SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  104
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ท ๑.๑
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนํา
เสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๗ บอกความหมายของเครื่องหมายหรือ
สัญลักษณสําคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจําวัน
ป.๑/๘ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคําและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑
ป.๑/๑ ฟงคําแนะนํา คําสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคําถามและเล่าเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรู้และ
ความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟงและ
ดู
ป.๑/๔ พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๔.๑
ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลข
ไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคํา และบอกความหมายของคํา
ป.๑/๓ เรียบเรียงคําเปนประโยคง่าย ๆ
ป.๑/๔ ต่อคําคล้องจองง่ายๆ
มาตรฐาน ท ๕.๑
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟงวรรณกรร
มร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรอง
ตามความสนใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ท ๑.๑
ป.๒/๑ อ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความ และบทร้อ
ยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง
ป.๒/๒ อธิบายความหมายของคําและข้อความที่อ่าน
ป.๒/๓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๒/๔ ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
ป.๒/๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่
อ่าน
ป.๒/๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนํา
เสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๒/๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือข้อ
แนะนํา
ป.๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑
ป.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๒/๒ เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ
ป.๒/๓ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ
ป.๒/๔ มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑
ป.๒/๑ ฟงคําแนะนํา คําสั่งที่ซับซ้อน และปฏิบัติตาม
ป.๒/๒ เล่าเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรู้และความบันเทิง
ป.๒/๓ บอกสาระสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู
ป.๒/๔ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู
ป.๒/๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟงและ
ดู
ป.๒/๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค
ป.๒/๗ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๔.๑
ป.๒/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลข
ไทย
ป.๒/๒ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา
ป.๒/๓ เรียบเรียงคําเปนประโยคได้ตรงตามเจตนาของการ
สื่อสาร
ป.๒/๔ บอกลักษณะคําคล้องจอง
ป.๒/๕ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสม
กับกาลเทศะ
มาตรฐาน ท ๕.๑
ป.๒/๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟงวรรณกร
รมสําหรับเด็ก เพื่อนําไปใช้
ในชีวิตประจําวัน
ป.๒/๒ ร้องบทร้องเล่นสําหรับเด็กในท้องถิ่น
ป.๒/๓ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทร้อยกรองที่
มีคุณค่าตามความสนใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ท ๑.๑
๑ อ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรอ
งง่ายๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว
๒ อธิบายความหมายของคําและข้อความที่อ่าน
๓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
๔ ลําดับเหตุการณและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อ่าน
โดยระบุเหตุผลประกอบ
๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิต
ประจําวัน
๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนําเสนอ
เรื่องที่อ่าน
๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําสั่งหรือข้อแนะ
นํา
๘ อธิบายความหมายของ ข้อมูล จากแผนภาพ แผนที่
และแผนภูมิ
๙ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑
๑๐ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
๑๑ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน
๑๒ เขียนบันทึกประจําวัน
๑๓ เขียนจดหมายลาครู
๑๔ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
๑๕ มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑
๑๖ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ ฟงและดู ทั้งที่เปนความ
รู้และความบันเทิง
๑๗ บอกสาระสําคัญจากการ ฟงและการดู
๑๘ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ ฟงและดู
๑๙ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟงและดู
๒๐ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค
๒๑ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๔.๑
๒๒ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา
๒๓ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค
๒๔ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา
๒๕ แต่งประโยคง่ายๆ
๒๖ แต่งคําคล้องจองและคําขวัญ
๒๗ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสม
กับกาลเทศะ
มาตรฐาน ท ๕.๑
๒๘ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรมเพื่อนําไปใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
๒๙ รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็กเพื่อปลูกฝง ความ
ชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น
๓๐ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน
๓๑ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณ
ค่าตามความสนใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ท ๑.๑
๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๒ อธิบายความหมายของคํา ประโยคและสํานวนจากเรื่องที่
อ่าน
๓ อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบคําถามจาก
เรื่องที่อ่าน
๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
๕ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผล
ประกอบ
๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิต
ประจําวัน
๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
๘ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑
๙ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
๑๐ เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม
๑๑ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้
พัฒนางานเขียน
๑๒ เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ
๑๓ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
๑๔ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
๑๕ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
๑๖ มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑
๑๗ จําแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู
๑๘ พูดสรุปความจากการฟงและดู
๑๙ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับ
เรื่องที่ฟงและดู
๒๐ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและ
ดู
๒๑ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟง
การดูและการสนทนา
๒๒ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด
มาตรฐาน ท ๔.๑
๒๓ สะกดคําและบอกความหมายของคําในบริบทต่าง ๆ
๒๔ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค
๒๕ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา
๒๖ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
๒๗ แต่งบทร้อยกรองและคําขวัญ
๒๘ บอกความหมายของสํานวน
๒๙ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้
มาตรฐาน ท ๕.๑
๓๐ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
๓๑ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิตจริง
๓๒ ร้องเพลงพื้นบ้าน
๓๓ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความสนใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ท ๑.๑
๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๒ อธิบายความหมายของคํา ประโยคและข้อความที่
เปนการบรรยายและการพรรณนา
๓ เขียนอธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่าง
หลากหลาย
๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
๕ วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนํา
ไปใช้ในการดําเนินชีวิต
๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนํา และปฏิบัติ
ตาม
๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
๘ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑
๙ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
๑๐ เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม
๑๑. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้
พัฒนางานเขียน
๑๒ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
๑๓ เขียนเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ
๑๔ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตาม
เจตนา
๑๕ กรอกแบบรายการต่าง ๆ
๑๖ เขียนเรื่องตามจินตนาการ
๑๗ มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑
๑๘ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่
ฟงและดู
๑๙ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู
๒๐ วิเคราะหความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูอย่างมี
เหตุผล
๒๑ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟง
การดูและการสนทนา
๒๒ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด
มาตรฐาน ท ๔.๑
๒๓ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค
๒๔ จําแนกส่วนประกอบของประโยค
๒๕ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
๒๖ ใช้คําราชาศัพท
๒๗ บอกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
๒๘ แต่งบทร้อยกรอง
๒๙ ใช้สํานวนได้ถูกต้อง
มาตรฐาน ท ๕.๑
๓๐ สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
๓๑ ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่สามารถนําไปใช้ในชีวิตจริง
๓๒ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๓๓ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความสนใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ท ๑.๑
๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๒ อธิบายความหมายของคํา ประโยคและข้อความที่เปน
โวหาร
๓ อ่านเรื่องสั้น ๆ อย่างหลากหลายโดยจับเวลาแล้วถาม
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
๕ อธิบายการนําความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไป
ตัดสินใจแก้ปญหาในการดําเนินชีวิต
๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนํา และปฏิบัติตาม
๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่
แผนภูมิและกราฟ
๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ
๙ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑
๑๐ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
๑๑ เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม
๑๒ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้
พัฒนางานเขียน
๑๓ เขียนเรียงความ
๑๔ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
๑๕ เขียนจดหมายส่วนตัว
๑๖ กรอกแบบรายการต่าง ๆ
๑๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค
๑๘ มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑
๑๙ พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงคของเรื่องที่ฟง
และดู
๒๐ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู
๒๑ วิเคราะหความน่าเชื่อถือจากการฟงและดูสื่อโฆษณา
อย่างมีเหตุผล
๒๒ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟง
การดูและการสนทนา
๒๓ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ
๒๔ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด
มาตรฐาน ท ๔.๑
๒๕ วิเคราะหชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค
๒๖ ใช้คําได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
๒๗ รวบรวมและบอกความหมายของคําภาษาต่างประเทศที่
ใช้ในภาษาไทย
๒๘ ระบุลักษณะของประโยค
๒๙ แต่งบทร้อยกรอง
๓๐ วิเคราะหและเปรียบเทียบสํานวนที่เปนคําพังเพยและ
สุภาษิต
มาตรฐาน ท ๕.๑
๓๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
๓๒ เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทานพื้นบ้านของ
