SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  100
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย (Basis of law)
กฎหมาย (Law) กฎเกณฑ์ที่วางระเบียบเพื่อการอยู่
ร่วมกันของคนในสังคม โดยมี
สภาพบังคับของคนในสังคม
** ใช้บังคับทุกคน ไม่จากัดเพศ อายุ การศึกษา
** กฎหมายนั้นจะมีผลบังคับใช้ไปตลอดจนกว่ารัฐจะประกาศเลิก
ลักษณะของกฎหมาย
1. กฎหมายเป็ นคาสั่ง/ข้อบังคับที่เกิดจากรัฐาธิปัติย์
2. กฎหมายเป็ นคาสั่ง/ข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไปใน
เขตประเทศ/รัฐนั้น
3. กฎหมายเป็ นข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอ
4. กฎหมายมีสภาพบังคับ (sanction)
ความสาคัญของกฎหมาย (The importance of law)
1. กฎหมายเป็ นเครื่องมือ
ในการพัฒนาสังคม
เมื่อสังคมใหญ่ขึ้น ทาให้รัฐต้อง
สร้างกฎหมายเพื่อให้ความ
ยุติธรรม
2. กฎหมายเป็ นเครื่องมือ
ของรัฐในการบริหาร
ประเทศ
กฎหมายเป็ นกติกาของสังคมที่
ออกโดยรัฐ รัฐจึงใช้กฎหมาย
ในการควบคุมความสงบสุข
และความมั่นคงของประเทศ
3. กฎหมายเป็ น
ตัวกาหนดความสัมพันธ์
ทุกคนมีบทบาทและสถานภาพ
กฎหมายจึงมีหน้าที่กาหนด
ความสัมพันธ์ของบุคคล มิให้
เกิดการละเมิด
4. กฎหมายเป็ นเครื่องมือ
ในการรักษาความสงบ
เรียบร้อยในสังคม
สังคมประกอบด้วยคนจานวน
มาก ที่แตกต่างกันมัก
ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง
ทาให้จาเป็ นต้องมีกฎหมาย
ประเภทกฎหมาย (Type of law)
การแบ่งตาม
ความสัมพันธ์
ของคู่กรณี
กฎหมายมหาชน (Public law)
กฎหมายเอกชน (Private law)
กฎหมายระหว่างประเทศ
(International law)
คน:คน ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
คน:รัฐ ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ , อาญา
รัฐ:รัฐ ใช้กฎหมายแผนกคดีเมือง คดี
บุคคล คดีอาญา
การแบ่งประเภท
ตามบทบาทของ
กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
(Substantive law)
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
(Legal method is provided)
(เนื้อความ) ได้แก่ ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ ประมวลกฎหมาย
อาญา
(วิธีดาเนินคดี) ได้แก่ ประมวล
กฎหมายพิจารณาความแพ่ง ประมวล
กฎหมายพิจารณาความอาญา
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ศักดิ์หรือลาดับชั้นของกฎหมาย(Hierarchy of law)
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวล
กฎหมาย พระราชกาหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง
ข้อบัญญัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กฎหมายที่สาคัญ
กฎหมายสูงสุดของประเทศ แสดง
ภาพรวมของประเทศ กาหนดการใช้
อานาจอธิปไตย และกาหนดเสรีภาพ
หน้าที่ของประชาชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
(Constitution)
กฎหมายใดจะขัดต่อรัฐธรรมนูญมิได้
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ ายนิติบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญ
(Organic law)
ทาหน้าที่ขยายรายละเอียดที่
อยู่ในรัฐธรรมนูญ ให้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น ได้แก่
* พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาพรรคการเมือง, คณะกรรมการการเลือกตั้ง,
