SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  106
Télécharger pour lire hors ligne
งานวันรับรองระบบงานโลก ปี 2553
วันพุธที่ 9 มิถุนายน 2553 เวลา 09.30 – 11.30 น.
ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (ท่านชัยวุฒิ บรรณวัฒน์)
ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ท่านจุรินทร์ ลักษณวิศิษฐ์)
ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ท่านธีระ ใจสมุทร)
และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน

                                                  ในลํ า ดั บ แรก ผม ข อ
                                     แสดงยิ น ดี กั บ หน่ ว ยงานรั บ รอง
                                     ระบบงานทั้ ง 4 หน่ ว ยงาน ที่ มี
                                     ผลงานอันเป็นที่ประจักษ์ และได้รับ
                                     การยอมรับจากองค์การภาครัฐและ
                                     เอกชนในประเทศ รวมทั้ ง จาก
                                     องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ
                                     รั บ รองระบบงานห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร
                                     และขอแสดงความชื่น ชมในความ
                                     ร่ ว มมื อ ของทั้ ง 4 หน่ ว ยงานที่ ไ ด้
                                     ร่วมกันจัดงาน “วันรับรองระบบงานโลก
                                     ปี 2553” หรือ Accreditation Day
                                     2010 ขึ้ น ใ น วั น นี้ ซึ่ ง นั บ เ ป็ น
                                     ตัวอย่า งของการประสานงานของ
                                     ส่วนราชการที่น่าชื่นชมยิ่ง



                                       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย         1
ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพครับ
             การรั บรองระบบงานนั้น นอกจากจะมีค วามสํ าคัญ ยิ่งต่อ การพัฒนา
ทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีของประเทศแล้ว ยังมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการ
พั ฒ นาทางด้ า นคุ ณ ภาพของสิ น ค้ า การพั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต และการอนุ รั ก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการรับรองระบบงานนั้น เป็นหนึ่งใน
กลไกของการรับรองมาตรฐานสินค้าร่วมกัน ระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกของ
องค์การระหว่างประเทศ ว่าด้วยการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ (ILAC) ซึ่งมี
วัตถุประสงค์สําคัญประการหนึ่ง คือ “tested once accepted everywhere” หรือ
“ทดสอบเพียงครั้งเดียว ได้รับการยอมรับทั่วโลก” และสมาชิกส่วนใหญ่นั้น
เป็นประเทศผู้นําเข้าสินค้าไทยที่สําคัญ
             ดังนั้น เมื่อสินค้าของไทยได้ผ่านการรับรองจากห้องปฏิบัติการที่ผ่าน
การตรวจสอบและรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์บริการ ซึ่งเป็นสมาชิกขององค์กร
ระหว่างประเทศแล้ ว สินค้าเหล่านั้นก็จ ะสามารถนําเข้าไปจําหน่ายในประเทศ
สมาชิกได้ โดยไม่ต้องถูกตรวจสอบและรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานตรวจสอบ
รับรองของประเทศปลายทางอีก รวมทั้งในการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการนั้ น
จะให้ ความสํา คัญ กับ การควบคุ มปริม าณของมลพิ ษต่ างๆ ที่ จะปล่ อยออกสู่
สิ่งแวดล้อม มิให้เกินไปกว่าค่ามาตรฐานการปล่อยมลพิษ ซึ่งจะเป็นกลไกในการ
ควบคุมการปล่อยมลพิษในกระบวนการผลิตของภาคเอกชนได้ในระดับหนึ่งด้วย
             กรมวิ ทยาศาสตร์ บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็ น
หน่ ว ยรั บ รองระบบงานหนึ่ ง ในสี่ ห น่ ว ยรั บ รองระบบงานของประเทศไทยซึ่ ง มี
ภารกิจในการดําเนินการเกี่ยวกับการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการให้เป็นไป
ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 (general requirements for the competence of
testing and calibration laboratories)




  2     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
กรมวิทยาศาสตร์บริการ เริมให้บริการมาตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2546
                                          ่
ซึ่ ง ภายหลั ง ดํ า เนิ น งานด้ า นการรั บ รองระบบงานมาในระยะเวลาเพี ย ง 3 ปี
กรมวิ ทย า ศา สต ร์ บ ริ ก า รก็ ไ ด้ รั บ การยอม รั บ ร่ ว ม (Mutual Recognition
Arrangement, MRA) จากองค์กรภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกว่าด้วยการรับรองห้องปฏิบัติการ
(Asia Pacific Laboratory Accreditation Cooperation, APLAC) เมื่อเดือน
พฤษภาคม 2549 และได้รับการยอมรับร่วมจากองค์กรระหว่างประเทศ ว่าด้วย
การรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ (International Laboratory Accreditation
Cooperation , ILAC) เมื่อเดือนสิงหาคม 2549
            ปัจจุบันมีห้องปฏิบัติการทดสอบที่ผ่านการรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์
บริการแล้ว รวมทั้งสิ้น 51 ห้องปฏิบัติการ โดยมีขอบข่ายผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ
รั บ รอง เช่ น น้ํ า ตาลและผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ํ า ตาล อาหารสั ต ว์ ภาชนะบรรจุ ภั ณ ฑ์
ผลิตภั ณฑ์ยางพารา เครื่อ งหนัง และพลาสติก เคมีภั ณฑ์ กระดาษ รวมทั้ งการ
ตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานทางด้านสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบการภาคเอกชน
เป็นต้น แม้ว่า จํานวนห้องปฏิ บัติการทดสอบ ที่ได้ รับการรับรองความสามารถ
ห้องปฏิบัติการ จะยังมีจํานวนน้อยมากเมื่อเทียบกับจํานวนห้องปฏิบัติการทั้งหมด


                                                ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย     3
ในประเทศ แต่กรมวิทยาศาสตร์บริการก็จะให้ความรู้ ช่วยเหลือและสนับสนุนให้
การรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ มีความนิยมแพร่หลายมากยิ่งขึ้นต่อไป
                                                                     นอกจากการ
                                                       รั บ ร อ ง ร ะ บ บ ง า น
                                                       ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารแล้ ว การ
                                                       ทดสอบความชํานาญหรือ
                                                       Proficiency Testing ยัง
                                                       เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ใช้ใน
                                                       การประกั น คุ ณ ภาพและ
                                                       ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง
                                                       ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร อ ย่ า ง
ต่อเนื่อง รวมทั้งยังช่วยส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันกันเองระหว่างห้องปฏิบัติการใน
การพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของตนอยู่เสมอ ซึ่งการเข้าร่วมการทดสอบ
ความชํานาญของห้องปฏิบัติการ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อห้องปฏิบัติการ ใน
การรักษาประสิทธิภาพและคุณภาพในการให้บริการ และเป็นประโยชน์สําหรับ
ผู้ประกอบการที่จะมาใช้บริการการรับรองจากห้องปฏิบัติการอีกด้วย
            ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญอยู่
หลายหน่วยงาน ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์ บริการ ได้เข้าไปส่งเสริมและสนับสนุนการ
พัฒนาขีดความสามารถของผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญของไทย ให้ได้
รับรองตามมาตรฐานสากล โดยไม่จําเป็นต้องขอรับการรับรองระบบงานจากหน่วย
รับรองระบบงานในต่างประเทศ ซึ่งจากที่กรมวิทยาศาสตร์บริการได้ดําเนินการ
ขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานไปยังผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญนี้
ทําให้ กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นหน่วยรับรองแห่งแรกของประเทศไทย
ที่ให้การรับรองผู้จัดโปรแกรมทดสอบความชานาญ โดยได้เริ่มดาเนินการ
มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551


  4      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ขณะนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังได้มีนโยบายที่จะขยาย
ขอบข่ า ยการรั บ รองระบบงานให้ ก ว้ า งขวางยิ่ ง ขึ้ น จากเดิ ม ที่ ใ ห้ ก ารรั บ รอง
ห้องปฏิบัติการและผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ จะให้ครอบคลุมถึงการ
รับรองผู้ผลิตวัสดุอ้างอิง (Reference Material) ด้วย เนื่องจากในปัจจุบันห้องปฏิบัติการ
ภายในประเทศ มีความจําเป็นต้องสั่งซื้อวัสดุอ้างอิงจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาสูง
เข้ามาเพื่อทําการตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบของห้องปฏิบัติการ
และเพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ที่จะมาใช้บริการของห้องปฏิบัติการ
              ดั ง นั้ น หากมี
ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร
รั บ รองผู้ ผ ลิ ต วั ส ดุ อ้ า งอิ ง
ขึ้นภายในประเทศแล้ว จะ
ช่ว ยให้ต้ นทุ นของพัฒ นา
ขี ด คว ามสามารถของ
ห้องปฏิบัติการลดลง และ
จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ก า ร
พัฒนาการผลิตวัสดุอ้างอิงขึ้นเองภายในประเทศได้ในอนาคต
              นอกจากกรมวิทยาศาสตร์บริการที่ ทําหน้าที่ในการให้การรับรองแล้ว
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังมีสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ซึ่งมีผลการ
ดําเนินงานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล เกี่ยวกับความแม่นยําของระบบ
มาตรฐานการวัด เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ส่งเสริมและสนับสนุนการตรวจสอบ
และสอบเทียบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการวัดค่าต่างๆ ของห้องปฏิบัติการ ให้มี
ความเที่ยงตรง และสามารถเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานการวัดสากลได้ ซึ่งจะ
ส่งผลให้ระบบการรับรองภายในประเทศเข้มแข็งยิ่งขึ้น รวมทั้ง จะทําหน้าที่ในการ
ถ่ายทอดความถูกต้องของการวัดไปสู่ระบบมาตรฐานการวัดต่างๆ ในประเทศ



                                                  ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย     5
นอกเหนือจากกิจกรรมของห้องปฏิบัติการ เพื่อผลประโยชน์ในเชิงการคุ้มครอง
ผู้บริโภคอีกด้วย
              งานในวันนี้ เป็นกิจกรรมที่หน่วยรับรองระบบงานภายในประเทศ
4 หน่วยงานร่วมมือกันจัดขึ้น พร้อมกับหน่วยรับรองระบบงานจากทั่วโลกเพื่อสร้าง
ความตระหนักถึงความสําคัญของการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ และกระตุ้น
ให้ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร และผู้ จั ด โปรแกรมทดสอบความชํ า นาญห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารได้
พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของตนให้เพิ่มมากขึ้น
              กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสําคัญของการ
รับรองระบบงาน และพร้อมที่จะให้การสนับสนุ น ประสานเครือข่ายกับทั้งภาค
วิชาการและภาคเอกชน รวมทั้งผลักดัน การรับรองระบบงานของประเทศให้เกิด
ความก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป ตลอดจนมุ่งหวังให้หน่วยงานรับรองระบบงานของไทย
สามารถบูรณาการการรับรองระบบงานร่วมกันในลักษณะ One Stop Service ได้ในอนาคต
              ทั้ง นี้ เพื่ อให้ส อดคล้ องกับ นโยบายของรัฐ บาลและของ ฯพณฯ
นายกรัฐ มนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชี วะ) ที่ ต้องการเห็นการบูรณาการการ
ทํางานร่วมกันของส่วนราชการ เพื่ออํานวยความสะดวกและลดอุปสรรคให้แก่
ผู้ประกอบการเอกชนในการเข้าถึงการอนุมัติ อนุญาต และการรับรองจากภาครั ฐ
รวมทั้งเพื่อผลประโยชน์ต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ
และการส่ ง เสริ ม ผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ ของไทยในเวที เ ศรษฐกิ จ ระหว่ า ง
ประเทศ ให้เจริญก้าวหน้าเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
              สุ ด ท้ า ยนี้ ผมขออวยพรให้ ก ารจั ด งานวั น รั บ รองระบบงานโลกปี นี้
ประสบความสําเร็จ และขอให้หน่วยรับรองระบบงานของทั้ง 4 กระทรวงที่ได้
ร่วมกันจัดกิจกรรมอันสําคัญยิ่งในวันนี้ มีการพัฒนาสมรรถนะและขีดความสามารถ
ของตนเอง เพื่อให้เป็นที่ยอมรับและชื่นชมในเวทีระดับโลกสืบต่อไป
              ขอบคุณครับ
                                           เรียบเรียงโดย : ชลารัตน์ รัตนขันติชัย


