SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
ตอนเรียน   B01  กลุ่ม  17 นส . ชญานิษฐ์   จันทะ เลขประจำตัว  52102010228 นายทินภัทร  พิศุทธิ์โกมล เลขประจำตัว  52102010235 นายสุเมธ  โรจน์พงศ์เกษม เลขประจำตัว  52102010246 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา  คส  201  สารสนเทศและการสื่อสารทางคหกรรมศาสตร์ HS 201   Information and Communication for Home Economics ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคการศึกษาที่  2  ปีการศึกษา  2553
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส เราทราบ กันโดยทั่วไปแล้วว่า วิตามินซี มีประโยชน์มากมากหลายอย่าง ไม่ว่าจะช่วยปกป้องเซล เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สุขภาพและความแข็งแรงของเนื้อเยื่อในร่างกายที่เกี่ยวข้องกับ เส้นเอ็น และคอลลาเจน ก็มีผลมาจากปริมาณ วิตามินซี ในร่างกาย และ วิตามินซี ยังมีฤทธิ์ในการเป็นสารแอนตี้อ๊อกซิแดนท์ที่ดี จึงสามารถป้องกันการทำลายเซลจากอนุมูลอิสระได้เป็นอย่างดี และมันช่วยให้ร่างกายสามารถรีไซเคิลสารต้านอนุมูลอิสระตัวอื่นๆ ดังนั้นหากเราได้รับ วิตามินซี น้อยกว่าที่ร่างกายควรจะได้รับ ก็จะเกิดลักปิดลักเปิด ซึ่งจะยิ่งรุนแรงมากขึ้นหากขาดอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานและไม่ต้องกังวัล ว่าจะได้รับมากเกินไป เนื่องจาก วิตามินซี สามารถละลายน้ำได้ดี หากร่างกายไม่ได้ใช้ก็จะมีการขับออกมาได้ทางปัสสาวะ อีกทั้งยังไม่เคยมีรายงานเกี่ยวกับพิษที่เกิดจากการรับประทาน วิตามินซี แม้จะรับประทานในปริมาณที่สูงกว่า  6,000 – 18,000  มิลลิกรัม ในปัจจุบันผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความสนใจด้านสุขภาพ และความงามมากขึ้น จากประโยชน์ที่มากมายของวิตามินซี จึงทำให้มีผู้สนใจบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมวิตามินซีมากขึ้น ทั้งนี้จึงมีความสนใจศึกษาพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมวิตามินซี  เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในเชิงลึก ในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้รับสารอาหารที่สมดุลอีกทั้งการปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร  และการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อเสริมในกรณีที่เหมาะสม
1. เพคตินคือ ' เพคติน  เป็นพอลิเมอร์ชีวภาพ หรือพอลิเมอร์ธรรมชาติ ที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมาช้านานโดยใช้เป็นสารเพิ่มความข้นหนืด สารก่อเจล ในผลิตภัณฑ์แยม เจลลี่ และสารเพิ่มความคงตัวของระบบคอลลอยด์ในเครื่องดื่มน้ำผลไม้และผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเนื้อคล้ายเยลลี่ ในช่วง  2-3  ทศวรรษที่ผ่านมามีการนำเพคทินมาใช้ในทางเภสัชกรรมและอุตสาหกรรมยาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเพคทินมีสมบัติเฉพาะที่ทำให้สามารถนำมาใช้เก็บกักหรือนำส่งยา โปรตีน และเปปไทด์ เป็นต้น และจัดเป็น คาร์โบไฮเดรต ประเภทไฟเบอร์หรือเส้นใยอาหารที่ไม่ถูกย่อยโดย เอนไซม์ ในระบบการย่อยของร่างกายมนุษย์ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักโภชนาการมากขึ้น เพราะจากการวิจัยให้ผลออกมาว่าอาหารที่มีไฟเบอร์สูงจะช่วยป้องกันการเกิดโรคต่างๆ หรือในทางกลับกันคนที่กินอาหารที่มีไฟเบอร์น้อยก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น
เพคตินเป็นโพลีแซคคาไรด์ที่เป็นโครงสร้างของ ผนังเซลล์ ของพืชชั้นสูงเกือบทุกชนิดจัดเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตเช่นเดียวกับ แป้ง และ เซลลูโลส  ค้นพบในศตวรรษที่  18  ทำหน้าที่เป็นสารที่ทำให้เกิด เจล  โดยในปี ค . ศ .1825  Henri   Braconnot ( เภสัชกรและนักพฤกษเคมีชาวฝรั่งเศส )  ได้ตั้งชื่อและริเริ่มศึกษากรรมวิธีการสกัดเพคติน เพคตินมาจากภาษากรีกว่า  “ pektikos”  ซึ่งแปลว่าทำให้ข้นแข็ง หรือทำให้กลายเป็น ของแข็ง  ได้ให้คำจำกัดความของเพคตินว่าเป็น กรดเพคตินิก  ชนิดละลายน้ำได้ซึ่งมีปริมาณหมู่ เมทิลเอสเทอร์ หลากหลาย สามารถเกิดเป็นเจลในสภาวะที่มี น้ำตาล และความเป็นกรดที่เหมาะสมหรือสภาวะที่มีเกลือแคลเซียมร่วมอยู่ด้วย
2. คุณสมบัติ สารกลุ่มเพคตินเป็น โพลีแซคคาไรด์ เชิงซ้อนในพืช พบใน พืชชั้นสูง โดยปรากฏในชั้นระหว่างเซลล์หรือจุดเชื่อมต่อระหว่าง ผนังเซลล์  ทำให้เกิดช่องสำหรับอาหารและ น้ำ ผ่าน ในผนังเซลล์ [7]   สารกลุ่มเพคตินเป็นสารเคลือบเส้นใย เซลลูโลส ที่สำคัญและอาจจะเชื่อมต่อกับ พันธะโควาเลนต์ กับโพลีเมอร์อื่นๆ สารกลุ่มเพคตินจัดจำแนกได้เป็น  โปรโตเพคติน  เพคติน  ( เพคตินมีหมู่  methoxyl  สูง  –  เพคตินจัดตัวเร็วและเพคตินจัดตัวช้า -  และเพคตินมีหมู่  methoxyl  ต่ำ )  และ กรดเพคติก  เพคตินมีอิทธิพลต่อการเจริญ พัฒนาการและการแก่ชรา และมีผลต่อลักษณะเนื้อสัมผัสของเนื้อเยื่อพืชและผลไม้ มีการใช้เพคตินอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารด้วยคุณสมบัติในการก่อรูปเป็นเจล โดยใช้เป็นสารก่อเจและความคงตัวใน แยม   เยลลี่  และผลิตภัณฑ์ นมเปรี้ยว  ผิวของผล พืชตระกูลส้ม  กากผล แอปเปิล  และลำต้นของชูการ์ บีต เป็นแหล่งที่ดีของเพคติน