การออกเสียงประชามติ, ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา, การป้ องกันและ
ปราบปรามการทุจริต, วิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทาง
การเมือง, การตรวจเงินแผ่นดิน
(พ.ร.บ) กฎหมายที่กษัตริย์ตรา
ขึ้นตามคาแนะนาและยินยอม
ของรัฐสภา ผ่านกระบวนการ
ต่างๆทางรัฐสภา กษัตริย์ลง
พระปรมาภิไธย และประกาศใน
พระราชกิจจานุเบกษา ก็มีผล
บังคับใช้เป็นกฎหมายได้
พระราชบัญญัติ (Act)
** พ.ร.บ เป็ นกฎหมายที่ไม่มีการจัดหมวดหมู่ แต่ถ้านา พ.ร.บ
เรื่องเดียวกันมาจัดเป็ นหมวดหมู่ เรียกว่า ประมวลกฎหมาย
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ ายบริหาร
พระราชกาหนด
(Emergency decree)
**พ.ร.ก. จึงเป็นกฎหมายจึง
เป็นกฎหมายชั่วคราว
กฎหมายที่ทาตอนประชุมไม่ทัน
เรื่องราวเร่งด่วน เช่น เหตุการณ์
ฉุกเฉินทางเศรษฐกิจ สงคราม
แต่เมื่อใช้ไปแล้วต้องกลับมาใช้สภา
ถ้าสภาเห็นชอบ(อนุมัติ) จะเป็ น
พ.ร.ก. ถาวร(ศักดิ์เท่า พ.ร.บ) แต่
ถ้าสภาไม่เห็นชอบ ก็ตกไป
กฎหมายบริวาร ช่วยขยายรายละเอียดใน
พ.ร.บ ในส่วนที่ไม่สามารถให้รายละเอียดไว้
ได้ (สามารถออกโดยไม่ต้องให้สภาเห็นชอบ)
พระราชกฤษฎีกา(Royal decree)
พ.ร.ฎ.
กฎกระทรวง
(Ministerial regulation)
กฎหมายบริวาร ออกโดยรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงนั้นๆ (ต้องเป็นเรื่องไม่สาคัญ ถ้า
เป็นเรื่องสาคัญต้องตราเป็น พ.ร.ฎ.)
กฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อบัญญัติองค์กรบริหารส่วนตาบล
ออกโดยองค์กรบริหารส่วนจังหวัด
ออกโดยองค์กรบริหารส่วนตาบล
เทศบัญญัติ
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร
ข้อบัญญัติเมืองพัทยา
ออกโดยสภาเทศบาล
ออกโดยสภากรุงเทพมหานคร
ออกโดยสภาเมืองพัทยา
ศาลในประเทศไทย
องค์กรที่ใช้อานาจในการพิพากษาคดีให้
ความเป็นธรรมแก่ประชาชน ซึ่งต้อง
ดาเนินให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ
กฎหมาย และในพระปรมภิไธยของ
กษัตริย์
ศาล
ศาลรัฐธรรมนูญ ทาหน้าที่ควบคุมกฎหมายมิให้ขัดแย้งกับ
รัฐธรรมนูญ พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับ
คุณสมบัติ อานาจหน้าที่ของสมาชิก
รัฐสภา คณะรัฐมนตรี หน้าที่ที่กาหนดใน
รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม พิพากษาคดีทั่วไปประกอบด้วย
1. ศาลชั้นต้น 2. ศาลอุทรณ์
3. ศาลฎีกา
ศาลปกครอง
ตรวจสอบอานาจของราชการ
พิจารณาคดีข้อพิพาทระหว่าง
หน่วยงานของรัฐกับหน่วยงาน
ของรัฐ หรือรัฐกับเอกชน
ศาลทหาร เป็นศาลที่แยกจากพลเรือน
พิจารณาคดีที่มีความผิด
เกี่ยวกับกฎหมายทหาร หรือ
ทหารกระทาความผิดกฎหมาย
อื่นทางอาญา
ข่าว
นักเรียนเคยไหม?
ฝากเงินแล้วเงินในบัญชีหาย
กฎหมายแพ่งในชีวิตประจาวัน
กฎหมายแพ่งที่ควรรู้
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับบุคคล
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติ
กรรมสัญญา
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับครอบครัว
บุคคลธรรมดา
นิติบุคคล
สภาพบุคคล
การกู้ยืมเงิน
การซื้อขาย
การค้าประกัน
การจานา
การจานอง
การขายฝาก
การหมั้น
การสมรส
ความสัมพันธ์
เกี่ยวกับ
ทรัพย์สิน
ระหว่างสามี
ภรรยา
กฎหมายแพ่ง (Civil law)
กฎหมายที่กาหนดสิทธิ หน้าที่ และความ