  6     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
พิธีปิดการแข่งขันหุ่นยนต์ ABU ชิงชนะเลิศประเทศไทย ประจาปี 2553
วันอาทิตย์ที่ 13 มิถุนายน 2553 เวลา 16.30 น.
ณ ศูนย์การแสดงสินค้า อิมแพ็ค เมืองทองธานี

สวัสดีครับ
ท่านกรรมการผู้อานวยการใหญ่ บริษัท อสมท จากัด (มหาชน)
          (ท่านธนวัฒน์ วรรณสม)
ท่านประวิทย์ มาลีนนท์
ท่าน ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ
ท่านผู้เข้าร่วมการแข่งขัน
ท่านผู้มีเกียรติ สื่อมวลชน และน้องนักศึกษาทุกท่าน

            จากการที่ ผ มได้ มี โ อกาสชมการ
แข่งขันหุ่นยนต์ ABU ชิงชนะเลิศประเทศ
ไทยในช่ ว งบ่ า ยวั น นี้ ต้ อ งขอยอมรั บ ว่ า
นอกจากความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น กั บ
เกม “บุ ก อารยธรรมอี ยิ ป ต์ พิ ชิ ต มหา
พี ร ะมิ ด แห่ ง กิ ซ า” แล้ ว สิ่ ง ที่ ผ มคิ ด ว่ า มี
คุณค่ามาก คือ การได้เห็นถึงความสามารถ
และศั ก ยภาพของเยาวชนไทย ในการ
สร้ า งสรรค์ แ ละพั ฒ นาหุ่ น ยนต์ ได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งทําให้ผมรู้สึกชื่นชม และ
ประทั บ ใจในสั ม พั น ธภาพ ที่ เ ป็ น หนึ่ ง


                                                           ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย   7
เดียวกัน ระหว่างมนุษย์กับหุ่นยนต์
              ที่ สํ า คั ญ ที่ สุด คื อ ความสามั ค คี แ ละการทํ า งานร่ ว มกั น เป็ น ที ม ของ
นักประดิษฐ์ ที่สอดประสานการทํ างานด้วยกั นได้อย่างกลมกลืน แม้จะต้องอยู่
ภายใต้ แ รงกดดั น จาก
บรรยากาศของการ
แข่งขัน รวมถึงกฎกติกา
และข้ อ จํ า กั ด ต่ า งๆ ซึ่ ง
ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์
ความสามั ค คี และการ
ทํ า ง า น ร่ ว ม เ ป็ น ห นึ่ ง
เดี ย วกั น นี้ ถื อ เป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ ของการพั ฒ นาประเทศภายใต้ ส ถานการณ์
ในปั จ จุ บั น ผมจึ ง ขอแสดงความชื่ น ชมกั บ ที ม นั ก ประดิ ษ ฐ์ แ ละบั ง คั บ หุ่ น ยนต์
ทุกๆ ทีม ที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้
              ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพครับ
              ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ประกาศนโยบายไว้อย่าง
ชัดเจน ที่จะมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนไทย มีความรักและความสนใจ
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนไปสู่การเป็นนัก
ประดิษฐ์ โดยนําความรู้และความสร้างสรรค์ที่มีอยู่ มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ขีดความสามารถทางด้านการแข่งขันของประเทศในด้านต่างๆ
              โครงการถนนเทคโนโลยี และการแข่งขันหุ่นยนต์ ABU ชิงชนะเลิศ
ประเทศไทย ที่ บ ริ ษั ท อสมท. จํ า กั ด (มหาชน) สํ า นั ก งานคณะกรรมการ
อาชี ว ศึ ก ษา และสมาคมส่ ง เสริ ม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ ปุ่ น ) ได้ ร่ ว มกั บ


  8      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
กระทรวงวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี โดยสํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดขึ้นในวันนี้ นับเป็นกิจกรรมตัวอย่างที่น่าชื่นชมที่
ได้เปิดโอกาสและเปิดพื้นที่ ให้แก่เยาวชนได้นําเอาความรู้ ทักษะ ศักยภาพ และ
                                                            ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ม า
                                                            พั ฒ นาเป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์
                                                            หุ่นยนต์ที่สามารถนําไป
                                                            พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด เ พื่ อ
                                                            ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น เ ชิ ง
                                                            วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
                                                            ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว จะนํ า ไป
สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไปในอนาคต ซึ่งผมต้องขอแสดง
ความชื่นชม และเป็นกําลังใจให้กับคณะผู้ดําเนินการมา ณ โอกาสนี้
            ผมมีความเชื่อมั่นว่า ทุกรางวัลที่ผู้เข้าร่วมการแข่งขันได้รับในวันนี้ เป็น
รางวัลที่มีคุณค่า และมีความหมายต่อวงการเทคโนโลยีหุ่นยนต์ของเยาวชนไทย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อทีมที่ได้เป็นผู้แทนของประเทศไทย ในการเดินทางไปเข้า
ร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ ABU Asia-Pacific Robot Contest 2010 ที่กรุงไคโร
สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ ในเดือนกันยายนนี้
            ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มอบให้ผมมาเป็นผู้แทน
ของท่าน ในการแสดงความยินดี และมอบรางวัลให้แก่ทีมที่ได้รับรางวัลทุกท่าน
ขอให้รางวัลนี้เป็นเครื่องเตือนใจ ในการรักษาระดับคุณภาพของงาน และตระหนัก
ในภาระหน้าที่อันทรงเกียรติ ของการเป็นผู้แทนประเทศไทยในเวทีการแข่งขัน
ระดับสากล


                                                     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย       9
ขณะเดี ยวกัน ก็
ขอแสดงความชื่ น ชมและ
เป็นกําลังใจให้แก่ผู้เข้าร่วม
การแข่ ง ขั น ทุ ก ท่ า น ให้ มี
ความภาคภูมิใจในผลงาน
อั น ทรงคุ ณ ค่ า ทุ ก ชิ้ น ที่ ไ ด้
ส่งเข้าร่วมการแข่งขัน และ
ขอให้ทุกท่านได้สะสมองค์
ความรู้ พัฒนาทักษะ และพัฒนาผลงานด้านการประดิษฐ์ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
และขออวยพรให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ทุ ก ท่ า น ประสบความสํ า เร็ จ ในการ
สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีอันทันสมัย ได้ตามแรงบันดาลใจของตน และ
นําเอาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ความสามัคคี และประสบการณ์ที่ได้รับจากการ
ทํางานเป็นทีมเดี ยวกัน นี้ มาร่วมพั ฒนาชาติ บ้านเมือ งในด้านต่างๆ ให้มีความ
มั่นคงเจริญรุ่งเรืองต่อไป

                                      เรียบเรียงโดย : ชลารัตน์ รัตนขันติชัย




 10     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
แถลงข่าวการจัดประกวด “รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ประจาปี 2553”
วันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน 2553 เวลา 13.30 – 15.00 น.
ณ ห้องกมลทิพย์ 3 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ

ผู้ร่วมแถลงข่าว :
ดร. วีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
นายโฆสิต ปั้นเปียมรัษฎ์
                  ่
ประธานกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ
ประธานกรรมการตัดสินรางวัลนวัตกรรมฯ
ผู้ดาเนินรายการ :
คุณนรากร ติยายน

                                            พิ ธี กร : ท่ าน รมว.วท. มี แนว
                                   นโยบายสํ าหรับ การขับเคลื่อนนวัต กรรม
                                   ให้ กระทรวงวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
                                   มีอะไรบ้าง
                                            รมว.วท. : ผมขออนุญาตเล่า
                                   ภาพกว้ า งก่ อ น เรื่ อ งแรกสุ ด ที่ จ ะทํ า คื อ
การสานต่ อโครงการพระราชดําริ ซึ่งผมให้ค วามสําคัญ กับเรื่องนี้สูงสุ ด ถื อเป็ น
นโยบายสําคัญของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ นอกเหนือจากนี้จะทําเพิ่ม 3 เรื่อง คือ
       1) การนําวิทยาศาสตร์ไปสู่เด็กและเยาวชน
       2) การนําวิทยาศาสตร์ไปสู่ชมชน ลงไปสู่คนในชนบท ลงไปสู่ต่างจังหวัด
                                 ุ
       3) การนําวิทยาศาสตร์ไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ



                                                 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย     11
ด้ ว ย ก า ร นํ า น วั ต ก ร ร ม ไ ป
ขั บ เค ลื่ อนขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ทางการแข่งขันในประเทศไทย ซึ่ง
ปั จ จุ บั น ประเทศไทย ได้ เ ปลี่ ย น
สถานะจากประเทศที่แข่งขันด้าน
แรงงานไปเป็ น เรื่ อ งองค์ ค วามรู้
ซึ่ ง องค์ ค วามรู้ อ ะไรสํ า คั ญ ที่ จ ะ
ขั บ เคลื่ อ นประเทศไทยไปสู่ สั ง คมในศตวรรษที่ 21 คงหนี ไ ม่ พ้ น เรื่ อ งของ
วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม มี ห ลายเรื่ อ งที่ ผ มอยากจะทํ า เช่ น
อุตสาหกรรมอาหาร เกษตร พลังงานทดแทน ผมคิดว่าเรามีขีดความสามารถใน
การแข่งขันสูง ผมจะพยายามนํานวัตกรรมมาขับเคลื่อนอุตสาหกรรมต่างๆ เหล่านี้
ให้มีศักยภาพ
              พิธี กร : ท่ า น รมว.วท. ได้ เน้ นความสํา คัญ เกี่ ย วกั บนวัต กรรมเป็ น
อย่ า งมาก หากประชาชนในประเทศมี ก ารสร้ า งผลงานนวั ต กรรมมากๆ
จะก่อให้เกิดผลดีอย่างไร
              รมว.วท. : ตามที่ ไ ด้ เรี ย นไว้ เ บื้ องต้ น ว่า ประเทศไทยจะแข่ งขั น ใน
ศตวรรษที่ 21 ได้ คงหนีไม่พ้นเรื่องขององค์ความรู้ องค์ความรู้ต้องมีเรื่องของ
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเหล่านี้ จะเป็นการเปิดโอกาสให้คนดีคนเก่ง มีพื้นที่ มี
เวทีได้เข้ามาแข่งขัน เมื่อเขาบอกว่าจะมีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ตรงนี้
ก็จะนําไปสู่การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ นวัตกรรมใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ไม่มีที่สิ้นสุด นั่นคือประโยชน์ชัด ๆ ที่มองเห็นได้ นอกเหนือจากนั้นการที่เราจัด
กิจกรรมแบบนี้ถือเป็นการกระตุ้นให้คนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบการ ได้
เห็นถึงความสําคัญของสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ผมคิดว่านี่ก็จะเป็นประโยชน์ในการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ



 12      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
พิธีกร : ท่าน รมว.วท. คงจะเห็น ผลงานปี ที่แล้ ว และเราได้นํ ามาจั ด
นิทรรศการส่วนหนึ่ง ท่านมองว่ารางวัลที่ท่านเห็นในปีที่แล้ว นําไปใช้ประโยชน์
อะไรบ้าง
           รมว.วท. : ในปี ที่แล้วมี 2 รางวัลที่ชนะเลิศ รางวัลที่ 1 เป็ นรางวั ล
                                                   ชนะเลิ ศ นวั ต กรรมด้ า นเศรษฐกิ จ
                                                   อีก รางวั ลชนะเลิ ศรางวัลที่ 1 เป็ น
                                                   นวั ต กรรม ด้ า นสั ง ค ม สํ า ห รั บ
                                                   นวั ต กรรมด้ า นเศรษฐกิ จ ที่ เ รา
                                                   เ รี ย ก ว่ า “ฟ อ ร์ ท ” เ ป็ น ร ะ บ บ
                                                   ชุ ม สายโทรศั พ ท์ แ ละอิ น เทอร์ เ น็ ต
                                                   ความเร็ ว สู ง ขนาดเล็ ก ถามว่ า มี
                                                   ประโยชน์อย่างไรในการขับเคลื่อน
                                                   เศรษฐกิ จ คื อ ว่ า ประหยั ด การ
                                                   นําเข้าอุปกรณ์จากต่างประเทศที่มี
                                                   ลักษณะเดียวกัน ผลประโยชน์ที่ได้
                                                   ประหยั ด งบประมาณการนํ า เข้ า
                                                   อุปกรณ์ประมาณ 1,500 ล้านบาท
                                                   ตัวอย่างเช่น บริษัท ทีโอที เมื่อนํา
                                                   ฟอร์ ทเข้ ามาใช้ จะทํ า ให้ ป ระหยั ด
ขึ้น มีเม็ดเงินขยายกิจกรรมในภูมิภาคห่ างไกลได้ครอบคลุมพื้นที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น
เพราะอุปกรณ์ถูกลง นี่เป็นเรื่องของเศรษฐกิจ ส่วนเรื่องนวัตกรรมด้านสังคม ได้แก่
อุปกรณ์ช่วยผ่าตัดโรคพังผืดกดรัดเส้นประสาทข้อมือ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต
สมัย ก่อนต้องใช้ อุปกรณ์ต่ างประเทศที่มีร าคาแพง ทํ าให้ คนที่ จะผ่าตั ดคิ ด มาก
ตอนนี้ช่วยลดค่าใช้จ่ายจากเดิมอยู่ที่ 6,000 บาท ลดลงเหลือเพียง 2,000 บาท
ต่อ ครั้ง เปลี่ ย นแปลงจากผ่า ตั ด ใหญ่ เ ป็น ผ่ า ตัด เล็ ก ไม่จํ า เป็น ต้ อ งนอนค้า งคื น


                                                      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย        13
จริงๆ แล้ว นี่เป็นผลงานนวัตกรรมระดับโลก ซึ่งต้องขอขอบคุณประธานกรรมการ
นวัตกรรมแห่งชาติ ท่านโฆสิตฯ ที่เล็งเห็นความสําคัญของเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ซึ่งปี
นี้ท่านก็ได้เป็นประธานกรรมการตัดสินรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ
             พิธีกร : ทุกครั้งที่ท่านโฆสิตฯ นั่งเป็นประธานกรรมการตัดสินรางวัลฯ
ท่ า นมองความสํ า เร็ จ ของรางวั ล
เหล่านี้อย่างไร
             ท่านโฆสิตฯ : ขอบคุณที่
ให้เวลาพวกเราได้มาแสดงผลงาน
ที่ผ่า นมา ขอเรีย นว่า นั่ง ตรงนี้ม า
หลายปี เจตนาใหญ่ ข องการให้
รางวั ล เรื่ อ งแรกคื อ การชั ก จู ง ให้
เกิดความสนใจ ซึ่งเกิดผลสําเร็จระดับหนึ่ง เรื่องที่สอง การสร้างสรรค์ ซึ่งในความ
สร้างสรรค์ที่ รมว.วท. ได้พูดถึงแล้ว คือ การนํามาใช้ในเหตุการณ์ของคนไทยของ
ประเทศไทย เช่น เครื่องมือแพทย์ คนไข้เป็นคนไทย คุณหมอเป็นคนไทย เป็น
เรื่องที่มีประโยชน์ต่อสังคม เป็นแรงบันดาลใจ ผมคิดว่าจากนี้เป็นต้นไป เราน่าจะ
พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารต่ า งๆ ด้ ว ยตั ว ของเราเอง เรื่ อ งที่ ส าม ระบบ
ชุมสายโทรศัพท์ที่ รมว.วท. พูดถึง เป็นที่สังเกตว่าเป็นความสามารถระดับสูงมาก
จะเรียกว่าระดับโลกเห็นจะได้ เป็นเรื่องชัดเจนว่า เพื่อสนองความต้องการของเรา
เอง ในเขตชุมชนห่างไกลได้มีอุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้คนในชนบทเข้าสู่ยุคข้อมูล
ข่าวสารที่ทันสมัยไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าคนกรุงเทพฯ
             พิธีกร : ปีนี้ท่าน รมว.วท. วางแนวทางการประกวดไว้อย่างไรบ้าง
             รมว.วท. : ในนามของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ รู้สึกสํานึกในพระมหา
กรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมรูปของตัวท่านเองในฐานะที่เป็นพระบิดาของนวัตกรรมไทย
ตรงนี้ ถื อ เป็ น เกี ย รติ ย ศสู ง สุ ด ของกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ และของสํ า นั ก งาน


 14     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
นวัตกรรมแห่งชาติ ส่วนในเรื่อง
                                                           ของรางวั ล ผมเรี ย นอย่ า งนี้ ว่ า
                                                           เ ร า แ บ่ ง เ ป็ น 2 ป ร ะ เ ภ ท
                                                           เหมื อนเดิม คื อ นวั ตกรรมด้ า น
                                                           เศรษฐกิ จ และนวั ต กรรมด้ า น
                                                           สั ง ค ม ซึ่ ง ทั้ ง ส อ ง ร า ง วั ล นี้
                                                           ประกอบด้วย 5 รางวัล รางวั ล
                                                           ที่ 1 คือ ชนะเลิศ รางวัลที่ 2 คือ
รองชนะเลิศที่ 1 และรองชนะเลิศที่ 2 และรางวัลชมเชยมี 2 รางวัล โดยรางวัล
ผู้ ช นะเลิ ศ ที่ 1 จะได้ รั บ โล่ ห์ ร างวั ล และเงิ น รางวั ล 200,000 บาท รางวั ลรอง
ชนะเลิศอันดับหนึ่ง จะได้รับโล่ห์รางวัล และเงินรางวัล 100,000 บาท รางวัลรอง
ชนะเลิศอันดับสอง จะได้รับโล่ห์รางวัล และเงิน รางวัล 50,000 บาท และรางวัล
ชมเชย 2 รางวัล จะได้รับเกียรติบัตร และเงินรางวัลๆ ละ 25,000 บาท
            พิธีกร : หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกแต่ละผลงานมีอะไรบ้าง
            ท่านโฆสิตฯ : ประเภทที่หนึ่ง ความใหม่ มีหลายระดับ เป็นความคิด
ริเริ่มนวัตกรรมเป็นเรื่องของการใช้ความรู้ เพื่อนําไปทําสิ่งต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์
ระบบวิธีคิดใหม่ๆ ประเภทที่สอง ผลของการใช้ความรู้ เช่นเรื่องเศรษฐกิจ สามารถ
ลดการนํ า เข้ า เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพทางด้ า นสวั สดิ ก ารของคนไข้ ของประชาชน
ลดภาระสั ง คม เช่ น เครื่ อ งมื อ
แพทย์ เพราะฉะนั้ น เรามี จุ ด
ใหญ่ ๆ คื อ สองจุ ด ใหม่ ๆ ใช้
ประโยชน์อย่างไรในด้านเศรษฐกิจ
และด้านสังคม
            พิธีกร : ผลงานสามารถ
นําไปใช้ได้จริง หรือใหม่อย่างเดียว


                                                           ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย           15
ท่านโฆสิตฯ : อย่างที่ได้เห็น ตัวรางวัลมีส่วนเกี่ยวข้องในการใช้ เรามี
คณะกรรมการ ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และเจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล และ
ตรวจสอบเบื้องต้นเรื่องความสามารถในการใช้งาน ผู้สนใจสามารถส่งเข้าประกวด
ได้ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 มอบรางวัลวันที่ 5 ตุลาคม 2553
           พิธีกร : ท่าน รมว.วท. มีอะไรเพิ่มเติมหรือเรียนเชิญสื่อมวลชนหรือ
เจ้าของผลงาน
           รมว.วท. : ผมขอเรียนข้อมูลเพิ่มเติมว่า วันที่ 5 ตุลาคมของทุกปี ถือเป็น
วันนวัตกรรมแห่งชาติ ขอเชิญชวนผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ๆ ผู้ที่มีนวัตกรรม
ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ รวมทั้ง น้องๆ นิสิต นักศึกษา ที่คิด
ว่าตนเองมีคุณสมบัติ ก็ขอเชิญชวนเข้า
ม า ป ร ะ ก ว ด ใ น ค รั้ ง นี้ ซึ่ ง มี ค ณ ะ
กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ โดยเฉพาะ
ท่านโฆสิตฯ ประธานกรรมการตัดสินฯ
ซึ่งผมคิดว่าเป็นการประกวดที่มีความ
ยุติธรรม และอยากให้พวกเราทุกคนได้
ให้ความสนใจ ก็ขอฝากท่านสื่อมวลชน
ช่วยกันประชาสัมพันธ์ด้วย
           ขอบคุณครับ


                                     เรียบเรียบโดย : ยุภาภรณ์ เทพจันทร์




 16     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
เปิ ดที่ ทาการสานั กงานคณะกรรมการนโยบายวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมแห่งชาติ
วันศุกร์ที่ 18 มิถุนายน 2553 เวลา 13.00
ณ อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14

ท่านปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ดร. สุจินดา โชติพานิช)
เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
          นวัตกรรมแห่งชาติ (ดร. พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์)
ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
ท่านผู้มีเกียรติและสื่อมวลชนทุกท่าน

          ก่ อ นอื่ น ผมขอแสดงความยิ น ดี กั บ ท่ า นผู้ บ ริ ห าร คณะกรรมการและ
เจ้าหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรมแห่งชาติ ในโอกาสเปิดที่ทําการแห่งใหม่หรืองานขึ้นบ้านใหม่ในวันนี้
ผมเองจําได้อย่างชัดเจนว่าแนวคิดในการจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ หรือ สวทน. ได้เกิดขึ้นและเห็นผล
เป็นรูปธรรมภายใต้คณะรัฐบาล
ของพลเอกสุ ร ยุ ท ธ์ จุ ล านนท์
และท่ า นอดี ต รั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์
ซึ่งท่านได้ให้เกี ยรติมาร่วมงาน
ในวันนี้ด้วยครับ โดยในขณะนั้น