2.1  สมบัติทางเคมี 1.  การเกิดเจลของเพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลสูงในการเกิดเจลของเพคตินได้จะต้องมีปริมาณน้ำตาล และกรดที่เหมาะสมเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากสายเพคตินจะถูกดึงน้ำออก มีผลทำให้เพคตินมีประจุลบ จึงทำให้ลดแรงระหว่างสายโซ่   (chain-chain interaction) ความเป็นกรด - ด่าง ที่เหมาะสมในการเกิดเจลของเพคตินชนิดที่เกิดเจลได้ช้า และเร็วนั้น คือ   3.2  และ   3.4  ตามลำดับ ที่ความเป็นกรด - ด่างต่ำ ค่า   gel strength  จะเพิ่มมากขึ้น และอุณหภูมิในการเกิดเจลก็จะเพิ่มมากขึ้นด้วย   (May, 1997) สภาวะที่เหมาะสมในการเกิดเจลนั้นมีหลายปัจจัย ที่ระดับความเข้มข้นของน้ำตาลสูงๆ พบว่าค่าความเป็นกรด - ด่างจะเพิ่มมากขึ้น โดยน้ำตาลจะมีผลต่ออัตราการเกิดเจลโดยพบว่าหากใช้กลูโคสไซรัปทดแทนน้ำตาลจะมีผลทำให้   gel strength  ลดลง แต่ต้องใช้อุณหภูมิในการเกิดเจลเพิ่มมากขึ้น ในการใช้น้ำตาลฟรุกโตสทดแทนน้ำตาล จะมีผลต่อ   gel strength  น้อย แต่จะมีผลต่อการลดลงของอุณหภูมิในการเกิดเจล 2.  การเกิดเจลของเพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลต่ำในการเกิดเจลของเพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลต่ำนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย ได้แก่ ปริมาณ   Ca2+  ความเป็นกรด - ด่าง ปริมาณของน้ำตาล ปริมาณของเพคติน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิในการเกิดเจล และค่า   gel strength  ที่ต้องการ ในการเตรียมเจลมาตรฐานต้องประกอบด้วยความเป็นกรด - ด่าง   3.0  ปริมาณน้ำตาล   30%  โดยให้มีเพคติน   1%  และสารประกอบแคลเซียม โดยเพคตินชนิดนี้จะไม่สามารถเกิดเจลได้หากมีปริมาณแคลเซียมไม่เพียงพอ แต่ถ้าหากเพิ่มปริมาณของแคลเซียม ค่า   gel strength  ก็จะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดหนึ่งแล้วจะลดลง อุณหภูมิในการเกิดเจลก็จะเพิ่มขึ้นจากอุณหภูมิปกติ และจุดเดือดจะเพิ่มมากขึ้นตาม   gelstrength  ที่เพิ่มขึ้นการลดลงของค่า   aw  เนื่องจากการละลายของน้ำตาลเพิ่มมากขึ้น จะสามารถเกิดเจลได้ง่าย แม้ว่าจะมี   Ca2+  ต่ำ และเป็นเพคตินที่ไม่ไวต่อ   Ca2+  หากต้องการใช้น้ำตาลเพิ่มขึ้นเป็น   60%  ก็จะต้องใช้   Ca2+  เพิ่มมากขึ้นตามปริมาณของน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น
2.2   คุณสมบัติทางกายภาพ 1.  สมบัติการละลายของเพคตินเพคตินสามารถละลายในน้ำเย็น และทำให้เกิดความข้นหนืดได้เช่นเดียวกับกัมส์ชนิดอื่นๆ แต่ผงเพคตินจับกันเป็นก้อนได้ง่ายมีผลทำให้ละลายได้ช้า และยาก เพคตินจะสามารถละลายได้ดีในน้ำอุ่น หรือน้ำที่มีอุณหภูมิมากว่า   60°C  แล้วทำการผสมด้วยเครื่องผสมความเร็วจากต่ำไปหาสูงสุด ต้องระวังไม่ให้เพคตินจับกันเป็นก้อนเพราะจะทำให้ละลายได้ยาก อีกวิธีที่ละลายเพคตินได้ดีนั้นจะต้องผสมเพคตินกับน้ำตาลโดยอัตราส่วนของเพคติน   1  ส่วนกับน้ำตาล   5  ส่วน หรือกับสารละลายอื่นๆ เช่น สารละลายน้ำตาล ความเข้มข้น   65% หรือแอลกอฮอล์เพื่อทำให้เพคตินเปียก ถ้าไม่ได้ผสมด้วยเครื่องผสมความเร็วสูง ให้ต้มประมาณ   1  นาที เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเกิดการละลายได้หมด   (Rolin and De Vries, 1990)  การตรวจดูว่ามีการละลายเกิดขึ้นสมบูรณ์หรือไม่ สามารถทำได้โดยการดูฟิล์มของสารละลายบนไม้พาย หรือใบมีดที่สะอาดจะต้องใสไม่มีส่วนคล้ายเม็ดทรายอยู่
2.  ความหนืดของเพคตินความเข้มข้นของเพคตินนั้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของเพคติน ปริมาณแคลเซียม ปริมาณความเป็นกรด - ด่าง ชนิดของเพคติน และขนาดของมวลโมเลกุล ความเข้มข้นของเพคติน สารละลายเพคตินเจือจางจะให้การไหลแบบนิวโตเนียน   (Newtonian)  ถ้าสารละลายเพคตินมีความเข้มข้นมากกว่า   1%  สารละลายเพคตินจะมีคุณสมบัติเป็น   Pseudoplasticsolution (Kawakatsu, 2001) ความเป็นกรด - ด่าง ถ้าเพิ่มความเป็นกรดด่าง พบว่าความหนืดของสารละลายเพคตินจะเพิ่มขึ้นด้วยถ้าความเป็นกรดด่างลดลงเป็น  2.5-5.5  สารละลายเพคตินจะอยู่ในรูปของ   Thixotropic solution  สารละลายที่มีประจุ   +1  จะลดความหนืดของสารละลายเพคติน เพราะลดแรงดึงดูดระหว่างประจุมวลโมเลกุล เพคตินที่มีมวลโมเลกุลสูง