รับผิดชอบระหว่างเอกชนในฐานะที่ทั้งสองฝ่ายมี
ฐานะเท่าเทียมกัน กฎหมายประเภทนี้ ได้แก่
ประมวลกฎหมายแพ่ง
ชื่อกฎหมายซึ่งรวบรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องทางแพ่งและ
พาณิชย์จัดหมวดหมู่ระเบียบให้เข้าด้วยกัน
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับบุคคล (Civil about the person law)
บุคคลตามกฎหมายมี 2 ประเภท คือ
1. บุคคลธรรมดา(Layman)
2. นิติบุคคล (Entity)
ผู้ที่คลอดจากครรภ์มารดาและ
รอดชีวิตเป็นทารก
เริ่มสภาพเมื่อจดทะเบียนต่อ
เจ้าหน้าที่ เพื่อดาเนินกิจกรรมอันใด
อันหนึ่ง
กระทรวง ทบวง กรม วัดที่จดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียน บริษัท
จากัด สมาคม มูลนิธิ
การล้มละลายของบุคคล
ไม่ถือว่าเป็ นการสิ้น
สภาพบุคคล
การล้มละลายของบุคคล
ธรรมดาคือการเป็ น
หนี้สินเกิน 1 ล้านบาท
การล้มละลายของนิติ
บุคคล ถือเป็ นการสิ้นสุด
การเป็ นสภาพบุคคล
การล้มละลายของนิติ
บุคคล คือการเป็ นหนี้สิน
เกิน 2 ล้านบาท
สถานภาพ
ชื่อ ภูมิลาเนา
1. ชื่อ - ผู้มีสัญชาติไทย ต้องมีชื่อตัว ชื่อสกุล และจะ
มีชื่อรองก็ได้
2. ภูมิลาเนา - เป็ นสภาพซึ่งเป็ นที่อยู่ของบุคคลตาม
กฎหมาย
สถานะบุคคล (State guests)
สถานะภาพบุคคล
(State guests)
เกิด
แจ้ง 15 วัน
ต่อเจ้าหน้าที่
ตาย
แจ้ง
ภายใน 24
ชม.
การสมรส
ต้องมีการจด
ทะเบียนสมรส
การหย่า
-จะเบียน
-โดยคา
พิพากษา
สัญชาติ
ทาให้บุคคลมี
สิทธิ หน้าที่
ความสามารถของบุคคล
ความสามารถของบุคคลที่จะใช้สิทธิ
ตามที่กฎหมายรองรับไว้ ว่าผู้นั้นจะได้
ตามลาพัง หรือถูกจากัดความสามารถ/
สิทธิ
1.ผู้เยาว์ บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
บุคคลที่จะบรรลุนิติภาวะได้ก็ต่อเมื่อ
1. อายุ 20 ปีบริบูรณ์
2. โดยการสมรส
ผู้เยาว์จะทานิติกรรมได้ก็ต่อเมื่อ ได้รับความ
ยินยอมจากผู้ปกครอง/ผู้แทนโดยชอบธรรม
ก่อน
2. คนไร้ความสามารถ
คนวิกลจริต ที่ต้องคาสั่งศาลแล้วเท่านั้น
ผู้ดูแล ผู้อนุบาล
คนไร้ความสามารถจะทานิติกรรมใดๆ ต้องขอความยินยอมจาก
ผู้อนุบาลก่อน มิฉะนั้นจะตกเป็ นโมฆียะ
-หากคู่กรณีรู้ว่าวิกลจริต
- หากไม่รู้ว่าวิกลจริต
กรณีเป็ นเพียงแค่คนวิกลจริต (ศาลยังไม่สั่งให้เป็ น
คนไร้ความสามารถ) ทานิติกรรม ผลเป็ นอย่างไร
3. คนเสมือนไร้ความสามารถ
พวกกายพิการ จิตฟั่นเฟือน
เด็กเสเพล ขี้เมา ไม่สามารถ
จัดทางานของตนได้ แล้วต้อง
คาสั่งศาล
สามารถทานิติกรรมบางอย่างได้แต่บางอย่างต้องได้รับความยินยอม
จากผู้พิทักษ์ก่อน
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา
นิติกรรม
การทาข้อผูกพันในทางกฎหมาย
ระหว่างบุคคลด้วยความสมัครใจ
เพื่อก่อให้เกิดสิทธิต่างๆ
1. ความสามารถของผู้ทานิติกรรม
2. วัตถุประสงค์ของนิติกรรม
3. แบบของนิติกรรม
4. การแสดงเจตนาทานิติกรรม
นิติกรรมจะสมบูรณ์ (ไม่เป็ นโมฆะ หรือโมฆียะ)
ต้องพิจารณาอะไรบ้าง?
คือ นิติกรรมที่เสียเปล่า ไม่มี
ผลบังคับใช้ทางกฎหมาย
**(ถูกบอกเลิกก่อนนิติกรรมสมบูรณ์)
กรณีการเป็ นโมฆกรรม
1. สิ่งที่ไม่สามารถบังคับได้
2. เป็นสิ่งที่ขัดกับกฎหมาย
คือ นิติกรรมสมบูรณ์ทางกฎหมาย ถ้า
ไม่มีการบอกล้างก็มีผลบังคับใช้ต่อไป
จนกว่าจะถูกบอกล้าง จึงถือว่าเป็น
โมฆียกรรม
โมฆียกรรม
**(นิติกรรมสมบูรณ์ แต่ถูกบอกเลิกที่หลัง)
1. นิติกรรมฝ่ ายเดียว