ท้องถิ่นอื่น
๓๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและ
นําไปประยุกตใช้ในชีวิตจริง
๓๔ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความสนใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ค ๑.๑
ป.๑/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและ ตัวเลขไทย
แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับ
ที่ไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย
ป.๑/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกินหนึ่งร้อย
และศูนย
มาตรฐาน ค ๑.๒
ป.๑/๑ บวก ลบ และบวก ลบระคนของจํานวนนับไม่เกินหนึ่ง
ร้อยและศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ป.๑/๒ วิเคราะหและหาคําตอบของโจทยปญหาและโจทย
ปญหาระคนของจํานวนนับไม่เกิน
หนึ่งร้อยและศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ
สมผลของคําตอบ
มาตรฐาน ค ๒.๑
ป.๑/๑ บอกความยาว นํ้าหนัก ปริมาตรและความจุโดยใช้
หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
ป.๑/๒ บอก ช่วงเวลา จํานวนวันและชื่อวันในสัปดาห
มาตรฐาน ค ๓.๑
ป.๑/๑ จําแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี
มาตรฐาน ค ๔.๑
ป.๑/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่ม
ขึ้นทีละ ๑ ทีละ ๒ และลดลงทีละ ๑
ป.๑/๒ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง
ขนาด หรือสี ที่สัมพันธกันอย่างใด
อย่างหนึ่ง
มาตรฐาน ค ๖.๑
ป.๑/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา
ป.๑/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรใน
การแก้ปญหาในสถานการณต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสม
ป.๑/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
ป.๑/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร์์ในการ
สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
ได้อย่างถูกต้อง
ป.๑/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ
ป.๑/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค
รวม ๑๕ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ค ๑.๑
ป.๒/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ
แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับที่
ไม่เกินหนึ่งพัน และศูนย
ป.๒/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกินหนึ่งพันและศูนย
มาตรฐาน ค ๑.๒
ป.๒/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับ
ไม่เกินหนึ่งพันและศูนยพร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ป.๒/๒ วิเคราะหและหาคําตอบของโจทยปญหาและโจทยปญหาระคน
ของจํานวนนับ ไม่เกิน
หนึ่งพันและศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
มาตรฐาน ค ๒.๑
ป.๒/๑ บอกความยาวเปนเมตร และเซนติเมตร และเปรียบเทียบความยาว
ในหน่วยเดียวกัน
ป.๒/๒ บอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัม และขีด และ เปรียบเทียบนํ้าหนักใน
หน่วย เดียวกัน
ป.๒/๓ บอกปริมาตรและความจุเปนลิตร และเปรียบเทียบปริมาตรและความ
จุ
ป.๒/๔ บอกจํานวน เงินทั้งหมดจากเงินเหรียญและธนบัตร
ป.๒/๕ บอกเวลาบนหน้าปดนาฬิกา (ช่วง ๕ นาที)
ป.๒/๖ บอกวัน เดือน ปี จากปฏิทิน
มาตรฐาน ค ๒.๒
ป.๒/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับการวัด-ความยาว การชั่ง การตวง และ
เงิน
มาตรฐาน ค ๓.๑
ป.๒/๑ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติว่าเปนรูปสามเหลี่ยม รูป
สี่เหลี่ยม รูปวงกลม หรือรูปวงรี
ป.๒/๒ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสามมิติว่า เปนทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก
ทรงกลมหรือทรงกระบอก
ป.๒/๓ จําแนกระหว่างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกับทรงสี่เหลี่ยม
มุมฉาก และรูปวงกลมกับทรงกลม
มาตรฐาน ค ๓.๒
ป.๒/๑ เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้แบบของรูป
เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๑
ป.๒/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวนที่
เพิ่มขึ้น ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐
และลดลงทีละ ๒ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐
ป.๒/๒ บอกรูปและความสัมพันธ ในแบบรูปของรูปที่มีรูป
ร่าง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน
อย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรฐาน ค ๖.๑
ป.๒/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา
ป.๒/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
ในการแก้ปญหาในสถานการณต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสม
ป.๒/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้
อย่างเหมาะสม
ป.๒/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร์์ในการ
สื่อสาร การสื่อความหมาย และ
การนําเสนอได้อย่างถูกต้อง
ป.๒/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อม
โยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ
ป.๒/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค
รวม ๒๓ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ค ๑.๑
ป.๓/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัว
หนังสือแสดงปริมาณของสิ่งของ
หรือจํานวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย
ป.๓/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกินหนึ่งแสน
และศูนย
มาตรฐาน ค ๑.๒
ป.๓/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ
จํานวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ป.๓/๒ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และ
โจทยปญหาระคนของจํานวนนับ
ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสม
เหตุ สมผลของคําตอบ และ
สร้างโจทยได้
มาตรฐาน ค ๒.๑
ป.๓/๑ บอกความยาวเปน เมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เลือก
เครื่องวัดที่เหมาะสมและเปรียบเทียบ
ความยาว
ป.๓/๒ บอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัม กรัม และขีด เลือกเครื่องชั่ง
ที่เหมาะสม และเปรียบเทียบนํ้าหนัก
ป.๓/๓ บอกปริมาตรและความจุเปนลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่อง
ตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบ
ปริมาตรและความจุในหน่วย เดียวกัน
ป.๓/๔ บอกเวลาบนหน้าปดนาฬิกา (ช่วง ๕ นาที) อ่านและ
เขียนบอกเวลาโดยใช้จุด
ป.๓/๕ บอกความ สัมพันธของ หน่วยการวัด ความยาว นํ้า
หนัก และเวลา
ป.๓/๖ อ่านและเขียนจํานวนเงินโดยใช้จุด
มาตรฐาน ค ๒.๒
ป.๓/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับการวัด-ความยาว การชั่ง การ
ตวง เงิน และเวลา
ป.๓/๒ อ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
ป.๓/๓ อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณที่ระบุเวลา
มาตรฐาน ค ๓.๑
ป.๓/๑ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนส่วนประกอบ
ของสิ่งของที่มีลักษณะเปนรูป
เรขาคณิตสามมิติ
ป.๓/๒ ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่
กําหนดให้
ป.๓/๓ เขียนชื่อจุดเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม และ
เขียนสัญลักษณ
มาตรฐาน ค ๓.๒
ป.๓/๑ เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดให้ในแบบต่าง ๆ
ป.๓/๒ บอกรูปเรขาคณิตต่าง ๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว
มาตรฐาน ค ๔.๑
ป.๓/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่
เพิ่มขึ้นทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๒๕
ทีละ ๕๐ และลดลงทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ ที
ละ ๕๐ และแบบรูปซํ้า
ป.๓/๒ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง
ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน
สองลักษณะ
มาตรฐาน ค ๕.๑
ป.๓/๑ รวบรวมและจําแนกข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง และสิ่ง
แวดล้อม ใกล้ตัวที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน
ป.๓/๒ อ่านข้อมูล จากแผนภูมิ-รูปภาพ และ แผนภูมิแท่ง
อย่างง่าย
มาตรฐาน ค ๖.๑
ป.๓/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา
ป.๓/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรใน
การแก้ปญหาในสถานการณต่างๆ ได้
อย่างเหมาะสม
ป.๓/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
ป.๓/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร์์ในการ
สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
ได้อย่างถูกต้อง
ป.๓/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ
ป.๓/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค
รวม ๒๘ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ค ๑.๑
ป.๔/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ
ตัวหนังสือแสดงจํานวนนับ ศูนย
เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตําแหน่ง
ป.๔/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับ และศูนย
เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตําแหน่ง
มาตรฐาน ค ๑.๒
ป.๔/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ
จํานวนนับและศูนย พร้อมทั้งตระหนัก
ถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ป.๔/๒ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา
และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ
และศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผล
ของคําตอบ และสร้างโจทยได้
ป.๔/๓ บวกและลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
มาตรฐาน ค ๒.๑
ป.๔/๑ บอกความสัมพันธของหน่วยการวัดความยาว นํ้า
หนัก ปริมาตรหรือความจุ และเวลา
ป.๔/๒ หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ป.๔/๓ บอกเวลาบนหน้าปดนาฬิกา อ่านและเขียนเวลา
โดยใช้จุด และบอกระยะ เวลา
ป.๔/๔ คาดคะเนความยาว นํ้าหนัก ปริมาตร หรือความจุ
มาตรฐาน ค ๒.๒
ป.๔/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การ
ตวง เงิน และเวลา
ป.๔/๒ เขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย
ป.๔/๓ อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณที่ระบุ
เวลา
มาตรฐาน ค ๓.๑
ป.๔/๑ บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบ ของมุม และ
เขียนสัญลักษณ
ป.๔/๒ บอกได้ว่าเส้นตรง หรือส่วนของเส้นตรงคู่ใดขนาน
กัน พร้อมทั้งใช้สัญลักษณ
แสดงการขนาน
ป.๔/๓ บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ป.๔/๔ บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเปน
รูปสี่เหลี่ยม มุมฉาก และจําแนกได้
ว่าเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ป.๔/๕ บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใดเปนรูปที่มีแกน
สมมาตร และบอกจํานวน
แกนสมมาตร
มาตรฐาน ค ๓.๒
ป.๔/๑ นํารูปเรขาคณิตมาประดิษฐเปนลวดลายต่าง ๆ
มาตรฐาน ค ๔.๑
ป.๔/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวน
ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่ากัน
ป.๔/๒ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่
กําหนดให้
มาตรฐาน ค ๕.๑
ป.๔/๑ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่กําหนด
ให้
ป.๔/๒ อ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่งและ
ตาราง
ป.๔/๓ เขียนแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง
มาตรฐาน ค ๖.๑
ป.๔/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา
ป.๔/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
และเทคโนโลยีในการแก้ปญหา
ในสถานการณต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ป.๔/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
ป.๔/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการ
สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ป.๔/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ
ป.๔/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค
รวม ๒๙ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ค ๑.๑
ป.๕/๑ เขียนและอ่านเศษส่วน จํานวนคละ และทศนิยมไม่
เกินสองตําแหน่ง
ป.๕/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วนและทศนิยมไม่
เกินสองตําแหน่ง
ป.๕/๓ เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและร้อยละ เขียนร้อยละ
ในรูปเศษส่วนและทศนิยม และ
เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนและร้อยละ
มาตรฐาน ค ๑.๒
ป.๕/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณระคนของ
เศษส่วน พร้อมทั้งตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ป.๕/๒ บวก ลบ คูณ และบวก ลบ คูณระคนของทศนิยมที่
คําตอบเปนทศนิยมไม่เกินสองตําแหน่ง