จะทำให้สารละลายมีความหนืดสูงขึ้นด้วย การหาน้ำหนักโมเลกุลของเพคตินสามารถทำนายได้โดยการหาค่า   intrinsic viscosity  ในทางตรงกันข้ามเมื่อเจือจางสารละลาย และไม่มีแคลเซียม สารละลายจะมีความหนืดลดลง การเตรียมสารละลายเพคตินให้มีลักษณะเนื้อสัมผัสแตกต่างกันนั้น สามารถทำได้โดยผสมเพคตินชนิดต่างๆ หรือผสมเพคตินให้มีความเข้มข้นแตกต่างกัน   (Michel et al., 1982; Berth et al., 1982) ปริมาณของ   Ca2+  เพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลสูงไม่ต้องการแคลเซียมในการเกิดเจล แต่เพค ตินที่มีหมู่เมธอกซิลต่ำต้องการแคลเซียมในการเกิดเจล แต่สามารถแบ่งเพคตินออกตามความไวต่อ   Ca2+  ออกเป็น   2  กลุ่ม คือ กลุ่มที่เกิดเจลได้ช้า เนื่องจากความไวต่อแคลเซียมต่ำ และกลุ่มที่เกิดเจลได้เร็ว มีความไวต่อแคลเซียมสูง กลุ่มหลังนี้หากเพิ่มปริมาณแคลเซียมความหนืดของสารละลายเพคตินก็จะสูงขึ้นด้วย
3. โครงสร้างเพคติน เพคตินในทางการค้า มีองค์ประกอบหลักเป็นสารโพลิเมอร์ของหมู่กาแลคทูโรนิกที่ต่อกันด้วยพันธะ (1-4)  โดยโมเลกุลของเพคตินประกอบด้วยกรดกาแลคทูโรนิกที่เชื่อมต่อกันประมาณ   200-1000  หน่วยส่วนใหญ่เพคตินจะถูกเอสเทอริไฟด์ หรือแทนที่ด้วยหมู่เมธอกซิล โดยใช้สารเอธิลหรือเมธิลแอลกอฮอล์ในการเอสเทอริไฟด์ แต่ในทางธรรมชาติเกิดจากการทำงานของเอนไซม์ที่มีอยู่ในเซลล์พืช หรือเอนไซม์จากเชื้อยีสต์และเชื้อรา   (May,1997)   ลักษณะโครงสร้างของเพคตินโดยมีหมู่   Homogalacturonan  มาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว (Seymourand Knox, 2002) เพคตินทางการค้าจะมีปริมาณหมู่กาแลคทูโรนิกประมาณ   75%  โดยมีการแทนที่ ด้วยหมู่เอสเทอร์ระหว่าง   30-80%  ทั้งนี้ต้องควบคุมการเกิดเอสเทอริไฟด์ในเพคติน เพื่อให้ได้คุณสมบัติทางกายภาพ และรีโอโลจีตามที่ต้องการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร หากหมู่   -OCH3  ในตำแหน่งที่   C-6  ถูกแทนที่ด้วยหมู่เอไมด์   (-NH2)  ซึ่งอาจถูกแทนที่ได้สูงสุดถึง   80%  เพคตินที่ได้จะเรียกว่า เอมิเดดเพคติน   (amidated pectin)  แสดงตำแหน่งของการเกิดเอสเทอริฟิเคชัน และตำแหน่งของเอไมด์ในโมเลกุลของกรดกาแลคทูโรนิ (May,1997) ปริมาณการถูกเอสเทอริไฟด์ของหมู่กาแลคทูโรนิกในโมเลกุลของเพคตินนั้น เกิดขึ้นได้หลายระดับ เพคตินที่มีค่า   DE 50%  คือเพคตินที่มีหมู่เมธิลในโมเลกุลของกาแลคทูโรนิคที่เป็นโครงสร้าง   50%  ของจำนวนทั้งหมด นอกจากนี้ยังพบว่า แม้เพคตินที่มีค่า   DE  เท่ากันแต่อาจมีการจัดเรียงตัวแตกต่างกันได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกรรมวิธีในการสกัด วิธี และเวลาในการเอสเทอริไฟด์ ชนิดของพืช และตำแหน่งของเซลล์ที่นำมาสกัดจะทำให้เพคตินที่ได้มีคุณสมบัติต่างกันโครงสร้างพื้นฐานของโมเลกุลเพคตินในหน่วยย่อย ที่มีค่า   DE 50% ( โดยให้วงกลมสีดำแทนหมู่กาแลคทูโรนิกที่ถูกเอสเทอริไฟด์ และวงกลมสีขาวแทนหมู่กาแลคทูโรนิกที่ไม่ถูกเอสเทอริไฟด์ )
การสกัดเพคติน ในการสกัดเพคตินสามารถใช้สารในการสกัดได้เพคตินเป็นกลุ่มต่างๆ เซลล์พืชที่ผ่านการล้างสิ่งเจือปนออกแล้ว นำมาสกัดด้วยน้ำร้อนหรือเย็น หรือสารละลายบัฟเฟอร์ เรียกเพคติน กลุ่มนี้ว่า เพคตินที่ละลายน้ำได้   (water soluble pectin)  นำกากมาสกัดต่อด้วยสารเร่งปฏิกิริยา   (chelating agents)  ที่ร้อนหรือเย็น เช่น   ammonium oxalate, EDTA, sodium hexamethaphosphate  เรียกเพคตินกลุ่มนี้ว่า   Chelatorsolublepectins  แล้วนำกากมาสกัดต่อด้วย   0.05 M Sodium carbonate  สกัดที่อุณหภูมิที่เย็น หรืออุณหภูมิห้อง เพคตินที่ได้เรียกว่า   Carbonate-soluble pectins  จากนั้นนำกากที่เหลือมาสกัดต่อด้วย   sodiumchloride  หรือ   acetic acid mixture  เพคตินที่ได้เรียกว่า   Pectins bound by oxidative coupling นอกจากนี้ยังมีทางเลือกในการใช้สารเคมีสกัดเพคติน คือหลังจากการสกัดเพคตินกลุ่มที่ละลายได้ในสารละลาย   chelating agents  แล้ว นำกากมาสกัดด้วยกรดที่อุณหภูมิสูง เพคตินที่ได้เรียกว่า   Acid-solublepectins  จากนั้นนำกากมาสกัดด้วย   NaOH  ที่อุณหภูมิที่เย็น   0°C  เพค ตินที่ได้เรียกว่า   Alkaline-solublepectins สารประกอบเพคตินนั้นประกอบด้วยน้ำตาลจำนวนมาก แต่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าน้ำตาลนั้นเกาะในตำแหน่งใดของโครงสร้าง แต่อย่างไรก็ตามหากสกัดเพคตินจากพืชด้วยความระมัดระวัง มีการควบคุมการทำงานของเอนไซม์ พบว่าเพคตินที่สกัดได้จะมีโครงสร้างแบบ   Block structure (De Vries et al, 1986) โครงสร้างของเพคตินที่สกัดด้วยกรดเจือจางจะมีความแตกต่างกัน คือ   5-10%  ของกรดกาแลคทูโรนิกจะประกอบด้วยน้ำตาล เช่น กาแลคโทส กลูโคส แรมโนส อะราบิโนส และไซโลส ซึ่งอาจจะเชื่อมกับกาแลคทูโรเนตซึ่งเป็นโครงสร้างสายหลักของเพคติน