เกิดจากเจตนาของบุคคลฝ่ ายเดียว
ได้แก่ การก่อตั้งมูลนิธิ การทา
พินัยกรรม
1. นิติกรรมสองฝ่ าย
คือนิติกรรมที่เกิดขึ้น โดยเจตนาของบุคคล
2ฝ่ายขึ้นไป โดยความสมัครใจ
ได้แก่ สัญญาซื้อขาย เช่าซื้อ
จานอง จานา
นิติกรรมสองฝ่าย/หลายฝ่าย ที่เกิดจากการแสดงเจตนาให้
กระทา หรือ งดเว้นการกระทาอย่างใด อย่างหนึ่ง
สัญญาที่กระทาทางกฎหมายที่ถือว่า
เสียเปล่า ไม่มีผลบังคับหรือผูกพัน
ตามกฎหมาย ตั้งแต่แรก
สัญญานั้นกระทาตามกฎหมายมีผล
บังคับใช้ หรือผูกพันตามกหมาย แต่
ถูกบอกเลิกทีหลัง
กฎหมายทรัพย์และทรัพย์สิน
ทรัพย์สิน
วัตถุที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคา
และอาจถือเอาได้
บ้าน ที่ดิน เป็ นวัตถุที่มีรูปร่าง
ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เป็ นวัตถุไม่มีรูปร่าง
1. สังหาริมทรัพย์
คือ ทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายได้
1) ทรัพย์เคลื่อนย้ายได้
2) กาลังแรงธรรมชาติที่ถือเอาไว้ได้
3) ไม้ล้มลุก พืชเก็บเกี่ยวผล
4) สิทธิในสังหาริมทรัพย์
2. อสังหาริมทรัพย์
คือ ทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายไม่ได้
1) ที่ดิน กรวด ทราย
2) ที่ติดอยู่กับที่ดิน ได้แก่ ไม้ยืนต้น รั้ว
ตึก บ้าน
3) สิทธิในอสังหาริมทรัพย์
3. สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
คือ ทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายได้ แต่ยาก
เรือระวาง 5 ตันขึ้นไป แพ สัตว์พาหนะ
เครื่องจักร อากาศยาน
นิติกรรมที่ควรรู้
การซื้อขาย
การที่ผู้ขายโอนสิทธิแห่ง
ทรัพย์สินนั้น ให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งที่
เรียกว่าผู้ซื้อ โดยการตกลงจา
ชาระในทรัพย์สินนั้น
กรณี ที่มีการซื้อขายสังหาริมทรัพย์ตั้งแต่ 20,000บาทขึ้นไป ต้อง
วางมัดจาเป็นเงินบางส่วน
การกู้ยืมเงิน การที่บุคคลหนึ่งคือ ผู้กู้ ได้ขอ
ยืมเงินจานวนหนึ่ง จากบุคคล
อีกคนหนึ่งคือ ผู้ให้กู้ และต้อง
ชาระคืนตามกาหนด
ผู้กู้จะต้องจ่ายค่าตอบแทนในรูปดอกเบี้ยกฎหมายกาหนดให้คิด
ดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 15 /ให้ดอกเบี้ยตามกฎหมาย ร้อยละ7.5
การค้าประกัน การที่บุคคลหนึ่งพัวพันตน
กับเจ้าหนี้ ว่าจะชาระหนี้เมื่อ
ลูกหนี้ไม่ชาระหนี้สินนั้น
มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือ
ชื่อผู้ค้าประกันเป็นสาคัญ
การจานา
สังหาริมทรัพย์
เท่านั้น
ผู้จานา ส่งมอบทรัพย์
ให้แก่บุคคลหนึ่งที่
เรียกว่า ผู้รับจานา เพื่อ
เป็ นประกันในการชาระ
หนี้
ต้องมีหนังสือที่เป็นรายลักษณ์อักษร
การจานอง
อสังหาริมทรัพย์
และ
สังหาริมทรัพย์
ชนิดพิเศษ
ผู้จานอง ส่งมอบทรัพย์
ให้แก่บุคคลหนึ่งที่
เรียกว่า ผู้รับจานอง
เพื่อเป็ นประกันในกา
ชาระหนี้
ต้องมีหนังสือสัญญาเป็ นลายลักษณ์อักษร จดทะเบียนต่อ
เจ้าหน้าที่เป็ นสาคัญ
การขายฝาก
สัญญาซื้อขายซึ่ง
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
ตกเป็ นของผู้ซื้อ โดยมี
ข้อตกลงว่า “ผู้ขายจะไถ่
คืนทรัพย์สินนั้นคืนได้”
** สังหาริมทรัพย์ ให้เวลา 3 ปี
*** อสังหาริมทรัพย์ ให้เวลา 10 ปี
การเช่าทรัพย์ การใช้ทรัพย์สินของบุคคลอื่น
เป็นการชั่วคราว โดยจ่ายค่า
เช่าเป็นการตอบแทน
อสังหาริมทรัพย์ - จะต้องทาเป็ นหนังสือ
จดทะเบียนต่อพนักงาน ให้เช่าได้ไม่เกิน
30 ปี