                                               ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย    17
ผมเองได้ มี โ อกาสประสานงานเพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ พ ระราชบั ญ ญั ติ วิ ท ยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ สู่กระบวนการพิจารณาของ สนช. และผมคิด
ว่าบทบาทภารกิจของ สวทน. นั้น มีความสําคัญเป็นอย่างมาก ในการการบูรณา
การการทํางานร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคสังคม
         ในการกําหนดทิศทาง แผนงาน แผนเงินและระบบขับเคลื่อนงานวิจัย
พัฒนาของประเทศให้เป็นไปอย่างมีเอกภาพ มียุทธศาสตร์ และการใช้งบประมาณ
ด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนการสนับสนุน
ให้สังคมไทยก้าวสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีเหตุมีผล มีความ
เข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ว่ามีคุณค่าและประโยชน์อย่างยิ่ง สามารถสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิต
เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้านการแข่งขันของผมเห็นว่าภารกิจดังกล่าว
เป็นภารกิจที่ยากและท้าทาย มีความคาดหวังจากสังคมสูงมาก
                                                                    ท่ า น น า ย ก รั ฐ ม น ต รี
                                                          นายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ ได้ ใ ห้
                                                          ความสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การบู ร ณา
                                                          การงบประมาณ การวิ จั ย ของ
                                                          หน่ ว ยงานต่ า งๆ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น
                                                          การวิจัยและพัฒนาให้เป็นเอกภาพ
                                                          และมี ยุ ทธศาสตร์ รวมทั้ง การให้
ความสําคัญในการวางแผนพัฒนาคนด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศให้มี
ทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น และมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่างๆ
ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งภารกิจที่ท่านนายกรัฐมนตรีมอบหมายนั้น ถือว่าเป็น
ภาระหน้ า ที่ ที่ สํ า คั ญ ยิ่ ง ของ สวทน. ที่ ต้ อ งเร่ ง ทํ า การบ้ า นเพื่ อ ตอบโจทย์ ข อง
นายกรัฐมนตรีและเป็นคําตอบที่พี่น้องประชาชนต้องการ



 18       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
วันนี้ผมได้มาเห็นแนวความคิดของผู้บริหาร สวทน. ที่ได้ให้ความสําคัญกับ
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การนําวัสดุเหลือใช้มารีไซเคิล และการใช้ทรัพย์สินอย่าง
                                                ยั่ ง ยื น มาใช้ ใ นการตกแต่ ง
                                                สํ า นั ก งาน รวมทั้ ง การเลื อ กใช้
                                                นวัตกรรมที่เป็นของคนไทยแต่
                                                เป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ นานา
                                                ประเทศมาใช้ในสํานักงานแห่ง
                                                ใหม่ นี้ ผมรู้ สึก ชื่ น ชมในวิ ธี ก าร
                                                คิ ด และวิ ธี ก ารทํ า งานของท่ า น
                                                ทั้ ง หลายที่ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ กั บ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันได้เป็น อย่างดี และการที่
สวทน. ได้เปิดพื้นที่ให้กับเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดนิทรรศการ
มีส่วนร่วมในการเรียนรู้และสร้างวัฒนธรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน
สังคมไทยนั้น ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าชื่นชม
                                                           มี คํ า กล่ า วว่ า ถ้ า สภาพ
                                                แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร ทํ า ง า น ดี
                                                กา ร ทํ า ง า น ก็ จ ะ มี ค ว า ม สุ ข
                                                ผ ล ง า น ที่ อ อ ก ม า ก็ มี
                                                ประสิทธิภาพ ผมได้มาเห็นบ้าน
                                                ใหม่ ข อง สวทน. ซึ่ ง มี ส ภาพ
                                                แวดล้อมการทํางานที่ดี ผมเชื่อ
                                                เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ท่ า นผู้ บ ริ ห าร
และพนักงานของ สวทน. จะมีความสุขในการทํางาน สามารถทํางานที่มีคุณค่า
และมีประโยชน์ต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ



                                                      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย       19
สุ ด ท้ า ย นี้ ผ มขออํ า นาจ คุ ณพระ ศรี รั ต นตรั ย บุ ญบารมี แห่ ง อง ค์
พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่หั ว สมเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรมราชิ นีน าถ รวมทั้ ง
อํานาจแห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ได้โปรดอํานวยพรให้คณะกรรมการผู้บริหารและ
พนักงานของ สวทน. ทุกท่าน ประสบแต่ความสุขความเจริญ มีกําลังกาย กําลังใจ
สติ ปั ญ ญาในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ พื่ อ ขั บ เคลื่อ นการทํ า งานของ สวทน. ให้ บ รรลุ
วัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ที่ได้ตั้งไว้ทุกประการ
         ขอบคุณครับ


                                                 เรียบเรียงโดย : สุธิดา อุ่นสนธิ์




 20      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
โครงการ “กระทรวงวิทย์...ร่วมกู้วิกฤต ฟื้นฟูเศรษฐกิจ กทม.”
วันอังคารที่ 22 มิถุนายน 2553 เวลา 14.00 น.
ณ บริเวณหน้าอาคารพระจอมเกล้า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


กราบสวัสดีทานอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                ่
           (ดร. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช)
ท่านรองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านผู้บริหารกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านผู้ประกอบการ
พี่น้องสื่อมวลชน
ท่านผู้มีเกียรติทุกท่านครับ

          ผมคิดว่าเป็นที่ทราบกันดีอยู่นะครับว่าท่านนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
มีความเป็นห่วงเป็นใยต่อสถานการณ์บ้านเมืองที่เกิดขึ้นตลอดจนพี่น้องประชาชน
ทุกกลุ่ม ทุกหมู่เหล่า ที่ได้รับผลกระทบวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วง
2 - 3 เดื อ นที่ ผ่ า นมา ท่ า นนายกอภิ สิท ธิ์ ไ ด้ มี น โยบายขอให้ ท างส่ ว นราชการ
                                                ทุ ก ภาคส่ ว นได้ เ ข้ า มาช่ ว ยเหลื อ กั น
                                                เพื่อบรรเทาทุกข์และช่วยเหลือพี่น้อง
                                                ป ร ะ ช า ช น ที่ ป ร ะ ส บ กั บ ค ว า ม
                                                ยากลํ า บากกั บ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น
                                                ทางกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ เองก็
                                                ไม่ ไ ด้ นิ่ ง นอนใจนะครั บ เมื่ อ ผมมี



                                                      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย        21
โอกาสได้ ม าเป็ น รั ฐ มนตรี ว่ า การ
                                                          ก ร ะ ท ร ว ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ
                                                          เทคโนโลยี ผ มก็ ไ ด้ รั บ ข้ อ มู ล
                                                          ข่าวสารเกี่ยวกับเรื่องโครงการฯ นี้
                                                          มาเรื่ อ ยๆ ซึ่ ง จากการที่ ผ มได้
                                                          พูด คุ ย กับ คุ ณหญิ ง ฯ ทํ า ให้ผ มได้
                                                          รับรู้รับทราบว่าโครงการฯ นี้เป็น
โครงการฯ ที่ ดี ตั้ ง ใจที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ พี่ น้ อ งผู้ ป ระกอบการ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ
สอดคล้องกับนโยบายของท่านนายกรัฐมนตรี ผมจึงขอทางท่านปลัด ท่านรองปลัด
และผู้ บ ริ ห าร ได้ เ ดิ น หน้ า โครงการฯ นี้ ต่ อ อย่ า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ ให้ พี่ น้ อ งประชาชน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบสามารถได้เข้ามาทําการขาย
สินค้ าที่ มีคุ ณภาพ โดยไม่ คิดค่าใช้จ่ ายใดๆ กระทรวงวิทย์ ฯ ถึง แม้จ ะมี พื้น ที่ไ ม่
ใหญ่โต ไม่กว้างขวางมากนักแต่ว่าเราก็ทําเต็มที่นะครับ เราจัดพื้นที่เท่าที่เราจะ
สามารถทํ า ได้ ใ ห้ กั บ ทุ ก ท่ า นทั้ ง หลายที่ เ ป็ น
ผู้ประกอบการเข้ามาในวันนี้

          ผมหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า การจั ด งานใน
วันนี้ทุกท่านได้รับประโยชน์ พี่น้องผู้ประกอบการ
ก็จะได้มีโอกาสขายสินค้า สร้างรายได้ สร้างอาชีพ
พี่น้องประชาชน ก็ได้มีโอกาสเข้ามาซื้อสินค้าที่มี
คุ ณ ภาพ การจั ด งานที่ เ กิ ด ขึ้ น ในครั้ ง นี้ ไ ด้ ต้ อ ง
ข อ ข อบ คุ ณทุ ก กลุ่ ม น ะ ค รั บ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น



 22       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ผู้ประกอบการ พี่น้องประชาชนโดยทั่วไป พี่น้องสื่อมวลชนรวมทั้งส่วนราชการ
ต่างๆ ที่อยู่ในส่วนใกล้เคียงกัน ผมหวังเป็นอย่างยิ่งครับว่าโครงการฯ นี้จะเป็น
หนึ่งในโครงการที่กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีส่วนที่ใกล้ชิดกับพี่น้อง
ประชาชนจริงๆ วั นแรกที่ผมมารับตําแหน่งรัฐมนตรี ผมได้รับนโยบายมาสอง
เรื่ อ ง หนึ่ ง ในเรื่ อ งนั้ น ก็ คื อ การนํ า วิ ท ยาศาสตร์ สู่ ชุ ม ชนทํ า อย่ า งไรที่ จ ะนํ า
วิทยาศาสตร์ไ ปสร้างความใกล้ชิดให้กับพี่น้ องประชาชน สร้างประโยชน์ให้กั บ
ชุมชนที่เราอยู่

         บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว ในนามของคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และ
กระผมขอเปิดงาน โครงการ “กระทรวงวิทย์ฯ ร่วมกู้วิกฤต ฟื้นฟูเศรษฐกิจ กทม.”
อย่างเป็นทางการครับ

                                                เรียบเรียงโดย : วรวรรณ รักษาสังข์




                                                          ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย          23
การอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาการผลิตปุ๋ยอินทรีย์
ของกลุ่มเกษตรกร จังหวัดชุมพร
วันพุธที่ 23 มิถุนายน 2553 เวลา 09.00 น.
ณ โรงแรมนานาบุรี อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร

เรียน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร (นายชุมพล จุลใส)
      รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
               (นายวีระพงษ์ แพสุวรรณ)
      รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายสุรพล วาณิชเสนี)
      ผู้ว่าการสถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
                        ั
      คณะทางาน
      แขกผู้มีเกียรติ และผู้เข้ารับการอบรมทุกท่าน

                                                               วั น นี้ ผ ม และคณะ
                                                  ผู้ บ ริ ห าร ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย
                                                  ร อ ง ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง
                                                  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                  พ ร้ อ ม ด้ ว ย ผู้ บ ริ ห า ร
                                                  ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ๆ ทุ ก ๆ
                                                  หน่ ว ยงานมี ค วามยิ น ดี แ ละ
ถือเป็นเกียรติอย่างยิ่ง ที่ได้เดินทางมาในจังหวัดชุมพร เพื่อพบปะกับทุกท่าน
ในการอบรมเชิ ง ปฏิบั ติ ก ารโครงการพัฒ นาการผลิต ปุ๋ ย อิ นทรี ย์ สํ า หรับ พี่ น้ อ ง
เกษตรกร จังหวัดชุมพร



 24     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
การที่พวกผมและคณะ ได้เดินทางมาจังหวัดชุมพรในวันนี้ เป็นเพราะ
พวกผมมีความตั้งใจที่จะเดินทางเข้ามาพบปะกับพวกท่าน เนื่องจากจังหวัดชุมพร
เป็นจังหวัดที่มีความพร้อม เป็นจังหวัดที่ได้รับรางวัลในการบริหารราชการแบบ
มีส่วนร่วม ซึ่งการบริห ารแบบมี ส่วนร่ว มนี้จ ะประสบผลสําเร็จได้ จําเป็ นต้อ ง
ประกอบด้วยทุกภาคส่วนเข้า
มาบู ร ณาการการทํ า งาน
ร่ว มกั น ไม่ ว่า จะเป็น ภาครั ฐ
ภาคเอกช น ภ าคป ระช า
สั ง คม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง
ในภาครั ฐ เอง การทํ า งาน
ร ะ ห ว่ า ง นั ก ก า ร เ มื อ ง
การทํางานระหว่างข้าราชการประจํา ถือว่ามีความสําคัญเป็นอย่างยิ่ง และผมก็ดีใจ
ด้วยที่ผู้แทนราษฎรของจังหวัดชุมพร ถึงแม้ว่าจะอายุยังน้อย เป็นผู้แทนราษฎร
สมัยแรก แต่ก็ถื อว่ามี ความเข้ม แข็ง เป็นอย่างมาก ขออนุญาตพวกเราปรบมื อ
ต้อนรับท่าน ส.ส. ด้วยครับ