บางครั้งน้ำตาลแรมโนส อาจเป็นส่วนหนึ่งของ   polysaccharide จำพวก   glucan  และ   xyloglucans  ซึ่งถ้ามีสารเหล่านี้ในเพคติน เจลที่ได้จะมีคุณภาพไม่ดี เพคตินที่สกัดได้จากผลไม้ตระกูลส้ม แอปเปิ้ล เชอรี่ สตรอเบอรี่ แครรอท ฟักทอง หัวบีท มันฝรั่ง หัวหอม และกะหล่ำปลีส่วนใหญ่แล้วจะมีส่วนประกอบของน้ำตาลเหมือนกัน   (Rolin and De Vries, 1990) น้ำตาลที่พบในเพคตินส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มแรมโนกาแลคทูโรแนน โดยบริเวณที่พบน้ำตาลประเภทนี้มากจะมักถูกเรียกว่า   hairy region  ทั้งนี้เนื่องจากน้ำตาลกลุ่มแรมโนกาแลคทูโรแนนจะมีลักษณะเป็นโพลีเมอร์ที่เชื่อมมาต่อสลับกับกรดกาแลคทูโรนิก แต่ถ้าเป็นน้ำตาลกาแลคทูโรแนนมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวจะเรียกส่วนนี้ว่า   smooth regions  ทั้งนี้ปริมาณของ   smooth regions  หรือ   hairy regions  นั้นจะขึ้นอยู่กับเพคตินว่าสกัดมาจากส่วนใดของพืช และกรรมวิธีในการสกัดเพคตินด้วย
บทบาทในเชิงสุขภาพ ในปัจจุบันการใช้เส้นใยอาหาร  ( dietary fiber)   เป็นอาหารเสริมสุขภาพมีมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากผู้บริโภคได้รับข้อมูลข่าวสารทั้งแง่วิชาการและสื่อโฆษณาเกี่ยวกับประโยชน์ในเชิงสุขภาพและการแพทย์ของเส้นใยอาหารเพิ่มมากขึ้น นอกจากเส้นใยอาหารจำพวกรำข้าวและเซลลูโลสแล้วเพคตินก็จัดว่าเป็นเส้นใยอาหารชนิดที่ละลายน้ำได้แต่ไม่ถูกย่อยโดยเอนไซม์ในทางเดินอาหาร เพคตินเป็นส่วนประกอบหลักในเส้นใยอาหารที่ได้จากพืชและผลไม้ส่วนใหญ่พืชสกุลส้มเป็นแหล่งที่มีเพคตินปริมาณมากซึ่งพบได้ทั้งในส่วนที่รับประทานได้และส่วนที่รับประทานไม่ได้ เช่น เปลือก กาก และแกน ในการศึกษาเกี่ยวกับเส้นใยอาหารที่ได้จากพืชสกุลส้มส่วนใหญ่มักใช้เพคตินบริสุทธิ์มากกว่าการใช้เปลือกหรือกากผลแห้ง อย่างไรก็ตามการบริโภคผลไม้จำพวกส้มช่วยเพิ่มปริมาณเพคตินในอาหารอย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการผลิตเพคตินสกัดชนิดเข้มข้นที่ได้จากเปลือกส้มซึ่งเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไม้ก็ตามการนำเอาเพคตินผสมร่วมในสูตรอาหารมีผลต่อกระบวนการเมแทบอลิซึมและการย่อย เช่น ผลต่อการดูดซึมกลูโคส ผลต่อระดับคอเลสเตอรอล มีการศึกษาจำนวนมาก
ทั้งในสัตว์ทดลองและในมนุษย์ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของเพคตินที่รับประทานในการลดอัตราการใช้น้ำตาลและการผลิอินซูลินในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน  ( เบาหวานชนิดที่  2)  ซึ่งโดยปกติจะทำการรักษาโดยการควบคุมอาหารเป็นอันดับแรก นอกจากนั้นการนำเอาเพคตินผสมร่วมในสูตรอาหารยังสามารถลดระดับคอเลสเตอรอลได้ ทั้งนี้ขึ้นกับระดับคอเลสเตอรอลในเลือดที่เป็นอยู่เดิมแลอาหารที่รับประทานเป็นประจำนอกจากนั้นเพคตินยังมีผลยับยั้งการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งและมีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวแต่ไม่มีผลรบกวนการดูดซึมแร่ธาตุในร่างกายการใช้เพคตินในขนาดสูงอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ซึ่งต้องให้ความสำคัญและศึกษาเพิ่มเติมต่อไป การใช้เพคตินเป็นสารสำคัญในตำรับยาเพื่อรักษาอาการท้องเสียโดยเพคตินช่วยกระตุ้นการเจริญของเนื้อเยื่อบุผิวในลำไส้ใหญ่หรือไปลดการยึดติดเยื่อบุผิวในลำไส้ใหญ่ของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค การใช้เพคตินร่วมกับยาอื่นต้องระมัดระวังเนื่องจากเพคตินสามารถเกิดอันตรกิริยากับตัวยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งยาที่มีประจุบวกหรือเพคตินอาจดูดซับตัวยาไว้ทำให้ตัวยาออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ
บรรณานุกรม / เอกสารอ้างอิง  พงษ์ศักดิ์ พงษ์สุวรรณ .  ( 2549-2550,  มิ . ย .- พ . ค . ) .  เพคติน .  วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม .  ปีที่ 3 ( ฉบับ 1 ) :   หน้า 6-13 จเร ศิริรัตณ์ .  ( 2542 ) .  การศึกษาการสกัดเพคตินจากเปลือกของพืชตระกูลส้ม .  ครั้งที่พิมพ์ 1.  เมืองที่พิมพ์กรุงเทพ :  สำนักพิมพ์ดอกหญ้า พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ .  (2551) เพกทินพอลิเมอร์ชีวภาพทางเภสัชกรรม .  นครปฐม :  โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร Nussinovitch, A. Pectins.  (1997) .  InNussinovitch A, ed. Hydrocolloid Application.  Gum   Technology in the Food and Other Industries.  London.:Blackie Academic and   Professional Rolin, C. Pectin. In: Whistler RL, Bemiller JN, eds. Industrial Gums.  (1993) .  Polysaccharides and Their Derivatives. New York.:Academic Press
ขอบคุณค่ะ