สังหาริมทรัพย์ - ไม่จาเป็ นต้องมีหลักฐาน
เป็ นหนังสือ
การเช่าซื้อ สัญญาที่เจ้าของทรัพย์ (ผู้ให้เช่า)
นาเอาทรัพย์ออกให้เช่า และให้
คามั่นสัญญาว่า จะขาย เมื่อผู้เช่า
จ่ายครบตามที่สัญญากาหนดไว้
สัญญาเช่าซื้อต้องทาเป็ นหนังสือ ลงลายมือชื่อสัญญาทั้ง 2
ฝ่ าย
1. การหมั้น การที่ฝ่ ายชายได้ส่งมอบขอ/โอน
ทรัพย์สินให้กับฝ่ ายหญิง เพื่อเป็ น
หลักฐาน ว่าจะสมรสกับหญิงนั้น
การคืนของหมั้น
** กรณีที่หญิงผิดสัญญาต้องคืนของหมั้นให้ฝ่ายชาย
*** ถ้าชายผิดสัญญา หญิงไม่ต้องคืนของหมั้น
2. การสมรส
การที่ชายหญิงสมัครใจเข้ามาอยู่กิน
กันฉันสามีภรรยา โดยถูกต้องตาม
กฎหมาย
คุณสมบัติของผู้ที่จะ
จดทะเบียนสมรส
1. ชาย-หญิง ที่มีอายุ20 ปี บริบูรณ์
2. ชาย-หญิง ที่มีอายุ17 ปี บริบูรณ์ ต้องได้รับ
ความยินยอมจากผู้ปกครอง
 ต้องไม่มีคู่สมรสอยู่แล้ว
 จะสมรสกับสามีใหม่ ก็ต่อเมื่อการสมรสครั้งก่อนสิ้นสุดลง
แล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน เว้นแต่คู่สมรสเดิม /มีใบรับรอง
แพทย์
ได้แก่ ตาย หย่า ศาลพิพากษา (มีเหตุต้องหย่า)
1. จงใจละทิ้งไม่น้อยกว่า 1 ปี
2. มีการเหยียดหยามกัน
3. พบว่าชายหรือหญิงไปร่วมประเวณีกับผู้อื่น
4. กรณีฟ้ องแยกกันอยู่ได้ แต่ไม่เกิน 3 ปี ขึ้นไปให้
สามารถฟ้ องหย่าได้
3. ความสัมพันธ์
เกี่ยวกับทรัพย์สิน
ระหว่าง สามี-ภรรยา
สินส่วนตัว
ทรัพย์สินที่เป็ น
กรรมสิทธิ์ของคู่สมรสฝ่ าย
ใดฝ่ ายหนึ่งโดยเฉพาะ
ทรัพย์สินที่ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอยู่เดิมก่อนสมรส,
เครื่องใช้สอยส่วนตัว, ทรัพย์สินที่เป็ นของหมั้น, ทรัพย์ที่
ได้รับระหว่างการสมรสโดยรับมรดกหรือได้โดยเสน่หา,
สินส่วนตัวที่ได้แลกเปลี่ยนหรือซื้อเป็ นทรัพย์อื่น
สินสมรส
ทรัพย์สินที่เป็ นกรรมสิทธิ์ร่วมกันของสามี
และภรรยา
ได้แก่
ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างการสมรส, มรดกที่
ระบุไว้ว่าเป็ นสินสมรส, ดอกผลของสินส่วนตัว
การจัดการสินสมรสต้องจัดการร่วมกันหรือได้รับความยินยอมจาก
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งก่อน
ถ้าไปจัดการโดยลาพังถือว่าผลนั้นไม่สมบูรณ์ ศาลสั่งเพิกถอนได้
1. บุตรชอบด้วยกฎหมาย
= พ่อแม่จดทะเบียนสมรสกัน
= พ่อไม่ได้จดทะเบียน โดยพ่อ
ไม่รู้ว่าตัวเองมีลูก
2. บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองไว้แล้ว
พ่อแม่ไม่ได้จดทะเบียน แต่พ่อรู้ว่ามีลูก
บุตรมีสิทธิรับมรดกของบิดา แต่ไม่มีสิทธิ
เรียกร้องความสนใจ
“ บุตรจึงเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของมารดาเสมอ”
3. บุตรบุญธรรม
ผู้รับรองบุตรบุญธรรมจะต้องมีอายุไม่ต่า
กว่า 25 ปี และจะต้องมีอายุแก่กว่าผู้จะเป็นบุตร
บุญธรรม 15 ปี
มรดก
คือ
หาได้จากสินส่วนตัว + สินสมรส
2
ทายาท
พินัยกรรม
ทายาท
= ผู้ที่รับมรดกตามที่พินัยกรรมระบุไว้
= คู่สมรส + ญาติตามสายโลหิต 6 ลาดับ
1. บุตร 2. บิดามารดา 3. พี่น้องร่วมบิดามารดา
4. พี่น้องร่วมบิดาหรือมารดา 5. ปู่ ย่าตายาย 6. ลุงป้ าน้าอา
พินัยกรรม
= ไม่จาเป็นต้องมีพยาน
= ต้องมีพยาน เซ็นชื่อพร้อมกัน 2 คนเท่านั้น
= คาสั่งเสียของผู้เสียชีวิต
กรณี พินัยกรรม หลายฉบับ ให้ดูวันที่ทาพินัยกรรมล่าสุด
กฎหมายอาญา
(Criminal law)
กฎหมายที่บัญญัติว่าการกระทาหรือการงดเว้น