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคํา
ตอบ
ป.๕/๓ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาและ
โจทยปญหาระคนของจํานวนนับ
เศษส่วน ทศนิยม และ ร้อยละ พร้อมทั้งตระหนัก
ถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
และสร้างโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนนับได้
มาตรฐาน ค ๑.๓
ป.๕/๑ บอกค่าประมาณใกล้เคียงจํานวนเต็มสิบ เต็มร้อย
และเต็มพันของจํานวนนับ และ
นําไปใช้ได้
มาตรฐาน ค ๒.๑
ป.๕/๑ บอกความสัมพันธของหน่วยการวัด ปริมาตร หรือ
ความจุ
ป.๕/๒ หาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม
ป.๕/๓ หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม
ป.๕/๔ วัดขนาดของมุม
ป.๕/๕ หาปริมาตรหรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
มาตรฐาน ค ๒.๒
ป.๕/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับพื้นที่ ความยาวรอบรูปของรูป
สี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม
มาตรฐาน ค ๓.๑
ป.๕/๑ บอกลักษณะและจําแนกรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง
ๆ
ป.๕/๒ บอกลักษณะ ความสัมพันธและจําแนกรูปสี่เหลี่ยม
ชนิดต่าง ๆ
ป.๕/๓ บอกลักษณะ ส่วนประกอบ ความสัมพันธและ
จําแนกรูปสามเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ
มาตรฐาน ค ๓.๒
ป.๕/๑ สร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร
ป.๕/๒ สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยม และรูป
วงกลม
ป.๕/๓ สร้างเส้นขนานโดยใช้ไม้ฉาก
มาตรฐาน ค ๔.๑
ป.๕/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวน
ที่กําหนดให้
มาตรฐาน ค ๕.๑
ป.๕/๑ เขียนแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะของเส้นแสดง
จํานวน
ป.๕/๒ อ่านข้อมูลจากแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ
มาตรฐาน ค ๕.๒
ป.๕/๑ บอกได้ว่าเหตุการณที่กําหนดให้นั้น
- เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
- อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่ก็ได้
- ไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
มาตรฐาน ค ๖.๑
ป.๕/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา
ป.๕/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
และเทคโนโลยีในการแก้ปญหาใน
สถานการณต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ป.๕/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
ป.๕/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการ
สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ป.๕/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ
ป.๕/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค
รวม ๒๙ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ค ๑.๑
ป.๖/๑ เขียนและอ่านทศนิยมไม่เกินสามตําแหน่ง
ป.๖/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วนและทศนิยมไม่
เกินสามตําแหน่ง
ป.๖/๓ เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และเขียนเศษส่วนใน
รูปทศนิยม
มาตรฐาน ค ๑.๒
ป.๖/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษส่วน จํานวนคละ และทศนิยม
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ป.๖/๒ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา
และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ
เศษส่วน จํานวนคละ ทศนิยม และร้อยละ พร้อม
ทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผล
ของคําตอบ และสร้างโจทยปญหาเกี่ยวกับ
จํานวนนับได้
มาตรฐาน ค ๑.๓
ป.๖/๑ บอกค่าประมาณใกล้เคียงจํานวนเต็มหลักต่าง ๆ
ของจํานวนนับ และนําไปใช้ได้
ป.๖/๒ บอกค่าประมาณของทศนิยมไม่เกินสามตําแหน่ง
มาตรฐาน ค ๑.๔
ป.๖/๑ ใช้สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และ
สมบัติการแจกแจงในการคิดคํานวณ
ป.๖/๒ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ
มาตรฐาน ค ๒.๑
ป.๖/๑ อธิบายเส้นทางหรือบอกตําแหน่งของสิ่งต่างๆ โดย
ระบุทิศทาง และระยะทางจริง จาก
รูปภาพ แผนที่ และแผนผัง
ป.๖/๒ หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
ป.๖/๓ หาความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปวงกลม
มาตรฐาน ค ๒.๒
ป.๖/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับพื้นที่ ความยาวรอบรูปของรูป
สี่เหลี่ยมและรูปวงกลม
ป.๖/๒ แก้ปญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุของทรง
สี่เหลี่ยมมุมฉาก
ป.๖/๓ เขียนแผนผังแสดงตําแหน่งของสิ่งต่าง ๆ และ
แผนผังแสดงเส้นทางการเดินทาง
มาตรฐาน ค ๓.๑
ป.๖/๑ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนส่วน
ประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ป.๖/๒ บอกสมบัติของเส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง
ๆ
ป.๖/๓ บอกได้ว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกัน
มาตรฐาน ค ๓.๒
ป.๖/๑ ประดิษฐทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย
ปริซึม และพีระมิด จากรูปคลี่หรือ
รูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดให้
ป.๖/๒ สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ
มาตรฐาน ค ๔.๑
ป.๖/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับแบบรูป
มาตรฐาน ค ๔.๒
ป.๖/๑ เขียนสมการจากสถานการณหรือปญหา และแก้
สมการพร้อมทั้งตรวจคําตอบ
มาตรฐาน ค ๕.๑
ป.๖/๑ อ่านข้อมูลจากกราฟเส้น และแผนภูมิรูปวงกลม
ป.๖/๒ เขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบและกราฟเส้น
มาตรฐาน ค ๕.๒
ป.๖/๑ อธิบายเหตุการณโดยใช้คําที่มีความหมายเช่นเดียว
กับคําว่า
- เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
- อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่ก็ได้
- ไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
มาตรฐาน ค ๖.๑
ป.๖/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา
ป.๖/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
และเทคโนโลยีในการแก้ปญหา
ในสถานการณต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ป.๖/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
ป.๖/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการ
สื่อสาร การสื่อความหมายและการนําเสนอ
อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ป.๖/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ
ป.๖/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค
รวม ๓๑ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ว ๑.๑
ป.๑/๑ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มี
ชีวิต
ป.๑/๒ สังเกตและอธิบายลักษณะและหน้าที่ของโครงสร้าง
ภายนอกของพืชและสัตว
ป.๑/๓ สังเกตและอธิบายลักษณะหน้าที่และความสําคัญของ
อวัยวะภายนอกของมนุษยตลอดจน
การดูแลรักษาสุขภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๒
ป.๑/๑ ระบุลักษณะของสิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นและนํามาจัด
จําแนกโดยใช้ลักษณะภายนอกเปนเกณฑ
มาตรฐาน ว ๓.๑
ป.๑/๑ สังเกตและระบุลักษณะที่ปรากฏหรือสมบัติของวัสดุที่
ใช้ทําของเล่นของใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ป.๑/๒ จําแนกวัสดุที่ใช้ทําของเล่นของใช้ในชีวิต ประจําวัน
รวมทั้งระบุเกณฑที่ใช้จําแนก
มาตรฐาน ว ๔.๑
ป.๑/๑ ทดลองและอธิบายการดึงหรือการผลักวัตถุ
มาตรฐาน ว ๖.๑
ป.๑/๑ สํารวจ ทดลองและอธิบายองคประกอบและสมบัติทาง
กายภาพของดินในท้องถิ่น
มาตรฐาน ว ๗.๑
ป.๑/๑ ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตยดวงจันทรและดวงดาว
มาตรฐาน ว ๘.๑
ป.๑/๑ ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กําหนดให้หรือ
ตามความสนใจ
ป.๑/๒ วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า
โดยใช้ความคิดของตนเองและ
ของครู
ป.๑/๓ ใช้วัสดุอุปกรณในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกผล
ด้วยวิธีง่ายๆ
ป.๑/๔ จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการสํารวจตรวจสอบและนํา
เสนอผล
ป.๑/๕ แสดงความคิดเห็นในการสํารวจ ตรวจสอบ
ป.๑/๖ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจตรวจสอบ โดย
เขียนภาพหรือข้อความสั้นๆ
ป.๑/๗ นําเสนอผลงานด้วยวาจาให้ผู้อื่นเข้าใจ
รวม ๑๖ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ว ๑.๑
ป.๒/๑ ทดลองและอธิบาย นํ้า แสง เปนปจจัยที่จําเปนต่อการ
ดํารงชีวิตของพืช
ป.๒/๒ อธิบายอาหาร นํ้า อากาศ เปนปจจัยที่จําเปนต่อการ
ดํารงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืช
และสัตว และนําความรู้ไปใช้ประโยชน
ป.๒/๓ สํารวจและอธิบาย พืชและสัตวสามารถตอบสนองต่อ
แสง อุณหภูมิและการสัมผัส
ป.๒/๔ ทดลองและอธิบาย ร่างกายของมนุษยสามารถ ตอบ
สนองต่อแสงอุณหภูมิ และ
การสัมผัส
ป.๒/๕ อธิบายปจจัยที่จําเปนต่อการดํารงชีวิต และการเจริญ
เติบโตของมนุษย
มาตรฐาน ว ๑.๒
ป.๒/๑ อธิบายประโยชนของพืชและสัตวในท้องถิ่น
มาตรฐาน ว ๓.๑
ป.๒/๑ ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของวัสดุที่นํามาทําของ
เล่น ของใช้ในชีวิตประจําวัน
ป.๒/๒ เลือกใช้วัสดุและสิ่งของต่างๆได้อย่างเหมาะสมและ
ปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๔.๑
ป.๒/๑ ทดลองและอธิบายแรงที่เกิดจากแม่เหล็ก
ป.๒/๒ อธิบายการนําแม่เหล็กมาใช้ประโยชน
ป.๒/๓ ทดลองและอธิบายแรงไฟฟ้าที่เกิดจากการถูวัตถุบาง
ชนิด
มาตรฐาน ว ๕.๑
ป.๒/๑ ทดลองและอธิบายได้ว่าไฟฟ้าเปนพลังงาน
ป.๒/๒ สํารวจและยกตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านที่
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเปนพลังงานอื่น
มาตรฐาน ว ๖.๑
ป.๒/๑ สํารวจและจําแนกประเภทของดินโดยใช้สมบัติทาง
กายภาพเปนเกณฑ และนําความรู้ไป
ใช้ประโยชน
มาตรฐาน ว ๗.๑
ป.๒/๑ สืบค้นและอภิปรายความสําคัญของดวงอาทิตย
มาตรฐาน ว ๘.๑
ป.๒/๑ ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กําหนดให้
และตามความสนใจ
ป.๒/๒ วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า
โดยใช้ความคิดของตนเองของกลุ่ม
และของครู
ป.๒/๓ ใช้วัสดุอุปกรณเครื่องมือที่เหมาะสมในการสํารวจ
ตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล
ป.๒/๔ จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบและนําเสนอผล
ป.๒/๕ ตั้งคําถามใหม่จากผลการสํารวจตรวจสอบ
ป.๒/๖ แสดงความคิดเห็นเปนกลุ่มและรวบรวมเปนความรู้
ป.๒/๗ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ
อย่างตรงไปตรงมา โดยเขียนภาพ
แผนภาพหรือคําอธิบาย
ป.๒/๘ นําเสนอผลงานด้วยวาจาให้ผู้อื่น เข้าใจ
กระบวนการและผลของงาน
รวม ๒๓ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ว ๑.๒
๑ อภิปรายลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว
๒ เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูก
๓ อธิบายลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูกว่าเปนการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน
๔ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุไปแล้ว
และที่ดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบัน
มาตรฐาน ว ๒.๑
๕ สํารวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธของสิ่งมี
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๒.๒
๖ สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
๗ ระบุการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดปญหาสิ่งแวดล้อมในท้อง
ถิ่น
๘ อภิปรายและนํา เสนอการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้ม
ค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
มาตรฐาน ว ๓.๑
๙ จําแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เปนส่วนประกอบของของเล่น
ของใช้
๑๐ อธิบายการใช้ประโยชนของวัสดุแต่ละชนิด
มาตรฐาน ว ๓.๒
๑๑ ทดลองและอธิบายผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัสดุเมื่อถูก
แรงกระทํา หรือทําให้
ร้อนขึ้นหรือทําให้เย็นลง
๑๒ อภิปรายประโยชนและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงของวัสดุ
มาตรฐาน ว ๔.๑
๑๓ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทําต่อวัตถุ
๑๔ ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ
มาตรฐาน ว ๕.๑
๑๕ บอกแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า
๑๖ อธิบายความสําคัญของพลังงานไฟฟ้าและเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้า
อย่างประหยัดและปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๖.๑
๑๗ สํารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของนํ้าจากแหล่งนํ้าในท้องถิ่น
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน
๑๘ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศและความสําคัญ
ของอากาศ
๑๙ ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกต่างของ
อุณหภูมิ
มาตรฐาน ว ๗.๑
๒๐ สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย ดวงจันทร การเกิด
กลางวันกลางคืน และ
การกําหนดทิศโลกหมุนรอบตัวเองทําให้เกิดปรากฏการณต่อไปนี้
มาตรฐาน ว ๘.๑
๒๑ ตั้งคำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำาหนดให้และตามความ
สนใจ
๒๒ วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสำารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้
ความคิดของตนเอง
ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำารวจ ตรวจสอบ
๒๓ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำารวจตรวจสอบ
และบันทึกข้อมูล
๒๔ จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้และนำาเสนอผล
๒๕ ตั้งคำาถามใหม่จากผลการสำารวจตรวจสอบ
๒๖ แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนำาไปสู่การสร้างความ
รู้
๒๗ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำารวจตรวจสอบตามความเป็นจริง
มีแผนภาพประกอบคำาอธิบาย
๒๘ นำาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนแสดง
กระบวนการและ ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ว ๑.๑
ป.๔/๑ ทดลองและอธิบายหน้าที่ของท่อลำาเลียงและปากใบ
ของพืช
ป.๔/๒ อธิบาย นำ้า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงและคลอโรฟิลล์
เป็นปัจจัยที่จำาเป็นบางประการ
ต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของ
พืช
ป.๔/๓ ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง
เสียง และการสัมผัส
ป.๔/๔ อธิบายพฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อแสง
อุณหภูมิ การสัมผัส และนำาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๕.๑
ป.๔/๑ ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่ง
กำาเนิด
ป.๔/๒ ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบ
วัตถุ
ป.๔/๓ ทดลองและจำาแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจาก
แหล่งกำาเนิดแสง
ป.๔/๔ ทดลองและอธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่าน
ตัวกลางโปร่งใสสองชนิด
ป.๔/๕ ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ป.๔/๖ ทดลองและอธิบายแสงขาวประกอบด้วยแสงสีต่าง ๆ
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๖. ๑
ป.๔/๑ สำารวจและอธิบายการเกิดดิน
ป.๔/๒ ระบุชนิดและสมบัติของดินที่ใช้ปลูกพืชในท้องถิ่น
มาตรฐาน ว ๗. ๑
ป.๔/๑ สร้างแบบจำาลองเพื่ออธิบายลักษณะของระบบสุริยะ
มาตรฐาน ว ๘.๑
ป.๔/๑ ตั้งคำาถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ์
ที่จะศึกษาตามที่กำาหนดให้
และตามความสนใจ
ป.๔/๒ วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสำารวจตรวจสอบหรือ
ศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบ
จากการสำารวจตรวจสอบ
ป.๔/๓ เลือกอุปกรณ์ ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำารวจตรวจ
สอบ
ป.๔/๔ บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณ นำาเสนอผลสรุปผล
ป.๔/๕ สร้างคำาถามใหม่เพื่อการสำารวจตรวจสอบต่อไป
ป.๔/๖ แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้ เรียนรู้
ป.๔/๗ บันทึกและอธิบายผลการสำารวจตรวจสอบอย่างตรง
ไปตรงมา
ป.๔/๘ นำาเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือ
เขียนอธิบายกระบวนการและผลของงาน
ให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ว ๑.๑
ป.๕/๑ สังเกตและระบุส่วนประกอบของดอกและโครงสร้างที่
เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืชดอก
ป.๕/ ๒ อธิบายการสืบพันธุ์ของพืชดอก การขยายพันธุ์พืช
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ป.๕/๓ อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิด
ป.๕/๔ อธิบายการสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของสัตว์
ป.๕/๕ อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด และนำาความ
รู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒
ป.๕/๑ สำารวจ เปรียบเทียบและระบุลักษณะของตนเองกับ
คนในครอบครัว
ป.๕/๒ อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมี
ชีวิตในแต่ละรุ่น
ป.๕/๓ จำาแนกพืชออกเป็นพืชดอก และพืชไม่มีดอก
ป.๕/๔ ระบุลักษณะของพืชดอกที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และ
พืชใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ลักษณะภายนอก
เป็นเกณฑ์
ป.๕/๕ จำาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบาง
ลักษณะและลักษณะภายนอก
เป็นเกณฑ์
มาตรฐาน ว๓. ๑
ป.๕/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับ
ความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว
การนำาความร้อน การนำาไฟฟ้า และ ความหนา
แน่น
ป.๕/๒ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำาวัสดุไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน
มาตรฐาน ว๔. ๑
ป.๕/๑ ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรง
ซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำาต่อวัตถุ
ป.๕/๒ ทดลองและอธิบายความดันอากาศ
ป.๕/๓ ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
ป.๕/๔ ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การ
ลอยตัวและการจมของวัตถุ
มาตรฐาน ว ๔. ๒
ป.๕/๑ ทดลองและอธิบาย แรงเสียดทานและนำาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๕.๑
ป.๕/๑ ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของ
เสียง
ป.๕/๒ ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสูง เสียงตำ่า
ป.๕/๓ ทดลองและอธิบายเสียงดัง เสียงค่อย
ป.๕/๔ สำารวจและอภิปรายอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อฟังเสียงดัง
มาก ๆ
มาตรฐาน ว ๖. ๑
ป.๕/๑ สำารวจ ทดลองและอธิบายการเกิดเมฆ หมอก
นำ้าค้าง ฝนและลูกเห็บ
ป.๕/๒ ทดลองและอธิบายการเกิดวัฏจักรนำ้า
ป.๕/๓ ออกแบบและสร้างเครื่องมืออย่างง่ายในการวัด
อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศ
ป.๕/๔ ทดลองและอธิบายการเกิดลมและนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
มาตรฐาน ว ๗. ๑
ป.๕/๑ สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ และปรากฏการณ์การ
ขึ้นตกของดวงดาวโดยใช้แผนที่ดาว
มาตรฐาน ว ๘. ๑
ป.๕/๑ ตั้งคำาถาม เกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องหรือสถานการณ์
ที่จะศึกษาตามที่กำาหนดให้และ
ตามความสนใจ
ป.๕/๒ วางแผนการสังเกต เสนอการสำารวจตรวจสอบ หรือ
ศึกษาค้นคว้า และคาดการณ์สิ่งที่จะพบ
จากการสำารวจตรวจสอบ
ป.๕/๓ เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำารวจ ตรวจ
สอบให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้
ป.๕/๔ บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบ
ผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ นำาเสนอผล
และข้อสรุป
ป.๕/๕ สร้างคำาถามใหม่เพื่อการสำารวจตรวจสอบต่อไป
ป.๕/๖ แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย และสรุปสิ่งที่
ได้ เรียนรู้
ป.๕/๗ บันทึกและอธิบายผลการสำารวจ ตรวจสอบตาม
ความเป็นจริง มีการอ้างอิง
ป.๕/๘ นำาเสนอ จัดแสดง ผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา
หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและ
ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มาตรฐาน ว ๑.๑
ป.๖/๑ อธิบายการเจริญเติบโตของมนุษย์จากวัยแรกเกิดจนถึง
วัยผู้ใหญ่
ป.๖/๒ อธิบายการทำางานที่สัมพันธ์กันของระบบย่อยอาหาร
ระบบหายใจ และ
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
ป.๖/๓ วิเคราะห์สารอาหารและอภิปรายความจำาเป็นที่ร่างกาย
ต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสม
กับเพศและวัย
มาตรฐาน ว ๒.๑
ป.๖/๑ สำารวจและอภิปรายความสัมพันธ์ของกลุ่ม สิ่งมี
ชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ
ป.๖/๒ อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในรูป
ของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
ป.๖/๓ สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง การดำารง
ชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม
ในท้องถิ่น
มาตรฐาน ว ๒.๒
ป.๖/๑ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
ในแต่ละท้องถิ่นที่เป็นประโยชน์
ต่อการดำารงชีวิต
ป.๖/๒ วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ป.๖/๓ อภิปรายผลต่อสิ่งมีชีวิต จากการเปลี่ยนแปลงสิ่ง
แวดล้อมทั้งโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์
ป.๖/๔ อภิปรายแนวทางในการดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ป.๖/๕ มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
มาตรฐาน ว ๓. ๑
ป.๖/๑ ทดลองและอธิบาย สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ป.๖/๒ จำาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้สถานะหรือเกณฑ์อื่น
ที่กำาหนดเอง
ป.๖/๓ ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสม
กัน โดยการร่อน การตกตะกอน
การกรอง การระเหิด การระเหยแห้ง
ป.๖/๔ อภิปรายผลของสารเสพติดต่อระบบต่าง ๆ ของ
ร่างกาย และแนวทางในการป้องกันตนเอง
จากสารเสพติด
ป.๖/๕ สำารวจและจำาแนกประเภทของสารต่างๆ ที่ใช้ใน
ชีวิตประจำาวัน โดยใช้สมบัติ
และการใช้ประโยชน์ของสารเป็นเกณฑ์
ป.๖/๖ อภิปรายการเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่าง
ถูกต้องและปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๓. ๒
ป.๖/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการ
ละลายและเปลี่ยนสถานะ
ป.๖/๒ วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำาให้เกิดสารใหม่
และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป
ป.๖/๓ อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๕.๑
ป.๖/๑ ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ป.๖/๒ ทดลองและอธิบายตัวนำาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า
ป.๖/๓ ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ป.๖/๔ ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม
แบบขนาน และนำาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ป.๖/๕ ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟ
ที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและนำาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๖. ๑
ป.๖/๑ อธิบาย จำาแนกประเภทของหิน โดยใช้ลักษณะของ
หิน สมบัติของหินเป็นเกณฑ์
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ป.๖/๒ สำารวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของหิน
ป.๖/๓ สืบค้นและอธิบายธรณีพิบัติภัยที่มีผลต่อมนุษย์และ
สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
มาตรฐาน ว ๗. ๑
ป.๖/๑ สร้างแบบจำาลองและอธิบายการเกิดฤดู ข้างขึ้นข้าง
แรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา
และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๗. ๒
ป.๖/๑ สืบค้นอภิปรายความก้าวหน้าและประโยชน์ของ
เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๘.๑
ป.๖/๑ ตั้งคำาถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือ
สถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำาหนดให้และ
ตามความสนใจ
ป.๖/๒ วางแผนการสังเกต เสนอการสำารวจตรวจสอบหรือ
ศึกษาค้นคว้า คาดการณ์สิ่งที่จะพบ
จากการสำารวจตรวจสอบ
ป.๖/ ๓ เลือกอุปกรณ์และวิธีการสำารวจตรวจสอบที่ถูกต้อง
เหมาะสมให้ได้ผลที่ครอบคลุมและ
เชื่อถือได้
ป.๖/ ๔ บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์
และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้
นำาเสนอผลและข้อสรุป
ป.๖/ ๕ สร้างคำาถามใหม่เพื่อการสำารวจตรวจสอบต่อไป
ป.๖/ ๖ แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็น
และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ป.๖/๗ บันทึกและอธิบายผลการสำารวจตรวจสอบตามความ
เป็นจริง มีเหตุผลและมีประจักษ์พยาน
อ้างอิง
ป.๖/ ๘ นำาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา
และเขียนรายงานแสดงกระบวนการและ
ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
รวม ๓๘ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด

Contenu connexe

Tendances

นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์เล็ก เล็ก
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 

Tendances (19)

นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 

Similaire à ตัวชี้วัดเวิร์ด

ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓Mameaw Mameaw