Contenu connexe

Tendances

เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตkanokwun131
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointampornchai
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความJensutthida
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารMutita Eamtip
 

Tendances (20)

การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Point
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
 
คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 

En vedette

เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไข
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไขเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไข
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไขmoochampz
 
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.ppt
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.pptเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.ppt
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.pptmoochampz
 
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสmoochampz
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2rattanapon
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารChatu Tiktuk
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าrattanapon
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Fátima Brás
 
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า ไอ'แอม ม.มุก
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าaing_siripatra
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 

En vedette (20)

เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไข
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไขเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไข
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสแก้ไข
 
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.ppt
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.pptเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.ppt
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส1.ppt
 
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสเพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส
 
4
44
4
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคาร
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
งานกลุ่มที่5 เรื่องใช้ไฟฟ้า
 
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไรพระพุทธเจ้าสอนอะไร
พระพุทธเจ้าสอนอะไร
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 

เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส

  • 1. ตอนเรียน B01 กลุ่ม 17 นส . ชญานิษฐ์ จันทะ เลขประจำตัว 52102010228 นายทินภัทร พิศุทธิ์โกมล เลขประจำตัว 52102010235 นายสุเมธ โรจน์พงศ์เกษม เลขประจำตัว 52102010246 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา คส 201 สารสนเทศและการสื่อสารทางคหกรรมศาสตร์ HS 201 Information and Communication for Home Economics ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2553
  • 2. เพคตินสารปรับปรุงเนื้อสัมผัส เราทราบ กันโดยทั่วไปแล้วว่า วิตามินซี มีประโยชน์มากมากหลายอย่าง ไม่ว่าจะช่วยปกป้องเซล เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สุขภาพและความแข็งแรงของเนื้อเยื่อในร่างกายที่เกี่ยวข้องกับ เส้นเอ็น และคอลลาเจน ก็มีผลมาจากปริมาณ วิตามินซี ในร่างกาย และ วิตามินซี ยังมีฤทธิ์ในการเป็นสารแอนตี้อ๊อกซิแดนท์ที่ดี จึงสามารถป้องกันการทำลายเซลจากอนุมูลอิสระได้เป็นอย่างดี และมันช่วยให้ร่างกายสามารถรีไซเคิลสารต้านอนุมูลอิสระตัวอื่นๆ ดังนั้นหากเราได้รับ วิตามินซี น้อยกว่าที่ร่างกายควรจะได้รับ ก็จะเกิดลักปิดลักเปิด ซึ่งจะยิ่งรุนแรงมากขึ้นหากขาดอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานและไม่ต้องกังวัล ว่าจะได้รับมากเกินไป เนื่องจาก วิตามินซี สามารถละลายน้ำได้ดี หากร่างกายไม่ได้ใช้ก็จะมีการขับออกมาได้ทางปัสสาวะ อีกทั้งยังไม่เคยมีรายงานเกี่ยวกับพิษที่เกิดจากการรับประทาน วิตามินซี แม้จะรับประทานในปริมาณที่สูงกว่า 6,000 – 18,000 มิลลิกรัม ในปัจจุบันผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความสนใจด้านสุขภาพ และความงามมากขึ้น จากประโยชน์ที่มากมายของวิตามินซี จึงทำให้มีผู้สนใจบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมวิตามินซีมากขึ้น ทั้งนี้จึงมีความสนใจศึกษาพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมวิตามินซี เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในเชิงลึก ในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้รับสารอาหารที่สมดุลอีกทั้งการปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อเสริมในกรณีที่เหมาะสม