การกระทานั้นมีความผิดอย่างใดเป็ นความผิด
และกาหนดโทษอาญาสาหรับความผิดนั้น
กฎมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง ในทางที่ให้โทษแก่ผู้กระทาผิด การกระทาผิด
จะไม่เป็ นโทษก็ต่อเมื่อไม่ได้บัญญัติไว้ว่าต้องรับโทษ
การกระทาความผิดทางอาญา
(criminal offense)
การกระทาที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนส่วนใหญ่
ของสังคม เมื่อบุคคลใดกระทาความผิดทางอาญาก็
จะต้องได้รับโทษตามกฎหมาย
แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
1. ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดทางอาญาที่มีผลต่อผู้รับผลร้าย คือ
ประชาชนทั่วไป แล้วยังมีผลกระทบที่มีความ
เสียหายต่อแผ่นดิน
ดังนั้น แม้ผู้รับผลร้ายจะไม่ติดใจเอาความ แต่รัฐต้องเข้าไป
ดาเนินคดีต่อ เช่น การฆ่าคนตาย การปล้นทรัพย์ เป็ นต้น
2. ความผิดอันยอมความกันได้
ความผิดทางอาญาที่ไม่มีผลร้ายกระทบต่อสังคม
โดยตรง
หากผู้รับผลร้ายไม่ติดใจเอาความ รัฐก็
ไม่อาจเข้าไปดาเนินคดีต่อได้ เช่น คดีหมิ่น
ประมาท คดีเกี่ยวกับเสรีภาพ เป็นต้น
การรับโทษทางอาญา
1. เหตุที่กฎหมายถือว่าไม่เป็ นความผิด
การกระทาเพื่อป้ องกันตัวเอง โดยไม่สามารถ
หลีกเลี่ยงได้
2. เหตุที่กฎหมายยกเว้นโทษ(แต่ผิด)
การกระทาด้วยความจาเป็ น การกระทา
ตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน การกระทา
ผิดโดยไม่รู้สานึก(คนวิกลจริต)
เด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และสาหรับเด็กอายุ10 – 15 ปี
(อาจใช้วิธีการสาหรับเด็ก)
2. เหตุที่กฎหมายลดหย่อนโทษ(แต่ผิด)
ได้แก่ เยาวชนที่กระทาผิด
(อายุ15 ปี – 18 ปี รับโทษกึ่งหนึ่งของโทษนั้น
อายุ18 ปี – ไม่เกิน 20 ปี รับโทษ สามในสี่ของโทษนั้น)
การกระทาผิดโดยบันดาลโทสะ บุพการีกับผู้สืบสันดาน
2. ความผิดลหุโทษ
ความผิดเล็กๆ น้อยๆ ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท
กวนโอ๊ยตามที่สาธารณชน เปลือยกายต่อหน้า
สาธารณะ
การกระทาผิดที่เป็นการกระทาผิด
พิจารณา !
1. การกระทา ผิด หรือไม่ผิด
กฎหมายระบุไว้หรือไม่
2. องค์ประกอบภายนอก
ผู้ใด ฆ่า ผู้อื่น
= = =
ประธาน กริยา กรรม
กริยา
= คิด
ตระเตรียม
กระทา
3. องค์ประกอบภายใน
เจตนา ไม่เจตนา ประมาท
4. ผลสัมพันธ์กับการกระทา
เป็ นเหตุสุวิสัยหรือไม่
โทษทางอาญา
สภาพบังคับของกฎหมายอาญาเมื่อมีการฝ่าฝืนกฎหมาย
ประหารชีวิต จาคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์
ผู้กระทาความผิดทางอาญา
1. ผู้กระทา
ความผิดด้วยตนเอง
ผู้กระทาผิดลงมือด้วย
ตนเอง
2. ร่วมกระทา
ความผิด
การกระทาผิดที่ผู้อื่น
กระทาด้วย
ตัวการ = ผู้ร่วมกระทาผิด
ผู้ใช้ให้ผู้อื่นกระทาผิด = ใช้ให้ผู้อื่นทาผิด
ผู้สนับสนุน = ช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกแก่ผู้กระทาผิด
ความผิดทางอาญา
1. ความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และ
เสรีภาพของผู้อื่น
2. ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
ความผิดฐานฆ่าคนตาย
การฆ่าไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ จะตั้งใจก็ตาม หรือไม่
ตั้งใจก็ตาม
ความผิดฐานทาร้ายร่างการผู้อื่น
- ทาร้ายไม่เป็นอันตรายแก่ร่างกาย ** ตบหน้า
- ทาร้ายเป็นอันตรายแก่ร่างกาย **ตบหน้าจนช้า
บวม
