ส่ วนใหญ่ เกิดจากพันธุกรรม • พบในเพศชายมากกว่ าเพศหญิง
  • 151. หูและการได้ ยน ิ หู (ear)เป็ นอวัยวะรับสั มผัสที่ทาหน้ าที่ • ได้ ยน ิ • ทรงตัว
  • 152. หูและการได้ ยน ิ หูของคนแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ • หูส่วนนอก • หูส่วนกลาง • หูส่วนใน
  • 153. หูส่วนนอก (outer ear)ประกอบด้ วย • ใบหู (ear pinna) • รู หู (ear canal) • เยือแก้ วหู (ear dram หรือ tympanic membrane) ่
  • 154. หูส่วนกลาง(middle ear) • มีลกษณะเป็ นโพรงติดต่ อกับโพรงจมูกและมีท่อติดต่ อกับคอหอย ั เรียกว่ า ท่ อยูสเตเชียน (eustachian tube • หูส่วนกลางประกอบด้ วย 1. กระดูกค้อน (malleus) 2. กระดูกทัง (incus) ่ 3. กระดูกโกลน (stapes) ** คลืนเสี ยงทีผ่านเข้ าถึงหูส่วนในจะขยายเพิมจากหูส่วนนอก ่ ่ ่ ประมาณ 22 เท่ า
  • 155. หูส่วนใน(inner ear)ประกอบด้ วย • โครงสร้ างที่ใช้ ฟังเสี ยง เรียกว่ า คอเคลีย (cochlea) • โครงสร้ างที่ใช้ ในการทรงตัวเรียกว่ า เซมิเซอร์ ควลาร์ แคเนล ิ (semicircular canal)
  • 156. หูส่วนใน(inner ear) โครงสร้ างทีใช้ ฟังเสี ยง ่ • อยู่ทางด้ านหน้ าของหูส่วนใน เป็ นท่ อทีม้วนตัวลักษณะคล้ายก้นหอย ่ เรียกว่ า คอเคลีย (cochlea)
  • 158. หูส่วนใน(inner ear) คอเคลีย (cochlea) • ภายในของคอเคลียมีของเหลวบรรจุอยู่ • เมื่อคลืนเสี ยงผ่ านเข้ ามาถึงคอเคลียจะทาให้ ของเหลวนั้นสั่ นสะเทือน ่ • เปลียนสั ญญาณเสี ยงเป็ นกระแสประสาท ่ • กระตุ้นเซลล์รับเสี ยงให้ ส่งกระแสประสาทไปยังเส้ นประสาทรับเสี ยง (auditory nerve) • เพือเข้ าไปทีเ่ ซรีบรัมซึ่งเป็ นศูนย์ ควบคุมการได้ ยนเพือจะแปลผลต่ อไป ่ ิ ่
  • 159. หูส่วนใน(inner ear) โครงสร้ างทีใช้ ในการทรงตัว ่ • อยู่ทางด้ านหลังของหูส่วนในทาหน้ าทีรับรู้เกียวกับการเอียงและการ ่ ่ หมุนของศรีษะตลอดจนการทรงตัวของร่ างกาย • ลักษณะเป็ นหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอด ตั้งฉากกันเรียกว่ า เซมิเซอร์ ควิ ลาร์ แคเนล (semicircularcanal)
  • 160. หูส่วนใน(inner ear) • เซมิเซอร์ ควลาร์ แคเนล (semicircularcanal) ิ • ภายในจะมีของเหลวบรรจุอยู่ • ทีโคนหลอดมีส่วนโป่ งพองออกมาเรียก แอมพูลลา (ampulla)มีเซลล์รับ ่ ความรู้สึกทีมขน (hair cell)ที่ไวต่ อการไหลของของเหลวภายในหลอด ่ ี เมื่อมีการเปลียนแปลงตาแหน่ งของศรีษะขณะร่ างกายเคลือนไหว ่ ่ • กระตุ้นเซลล์ที่รับรู้เกียวกับการทรงตัวให้ ส่งกระแสประสาทไปรวมกับ ่ เส้ นประสาทรับเสี ยงเข้ าสู่ สมอง