  • 3. 1. เพคตินคือ ' เพคติน เป็นพอลิเมอร์ชีวภาพ หรือพอลิเมอร์ธรรมชาติ ที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมาช้านานโดยใช้เป็นสารเพิ่มความข้นหนืด สารก่อเจล ในผลิตภัณฑ์แยม เจลลี่ และสารเพิ่มความคงตัวของระบบคอลลอยด์ในเครื่องดื่มน้ำผลไม้และผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเนื้อคล้ายเยลลี่ ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมามีการนำเพคทินมาใช้ในทางเภสัชกรรมและอุตสาหกรรมยาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเพคทินมีสมบัติเฉพาะที่ทำให้สามารถนำมาใช้เก็บกักหรือนำส่งยา โปรตีน และเปปไทด์ เป็นต้น และจัดเป็น คาร์โบไฮเดรต ประเภทไฟเบอร์หรือเส้นใยอาหารที่ไม่ถูกย่อยโดย เอนไซม์ ในระบบการย่อยของร่างกายมนุษย์ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักโภชนาการมากขึ้น เพราะจากการวิจัยให้ผลออกมาว่าอาหารที่มีไฟเบอร์สูงจะช่วยป้องกันการเกิดโรคต่างๆ หรือในทางกลับกันคนที่กินอาหารที่มีไฟเบอร์น้อยก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น
  • 4. เพคตินเป็นโพลีแซคคาไรด์ที่เป็นโครงสร้างของ ผนังเซลล์ ของพืชชั้นสูงเกือบทุกชนิดจัดเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตเช่นเดียวกับ แป้ง และ เซลลูโลส ค้นพบในศตวรรษที่ 18 ทำหน้าที่เป็นสารที่ทำให้เกิด เจล โดยในปี ค . ศ .1825 Henri Braconnot ( เภสัชกรและนักพฤกษเคมีชาวฝรั่งเศส ) ได้ตั้งชื่อและริเริ่มศึกษากรรมวิธีการสกัดเพคติน เพคตินมาจากภาษากรีกว่า “ pektikos” ซึ่งแปลว่าทำให้ข้นแข็ง หรือทำให้กลายเป็น ของแข็ง ได้ให้คำจำกัดความของเพคตินว่าเป็น กรดเพคตินิก ชนิดละลายน้ำได้ซึ่งมีปริมาณหมู่ เมทิลเอสเทอร์ หลากหลาย สามารถเกิดเป็นเจลในสภาวะที่มี น้ำตาล และความเป็นกรดที่เหมาะสมหรือสภาวะที่มีเกลือแคลเซียมร่วมอยู่ด้วย
  • 5. 2. คุณสมบัติ สารกลุ่มเพคตินเป็น โพลีแซคคาไรด์ เชิงซ้อนในพืช พบใน พืชชั้นสูง โดยปรากฏในชั้นระหว่างเซลล์หรือจุดเชื่อมต่อระหว่าง ผนังเซลล์ ทำให้เกิดช่องสำหรับอาหารและ น้ำ ผ่าน ในผนังเซลล์ [7] สารกลุ่มเพคตินเป็นสารเคลือบเส้นใย เซลลูโลส ที่สำคัญและอาจจะเชื่อมต่อกับ พันธะโควาเลนต์ กับโพลีเมอร์อื่นๆ สารกลุ่มเพคตินจัดจำแนกได้เป็น โปรโตเพคติน เพคติน ( เพคตินมีหมู่ methoxyl สูง – เพคตินจัดตัวเร็วและเพคตินจัดตัวช้า - และเพคตินมีหมู่ methoxyl ต่ำ ) และ กรดเพคติก เพคตินมีอิทธิพลต่อการเจริญ พัฒนาการและการแก่ชรา และมีผลต่อลักษณะเนื้อสัมผัสของเนื้อเยื่อพืชและผลไม้ มีการใช้เพคตินอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารด้วยคุณสมบัติในการก่อรูปเป็นเจล โดยใช้เป็นสารก่อเจและความคงตัวใน แยม เยลลี่ และผลิตภัณฑ์ นมเปรี้ยว ผิวของผล พืชตระกูลส้ม กากผล แอปเปิล และลำต้นของชูการ์ บีต เป็นแหล่งที่ดีของเพคติน
  • 6. 2.1 สมบัติทางเคมี 1. การเกิดเจลของเพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลสูงในการเกิดเจลของเพคตินได้จะต้องมีปริมาณน้ำตาล และกรดที่เหมาะสมเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากสายเพคตินจะถูกดึงน้ำออก มีผลทำให้เพคตินมีประจุลบ จึงทำให้ลดแรงระหว่างสายโซ่ (chain-chain interaction) ความเป็นกรด - ด่าง ที่เหมาะสมในการเกิดเจลของเพคตินชนิดที่เกิดเจลได้ช้า และเร็วนั้น คือ 3.2 และ 3.4 ตามลำดับ ที่ความเป็นกรด - ด่างต่ำ ค่า gel strength จะเพิ่มมากขึ้น และอุณหภูมิในการเกิดเจลก็จะเพิ่มมากขึ้นด้วย (May, 1997) สภาวะที่เหมาะสมในการเกิดเจลนั้นมีหลายปัจจัย ที่ระดับความเข้มข้นของน้ำตาลสูงๆ พบว่าค่าความเป็นกรด - ด่างจะเพิ่มมากขึ้น โดยน้ำตาลจะมีผลต่ออัตราการเกิดเจลโดยพบว่าหากใช้กลูโคสไซรัปทดแทนน้ำตาลจะมีผลทำให้ gel strength ลดลง แต่ต้องใช้อุณหภูมิในการเกิดเจลเพิ่มมากขึ้น ในการใช้น้ำตาลฟรุกโตสทดแทนน้ำตาล จะมีผลต่อ gel strength น้อย แต่จะมีผลต่อการลดลงของอุณหภูมิในการเกิดเจล 2. การเกิดเจลของเพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลต่ำในการเกิดเจลของเพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลต่ำนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย ได้แก่ ปริมาณ Ca2+ ความเป็นกรด - ด่าง ปริมาณของน้ำตาล ปริมาณของเพคติน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิในการเกิดเจล และค่า gel strength ที่ต้องการ ในการเตรียมเจลมาตรฐานต้องประกอบด้วยความเป็นกรด - ด่าง 3.0 ปริมาณน้ำตาล 30% โดยให้มีเพคติน 1% และสารประกอบแคลเซียม โดยเพคตินชนิดนี้จะไม่สามารถเกิดเจลได้หากมีปริมาณแคลเซียมไม่เพียงพอ แต่ถ้าหากเพิ่มปริมาณของแคลเซียม ค่า gel strength ก็จะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดหนึ่งแล้วจะลดลง อุณหภูมิในการเกิดเจลก็จะเพิ่มขึ้นจากอุณหภูมิปกติ และจุดเดือดจะเพิ่มมากขึ้นตาม gelstrength ที่เพิ่มขึ้นการลดลงของค่า aw เนื่องจากการละลายของน้ำตาลเพิ่มมากขึ้น จะสามารถเกิดเจลได้ง่าย แม้ว่าจะมี Ca2+ ต่ำ และเป็นเพคตินที่ไม่ไวต่อ Ca2+ หากต้องการใช้น้ำตาลเพิ่มขึ้นเป็น 60% ก็จะต้องใช้ Ca2+ เพิ่มมากขึ้นตามปริมาณของน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น