              ท่า นนายกรั ฐมนตรี (นายอภิ สิท ธิ์ เวชชาชี วะ) ท่ า นมี ค วามเป็น ห่ ว ง
เป็นใยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ ท่านมีนโยบายที่ชัดเจนในเรื่องการที่จะ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่จะนําเอาองค์ความรู้ในเรื่องต่างๆ
มาสู่ พี่ น้ อ งเกษตรกรทั่ ว ประเทศ แน่ น อนกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ คงไม่ ใ ช่
กระทรวงหลักในการทําเรื่องเหล่านี้ แต่ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มีเทคโนโลยี
มีวิทยากรในบางเรื่องที่เราคิดว่า เรามีความพร้อม ท่านนายกรัฐมนตรีก็ย้ํากับผม


                                                   ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย     25
หลายครั้งว่าจะทําอย่างไรในการนําวิทยาศาสตร์ลงไปสู่พี่น้องเกษตรกรที่เป็นคน
ส่วนใหญ่ของประเทศ ผมทราบดีว่าท่านเป็นห่วงเป็นใยความทุกข์สุขของพี่น้อง
ประชาชน

           เมื่อผมเป็นรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ผมได้มี โอกาสไปตรวจ
ราชการภาคเหนือเกือบทุกจังหวัด ท่านนายกรัฐมนตรี ได้ย้ํากับผมว่าอยากให้ผม
ไปพบปะเยี่ยมเยื อน พูดคุย และที่สําคัญที่สุดคือการรับฟังปัญหา หรืออาจจะมี
แนวทางแก้ไขปัญหาของพี่น้องเกษตรกรของเรา ท่านพูดอยู่เสมอว่า บางครั้งเวลา
เราเป็ น รั ฐ มนตรี ล งไป มั น อาจจะไม่ ส ามารถแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ใ นทุ ก ปั ญ หา
แต่บางครั้งมันเป็นเรื่อง ดิน น้ํา ลม ไฟ เป็นเรื่องของธรรมชาติ บางทีไม่สามารถ
แก้ไขปัญหาได้โดยเร็ว ต้องใช้ระยะเวลา แต่อย่างน้อยท่านก็อยากให้รัฐมนตรีของ
ท่านที่กํากับดูแลพื้นที่ต่างๆ ได้มีโอกาสพบปะ พูดคุย และให้กําลังใจ ซึ่งมีหลาย
เรื่องที่ผมทํางานตรงนั้นทําให้แก้ไขปัญหาได้ แต่มีหลายเรื่องที่ไม่สามารถแก้ไข
ปัญหาได้ เราต้องยอมรับตรงๆ จําเป็นต้องไปประสานงานกับกระทรวง กรมต่างๆ
ปัญหาหลักๆ ส่วนใหญ่เรื่องน้ํา ไฟฟ้า ไม่มีถนน หรือมีแต่ไม่เพีย งพอ หลายๆ
เรื่องเป็นปัญหาเกี่ยวกับราคาสินค้าเกษตร

                                                              เมื่ อผ ม ไ ด้ รั บ พ ร ะ
                                                  กรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ดํ า รง
                                                  ตํ า แ ห น่ ง รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร
                                                  กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ผมได้
                                                  นําแนวคิด บางอย่า งของท่า น
                                                  นายกรั ฐ มนตรี มาปรั บ การ


 26     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ทํา งานในกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ สิ่ งหนึ่ งที่ ผ มได้ พู ดเอาไว้ วั นแรกตอนมารั บ
ตําแหน่ง ผมได้พูดว่าเราจะทําอย่างไรที่จะนําวิทยาศาสตร์ลงไปให้ถึงชุมชน ลงไป
ให้ถึงต่างจังหวัด ลงไปให้ถึง พื้นที่ห่างไกลความเจริญ ลงไปให้ถึงคนส่วนใหญ่ที่
เป็นรากหญ้าของประเทศให้ได้รับประโยชน์สูงสุด ผมเชื่อว่าสิ่งที่ผมพูดอยู่นี้ไม่ใช่
สิ่งที่ง่าย เป็นสิ่งที่ยาก และท้าทาย แต่วันนี้ผมมาพบปะกับพี่น้องเกษตรกรจังหวัด
ชุมพร ผมก็ขอย้ําอีกครั้งหนึ่งว่า ผมตั้งใจที่จะนํากระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ และ
ผู้บริหารกระทรวง ลงมาพบปะ พูดคุยกับพี่น้องในต่างจังหวัดให้มากที่สุดเท่าที่จะ
เป็นไปได้ และการที่ผมเดินทางมาจังหวัดชุมพรในวันนี้ ก็เป็นการยืนยันได้ว่าผม
จะสานต่ อ นโยบายนี้ จ ากรั ฐมนตรี ท่ า นอื่ น ๆ ที่ ไ ด้ ทํ า มา และผมจะทํ า มากกว่ า
เดิมด้วย

               วันนี้อย่างที่ผมได้เรียนแล้วว่า ผมดีใจที่ได้มีโอกาสมาพบปะกับทุกท่าน
สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ท างกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ มี เ ทคโนโลยี ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จาก
ประชาชนทั่ ว ประเทศ คื อ ปุ๋ ย หน่ ว ยงานหลั ก ที่ ทํ า เรื่ อ งปุ๋ ย คื อ สถาบั น วิ จั ย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย หรือเรียกว่า วว. ซึ่งทางท่านผู้ว่าฯ
ที่ เ ป็ น สุ ภ าพสตรี ไ ด้ ขึ้ น มาพู ด
โดยจากการพบปะกับพวกเรา
แนวทางที่ เ ราพั ฒ นาก็ เ ป็ น
แ น ว ท า ง ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
แนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระเจ้ า อยู่ หั ว ในการนํ า ปุ๋ ย


                                                     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย       27
อินทรีย์มาใช้ทดแทนปุ๋ยเคมี แนวทางที่เราตั้งใจจะใช้ในการทําปุ๋ยอินทรีย์ คือใช้
วัตถุดิบที่มีอยู่ชุมชน ไม่ต้องไปหาซื้อมา เป็นวัตถุดิบที่หาได้ในพื้นที่ของชุมชน

             การที่พวกเราได้มาร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการพัฒนาการผลิต
ปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ ใ นวั น นี้ ผมเชื่ อ ว่ า พี่ น้ อ งเกษตรกรส่ ว นใหญ่ จ ะได้ มี โ อกาสพู ด คุ ย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ สิ่งที่ผมอยากบอก
ไว้ในอนาคต ผมต้องการให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ โดย วว. ได้ลงมาให้ความรู้
เกี่ยวกับการอบรมพัฒนาเรื่องความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยให้มากยิ่งขึ้น ผมก็หวังว่า
พี่น้องเกษตรกรที่ได้มาร่วมรับฟัง มาร่วมรับความรู้ในวันนี้ จะได้นําความรู้ที่ได้ลง
ไปในการประกอบอาชีพของท่าน เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ และในที่สุดก็จะไป
พั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น นอกจากนี้ ผมหวั ง ว่ า ท่ า นจะได้ ใ ช้ ค วามรู้ นี้ ลงไป




 28       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ถ่ายทอดให้กับเกษตรกรคนอื่นๆ อย่างน้อยเริ่มจากพื้นที่ใกล้เคียง หมู่บ้านอื่นที่
ใกล้เคียง อําเภอใกล้เคียง

               ขออนุญ าตย้ํา เกี่ยวกับ นโยบายของกระทรวงวิท ยาศาสตร์ ฯ ว่ าผมจะ
พยายามนําความรู้ลงไปสู่พี่น้องเกษตรกร ซึ่งเป็นคนรากหญ้าของประเทศให้มาก
ที่ สุ ด เท่ า ที่ จ ะเป็ น ไปได้ และหวั ง ว่ า ท่ า นจะได้ รั บ ความรู้ ที่ ท่ า นต้ อ งการนํ า ไป
ประกอบอาชีพของท่าน และหวังว่าท่านจะนําความรู้เหล่านี้ไปแบ่งปันถ่ายทอดให้
คนอื่นๆ ด้วย

           บั ด นี้ ไ ด้ เ วลาอั น สมควรแล้ ว ผมขออนุ ญ าตเปิ ด การอบรมอย่ า งเป็ น
ทางการเกี่ยวกับโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาการผลิตปุ๋ยอินทรี ย์
ให้กับพี่น้องเกษตรกร จังหวัดชุมพรครับ

           ขอบคุณครับ

                                              เรียบเรียบโดย : ยุภาภรณ์ เทพจันทร์




                                                           ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย          29
การแถลงข่าว
กิจกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนจังหวัดชุมพร
วันพุธที่ 23 มิถุนายน 2553
ณ ศูนย์บริการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และดาราศาสตร์
ภายใต้โครงการพระราชดาริ พื้นที่หนองใหญ่ อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร

ผู้ร่วมแถลงข่าว :
ดร. วีระชัย วีระเมธีกุล
         รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รศ.ดร. วีระพงษ์ แพสุวรรณ
         รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายสุรพล วาณิชเสนี รองผูว่าราชการจังหวัดชุมพร
                           ้
รศ.ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน ผู้อานวยการสานักงานพัฒนา
         วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
นายธงชัย ลิ้มตระกูล ประธานหอการค้าจังหวัดชุมพร
ผู้ดาเนินรายการ :
         นายไอศูนย์ ภาษยะวรรณ์ รองประธานหอการค้าจังหวัดชุมพร

                                               ผู้ ด า เ นิ น ร า ย ก า ร :
                                    นโยบายการพั ฒ นาจั ง หวั ด ชุ ม พร
                                    เรื่ อ ง ไบโอเทคโนโลยี จะส่ ง ผล
                                    อย่างไรต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ
                                    จังหวัดชุมพร และของประเทศชาติ



30    ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ร ม ว . ว ท . : ผ ม ข อ อ นุ ญ า ต เ รี ย น ถึ ง น โ ย บ า ย ภ า พ ก ว้ า ง ข อ ง
กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ ก่ อ น ต่ อ จากนั้ น จะพู ด ถึ ง โครงการไบโอเทคโนโลยี
ช่วงที่ผมมารับตําแหน่ง รมว.วท. ท่านนายกรัฐมนตรี (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ได้
ปรารภหลายเรื่อง คือ ทําอย่างไรถึงจะนําเรื่องงานวิจัยเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งอาจมี
งบประมาณจํ า กั ด ได้ มี ก ารทํ า งาน
โดยการบูรณาการงานวิจัยอย่างเป็น
เอกภาพ ถ้าไม่อย่างนั้นงานวิจัยก็จะ
อยู่ อ ย่ า งกระจั ด กระจายอยู่ ใ นส่ ว น
ต่ า งๆ เรื่ อ งที่ ห นึ่ ง เรื่ อ งที่ สอง ท่ า น
เป็นห่วงว่า เราจะทําอย่างไรถึงจะนํา
เรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปสู่คนส่วนใหญ่ของประเทศ จริงๆ แล้วเรื่อง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของ
คนเป็นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงมิติของความมั่นคง
แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าโดยปกติแล้ว เรื่องของวิทยาศาสตร์ เรื่องของเทคโนโลยี
และเรื่องของนวัตกรรม ได้รับความสนใจจากพี่น้องประชาชนค่อนข้างน้อยเมื่อ
เทียบกับเรื่องอื่นๆ