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมssusere4367d
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จshelercherries
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้โรงเรียน วัดวังเย็น
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 

Similaire à ตัวชี้วัดเวิร์ด (20)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
10
1010
10
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง  โรงเรียนต้นไม้
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
P6 t1 partsofbody+188
P6 t1 partsofbody+188P6 t1 partsofbody+188
P6 t1 partsofbody+188
 

ตัวชี้วัดเวิร์ด

  • 1. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง และข้อความสั้นๆ ป.๑/๒ บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน ป.๑/๓ ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อ่าน ป.๑/๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนํา เสนอเรื่องที่อ่าน ป.๑/๗ บอกความหมายของเครื่องหมายหรือ สัญลักษณสําคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจําวัน ป.๑/๘ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคําและประโยคง่ายๆ ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๑/๑ ฟงคําแนะนํา คําสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม ป.๑/๒ ตอบคําถามและเล่าเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรู้และ ความบันเทิง ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟงและ ดู ป.๑/๔ พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลข ไทย ป.๑/๒ เขียนสะกดคํา และบอกความหมายของคํา ป.๑/๓ เรียบเรียงคําเปนประโยคง่าย ๆ ป.๑/๔ ต่อคําคล้องจองง่ายๆ มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟงวรรณกรร มร้อยแก้วและร้อยกรองสําหรับเด็ก ป.๑/๒ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรอง ตามความสนใจ
  • 2. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒/๑ อ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความ และบทร้อ ยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง ป.๒/๒ อธิบายความหมายของคําและข้อความที่อ่าน ป.๒/๓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ป.๒/๔ ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน ป.๒/๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่ อ่าน ป.๒/๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนํา เสนอเรื่องที่อ่าน ป.๒/๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือข้อ แนะนํา ป.๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ป.๒/๒ เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ ป.๒/๓ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ ป.๒/๔ มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๒/๑ ฟงคําแนะนํา คําสั่งที่ซับซ้อน และปฏิบัติตาม ป.๒/๒ เล่าเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรู้และความบันเทิง ป.๒/๓ บอกสาระสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู ป.๒/๔ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ป.๒/๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟงและ ดู ป.๒/๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค ป.๒/๗ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๒/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลข ไทย
  • 3. ป.๒/๒ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ป.๒/๓ เรียบเรียงคําเปนประโยคได้ตรงตามเจตนาของการ สื่อสาร ป.๒/๔ บอกลักษณะคําคล้องจอง ป.๒/๕ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสม กับกาลเทศะ มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๒/๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟงวรรณกร รมสําหรับเด็ก เพื่อนําไปใช้ ในชีวิตประจําวัน ป.๒/๒ ร้องบทร้องเล่นสําหรับเด็กในท้องถิ่น ป.๒/๓ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทร้อยกรองที่ มีคุณค่าตามความสนใจ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ท ๑.๑ ๑ อ่านออกเสียงคํา ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรอ งง่ายๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว ๒ อธิบายความหมายของคําและข้อความที่อ่าน ๓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๔ ลําดับเหตุการณและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ ๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิต ประจําวัน ๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและนําเสนอ เรื่องที่อ่าน ๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําสั่งหรือข้อแนะ นํา ๘ อธิบายความหมายของ ข้อมูล จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ ๙ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ๑๐ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑๑ เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน
  • 4. ๑๒ เขียนบันทึกประจําวัน ๑๓ เขียนจดหมายลาครู ๑๔ เขียนเรื่องตามจินตนาการ ๑๕ มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ ๑๖ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ ฟงและดู ทั้งที่เปนความ รู้และความบันเทิง ๑๗ บอกสาระสําคัญจากการ ฟงและการดู ๑๘ ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ ฟงและดู ๑๙ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟงและดู ๒๐ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค ๒๑ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๔.๑ ๒๒ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ๒๓ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ๒๔ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา ๒๕ แต่งประโยคง่ายๆ ๒๖ แต่งคําคล้องจองและคําขวัญ ๒๗ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสม กับกาลเทศะ มาตรฐาน ท ๕.๑ ๒๘ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรมเพื่อนําไปใช้ใน ชีวิตประจําวัน ๒๙ รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็กเพื่อปลูกฝง ความ ชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น ๓๐ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน ๓๑ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณ ค่าตามความสนใจ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ท ๑.๑ ๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๒ อธิบายความหมายของคํา ประโยคและสํานวนจากเรื่องที่ อ่าน ๓ อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบคําถามจาก เรื่องที่อ่าน ๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
  • 5. ๕ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผล ประกอบ ๖ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิต ประจําวัน ๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๘ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ๙ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ๑๐ เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม ๑๑ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้ พัฒนางานเขียน ๑๒ เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ ๑๓ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา ๑๔ เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า ๑๕ เขียนเรื่องตามจินตนาการ ๑๖ มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ ๑๗ จําแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ๑๘ พูดสรุปความจากการฟงและดู ๑๙ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับ เรื่องที่ฟงและดู ๒๐ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและ ดู ๒๑ รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟง การดูและการสนทนา ๒๒ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด มาตรฐาน ท ๔.๑ ๒๓ สะกดคําและบอกความหมายของคําในบริบทต่าง ๆ ๒๔ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ๒๕ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา ๒๖ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา ๒๗ แต่งบทร้อยกรองและคําขวัญ ๒๘ บอกความหมายของสํานวน ๒๙ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้ มาตรฐาน ท ๕.๑ ๓๐ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม ๓๑ อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิตจริง ๓๒ ร้องเพลงพื้นบ้าน
  • 6. ๓๓ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มี คุณค่าตามความสนใจ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ท ๑.๑ ๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๒ อธิบายความหมายของคํา ประโยคและข้อความที่ เปนการบรรยายและการพรรณนา ๓ เขียนอธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่าง หลากหลาย ๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ๕ วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนํา ไปใช้ในการดําเนินชีวิต ๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนํา และปฏิบัติ ตาม ๗ อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๘ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ๙ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ๑๐ เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม ๑๑. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้ พัฒนางานเขียน ๑๒ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน ๑๓ เขียนเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ ๑๔ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตาม เจตนา ๑๕ กรอกแบบรายการต่าง ๆ ๑๖ เขียนเรื่องตามจินตนาการ ๑๗ มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ ๑๘ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ ฟงและดู ๑๙ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู ๒๐ วิเคราะหความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูอย่างมี เหตุผล ๒๑ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟง การดูและการสนทนา
  • 7. ๒๒ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด มาตรฐาน ท ๔.๑ ๒๓ ระบุชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ๒๔ จําแนกส่วนประกอบของประโยค ๒๕ เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น ๒๖ ใช้คําราชาศัพท ๒๗ บอกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ๒๘ แต่งบทร้อยกรอง ๒๙ ใช้สํานวนได้ถูกต้อง มาตรฐาน ท ๕.๑ ๓๐ สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ๓๑ ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและ วรรณกรรมที่สามารถนําไปใช้ในชีวิตจริง ๓๒ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ๓๓ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มี คุณค่าตามความสนใจ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ท ๑.๑ ๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๒ อธิบายความหมายของคํา ประโยคและข้อความที่เปน โวหาร ๓ อ่านเรื่องสั้น ๆ อย่างหลากหลายโดยจับเวลาแล้วถาม เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ๕ อธิบายการนําความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไป ตัดสินใจแก้ปญหาในการดําเนินชีวิต ๖ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนํา และปฏิบัติตาม ๗ อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ ๘ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ ๙ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ๑๐ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ๑๑ เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม ๑๒ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้ พัฒนางานเขียน ๑๓ เขียนเรียงความ ๑๔ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน ๑๕ เขียนจดหมายส่วนตัว