  • 161. จมูกกับการดูดกลิน ่ • คนเรารับกลินได้ เพราะภายในโพรงจมูกด้ านบนมีเยือบุจมูก ่ ่ (olfactory)ซึ่งมีเซลล์ รับกลินรวมกันอยู่เรียกว่ า ออลแฟกทอรี ่ บัลบ์ (olfactory bulb)
  • 162. จมูกกับการดูดกลิน ่ • เซลล์ ประสาทรับกลิน (olfactory neuron)สามารถทีจะ ่ ่ • เปลียนสารที่ทาให้ เกิดกลินเป็ นกระแสประสาท ่ ่ • แล้ วส่ งต่ อไปตาม เส้ นประสาทรับกลิน (olfactory nerve)ไปยัง ่ สมองส่ วนซีรีบรัมเพือแปลเป็ นกลินออกมา ่ ่
  • 164. ลินกับการรับรส ้ • ด้ านบนของผิวลินจะมีปุ๋มเล็กๆจานวนมาก ปุ๋ มเหล่านีคอ ปุ๋ มลิน ้ ้ ื ้ (papilla)ซึ่งประกอบด้ วยตุ่มรับรส (taste bud)หลายตุ่ มทาหน้ าทีรับรส ่ • แต่ ละตุ่มรับรสจะมีเซลล์รับรส (gustatory cell)ซึ่งต่ อกับใยประสาท • เมื่อตุ่มรับรสได้ รับการกระตุ้นจะเกิดกระแสประสาทส่ งไปตาม เส้ นประสาทสมองคู่ที่ 7 และ 9 • ไปยังสมองส่ วนซีรีบรัมบริเวณศูนย์ รับรสเพือแปลออกมาว่ าเป็ นรสอะไร ่
  • 165. ลินกับการรับรส ้ ตุ้มรับรส มี 4 ชนิด กระจายอยู่บนลิน ได้ แก่ ้ • ตุ่มรับรสหวาน อยู่ทปลายลิน ี่ ้ • ตุ่มรับรสขม อยู่ทโคนลิน ่ี ้ • ตุ่มรับรสเปรี้ยว อยู่ทข้างลิน ี่ ้ • ตุ้มรับรสเค็ม อยู่ทปลายและข้ างลิน ี่ ้
  • 166. ลินกับการรับรส ้ การรับรู้ รสอาหาร เกิดจาก การทางานของอวัยวะหลาย ส่ วนเข้ ามาเกียวข้ อง เช่ น ถ้ าดืมนามะนาวเย็นๆ ่ ่ ้ • จะได้ รสเปริ้ยวจากกลิน ่ • ได้ กลินมะนาวจากจมูก ่ • รู้ สึกเย็นจากลินทีสัมผัสกับนามะนาว ้ ่ ้
  • 167. ผิวหนังกับการรับความรู้ สึก • นอกจากผิวหนังเป็ นอวัยวะทีห่อหุ้มร่ างกายแล้ วยังจัดเป็ น ่ อวัยวะรับความรู้ สึกทีมีพนทีผวรับความรู้ สึกมากกว่ าอวัยวะอืน ่ ื้ ่ ิ ่
  • 168. ผิวหนัง(skin) • มีหน่ วยรับความรู้ สึกซึ่งไวต่ อการกระตุ้นเฉพาะอย่ างเช่ น 1. หน่ วยรับความดัน มีลกษณะคล้ ายหัวหอมผ่ าซีก ั 1.1 มีเดนไดรต์ อยู่ตรงกลาง 1.2 มีเนือเยือเกียวพันหุ้มปลายประสาทอยู่รอบๆ ้ ่ ่ 1.3 ฝังลึกอยู่ในผิวหนังบริเวณหนังแท้ (dermis)
  • 169. ผิวหนัง(skin) 2. หน่ วยรับความรู้ สึกเจ็บปวด มีลกษณะปลายแตกเป็ นฝอย ปลาย ั เดนไดรต์ แทรกอยู่ในชั้นหนังกาพร้ า (epidermis) 3. หน่ วยรับสั มผัส บางหน่ วยอยู่เป็ นอิสระ บางหน่ วยพันอยู่รอบ โคนขน เมื่อลูบเส้ นขนเบาๆก็จะรับรู้ การสั มผัสได้ เช่ นกัน 4. หน่ วยรับความรู้ ลกหน่ วยรับความรู้ สึกร้ อนเย็นอยู่ในชั้นหนังแท้ ึ