             จากโจทย์ที่ท่านนายกรัฐมนตรีได้มอบให้ ผมได้นํามาปรึกษาหารือกับ
ผู้ บ ริ ห ารของกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ ซึ่ ง หลั ก ๆ มี 3 เรื่ อ งที่ อ ยากเห็ น ในการ
ขับเคลื่อนกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ คือ การนําวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สู่ชุมชน
การนํ า วิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี สู่เ ยาวชน สู่เ ด็ ก ๆ ในโรงเรี ย น และเรื่ อ งที่
ผู้ดําเนินรายการได้ถามถึง การนําวิทยาศาสตร์ไปเพิ่มขีดความสามารถในการ


                                                        ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย        31
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531
V531

Contenu connexe

Similaire à V531

ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)M.L. Kamalasana
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
R2 r thailand 620731_n1
R2 r thailand 620731_n1R2 r thailand 620731_n1
R2 r thailand 620731_n1Pattie Pattie
 
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1butest
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1butest
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1butest
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1butest
 
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศIntroduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศmaruay songtanin
 
NECTEC E-magazine Vol.4
NECTEC E-magazine Vol.4NECTEC E-magazine Vol.4
NECTEC E-magazine Vol.4NECTEC
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Pisuth paiboonrat
 
สำรวจความสะอาดของน้ำ
สำรวจความสะอาดของน้ำสำรวจความสะอาดของน้ำ
สำรวจความสะอาดของน้ำPattanachai Jai
 
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมการวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมDrDanai Thienphut
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 

Similaire à V531 (20)

Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
Co p km_310314_jj_chonprathan
Co p km_310314_jj_chonprathanCo p km_310314_jj_chonprathan
Co p km_310314_jj_chonprathan
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
R2 r thailand 620731_n1
R2 r thailand 620731_n1R2 r thailand 620731_n1
R2 r thailand 620731_n1
 
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอณุญาตของทางราชก...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศIntroduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
 
NECTEC E-magazine vol4
NECTEC E-magazine vol4NECTEC E-magazine vol4
NECTEC E-magazine vol4
 
Vaja
VajaVaja
Vaja
 
NECTEC E-magazine Vol.4
NECTEC E-magazine Vol.4NECTEC E-magazine Vol.4
NECTEC E-magazine Vol.4
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4
 
สำรวจความสะอาดของน้ำ
สำรวจความสะอาดของน้ำสำรวจความสะอาดของน้ำ
สำรวจความสะอาดของน้ำ
 
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมการวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
R2R
R2RR2R
R2R
 

Plus de Ministry of Science and Technology

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...Ministry of Science and Technology
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีMinistry of Science and Technology
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTMinistry of Science and Technology
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯMinistry of Science and Technology
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]Ministry of Science and Technology
 

Plus de Ministry of Science and Technology (20)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
Policy24jan55
Policy24jan55Policy24jan55
Policy24jan55
 
Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
Gov policy-55
 
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
 
V532
V532V532
V532
 
P 20101027-map60
P 20101027-map60P 20101027-map60
P 20101027-map60
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
 
Policy Drkalaya
Policy DrkalayaPolicy Drkalaya
Policy Drkalaya
 
Concept Goverment
Concept GovermentConcept Goverment
Concept Goverment
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 