  • 7. 2.2 คุณสมบัติทางกายภาพ 1. สมบัติการละลายของเพคตินเพคตินสามารถละลายในน้ำเย็น และทำให้เกิดความข้นหนืดได้เช่นเดียวกับกัมส์ชนิดอื่นๆ แต่ผงเพคตินจับกันเป็นก้อนได้ง่ายมีผลทำให้ละลายได้ช้า และยาก เพคตินจะสามารถละลายได้ดีในน้ำอุ่น หรือน้ำที่มีอุณหภูมิมากว่า 60°C แล้วทำการผสมด้วยเครื่องผสมความเร็วจากต่ำไปหาสูงสุด ต้องระวังไม่ให้เพคตินจับกันเป็นก้อนเพราะจะทำให้ละลายได้ยาก อีกวิธีที่ละลายเพคตินได้ดีนั้นจะต้องผสมเพคตินกับน้ำตาลโดยอัตราส่วนของเพคติน 1 ส่วนกับน้ำตาล 5 ส่วน หรือกับสารละลายอื่นๆ เช่น สารละลายน้ำตาล ความเข้มข้น 65% หรือแอลกอฮอล์เพื่อทำให้เพคตินเปียก ถ้าไม่ได้ผสมด้วยเครื่องผสมความเร็วสูง ให้ต้มประมาณ 1 นาที เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเกิดการละลายได้หมด (Rolin and De Vries, 1990) การตรวจดูว่ามีการละลายเกิดขึ้นสมบูรณ์หรือไม่ สามารถทำได้โดยการดูฟิล์มของสารละลายบนไม้พาย หรือใบมีดที่สะอาดจะต้องใสไม่มีส่วนคล้ายเม็ดทรายอยู่
  • 8. 2. ความหนืดของเพคตินความเข้มข้นของเพคตินนั้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของเพคติน ปริมาณแคลเซียม ปริมาณความเป็นกรด - ด่าง ชนิดของเพคติน และขนาดของมวลโมเลกุล ความเข้มข้นของเพคติน สารละลายเพคตินเจือจางจะให้การไหลแบบนิวโตเนียน (Newtonian) ถ้าสารละลายเพคตินมีความเข้มข้นมากกว่า 1% สารละลายเพคตินจะมีคุณสมบัติเป็น Pseudoplasticsolution (Kawakatsu, 2001) ความเป็นกรด - ด่าง ถ้าเพิ่มความเป็นกรดด่าง พบว่าความหนืดของสารละลายเพคตินจะเพิ่มขึ้นด้วยถ้าความเป็นกรดด่างลดลงเป็น 2.5-5.5 สารละลายเพคตินจะอยู่ในรูปของ Thixotropic solution สารละลายที่มีประจุ +1 จะลดความหนืดของสารละลายเพคติน เพราะลดแรงดึงดูดระหว่างประจุมวลโมเลกุล เพคตินที่มีมวลโมเลกุลสูง จะทำให้สารละลายมีความหนืดสูงขึ้นด้วย การหาน้ำหนักโมเลกุลของเพคตินสามารถทำนายได้โดยการหาค่า intrinsic viscosity ในทางตรงกันข้ามเมื่อเจือจางสารละลาย และไม่มีแคลเซียม สารละลายจะมีความหนืดลดลง การเตรียมสารละลายเพคตินให้มีลักษณะเนื้อสัมผัสแตกต่างกันนั้น สามารถทำได้โดยผสมเพคตินชนิดต่างๆ หรือผสมเพคตินให้มีความเข้มข้นแตกต่างกัน (Michel et al., 1982; Berth et al., 1982) ปริมาณของ Ca2+ เพคตินที่มีหมู่เมธอกซิลสูงไม่ต้องการแคลเซียมในการเกิดเจล แต่เพค ตินที่มีหมู่เมธอกซิลต่ำต้องการแคลเซียมในการเกิดเจล แต่สามารถแบ่งเพคตินออกตามความไวต่อ Ca2+ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เกิดเจลได้ช้า เนื่องจากความไวต่อแคลเซียมต่ำ และกลุ่มที่เกิดเจลได้เร็ว มีความไวต่อแคลเซียมสูง กลุ่มหลังนี้หากเพิ่มปริมาณแคลเซียมความหนืดของสารละลายเพคตินก็จะสูงขึ้นด้วย
  • 9. 3. โครงสร้างเพคติน เพคตินในทางการค้า มีองค์ประกอบหลักเป็นสารโพลิเมอร์ของหมู่กาแลคทูโรนิกที่ต่อกันด้วยพันธะ (1-4) โดยโมเลกุลของเพคตินประกอบด้วยกรดกาแลคทูโรนิกที่เชื่อมต่อกันประมาณ 200-1000 หน่วยส่วนใหญ่เพคตินจะถูกเอสเทอริไฟด์ หรือแทนที่ด้วยหมู่เมธอกซิล โดยใช้สารเอธิลหรือเมธิลแอลกอฮอล์ในการเอสเทอริไฟด์ แต่ในทางธรรมชาติเกิดจากการทำงานของเอนไซม์ที่มีอยู่ในเซลล์พืช หรือเอนไซม์จากเชื้อยีสต์และเชื้อรา (May,1997) ลักษณะโครงสร้างของเพคตินโดยมีหมู่ Homogalacturonan มาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว (Seymourand Knox, 2002) เพคตินทางการค้าจะมีปริมาณหมู่กาแลคทูโรนิกประมาณ 75% โดยมีการแทนที่ ด้วยหมู่เอสเทอร์ระหว่าง 30-80% ทั้งนี้ต้องควบคุมการเกิดเอสเทอริไฟด์ในเพคติน เพื่อให้ได้คุณสมบัติทางกายภาพ และรีโอโลจีตามที่ต้องการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร หากหมู่ -OCH3 ในตำแหน่งที่ C-6 ถูกแทนที่ด้วยหมู่เอไมด์ (-NH2) ซึ่งอาจถูกแทนที่ได้สูงสุดถึง 80% เพคตินที่ได้จะเรียกว่า เอมิเดดเพคติน (amidated pectin) แสดงตำแหน่งของการเกิดเอสเทอริฟิเคชัน และตำแหน่งของเอไมด์ในโมเลกุลของกรดกาแลคทูโรนิ (May,1997) ปริมาณการถูกเอสเทอริไฟด์ของหมู่กาแลคทูโรนิกในโมเลกุลของเพคตินนั้น เกิดขึ้นได้หลายระดับ เพคตินที่มีค่า DE 50% คือเพคตินที่มีหมู่เมธิลในโมเลกุลของกาแลคทูโรนิคที่เป็นโครงสร้าง 50% ของจำนวนทั้งหมด นอกจากนี้ยังพบว่า แม้เพคตินที่มีค่า DE เท่ากันแต่อาจมีการจัดเรียงตัวแตกต่างกันได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกรรมวิธีในการสกัด วิธี และเวลาในการเอสเทอริไฟด์ ชนิดของพืช และตำแหน่งของเซลล์ที่นำมาสกัดจะทำให้เพคตินที่ได้มีคุณสมบัติต่างกันโครงสร้างพื้นฐานของโมเลกุลเพคตินในหน่วยย่อย ที่มีค่า DE 50% ( โดยให้วงกลมสีดำแทนหมู่กาแลคทูโรนิกที่ถูกเอสเทอริไฟด์ และวงกลมสีขาวแทนหมู่กาแลคทูโรนิกที่ไม่ถูกเอสเทอริไฟด์ )
  • 10. การสกัดเพคติน ในการสกัดเพคตินสามารถใช้สารในการสกัดได้เพคตินเป็นกลุ่มต่างๆ เซลล์พืชที่ผ่านการล้างสิ่งเจือปนออกแล้ว นำมาสกัดด้วยน้ำร้อนหรือเย็น หรือสารละลายบัฟเฟอร์ เรียกเพคติน กลุ่มนี้ว่า เพคตินที่ละลายน้ำได้ (water soluble pectin) นำกากมาสกัดต่อด้วยสารเร่งปฏิกิริยา (chelating agents) ที่ร้อนหรือเย็น เช่น ammonium oxalate, EDTA, sodium hexamethaphosphate เรียกเพคตินกลุ่มนี้ว่า Chelatorsolublepectins แล้วนำกากมาสกัดต่อด้วย 0.05 M Sodium carbonate สกัดที่อุณหภูมิที่เย็น หรืออุณหภูมิห้อง เพคตินที่ได้เรียกว่า Carbonate-soluble pectins จากนั้นนำกากที่เหลือมาสกัดต่อด้วย sodiumchloride หรือ acetic acid mixture เพคตินที่ได้เรียกว่า Pectins bound by oxidative coupling นอกจากนี้ยังมีทางเลือกในการใช้สารเคมีสกัดเพคติน คือหลังจากการสกัดเพคตินกลุ่มที่ละลายได้ในสารละลาย chelating agents แล้ว นำกากมาสกัดด้วยกรดที่อุณหภูมิสูง เพคตินที่ได้เรียกว่า Acid-solublepectins จากนั้นนำกากมาสกัดด้วย