  • 8. ๑๖ กรอกแบบรายการต่าง ๆ ๑๗ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค ๑๘ มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ ๑๙ พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงคของเรื่องที่ฟง และดู ๒๐ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู ๒๑ วิเคราะหความน่าเชื่อถือจากการฟงและดูสื่อโฆษณา อย่างมีเหตุผล ๒๒ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟง การดูและการสนทนา ๒๓ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ ๒๔ มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด มาตรฐาน ท ๔.๑ ๒๕ วิเคราะหชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ๒๖ ใช้คําได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ๒๗ รวบรวมและบอกความหมายของคําภาษาต่างประเทศที่ ใช้ในภาษาไทย ๒๘ ระบุลักษณะของประโยค ๒๙ แต่งบทร้อยกรอง ๓๐ วิเคราะหและเปรียบเทียบสํานวนที่เปนคําพังเพยและ สุภาษิต มาตรฐาน ท ๕.๑ ๓๑ แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ๓๒ เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทานพื้นบ้านของ ท้องถิ่นอื่น ๓๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและ นําไปประยุกตใช้ในชีวิตจริง ๓๔ ท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทร้อยกรองที่มี คุณค่าตามความสนใจ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ค ๑.๑ ป.๑/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและ ตัวเลขไทย แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับ ที่ไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย ป.๑/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกินหนึ่งร้อย และศูนย มาตรฐาน ค ๑.๒
  • 9. ป.๑/๑ บวก ลบ และบวก ลบระคนของจํานวนนับไม่เกินหนึ่ง ร้อยและศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคําตอบ ป.๑/๒ วิเคราะหและหาคําตอบของโจทยปญหาและโจทย ปญหาระคนของจํานวนนับไม่เกิน หนึ่งร้อยและศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคําตอบ มาตรฐาน ค ๒.๑ ป.๑/๑ บอกความยาว นํ้าหนัก ปริมาตรและความจุโดยใช้ หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน ป.๑/๒ บอก ช่วงเวลา จํานวนวันและชื่อวันในสัปดาห มาตรฐาน ค ๓.๑ ป.๑/๑ จําแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี มาตรฐาน ค ๔.๑ ป.๑/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่ม ขึ้นทีละ ๑ ทีละ ๒ และลดลงทีละ ๑ ป.๑/๒ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสี ที่สัมพันธกันอย่างใด อย่างหนึ่ง มาตรฐาน ค ๖.๑ ป.๑/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา ป.๑/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรใน การแก้ปญหาในสถานการณต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ป.๑/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ป.๑/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร์์ในการ สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได้อย่างถูกต้อง ป.๑/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ ป.๑/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค รวม ๑๕ ตัวชี้วัด
  • 10. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ค ๑.๑ ป.๒/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับที่ ไม่เกินหนึ่งพัน และศูนย ป.๒/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกินหนึ่งพันและศูนย มาตรฐาน ค ๑.๒ ป.๒/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับ ไม่เกินหนึ่งพันและศูนยพร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ป.๒/๒ วิเคราะหและหาคําตอบของโจทยปญหาและโจทยปญหาระคน ของจํานวนนับ ไม่เกิน หนึ่งพันและศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ มาตรฐาน ค ๒.๑ ป.๒/๑ บอกความยาวเปนเมตร และเซนติเมตร และเปรียบเทียบความยาว ในหน่วยเดียวกัน ป.๒/๒ บอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัม และขีด และ เปรียบเทียบนํ้าหนักใน หน่วย เดียวกัน ป.๒/๓ บอกปริมาตรและความจุเปนลิตร และเปรียบเทียบปริมาตรและความ จุ ป.๒/๔ บอกจํานวน เงินทั้งหมดจากเงินเหรียญและธนบัตร ป.๒/๕ บอกเวลาบนหน้าปดนาฬิกา (ช่วง ๕ นาที) ป.๒/๖ บอกวัน เดือน ปี จากปฏิทิน มาตรฐาน ค ๒.๒ ป.๒/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับการวัด-ความยาว การชั่ง การตวง และ เงิน มาตรฐาน ค ๓.๑ ป.๒/๑ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติว่าเปนรูปสามเหลี่ยม รูป สี่เหลี่ยม รูปวงกลม หรือรูปวงรี ป.๒/๒ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสามมิติว่า เปนทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก ทรงกลมหรือทรงกระบอก ป.๒/๓ จําแนกระหว่างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกับทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก และรูปวงกลมกับทรงกลม มาตรฐาน ค ๓.๒
  • 11. ป.๒/๑ เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้แบบของรูป เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๔.๑ ป.๒/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวนที่ เพิ่มขึ้น ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ และลดลงทีละ ๒ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ ป.๒/๒ บอกรูปและความสัมพันธ ในแบบรูปของรูปที่มีรูป ร่าง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน อย่างใดอย่างหนึ่ง มาตรฐาน ค ๖.๑ ป.๒/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา ป.๒/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแก้ปญหาในสถานการณต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ป.๒/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้ อย่างเหมาะสม ป.๒/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร์์ในการ สื่อสาร การสื่อความหมาย และ การนําเสนอได้อย่างถูกต้อง ป.๒/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อม โยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ ป.๒/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค รวม ๒๓ ตัวชี้วัด
  • 12. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ค ๑.๑ ป.๓/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัว หนังสือแสดงปริมาณของสิ่งของ หรือจํานวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย ป.๓/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย มาตรฐาน ค ๑.๒ ป.๓/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ จํานวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ป.๓/๒ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และ โจทยปญหาระคนของจํานวนนับ ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสม เหตุ สมผลของคําตอบ และ สร้างโจทยได้ มาตรฐาน ค ๒.๑ ป.๓/๑ บอกความยาวเปน เมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เลือก เครื่องวัดที่เหมาะสมและเปรียบเทียบ
  • 13. ความยาว ป.๓/๒ บอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัม กรัม และขีด เลือกเครื่องชั่ง ที่เหมาะสม และเปรียบเทียบนํ้าหนัก ป.๓/๓ บอกปริมาตรและความจุเปนลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่อง ตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบ ปริมาตรและความจุในหน่วย เดียวกัน ป.๓/๔ บอกเวลาบนหน้าปดนาฬิกา (ช่วง ๕ นาที) อ่านและ เขียนบอกเวลาโดยใช้จุด ป.๓/๕ บอกความ สัมพันธของ หน่วยการวัด ความยาว นํ้า หนัก และเวลา ป.๓/๖ อ่านและเขียนจํานวนเงินโดยใช้จุด มาตรฐาน ค ๒.๒ ป.๓/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับการวัด-ความยาว การชั่ง การ ตวง เงิน และเวลา ป.๓/๒ อ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย ป.๓/๓ อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณที่ระบุเวลา มาตรฐาน ค ๓.๑ ป.๓/๑ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนส่วนประกอบ ของสิ่งของที่มีลักษณะเปนรูป เรขาคณิตสามมิติ ป.๓/๒ ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่ กําหนดให้ ป.๓/๓ เขียนชื่อจุดเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม และ เขียนสัญลักษณ มาตรฐาน ค ๓.๒ ป.๓/๑ เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดให้ในแบบต่าง ๆ ป.๓/๒ บอกรูปเรขาคณิตต่าง ๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว มาตรฐาน ค ๔.๑ ป.๓/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธ ในแบบรูปของจํานวนที่ เพิ่มขึ้นทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐ และลดลงทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ ที ละ ๕๐ และแบบรูปซํ้า ป.๓/๒ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน สองลักษณะ มาตรฐาน ค ๕.๑ ป.๓/๑ รวบรวมและจําแนกข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง และสิ่ง แวดล้อม ใกล้ตัวที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน ป.๓/๒ อ่านข้อมูล จากแผนภูมิ-รูปภาพ และ แผนภูมิแท่ง อย่างง่าย มาตรฐาน ค ๖.๑
  • 14. ป.๓/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา ป.๓/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรใน การแก้ปญหาในสถานการณต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม ป.๓/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ป.๓/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร์์ในการ สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได้อย่างถูกต้อง ป.๓/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ ป.๓/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค รวม ๒๘ ตัวชี้วัด
  • 15. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ค ๑.๑ ป.๔/๑ เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือแสดงจํานวนนับ ศูนย เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตําแหน่ง ป.๔/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับ และศูนย เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตําแหน่ง มาตรฐาน ค ๑.๒ ป.๔/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ จํานวนนับและศูนย พร้อมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ป.๔/๒ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ และศูนย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผล ของคําตอบ และสร้างโจทยได้ ป.๔/๓ บวกและลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน มาตรฐาน ค ๒.๑ ป.๔/๑ บอกความสัมพันธของหน่วยการวัดความยาว นํ้า หนัก ปริมาตรหรือความจุ และเวลา ป.๔/๒ หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ป.๔/๓ บอกเวลาบนหน้าปดนาฬิกา อ่านและเขียนเวลา โดยใช้จุด และบอกระยะ เวลา ป.๔/๔ คาดคะเนความยาว นํ้าหนัก ปริมาตร หรือความจุ มาตรฐาน ค ๒.๒ ป.๔/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การ ตวง เงิน และเวลา ป.๔/๒ เขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย ป.๔/๓ อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณที่ระบุ เวลา มาตรฐาน ค ๓.๑ ป.๔/๑ บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบ ของมุม และ เขียนสัญลักษณ ป.๔/๒ บอกได้ว่าเส้นตรง หรือส่วนของเส้นตรงคู่ใดขนาน กัน พร้อมทั้งใช้สัญลักษณ
  • 16. แสดงการขนาน ป.๔/๓ บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม ป.๔/๔ บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเปน รูปสี่เหลี่ยม มุมฉาก และจําแนกได้ ว่าเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ป.๔/๕ บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใดเปนรูปที่มีแกน สมมาตร และบอกจํานวน แกนสมมาตร มาตรฐาน ค ๓.๒ ป.๔/๑ นํารูปเรขาคณิตมาประดิษฐเปนลวดลายต่าง ๆ มาตรฐาน ค ๔.๑ ป.๔/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวน ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่ากัน ป.๔/๒ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่ กําหนดให้ มาตรฐาน ค ๕.๑ ป.๔/๑ บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่กําหนด ให้ ป.๔/๒ อ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่งและ ตาราง ป.๔/๓ เขียนแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง มาตรฐาน ค ๖.๑ ป.๔/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา ป.๔/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแก้ปญหา ในสถานการณต่างๆได้อย่างเหมาะสม ป.๔/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ป.๔/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการ สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ป.๔/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ ป.๔/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค รวม ๒๙ ตัวชี้วัด