- ทาร้ายเป็นอันตรายสาหัส
**ตบหน้าจนหูหนวก
- ทาร้ายจนถึงตาย
** ทาร้ายจนสาหัสต่อมาตาย
1) ความผิดฐานลักทรัพย์
เอาทรัพย์คนอื่นไปโดยเจ้าของทรัพย์ไม่
ยินยอม เช่นโขมยกระเป๋ า
2) ความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
เอาทรัพย์คนอื่นไปโดยการฉกฉวยเอาซึ่งหน้า เช่น
โขมยโดยการกระชากกระเป๋ า
เอาทรัพย์คนอื่นไปโดยเจ้าของทรัพย์ไม่ยินยอม และ
ประทุษร้ายร่างกาย และขู่เข็ญ
3) ความผิดฐานชิงทรัพย์
4) ความผิดฐานปล้นทรัพย์
เอาทรัพย์คนอื่นไปโดยเจ้าของทรัพย์ไป คนร้ายร่วมกัน
ทา 3 คนขึ้นไปและประทุษร้ายร่างกาย และขู่เข็ญ
การที่บุคคลหนึ่งได้ทรัพย์บุคคลหนึ่งไว้ในครอบครอง
เช่น ฝาก หน้าที่ที่ต้องรับ แล้วเบียดบังทรัพย์นั้นไว้เป็น
ของตน
5) ความผิดฐานการยักยอกทรัพย์
การที่ใช้วิธีหลอกลวงคนอื่น เพื่อให้ได้ทรัพย์บุคคลอื่น
(ยอมความได้ แต่ 10 คนขึ้นไปถือเป็ นการฉ้อโกง
ประชาชนยินยอมไม่ได้)
6) ความผิดฐานฉ้อโกง
รับสิ่งของที่ได้มาโดยวิธีการที่ผิดกฎหมาย
(แม้จะคืนให้เจ้าของก็ยังมีความผิดอยู่)
7) ความผิดฐานรับของโจร
เข้าไปรบกวน หรือเข้าไปอาศัยที่อยู่บุคคลอื่น โดยผู้บุก
รุกไม่มีสิทธิทาเช่นนั้นและเจ้าของไม่ยินยอม
8) ความผิดฐานบุกรุก
สิทธิของผู้บริโภค
1. สิทธิในการรับข่าวาร
2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกซื้อสิ้นค้าและบริการ
3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือ
บริการ และสิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทาสัญญา
4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความ
เสียหาย
หน่วยงานที่ดาเนินการคุ้มครอง
ผู้บริโภค มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และ
คณะกรรมการการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นผู้
ดาเนินงาน
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มีหน้าที่
1. พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภค 2.ดาเนินกับสิ้นค้าที่เป็ น
อันตราย
3. แจ้งโฆษณาสิ้นค้าที่เป็ นอันตราย 4.ดาเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิด
สิทธิของผู้บริโภค
ขอบเขตการคุ้มครองผู้บริโภค
1. การคุ้มครอง
ด้านการโฆษณา
ข้อความที่ไม่เป็ นธรรมกับ
ผู้บริโภค และส่งผลเสียต่อสังคม
2. การคุ้มครอง
ด้านฉลาก
ต้องใช้ข้อความที่เป็ นจริง
3. การคุ้มครอง
ด้านสัญญา
ประเภทธุรกิจ ต้องมีการคุ้มครอง
สัญญาเพื่อให้ผู้บริโภคปลอดภัย
และเป็ นธรรม
ชายไทยทุกคน ยกเว้น พระภิกษุสงฆ์ คนพิการ ทุพพลภาพ
อายุ21 ปี
ต้องไปขึ้นบัญชีทหารกองเกิน ต่อ
สัสดีอาเภอที่ตนมีภูมิลาเนาอยู่อายุ18 ปี
ต้องไปแสดงตนเพื่อรับหมายเรียก
เพื่อตรวจคัดเลือกเข้ารับราชการ
ทหาร
1. ภาษีเงินได้
เรียกเก็บจากผู้มีรายได้ที่ทางาน หรือประกอบ
กิจการ
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
2. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
จัดเก็บจากสิ่งปลูกสร้างต่างๆ
ยกเว้น
ทรัพย์สินของทางราชการ ศาสนสถาน
บริการสาธารณะ
3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
เก็บจากมูลค่าเพิ่ม ในแต่ละขั้นตอนการผลิต
เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.3535 แทนภาษี
การค้า
เก็บ ร้อยละ 7
4. ภาษีสรรพสามิต