NaOH ที่อุณหภูมิที่เย็น 0°C เพค ตินที่ได้เรียกว่า Alkaline-solublepectins สารประกอบเพคตินนั้นประกอบด้วยน้ำตาลจำนวนมาก แต่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าน้ำตาลนั้นเกาะในตำแหน่งใดของโครงสร้าง แต่อย่างไรก็ตามหากสกัดเพคตินจากพืชด้วยความระมัดระวัง มีการควบคุมการทำงานของเอนไซม์ พบว่าเพคตินที่สกัดได้จะมีโครงสร้างแบบ Block structure (De Vries et al, 1986) โครงสร้างของเพคตินที่สกัดด้วยกรดเจือจางจะมีความแตกต่างกัน คือ 5-10% ของกรดกาแลคทูโรนิกจะประกอบด้วยน้ำตาล เช่น กาแลคโทส กลูโคส แรมโนส อะราบิโนส และไซโลส ซึ่งอาจจะเชื่อมกับกาแลคทูโรเนตซึ่งเป็นโครงสร้างสายหลักของเพคติน บางครั้งน้ำตาลแรมโนส อาจเป็นส่วนหนึ่งของ polysaccharide จำพวก glucan และ xyloglucans ซึ่งถ้ามีสารเหล่านี้ในเพคติน เจลที่ได้จะมีคุณภาพไม่ดี เพคตินที่สกัดได้จากผลไม้ตระกูลส้ม แอปเปิ้ล เชอรี่ สตรอเบอรี่ แครรอท ฟักทอง หัวบีท มันฝรั่ง หัวหอม และกะหล่ำปลีส่วนใหญ่แล้วจะมีส่วนประกอบของน้ำตาลเหมือนกัน (Rolin and De Vries, 1990) น้ำตาลที่พบในเพคตินส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มแรมโนกาแลคทูโรแนน โดยบริเวณที่พบน้ำตาลประเภทนี้มากจะมักถูกเรียกว่า hairy region ทั้งนี้เนื่องจากน้ำตาลกลุ่มแรมโนกาแลคทูโรแนนจะมีลักษณะเป็นโพลีเมอร์ที่เชื่อมมาต่อสลับกับกรดกาแลคทูโรนิก แต่ถ้าเป็นน้ำตาลกาแลคทูโรแนนมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวจะเรียกส่วนนี้ว่า smooth regions ทั้งนี้ปริมาณของ smooth regions หรือ hairy regions นั้นจะขึ้นอยู่กับเพคตินว่าสกัดมาจากส่วนใดของพืช และกรรมวิธีในการสกัดเพคตินด้วย
  • 11. บทบาทในเชิงสุขภาพ ในปัจจุบันการใช้เส้นใยอาหาร ( dietary fiber) เป็นอาหารเสริมสุขภาพมีมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากผู้บริโภคได้รับข้อมูลข่าวสารทั้งแง่วิชาการและสื่อโฆษณาเกี่ยวกับประโยชน์ในเชิงสุขภาพและการแพทย์ของเส้นใยอาหารเพิ่มมากขึ้น นอกจากเส้นใยอาหารจำพวกรำข้าวและเซลลูโลสแล้วเพคตินก็จัดว่าเป็นเส้นใยอาหารชนิดที่ละลายน้ำได้แต่ไม่ถูกย่อยโดยเอนไซม์ในทางเดินอาหาร เพคตินเป็นส่วนประกอบหลักในเส้นใยอาหารที่ได้จากพืชและผลไม้ส่วนใหญ่พืชสกุลส้มเป็นแหล่งที่มีเพคตินปริมาณมากซึ่งพบได้ทั้งในส่วนที่รับประทานได้และส่วนที่รับประทานไม่ได้ เช่น เปลือก กาก และแกน ในการศึกษาเกี่ยวกับเส้นใยอาหารที่ได้จากพืชสกุลส้มส่วนใหญ่มักใช้เพคตินบริสุทธิ์มากกว่าการใช้เปลือกหรือกากผลแห้ง อย่างไรก็ตามการบริโภคผลไม้จำพวกส้มช่วยเพิ่มปริมาณเพคตินในอาหารอย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการผลิตเพคตินสกัดชนิดเข้มข้นที่ได้จากเปลือกส้มซึ่งเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไม้ก็ตามการนำเอาเพคตินผสมร่วมในสูตรอาหารมีผลต่อกระบวนการเมแทบอลิซึมและการย่อย เช่น ผลต่อการดูดซึมกลูโคส ผลต่อระดับคอเลสเตอรอล มีการศึกษาจำนวนมาก
  • 12. ทั้งในสัตว์ทดลองและในมนุษย์ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของเพคตินที่รับประทานในการลดอัตราการใช้น้ำตาลและการผลิอินซูลินในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ( เบาหวานชนิดที่ 2) ซึ่งโดยปกติจะทำการรักษาโดยการควบคุมอาหารเป็นอันดับแรก นอกจากนั้นการนำเอาเพคตินผสมร่วมในสูตรอาหารยังสามารถลดระดับคอเลสเตอรอลได้ ทั้งนี้ขึ้นกับระดับคอเลสเตอรอลในเลือดที่เป็นอยู่เดิมแลอาหารที่รับประทานเป็นประจำนอกจากนั้นเพคตินยังมีผลยับยั้งการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งและมีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวแต่ไม่มีผลรบกวนการดูดซึมแร่ธาตุในร่างกายการใช้เพคตินในขนาดสูงอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ซึ่งต้องให้ความสำคัญและศึกษาเพิ่มเติมต่อไป การใช้เพคตินเป็นสารสำคัญในตำรับยาเพื่อรักษาอาการท้องเสียโดยเพคตินช่วยกระตุ้นการเจริญของเนื้อเยื่อบุผิวในลำไส้ใหญ่หรือไปลดการยึดติดเยื่อบุผิวในลำไส้ใหญ่ของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค การใช้เพคตินร่วมกับยาอื่นต้องระมัดระวังเนื่องจากเพคตินสามารถเกิดอันตรกิริยากับตัวยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งยาที่มีประจุบวกหรือเพคตินอาจดูดซับตัวยาไว้ทำให้ตัวยาออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ
  • 13. บรรณานุกรม / เอกสารอ้างอิง พงษ์ศักดิ์ พงษ์สุวรรณ . ( 2549-2550, มิ . ย .- พ . ค . ) . เพคติน . วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม . ปีที่ 3 ( ฉบับ 1 ) : หน้า 6-13 จเร ศิริรัตณ์ . ( 2542 ) . การศึกษาการสกัดเพคตินจากเปลือกของพืชตระกูลส้ม . ครั้งที่พิมพ์ 1. เมืองที่พิมพ์กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ . (2551) เพกทินพอลิเมอร์ชีวภาพทางเภสัชกรรม . นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร Nussinovitch, A. Pectins. (1997) . InNussinovitch A, ed. Hydrocolloid Application. Gum Technology in the Food and Other Industries. London.:Blackie Academic and Professional Rolin, C. Pectin. In: Whistler RL, Bemiller JN, eds. Industrial Gums. (1993) . Polysaccharides and Their Derivatives. New York.:Academic Press

Notes de l'éditeur

  1. ขอบคุณค่ะ