  • 17. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ค ๑.๑ ป.๕/๑ เขียนและอ่านเศษส่วน จํานวนคละ และทศนิยมไม่ เกินสองตําแหน่ง ป.๕/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วนและทศนิยมไม่ เกินสองตําแหน่ง ป.๕/๓ เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและร้อยละ เขียนร้อยละ ในรูปเศษส่วนและทศนิยม และ เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนและร้อยละ มาตรฐาน ค ๑.๒ ป.๕/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณระคนของ เศษส่วน พร้อมทั้งตระหนักถึง
  • 18. ความสมเหตุสมผลของคําตอบ ป.๕/๒ บวก ลบ คูณ และบวก ลบ คูณระคนของทศนิยมที่ คําตอบเปนทศนิยมไม่เกินสองตําแหน่ง พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคํา ตอบ ป.๕/๓ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาและ โจทยปญหาระคนของจํานวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และ ร้อยละ พร้อมทั้งตระหนัก ถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ และสร้างโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวนนับได้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ป.๕/๑ บอกค่าประมาณใกล้เคียงจํานวนเต็มสิบ เต็มร้อย และเต็มพันของจํานวนนับ และ นําไปใช้ได้ มาตรฐาน ค ๒.๑ ป.๕/๑ บอกความสัมพันธของหน่วยการวัด ปริมาตร หรือ ความจุ ป.๕/๒ หาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม ป.๕/๓ หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม ป.๕/๔ วัดขนาดของมุม ป.๕/๕ หาปริมาตรหรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มาตรฐาน ค ๒.๒ ป.๕/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับพื้นที่ ความยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม มาตรฐาน ค ๓.๑ ป.๕/๑ บอกลักษณะและจําแนกรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ป.๕/๒ บอกลักษณะ ความสัมพันธและจําแนกรูปสี่เหลี่ยม ชนิดต่าง ๆ ป.๕/๓ บอกลักษณะ ส่วนประกอบ ความสัมพันธและ จําแนกรูปสามเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ มาตรฐาน ค ๓.๒ ป.๕/๑ สร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร ป.๕/๒ สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยม และรูป วงกลม ป.๕/๓ สร้างเส้นขนานโดยใช้ไม้ฉาก มาตรฐาน ค ๔.๑ ป.๕/๑ บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวน ที่กําหนดให้ มาตรฐาน ค ๕.๑
  • 19. ป.๕/๑ เขียนแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะของเส้นแสดง จํานวน ป.๕/๒ อ่านข้อมูลจากแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ มาตรฐาน ค ๕.๒ ป.๕/๑ บอกได้ว่าเหตุการณที่กําหนดให้นั้น - เกิดขึ้นอย่างแน่นอน - อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่ก็ได้ - ไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน มาตรฐาน ค ๖.๑ ป.๕/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา ป.๕/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแก้ปญหาใน สถานการณต่างๆได้อย่างเหมาะสม ป.๕/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ป.๕/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการ สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ป.๕/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ ป.๕/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค รวม ๒๙ ตัวชี้วัด
  • 20. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ค ๑.๑ ป.๖/๑ เขียนและอ่านทศนิยมไม่เกินสามตําแหน่ง ป.๖/๒ เปรียบเทียบและเรียงลําดับเศษส่วนและทศนิยมไม่ เกินสามตําแหน่ง ป.๖/๓ เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และเขียนเศษส่วนใน รูปทศนิยม มาตรฐาน ค ๑.๒ ป.๖/๑ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ เศษส่วน จํานวนคละ และทศนิยม พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ป.๖/๒ วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา และโจทยปญหาระคนของจํานวนนับ เศษส่วน จํานวนคละ ทศนิยม และร้อยละ พร้อม ทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผล ของคําตอบ และสร้างโจทยปญหาเกี่ยวกับ จํานวนนับได้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ป.๖/๑ บอกค่าประมาณใกล้เคียงจํานวนเต็มหลักต่าง ๆ ของจํานวนนับ และนําไปใช้ได้ ป.๖/๒ บอกค่าประมาณของทศนิยมไม่เกินสามตําแหน่ง มาตรฐาน ค ๑.๔ ป.๖/๑ ใช้สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และ สมบัติการแจกแจงในการคิดคํานวณ ป.๖/๒ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ มาตรฐาน ค ๒.๑ ป.๖/๑ อธิบายเส้นทางหรือบอกตําแหน่งของสิ่งต่างๆ โดย ระบุทิศทาง และระยะทางจริง จาก รูปภาพ แผนที่ และแผนผัง
  • 21. ป.๖/๒ หาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ป.๖/๓ หาความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปวงกลม มาตรฐาน ค ๒.๒ ป.๖/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับพื้นที่ ความยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยมและรูปวงกลม ป.๖/๒ แก้ปญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุของทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก ป.๖/๓ เขียนแผนผังแสดงตําแหน่งของสิ่งต่าง ๆ และ แผนผังแสดงเส้นทางการเดินทาง มาตรฐาน ค ๓.๑ ป.๖/๑ บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนส่วน ประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ ป.๖/๒ บอกสมบัติของเส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ ป.๖/๓ บอกได้ว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกัน มาตรฐาน ค ๓.๒ ป.๖/๑ ประดิษฐทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซึม และพีระมิด จากรูปคลี่หรือ รูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดให้ ป.๖/๒ สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ มาตรฐาน ค ๔.๑ ป.๖/๑ แก้ปญหาเกี่ยวกับแบบรูป มาตรฐาน ค ๔.๒ ป.๖/๑ เขียนสมการจากสถานการณหรือปญหา และแก้ สมการพร้อมทั้งตรวจคําตอบ มาตรฐาน ค ๕.๑ ป.๖/๑ อ่านข้อมูลจากกราฟเส้น และแผนภูมิรูปวงกลม ป.๖/๒ เขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบและกราฟเส้น มาตรฐาน ค ๕.๒ ป.๖/๑ อธิบายเหตุการณโดยใช้คําที่มีความหมายเช่นเดียว กับคําว่า - เกิดขึ้นอย่างแน่นอน - อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่ก็ได้ - ไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน มาตรฐาน ค ๖.๑ ป.๖/๑ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปญหา ป.๖/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแก้ปญหา ในสถานการณต่างๆได้อย่างเหมาะสม
  • 22. ป.๖/๓ ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ป.๖/๔ ใช้ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการ สื่อสาร การสื่อความหมายและการนําเสนอ อย่างถูกต้องและเหมาะสม ป.๖/๕ เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ ป.๖/๖ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค รวม ๓๑ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ว ๑.๑
  • 23. ป.๑/๑ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มี ชีวิต ป.๑/๒ สังเกตและอธิบายลักษณะและหน้าที่ของโครงสร้าง ภายนอกของพืชและสัตว ป.๑/๓ สังเกตและอธิบายลักษณะหน้าที่และความสําคัญของ อวัยวะภายนอกของมนุษยตลอดจน การดูแลรักษาสุขภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๑/๑ ระบุลักษณะของสิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นและนํามาจัด จําแนกโดยใช้ลักษณะภายนอกเปนเกณฑ มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๑/๑ สังเกตและระบุลักษณะที่ปรากฏหรือสมบัติของวัสดุที่ ใช้ทําของเล่นของใช้ใน ชีวิตประจําวัน ป.๑/๒ จําแนกวัสดุที่ใช้ทําของเล่นของใช้ในชีวิต ประจําวัน รวมทั้งระบุเกณฑที่ใช้จําแนก มาตรฐาน ว ๔.๑ ป.๑/๑ ทดลองและอธิบายการดึงหรือการผลักวัตถุ มาตรฐาน ว ๖.๑ ป.๑/๑ สํารวจ ทดลองและอธิบายองคประกอบและสมบัติทาง กายภาพของดินในท้องถิ่น มาตรฐาน ว ๗.๑ ป.๑/๑ ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตยดวงจันทรและดวงดาว มาตรฐาน ว ๘.๑ ป.๑/๑ ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กําหนดให้หรือ ตามความสนใจ ป.๑/๒ วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเองและ ของครู ป.๑/๓ ใช้วัสดุอุปกรณในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกผล ด้วยวิธีง่ายๆ ป.๑/๔ จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการสํารวจตรวจสอบและนํา เสนอผล ป.๑/๕ แสดงความคิดเห็นในการสํารวจ ตรวจสอบ ป.๑/๖ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจตรวจสอบ โดย เขียนภาพหรือข้อความสั้นๆ ป.๑/๗ นําเสนอผลงานด้วยวาจาให้ผู้อื่นเข้าใจ รวม ๑๖ ตัวชี้วัด
  • 24. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๒/๑ ทดลองและอธิบาย นํ้า แสง เปนปจจัยที่จําเปนต่อการ ดํารงชีวิตของพืช ป.๒/๒ อธิบายอาหาร นํ้า อากาศ เปนปจจัยที่จําเปนต่อการ ดํารงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืช และสัตว และนําความรู้ไปใช้ประโยชน ป.๒/๓ สํารวจและอธิบาย พืชและสัตวสามารถตอบสนองต่อ แสง อุณหภูมิและการสัมผัส ป.๒/๔ ทดลองและอธิบาย ร่างกายของมนุษยสามารถ ตอบ สนองต่อแสงอุณหภูมิ และ การสัมผัส ป.๒/๕ อธิบายปจจัยที่จําเปนต่อการดํารงชีวิต และการเจริญ เติบโตของมนุษย มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๒/๑ อธิบายประโยชนของพืชและสัตวในท้องถิ่น มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๒/๑ ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของวัสดุที่นํามาทําของ เล่น ของใช้ในชีวิตประจําวัน ป.๒/๒ เลือกใช้วัสดุและสิ่งของต่างๆได้อย่างเหมาะสมและ ปลอดภัย มาตรฐาน ว ๔.๑ ป.๒/๑ ทดลองและอธิบายแรงที่เกิดจากแม่เหล็ก ป.๒/๒ อธิบายการนําแม่เหล็กมาใช้ประโยชน ป.๒/๓ ทดลองและอธิบายแรงไฟฟ้าที่เกิดจากการถูวัตถุบาง ชนิด มาตรฐาน ว ๕.๑ ป.๒/๑ ทดลองและอธิบายได้ว่าไฟฟ้าเปนพลังงาน ป.๒/๒ สํารวจและยกตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเปนพลังงานอื่น
  • 25. มาตรฐาน ว ๖.๑ ป.๒/๑ สํารวจและจําแนกประเภทของดินโดยใช้สมบัติทาง กายภาพเปนเกณฑ และนําความรู้ไป ใช้ประโยชน มาตรฐาน ว ๗.๑ ป.๒/๑ สืบค้นและอภิปรายความสําคัญของดวงอาทิตย มาตรฐาน ว ๘.๑ ป.๒/๑ ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กําหนดให้ และตามความสนใจ ป.๒/๒ วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเองของกลุ่ม และของครู ป.๒/๓ ใช้วัสดุอุปกรณเครื่องมือที่เหมาะสมในการสํารวจ ตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล ป.๒/๔ จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบและนําเสนอผล ป.๒/๕ ตั้งคําถามใหม่จากผลการสํารวจตรวจสอบ ป.๒/๖ แสดงความคิดเห็นเปนกลุ่มและรวบรวมเปนความรู้ ป.๒/๗ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ อย่างตรงไปตรงมา โดยเขียนภาพ แผนภาพหรือคําอธิบาย ป.๒/๘ นําเสนอผลงานด้วยวาจาให้ผู้อื่น เข้าใจ กระบวนการและผลของงาน รวม ๒๓ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ว ๑.๒ ๑ อภิปรายลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว ๒ เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูก ๓ อธิบายลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูกว่าเปนการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม และนําความรู้ไปใช้ประโยชน ๔ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุไปแล้ว และที่ดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบัน มาตรฐาน ว ๒.๑ ๕ สํารวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธของสิ่งมี ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
  • 26. มาตรฐาน ว ๒.๒ ๖ สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ และอภิปรายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น ๗ ระบุการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดปญหาสิ่งแวดล้อมในท้อง ถิ่น ๘ อภิปรายและนํา เสนอการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างประหยัด คุ้ม ค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ มาตรฐาน ว ๓.๑ ๙ จําแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เปนส่วนประกอบของของเล่น ของใช้ ๑๐ อธิบายการใช้ประโยชนของวัสดุแต่ละชนิด มาตรฐาน ว ๓.๒ ๑๑ ทดลองและอธิบายผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัสดุเมื่อถูก แรงกระทํา หรือทําให้ ร้อนขึ้นหรือทําให้เย็นลง ๑๒ อภิปรายประโยชนและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของวัสดุ มาตรฐาน ว ๔.๑ ๑๓ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทําต่อวัตถุ ๑๔ ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ มาตรฐาน ว ๕.๑ ๑๕ บอกแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า ๑๖ อธิบายความสําคัญของพลังงานไฟฟ้าและเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้า อย่างประหยัดและปลอดภัย มาตรฐาน ว ๖.๑ ๑๗ สํารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของนํ้าจากแหล่งนํ้าในท้องถิ่น และนําความรู้ไปใช้ประโยชน ๑๘ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศและความสําคัญ ของอากาศ ๑๙ ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกต่างของ อุณหภูมิ มาตรฐาน ว ๗.๑ ๒๐ สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย ดวงจันทร การเกิด กลางวันกลางคืน และ การกําหนดทิศโลกหมุนรอบตัวเองทําให้เกิดปรากฏการณต่อไปนี้