1. เก็บจากสิ้นค้าและบริการบางอย่าง ได้แก่ น้ามัน
รถยนต์ เครื่องไฟฟ้ า เครื่องดื่ม รถจักรยานยนต์ หิน
อ่อน สถานบริการ
2. เก็บจากภาษีโดยใช้อากรแสตมป์ ปิดตราสาร เช่น
สัญญาเช่า สัญญากู้ยืมเงิน
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ
ภาคของบุคคลที่ได้รับรองไว้ตามราชธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย
กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
คือ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
หลักสิทธิมนุษยชน
1. สิทธิอันพึงมีพึงได้ของมนุษย์ซึ่งเป็นสากล
ดาเนินชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี และมีสิทธิในปัจจัยที่
เป็นทางในการพัฒนาตน ได้แก่ รับการศึกษา มีส่วนร่วมในกร
จัดการทรัพยากร มีส่วนร่วมทางการเมือง
2. กระบวนการประกันสิทธิพึงมีพึงได้
คณะกรรมการร่างปฏิญญาและสมัชชาสหประชาชาติ ให้วันที่ 10
ธันวาคม 2491 เริ่มมีการปฏิบัติการกระบวนการเพื่อประกันสิทธิใน
เป็ นไปในแนวทางเดียวกันทั่วโลก
ประเทศไทย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนโดยตรง
ระหว่างประเทศ
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ/UNICEF)
องค์การนิรโทษกรรมสากล (องค์การอิสระ ทาหน้าที่ป้ องกัน
การละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน)
- ปัญหาทางการเมืองของประเทศไทยมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
- สภาพสังคมในเรื่อง คุณค่าความเป็ นมนุษย์ การ
กระจายอานาจ และการมีส่วนร่วมของประชาชน

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 

Tendances (20)

ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 

En vedette

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003billy ratchadamri
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 

En vedette (7)

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 

Similaire à กฎหมายที่ควรรู้

หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายKroo Mngschool
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 joansr9
 
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56Yosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวMac Legendlaw
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาbilly ratchadamri
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาbilly ratchadamri
 
สื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไปสื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไปพัน พัน
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 

Similaire à กฎหมายที่ควรรู้ (18)

กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
Au01
Au01Au01
Au01
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014
 
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
บุคคล (สภาพบุคคล, ความสามารถ, ภูมิลำเนา, สาบสูญ)
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
สื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไปสื่อกฎหมายทั่วไป
สื่อกฎหมายทั่วไป
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 

กฎหมายที่ควรรู้