V531

  • 1. งานวันรับรองระบบงานโลก ปี 2553 วันพุธที่ 9 มิถุนายน 2553 เวลา 09.30 – 11.30 น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (ท่านชัยวุฒิ บรรณวัฒน์) ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ท่านจุรินทร์ ลักษณวิศิษฐ์) ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ท่านธีระ ใจสมุทร) และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน ในลํ า ดั บ แรก ผม ข อ แสดงยิ น ดี กั บ หน่ ว ยงานรั บ รอง ระบบงานทั้ ง 4 หน่ ว ยงาน ที่ มี ผลงานอันเป็นที่ประจักษ์ และได้รับ การยอมรับจากองค์การภาครัฐและ เอกชนในประเทศ รวมทั้ ง จาก องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ รั บ รองระบบงานห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร และขอแสดงความชื่น ชมในความ ร่ ว มมื อ ของทั้ ง 4 หน่ ว ยงานที่ ไ ด้ ร่วมกันจัดงาน “วันรับรองระบบงานโลก ปี 2553” หรือ Accreditation Day 2010 ขึ้ น ใ น วั น นี้ ซึ่ ง นั บ เ ป็ น ตัวอย่า งของการประสานงานของ ส่วนราชการที่น่าชื่นชมยิ่ง ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 1
  • 2. ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพครับ การรั บรองระบบงานนั้น นอกจากจะมีค วามสํ าคัญ ยิ่งต่อ การพัฒนา ทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีของประเทศแล้ว ยังมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการ พั ฒ นาทางด้ า นคุ ณ ภาพของสิ น ค้ า การพั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต และการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการรับรองระบบงานนั้น เป็นหนึ่งใน กลไกของการรับรองมาตรฐานสินค้าร่วมกัน ระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกของ องค์การระหว่างประเทศ ว่าด้วยการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ (ILAC) ซึ่งมี วัตถุประสงค์สําคัญประการหนึ่ง คือ “tested once accepted everywhere” หรือ “ทดสอบเพียงครั้งเดียว ได้รับการยอมรับทั่วโลก” และสมาชิกส่วนใหญ่นั้น เป็นประเทศผู้นําเข้าสินค้าไทยที่สําคัญ ดังนั้น เมื่อสินค้าของไทยได้ผ่านการรับรองจากห้องปฏิบัติการที่ผ่าน การตรวจสอบและรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์บริการ ซึ่งเป็นสมาชิกขององค์กร ระหว่างประเทศแล้ ว สินค้าเหล่านั้นก็จ ะสามารถนําเข้าไปจําหน่ายในประเทศ สมาชิกได้ โดยไม่ต้องถูกตรวจสอบและรับรองมาตรฐานจากหน่วยงานตรวจสอบ รับรองของประเทศปลายทางอีก รวมทั้งในการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการนั้ น จะให้ ความสํา คัญ กับ การควบคุ มปริม าณของมลพิ ษต่ างๆ ที่ จะปล่ อยออกสู่ สิ่งแวดล้อม มิให้เกินไปกว่าค่ามาตรฐานการปล่อยมลพิษ ซึ่งจะเป็นกลไกในการ ควบคุมการปล่อยมลพิษในกระบวนการผลิตของภาคเอกชนได้ในระดับหนึ่งด้วย กรมวิ ทยาศาสตร์ บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็ น หน่ ว ยรั บ รองระบบงานหนึ่ ง ในสี่ ห น่ ว ยรั บ รองระบบงานของประเทศไทยซึ่ ง มี ภารกิจในการดําเนินการเกี่ยวกับการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการให้เป็นไป ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 (general requirements for the competence of testing and calibration laboratories) 2 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 3. กรมวิทยาศาสตร์บริการ เริมให้บริการมาตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2546 ่ ซึ่ ง ภายหลั ง ดํ า เนิ น งานด้ า นการรั บ รองระบบงานมาในระยะเวลาเพี ย ง 3 ปี กรมวิ ทย า ศา สต ร์ บ ริ ก า รก็ ไ ด้ รั บ การยอม รั บ ร่ ว ม (Mutual Recognition Arrangement, MRA) จากองค์กรภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกว่าด้วยการรับรองห้องปฏิบัติการ (Asia Pacific Laboratory Accreditation Cooperation, APLAC) เมื่อเดือน พฤษภาคม 2549 และได้รับการยอมรับร่วมจากองค์กรระหว่างประเทศ ว่าด้วย การรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ (International Laboratory Accreditation Cooperation , ILAC) เมื่อเดือนสิงหาคม 2549 ปัจจุบันมีห้องปฏิบัติการทดสอบที่ผ่านการรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์ บริการแล้ว รวมทั้งสิ้น 51 ห้องปฏิบัติการ โดยมีขอบข่ายผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ รั บ รอง เช่ น น้ํ า ตาลและผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ํ า ตาล อาหารสั ต ว์ ภาชนะบรรจุ ภั ณ ฑ์ ผลิตภั ณฑ์ยางพารา เครื่อ งหนัง และพลาสติก เคมีภั ณฑ์ กระดาษ รวมทั้ งการ ตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานทางด้านสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบการภาคเอกชน เป็นต้น แม้ว่า จํานวนห้องปฏิ บัติการทดสอบ ที่ได้ รับการรับรองความสามารถ ห้องปฏิบัติการ จะยังมีจํานวนน้อยมากเมื่อเทียบกับจํานวนห้องปฏิบัติการทั้งหมด ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 3
  • 4. ในประเทศ แต่กรมวิทยาศาสตร์บริการก็จะให้ความรู้ ช่วยเหลือและสนับสนุนให้ การรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ มีความนิยมแพร่หลายมากยิ่งขึ้นต่อไป นอกจากการ รั บ ร อ ง ร ะ บ บ ง า น ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารแล้ ว การ ทดสอบความชํานาญหรือ Proficiency Testing ยัง เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ใช้ใน การประกั น คุ ณ ภาพและ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร อ ย่ า ง ต่อเนื่อง รวมทั้งยังช่วยส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันกันเองระหว่างห้องปฏิบัติการใน การพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของตนอยู่เสมอ ซึ่งการเข้าร่วมการทดสอบ ความชํานาญของห้องปฏิบัติการ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อห้องปฏิบัติการ ใน การรักษาประสิทธิภาพและคุณภาพในการให้บริการ และเป็นประโยชน์สําหรับ ผู้ประกอบการที่จะมาใช้บริการการรับรองจากห้องปฏิบัติการอีกด้วย ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญอยู่ หลายหน่วยงาน ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์ บริการ ได้เข้าไปส่งเสริมและสนับสนุนการ พัฒนาขีดความสามารถของผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญของไทย ให้ได้ รับรองตามมาตรฐานสากล โดยไม่จําเป็นต้องขอรับการรับรองระบบงานจากหน่วย รับรองระบบงานในต่างประเทศ ซึ่งจากที่กรมวิทยาศาสตร์บริการได้ดําเนินการ ขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานไปยังผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญนี้ ทําให้ กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นหน่วยรับรองแห่งแรกของประเทศไทย ที่ให้การรับรองผู้จัดโปรแกรมทดสอบความชานาญ โดยได้เริ่มดาเนินการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 4 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 5. ขณะนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังได้มีนโยบายที่จะขยาย ขอบข่ า ยการรั บ รองระบบงานให้ ก ว้ า งขวางยิ่ ง ขึ้ น จากเดิ ม ที่ ใ ห้ ก ารรั บ รอง ห้องปฏิบัติการและผู้จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ จะให้ครอบคลุมถึงการ รับรองผู้ผลิตวัสดุอ้างอิง (Reference Material) ด้วย เนื่องจากในปัจจุบันห้องปฏิบัติการ ภายในประเทศ มีความจําเป็นต้องสั่งซื้อวัสดุอ้างอิงจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาสูง เข้ามาเพื่อทําการตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบของห้องปฏิบัติการ และเพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ที่จะมาใช้บริการของห้องปฏิบัติการ ดั ง นั้ น หากมี ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร รั บ รองผู้ ผ ลิ ต วั ส ดุ อ้ า งอิ ง ขึ้นภายในประเทศแล้ว จะ ช่ว ยให้ต้ นทุ นของพัฒ นา ขี ด คว ามสามารถของ ห้องปฏิบัติการลดลง และ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ก า ร พัฒนาการผลิตวัสดุอ้างอิงขึ้นเองภายในประเทศได้ในอนาคต นอกจากกรมวิทยาศาสตร์บริการที่ ทําหน้าที่ในการให้การรับรองแล้ว กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังมีสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ซึ่งมีผลการ ดําเนินงานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล เกี่ยวกับความแม่นยําของระบบ มาตรฐานการวัด เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ส่งเสริมและสนับสนุนการตรวจสอบ และสอบเทียบเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการวัดค่าต่างๆ ของห้องปฏิบัติการ ให้มี ความเที่ยงตรง และสามารถเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานการวัดสากลได้ ซึ่งจะ ส่งผลให้ระบบการรับรองภายในประเทศเข้มแข็งยิ่งขึ้น รวมทั้ง จะทําหน้าที่ในการ ถ่ายทอดความถูกต้องของการวัดไปสู่ระบบมาตรฐานการวัดต่างๆ ในประเทศ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 5
  • 6. นอกเหนือจากกิจกรรมของห้องปฏิบัติการ เพื่อผลประโยชน์ในเชิงการคุ้มครอง ผู้บริโภคอีกด้วย งานในวันนี้ เป็นกิจกรรมที่หน่วยรับรองระบบงานภายในประเทศ 4 หน่วยงานร่วมมือกันจัดขึ้น พร้อมกับหน่วยรับรองระบบงานจากทั่วโลกเพื่อสร้าง ความตระหนักถึงความสําคัญของการรับรองระบบงานห้องปฏิบัติการ และกระตุ้น ให้ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร และผู้ จั ด โปรแกรมทดสอบความชํ า นาญห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารได้ พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของตนให้เพิ่มมากขึ้น กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสําคัญของการ รับรองระบบงาน และพร้อมที่จะให้การสนับสนุ น ประสานเครือข่ายกับทั้งภาค วิชาการและภาคเอกชน รวมทั้งผลักดัน การรับรองระบบงานของประเทศให้เกิด ความก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป ตลอดจนมุ่งหวังให้หน่วยงานรับรองระบบงานของไทย สามารถบูรณาการการรับรองระบบงานร่วมกันในลักษณะ One Stop Service ได้ในอนาคต ทั้ง นี้ เพื่ อให้ส อดคล้ องกับ นโยบายของรัฐ บาลและของ ฯพณฯ นายกรัฐ มนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชี วะ) ที่ ต้องการเห็นการบูรณาการการ ทํางานร่วมกันของส่วนราชการ เพื่ออํานวยความสะดวกและลดอุปสรรคให้แก่ ผู้ประกอบการเอกชนในการเข้าถึงการอนุมัติ อนุญาต และการรับรองจากภาครั ฐ รวมทั้งเพื่อผลประโยชน์ต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ และการส่ ง เสริ ม ผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ ของไทยในเวที เ ศรษฐกิ จ ระหว่ า ง ประเทศ ให้เจริญก้าวหน้าเพิ่มมากขึ้นในอนาคต สุ ด ท้ า ยนี้ ผมขออวยพรให้ ก ารจั ด งานวั น รั บ รองระบบงานโลกปี นี้ ประสบความสําเร็จ และขอให้หน่วยรับรองระบบงานของทั้ง 4 กระทรวงที่ได้ ร่วมกันจัดกิจกรรมอันสําคัญยิ่งในวันนี้ มีการพัฒนาสมรรถนะและขีดความสามารถ ของตนเอง เพื่อให้เป็นที่ยอมรับและชื่นชมในเวทีระดับโลกสืบต่อไป ขอบคุณครับ เรียบเรียงโดย : ชลารัตน์ รัตนขันติชัย 6 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 7. พิธีปิดการแข่งขันหุ่นยนต์ ABU ชิงชนะเลิศประเทศไทย ประจาปี 2553 วันอาทิตย์ที่ 13 มิถุนายน 2553 เวลา 16.30 น. ณ ศูนย์การแสดงสินค้า อิมแพ็ค เมืองทองธานี สวัสดีครับ ท่านกรรมการผู้อานวยการใหญ่ บริษัท อสมท จากัด (มหาชน) (ท่านธนวัฒน์ วรรณสม) ท่านประวิทย์ มาลีนนท์ ท่าน ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ ท่านผู้เข้าร่วมการแข่งขัน ท่านผู้มีเกียรติ สื่อมวลชน และน้องนักศึกษาทุกท่าน จากการที่ ผ มได้ มี โ อกาสชมการ แข่งขันหุ่นยนต์ ABU ชิงชนะเลิศประเทศ ไทยในช่ ว งบ่ า ยวั น นี้ ต้ อ งขอยอมรั บ ว่ า นอกจากความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น กั บ เกม “บุ ก อารยธรรมอี ยิ ป ต์ พิ ชิ ต มหา พี ร ะมิ ด แห่ ง กิ ซ า” แล้ ว สิ่ ง ที่ ผ มคิ ด ว่ า มี คุณค่ามาก คือ การได้เห็นถึงความสามารถ และศั ก ยภาพของเยาวชนไทย ในการ สร้ า งสรรค์ แ ละพั ฒ นาหุ่ น ยนต์ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ซึ่งทําให้ผมรู้สึกชื่นชม และ ประทั บ ใจในสั ม พั น ธภาพ ที่ เ ป็ น หนึ่ ง ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 7