  • 27. มาตรฐาน ว ๘.๑ ๒๑ ตั้งคำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำาหนดให้และตามความ สนใจ ๒๒ วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสำารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ ความคิดของตนเอง ของกลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำารวจ ตรวจสอบ ๒๓ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำารวจตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล ๒๔ จัดกลุ่มข้อมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้และนำาเสนอผล ๒๕ ตั้งคำาถามใหม่จากผลการสำารวจตรวจสอบ ๒๖ แสดงความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มนำาไปสู่การสร้างความ รู้ ๒๗ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำารวจตรวจสอบตามความเป็นจริง มีแผนภาพประกอบคำาอธิบาย ๒๘ นำาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนแสดง กระบวนการและ ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 28. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๔/๑ ทดลองและอธิบายหน้าที่ของท่อลำาเลียงและปากใบ ของพืช ป.๔/๒ อธิบาย นำ้า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงและคลอโรฟิลล์ เป็นปัจจัยที่จำาเป็นบางประการ ต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของ พืช ป.๔/๓ ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง เสียง และการสัมผัส ป.๔/๔ อธิบายพฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ การสัมผัส และนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๕.๑ ป.๔/๑ ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่ง กำาเนิด ป.๔/๒ ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบ วัตถุ ป.๔/๓ ทดลองและจำาแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจาก แหล่งกำาเนิดแสง ป.๔/๔ ทดลองและอธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่าน ตัวกลางโปร่งใสสองชนิด ป.๔/๕ ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป.๔/๖ ทดลองและอธิบายแสงขาวประกอบด้วยแสงสีต่าง ๆ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๖. ๑ ป.๔/๑ สำารวจและอธิบายการเกิดดิน ป.๔/๒ ระบุชนิดและสมบัติของดินที่ใช้ปลูกพืชในท้องถิ่น มาตรฐาน ว ๗. ๑ ป.๔/๑ สร้างแบบจำาลองเพื่ออธิบายลักษณะของระบบสุริยะ
  • 29. มาตรฐาน ว ๘.๑ ป.๔/๑ ตั้งคำาถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ์ ที่จะศึกษาตามที่กำาหนดให้ และตามความสนใจ ป.๔/๒ วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสำารวจตรวจสอบหรือ ศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบ จากการสำารวจตรวจสอบ ป.๔/๓ เลือกอุปกรณ์ ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำารวจตรวจ สอบ ป.๔/๔ บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณ นำาเสนอผลสรุปผล ป.๔/๕ สร้างคำาถามใหม่เพื่อการสำารวจตรวจสอบต่อไป ป.๔/๖ แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้ เรียนรู้ ป.๔/๗ บันทึกและอธิบายผลการสำารวจตรวจสอบอย่างตรง ไปตรงมา ป.๔/๘ นำาเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือ เขียนอธิบายกระบวนการและผลของงาน ให้ผู้อื่นเข้าใจ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๕/๑ สังเกตและระบุส่วนประกอบของดอกและโครงสร้างที่ เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืชดอก ป.๕/ ๒ อธิบายการสืบพันธุ์ของพืชดอก การขยายพันธุ์พืช และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป.๕/๓ อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิด ป.๕/๔ อธิบายการสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของสัตว์ ป.๕/๕ อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด และนำาความ รู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๕/๑ สำารวจ เปรียบเทียบและระบุลักษณะของตนเองกับ คนในครอบครัว
  • 30. ป.๕/๒ อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมี ชีวิตในแต่ละรุ่น ป.๕/๓ จำาแนกพืชออกเป็นพืชดอก และพืชไม่มีดอก ป.๕/๔ ระบุลักษณะของพืชดอกที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และ พืชใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ลักษณะภายนอก เป็นเกณฑ์ ป.๕/๕ จำาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบาง ลักษณะและลักษณะภายนอก เป็นเกณฑ์ มาตรฐาน ว๓. ๑ ป.๕/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับ ความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนำาความร้อน การนำาไฟฟ้า และ ความหนา แน่น ป.๕/๒ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำาวัสดุไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน มาตรฐาน ว๔. ๑ ป.๕/๑ ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรง ซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำาต่อวัตถุ ป.๕/๒ ทดลองและอธิบายความดันอากาศ ป.๕/๓ ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว ป.๕/๔ ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การ ลอยตัวและการจมของวัตถุ มาตรฐาน ว ๔. ๒ ป.๕/๑ ทดลองและอธิบาย แรงเสียดทานและนำาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๕.๑ ป.๕/๑ ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของ เสียง ป.๕/๒ ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสูง เสียงตำ่า ป.๕/๓ ทดลองและอธิบายเสียงดัง เสียงค่อย ป.๕/๔ สำารวจและอภิปรายอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อฟังเสียงดัง มาก ๆ มาตรฐาน ว ๖. ๑ ป.๕/๑ สำารวจ ทดลองและอธิบายการเกิดเมฆ หมอก นำ้าค้าง ฝนและลูกเห็บ ป.๕/๒ ทดลองและอธิบายการเกิดวัฏจักรนำ้า ป.๕/๓ ออกแบบและสร้างเครื่องมืออย่างง่ายในการวัด อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศ ป.๕/๔ ทดลองและอธิบายการเกิดลมและนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
  • 31. มาตรฐาน ว ๗. ๑ ป.๕/๑ สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ และปรากฏการณ์การ ขึ้นตกของดวงดาวโดยใช้แผนที่ดาว มาตรฐาน ว ๘. ๑ ป.๕/๑ ตั้งคำาถาม เกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องหรือสถานการณ์ ที่จะศึกษาตามที่กำาหนดให้และ ตามความสนใจ ป.๕/๒ วางแผนการสังเกต เสนอการสำารวจตรวจสอบ หรือ ศึกษาค้นคว้า และคาดการณ์สิ่งที่จะพบ จากการสำารวจตรวจสอบ ป.๕/๓ เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำารวจ ตรวจ สอบให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ ป.๕/๔ บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบ ผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ นำาเสนอผล และข้อสรุป ป.๕/๕ สร้างคำาถามใหม่เพื่อการสำารวจตรวจสอบต่อไป ป.๕/๖ แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย และสรุปสิ่งที่ ได้ เรียนรู้ ป.๕/๗ บันทึกและอธิบายผลการสำารวจ ตรวจสอบตาม ความเป็นจริง มีการอ้างอิง ป.๕/๘ นำาเสนอ จัดแสดง ผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและ ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 32. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๖/๑ อธิบายการเจริญเติบโตของมนุษย์จากวัยแรกเกิดจนถึง วัยผู้ใหญ่ ป.๖/๒ อธิบายการทำางานที่สัมพันธ์กันของระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ และ ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ ป.๖/๓ วิเคราะห์สารอาหารและอภิปรายความจำาเป็นที่ร่างกาย ต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสม กับเพศและวัย มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๖/๑ สำารวจและอภิปรายความสัมพันธ์ของกลุ่ม สิ่งมี ชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ ป.๖/๒ อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในรูป ของโซ่อาหารและสายใยอาหาร ป.๖/๓ สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง การดำารง ชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม ในท้องถิ่น มาตรฐาน ว ๒.๒ ป.๖/๑ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละท้องถิ่นที่เป็นประโยชน์ ต่อการดำารงชีวิต ป.๖/๒ วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ป.๖/๓ อภิปรายผลต่อสิ่งมีชีวิต จากการเปลี่ยนแปลงสิ่ง แวดล้อมทั้งโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์
  • 33. ป.๖/๔ อภิปรายแนวทางในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ป.๖/๕ มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น มาตรฐาน ว ๓. ๑ ป.๖/๑ ทดลองและอธิบาย สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ป.๖/๒ จำาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้สถานะหรือเกณฑ์อื่น ที่กำาหนดเอง ป.๖/๓ ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสม กัน โดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง การระเหิด การระเหยแห้ง ป.๖/๔ อภิปรายผลของสารเสพติดต่อระบบต่าง ๆ ของ ร่างกาย และแนวทางในการป้องกันตนเอง จากสารเสพติด ป.๖/๕ สำารวจและจำาแนกประเภทของสารต่างๆ ที่ใช้ใน ชีวิตประจำาวัน โดยใช้สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของสารเป็นเกณฑ์ ป.๖/๖ อภิปรายการเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่าง ถูกต้องและปลอดภัย มาตรฐาน ว ๓. ๒ ป.๖/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการ ละลายและเปลี่ยนสถานะ ป.๖/๒ วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำาให้เกิดสารใหม่ และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป ป.๖/๓ อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๕.๑ ป.๖/๑ ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ป.๖/๒ ทดลองและอธิบายตัวนำาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า ป.๖/๓ ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป.๖/๔ ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม แบบขนาน และนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ป.๖/๕ ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟ ที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๖. ๑ ป.๖/๑ อธิบาย จำาแนกประเภทของหิน โดยใช้ลักษณะของ หิน สมบัติของหินเป็นเกณฑ์ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป.๖/๒ สำารวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของหิน
  • 34. ป.๖/๓ สืบค้นและอธิบายธรณีพิบัติภัยที่มีผลต่อมนุษย์และ สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น มาตรฐาน ว ๗. ๑ ป.๖/๑ สร้างแบบจำาลองและอธิบายการเกิดฤดู ข้างขึ้นข้าง แรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗. ๒ ป.๖/๑ สืบค้นอภิปรายความก้าวหน้าและประโยชน์ของ เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๘.๑ ป.๖/๑ ตั้งคำาถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือ สถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำาหนดให้และ ตามความสนใจ ป.๖/๒ วางแผนการสังเกต เสนอการสำารวจตรวจสอบหรือ ศึกษาค้นคว้า คาดการณ์สิ่งที่จะพบ จากการสำารวจตรวจสอบ ป.๖/ ๓ เลือกอุปกรณ์และวิธีการสำารวจตรวจสอบที่ถูกต้อง เหมาะสมให้ได้ผลที่ครอบคลุมและ เชื่อถือได้ ป.๖/ ๔ บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์ และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ นำาเสนอผลและข้อสรุป ป.๖/ ๕ สร้างคำาถามใหม่เพื่อการสำารวจตรวจสอบต่อไป ป.๖/ ๖ แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็น และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ป.๖/๗ บันทึกและอธิบายผลการสำารวจตรวจสอบตามความ เป็นจริง มีเหตุผลและมีประจักษ์พยาน อ้างอิง ป.๖/ ๘ นำาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนรายงานแสดงกระบวนการและ ผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ รวม ๓๘ ตัวชี้วัด