  • 8. เดียวกัน ระหว่างมนุษย์กับหุ่นยนต์ ที่ สํ า คั ญ ที่ สุด คื อ ความสามั ค คี แ ละการทํ า งานร่ ว มกั น เป็ น ที ม ของ นักประดิษฐ์ ที่สอดประสานการทํ างานด้วยกั นได้อย่างกลมกลืน แม้จะต้องอยู่ ภายใต้ แ รงกดดั น จาก บรรยากาศของการ แข่งขัน รวมถึงกฎกติกา และข้ อ จํ า กั ด ต่ า งๆ ซึ่ ง ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ความสามั ค คี และการ ทํ า ง า น ร่ ว ม เ ป็ น ห นึ่ ง เดี ย วกั น นี้ ถื อ เป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ ของการพั ฒ นาประเทศภายใต้ ส ถานการณ์ ในปั จ จุ บั น ผมจึ ง ขอแสดงความชื่ น ชมกั บ ที ม นั ก ประดิ ษ ฐ์ แ ละบั ง คั บ หุ่ น ยนต์ ทุกๆ ทีม ที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้ ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพครับ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ประกาศนโยบายไว้อย่าง ชัดเจน ที่จะมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนไทย มีความรักและความสนใจ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนไปสู่การเป็นนัก ประดิษฐ์ โดยนําความรู้และความสร้างสรรค์ที่มีอยู่ มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ขีดความสามารถทางด้านการแข่งขันของประเทศในด้านต่างๆ โครงการถนนเทคโนโลยี และการแข่งขันหุ่นยนต์ ABU ชิงชนะเลิศ ประเทศไทย ที่ บ ริ ษั ท อสมท. จํ า กั ด (มหาชน) สํ า นั ก งานคณะกรรมการ อาชี ว ศึ ก ษา และสมาคมส่ ง เสริ ม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ ปุ่ น ) ได้ ร่ ว มกั บ 8 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 9. กระทรวงวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี โดยสํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดขึ้นในวันนี้ นับเป็นกิจกรรมตัวอย่างที่น่าชื่นชมที่ ได้เปิดโอกาสและเปิดพื้นที่ ให้แก่เยาวชนได้นําเอาความรู้ ทักษะ ศักยภาพ และ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ม า พั ฒ นาเป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ หุ่นยนต์ที่สามารถนําไป พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น เ ชิ ง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว จะนํ า ไป สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไปในอนาคต ซึ่งผมต้องขอแสดง ความชื่นชม และเป็นกําลังใจให้กับคณะผู้ดําเนินการมา ณ โอกาสนี้ ผมมีความเชื่อมั่นว่า ทุกรางวัลที่ผู้เข้าร่วมการแข่งขันได้รับในวันนี้ เป็น รางวัลที่มีคุณค่า และมีความหมายต่อวงการเทคโนโลยีหุ่นยนต์ของเยาวชนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อทีมที่ได้เป็นผู้แทนของประเทศไทย ในการเดินทางไปเข้า ร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ ABU Asia-Pacific Robot Contest 2010 ที่กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ ในเดือนกันยายนนี้ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มอบให้ผมมาเป็นผู้แทน ของท่าน ในการแสดงความยินดี และมอบรางวัลให้แก่ทีมที่ได้รับรางวัลทุกท่าน ขอให้รางวัลนี้เป็นเครื่องเตือนใจ ในการรักษาระดับคุณภาพของงาน และตระหนัก ในภาระหน้าที่อันทรงเกียรติ ของการเป็นผู้แทนประเทศไทยในเวทีการแข่งขัน ระดับสากล ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 9
  • 10. ขณะเดี ยวกัน ก็ ขอแสดงความชื่ น ชมและ เป็นกําลังใจให้แก่ผู้เข้าร่วม การแข่ ง ขั น ทุ ก ท่ า น ให้ มี ความภาคภูมิใจในผลงาน อั น ทรงคุ ณ ค่ า ทุ ก ชิ้ น ที่ ไ ด้ ส่งเข้าร่วมการแข่งขัน และ ขอให้ทุกท่านได้สะสมองค์ ความรู้ พัฒนาทักษะ และพัฒนาผลงานด้านการประดิษฐ์ของตนเองอย่างต่อเนื่อง และขออวยพรให้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ทุ ก ท่ า น ประสบความสํ า เร็ จ ในการ สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีอันทันสมัย ได้ตามแรงบันดาลใจของตน และ นําเอาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ความสามัคคี และประสบการณ์ที่ได้รับจากการ ทํางานเป็นทีมเดี ยวกัน นี้ มาร่วมพั ฒนาชาติ บ้านเมือ งในด้านต่างๆ ให้มีความ มั่นคงเจริญรุ่งเรืองต่อไป เรียบเรียงโดย : ชลารัตน์ รัตนขันติชัย 10 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 11. แถลงข่าวการจัดประกวด “รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ประจาปี 2553” วันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน 2553 เวลา 13.30 – 15.00 น. ณ ห้องกมลทิพย์ 3 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ ผู้ร่วมแถลงข่าว : ดร. วีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ นายโฆสิต ปั้นเปียมรัษฎ์ ่ ประธานกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ ประธานกรรมการตัดสินรางวัลนวัตกรรมฯ ผู้ดาเนินรายการ : คุณนรากร ติยายน พิ ธี กร : ท่ าน รมว.วท. มี แนว นโยบายสํ าหรับ การขับเคลื่อนนวัต กรรม ให้ กระทรวงวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีอะไรบ้าง รมว.วท. : ผมขออนุญาตเล่า ภาพกว้ า งก่ อ น เรื่ อ งแรกสุ ด ที่ จ ะทํ า คื อ การสานต่ อโครงการพระราชดําริ ซึ่งผมให้ค วามสําคัญ กับเรื่องนี้สูงสุ ด ถื อเป็ น นโยบายสําคัญของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ นอกเหนือจากนี้จะทําเพิ่ม 3 เรื่อง คือ 1) การนําวิทยาศาสตร์ไปสู่เด็กและเยาวชน 2) การนําวิทยาศาสตร์ไปสู่ชมชน ลงไปสู่คนในชนบท ลงไปสู่ต่างจังหวัด ุ 3) การนําวิทยาศาสตร์ไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 11
  • 12. ด้ ว ย ก า ร นํ า น วั ต ก ร ร ม ไ ป ขั บ เค ลื่ อนขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ทางการแข่งขันในประเทศไทย ซึ่ง ปั จ จุ บั น ประเทศไทย ได้ เ ปลี่ ย น สถานะจากประเทศที่แข่งขันด้าน แรงงานไปเป็ น เรื่ อ งองค์ ค วามรู้ ซึ่ ง องค์ ค วามรู้ อ ะไรสํ า คั ญ ที่ จ ะ ขั บ เคลื่ อ นประเทศไทยไปสู่ สั ง คมในศตวรรษที่ 21 คงหนี ไ ม่ พ้ น เรื่ อ งของ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม มี ห ลายเรื่ อ งที่ ผ มอยากจะทํ า เช่ น อุตสาหกรรมอาหาร เกษตร พลังงานทดแทน ผมคิดว่าเรามีขีดความสามารถใน การแข่งขันสูง ผมจะพยายามนํานวัตกรรมมาขับเคลื่อนอุตสาหกรรมต่างๆ เหล่านี้ ให้มีศักยภาพ พิธี กร : ท่ า น รมว.วท. ได้ เน้ นความสํา คัญ เกี่ ย วกั บนวัต กรรมเป็ น อย่ า งมาก หากประชาชนในประเทศมี ก ารสร้ า งผลงานนวั ต กรรมมากๆ จะก่อให้เกิดผลดีอย่างไร รมว.วท. : ตามที่ ไ ด้ เรี ย นไว้ เ บื้ องต้ น ว่า ประเทศไทยจะแข่ งขั น ใน ศตวรรษที่ 21 ได้ คงหนีไม่พ้นเรื่องขององค์ความรู้ องค์ความรู้ต้องมีเรื่องของ นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเหล่านี้ จะเป็นการเปิดโอกาสให้คนดีคนเก่ง มีพื้นที่ มี เวทีได้เข้ามาแข่งขัน เมื่อเขาบอกว่าจะมีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ตรงนี้ ก็จะนําไปสู่การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ นวัตกรรมใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่มีที่สิ้นสุด นั่นคือประโยชน์ชัด ๆ ที่มองเห็นได้ นอกเหนือจากนั้นการที่เราจัด กิจกรรมแบบนี้ถือเป็นการกระตุ้นให้คนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบการ ได้ เห็นถึงความสําคัญของสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ผมคิดว่านี่ก็จะเป็นประโยชน์ในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 12 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 13. พิธีกร : ท่าน รมว.วท. คงจะเห็น ผลงานปี ที่แล้ ว และเราได้นํ ามาจั ด นิทรรศการส่วนหนึ่ง ท่านมองว่ารางวัลที่ท่านเห็นในปีที่แล้ว นําไปใช้ประโยชน์ อะไรบ้าง รมว.วท. : ในปี ที่แล้วมี 2 รางวัลที่ชนะเลิศ รางวัลที่ 1 เป็ นรางวั ล ชนะเลิ ศ นวั ต กรรมด้ า นเศรษฐกิ จ อีก รางวั ลชนะเลิ ศรางวัลที่ 1 เป็ น นวั ต กรรม ด้ า นสั ง ค ม สํ า ห รั บ นวั ต กรรมด้ า นเศรษฐกิ จ ที่ เ รา เ รี ย ก ว่ า “ฟ อ ร์ ท ” เ ป็ น ร ะ บ บ ชุ ม สายโทรศั พ ท์ แ ละอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง ขนาดเล็ ก ถามว่ า มี ประโยชน์อย่างไรในการขับเคลื่อน เศรษฐกิ จ คื อ ว่ า ประหยั ด การ นําเข้าอุปกรณ์จากต่างประเทศที่มี ลักษณะเดียวกัน ผลประโยชน์ที่ได้ ประหยั ด งบประมาณการนํ า เข้ า อุปกรณ์ประมาณ 1,500 ล้านบาท ตัวอย่างเช่น บริษัท ทีโอที เมื่อนํา ฟอร์ ทเข้ ามาใช้ จะทํ า ให้ ป ระหยั ด ขึ้น มีเม็ดเงินขยายกิจกรรมในภูมิภาคห่ างไกลได้ครอบคลุมพื้นที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น เพราะอุปกรณ์ถูกลง นี่เป็นเรื่องของเศรษฐกิจ ส่วนเรื่องนวัตกรรมด้านสังคม ได้แก่ อุปกรณ์ช่วยผ่าตัดโรคพังผืดกดรัดเส้นประสาทข้อมือ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต สมัย ก่อนต้องใช้ อุปกรณ์ต่ างประเทศที่มีร าคาแพง ทํ าให้ คนที่ จะผ่าตั ดคิ ด มาก ตอนนี้ช่วยลดค่าใช้จ่ายจากเดิมอยู่ที่ 6,000 บาท ลดลงเหลือเพียง 2,000 บาท ต่อ ครั้ง เปลี่ ย นแปลงจากผ่า ตั ด ใหญ่ เ ป็น ผ่ า ตัด เล็ ก ไม่จํ า เป็น ต้ อ งนอนค้า งคื น ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 13
  • 14. จริงๆ แล้ว นี่เป็นผลงานนวัตกรรมระดับโลก ซึ่งต้องขอขอบคุณประธานกรรมการ นวัตกรรมแห่งชาติ ท่านโฆสิตฯ ที่เล็งเห็นความสําคัญของเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ซึ่งปี นี้ท่านก็ได้เป็นประธานกรรมการตัดสินรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ พิธีกร : ทุกครั้งที่ท่านโฆสิตฯ นั่งเป็นประธานกรรมการตัดสินรางวัลฯ ท่ า นมองความสํ า เร็ จ ของรางวั ล เหล่านี้อย่างไร ท่านโฆสิตฯ : ขอบคุณที่ ให้เวลาพวกเราได้มาแสดงผลงาน ที่ผ่า นมา ขอเรีย นว่า นั่ง ตรงนี้ม า หลายปี เจตนาใหญ่ ข องการให้ รางวั ล เรื่ อ งแรกคื อ การชั ก จู ง ให้ เกิดความสนใจ ซึ่งเกิดผลสําเร็จระดับหนึ่ง เรื่องที่สอง การสร้างสรรค์ ซึ่งในความ สร้างสรรค์ที่ รมว.วท. ได้พูดถึงแล้ว คือ การนํามาใช้ในเหตุการณ์ของคนไทยของ ประเทศไทย เช่น เครื่องมือแพทย์ คนไข้เป็นคนไทย คุณหมอเป็นคนไทย เป็น เรื่องที่มีประโยชน์ต่อสังคม เป็นแรงบันดาลใจ ผมคิดว่าจากนี้เป็นต้นไป เราน่าจะ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ และวิ ธี ก ารต่ า งๆ ด้ ว ยตั ว ของเราเอง เรื่ อ งที่ ส าม ระบบ ชุมสายโทรศัพท์ที่ รมว.วท. พูดถึง เป็นที่สังเกตว่าเป็นความสามารถระดับสูงมาก จะเรียกว่าระดับโลกเห็นจะได้ เป็นเรื่องชัดเจนว่า เพื่อสนองความต้องการของเรา เอง ในเขตชุมชนห่างไกลได้มีอุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้คนในชนบทเข้าสู่ยุคข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัยไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าคนกรุงเทพฯ พิธีกร : ปีนี้ท่าน รมว.วท. วางแนวทางการประกวดไว้อย่างไรบ้าง รมว.วท. : ในนามของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ รู้สึกสํานึกในพระมหา กรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมรูปของตัวท่านเองในฐานะที่เป็นพระบิดาของนวัตกรรมไทย ตรงนี้ ถื อ เป็ น เกี ย รติ ย ศสู ง สุ ด ของกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ และของสํ า นั ก งาน 14 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 15. นวัตกรรมแห่งชาติ ส่วนในเรื่อง ของรางวั ล ผมเรี ย นอย่ า งนี้ ว่ า เ ร า แ บ่ ง เ ป็ น 2 ป ร ะ เ ภ ท เหมื อนเดิม คื อ นวั ตกรรมด้ า น เศรษฐกิ จ และนวั ต กรรมด้ า น สั ง ค ม ซึ่ ง ทั้ ง ส อ ง ร า ง วั ล นี้ ประกอบด้วย 5 รางวัล รางวั ล ที่ 1 คือ ชนะเลิศ รางวัลที่ 2 คือ รองชนะเลิศที่ 1 และรองชนะเลิศที่ 2 และรางวัลชมเชยมี 2 รางวัล โดยรางวัล ผู้ ช นะเลิ ศ ที่ 1 จะได้ รั บ โล่ ห์ ร างวั ล และเงิ น รางวั ล 200,000 บาท รางวั ลรอง ชนะเลิศอันดับหนึ่ง จะได้รับโล่ห์รางวัล และเงินรางวัล 100,000 บาท รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับสอง จะได้รับโล่ห์รางวัล และเงิน รางวัล 50,000 บาท และรางวัล ชมเชย 2 รางวัล จะได้รับเกียรติบัตร และเงินรางวัลๆ ละ 25,000 บาท พิธีกร : หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกแต่ละผลงานมีอะไรบ้าง ท่านโฆสิตฯ : ประเภทที่หนึ่ง ความใหม่ มีหลายระดับ เป็นความคิด ริเริ่มนวัตกรรมเป็นเรื่องของการใช้ความรู้ เพื่อนําไปทําสิ่งต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ ระบบวิธีคิดใหม่ๆ ประเภทที่สอง ผลของการใช้ความรู้ เช่นเรื่องเศรษฐกิจ สามารถ ลดการนํ า เข้ า เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพทางด้ า นสวั สดิ ก ารของคนไข้ ของประชาชน ลดภาระสั ง คม เช่ น เครื่ อ งมื อ แพทย์ เพราะฉะนั้ น เรามี จุ ด ใหญ่ ๆ คื อ สองจุ ด ใหม่ ๆ ใช้ ประโยชน์อย่างไรในด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม พิธีกร : ผลงานสามารถ นําไปใช้ได้จริง หรือใหม่อย่างเดียว ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 15
  • 16. ท่านโฆสิตฯ : อย่างที่ได้เห็น ตัวรางวัลมีส่วนเกี่ยวข้องในการใช้ เรามี คณะกรรมการ ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และเจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล และ ตรวจสอบเบื้องต้นเรื่องความสามารถในการใช้งาน ผู้สนใจสามารถส่งเข้าประกวด ได้ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 มอบรางวัลวันที่ 5 ตุลาคม 2553 พิธีกร : ท่าน รมว.วท. มีอะไรเพิ่มเติมหรือเรียนเชิญสื่อมวลชนหรือ เจ้าของผลงาน รมว.วท. : ผมขอเรียนข้อมูลเพิ่มเติมว่า วันที่ 5 ตุลาคมของทุกปี ถือเป็น วันนวัตกรรมแห่งชาติ ขอเชิญชวนผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ๆ ผู้ที่มีนวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ รวมทั้ง น้องๆ นิสิต นักศึกษา ที่คิด ว่าตนเองมีคุณสมบัติ ก็ขอเชิญชวนเข้า ม า ป ร ะ ก ว ด ใ น ค รั้ ง นี้ ซึ่ ง มี ค ณ ะ กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ โดยเฉพาะ ท่านโฆสิตฯ ประธานกรรมการตัดสินฯ ซึ่งผมคิดว่าเป็นการประกวดที่มีความ ยุติธรรม และอยากให้พวกเราทุกคนได้ ให้ความสนใจ ก็ขอฝากท่านสื่อมวลชน ช่วยกันประชาสัมพันธ์ด้วย ขอบคุณครับ เรียบเรียบโดย : ยุภาภรณ์ เทพจันทร์ 16 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 17. เปิ ดที่ ทาการสานั กงานคณะกรรมการนโยบายวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ วันศุกร์ที่ 18 มิถุนายน 2553 เวลา 13.00 ณ อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14 ท่านปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ดร. สุจินดา โชติพานิช) เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (ดร. พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์) ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ท่านผู้มีเกียรติและสื่อมวลชนทุกท่าน ก่ อ นอื่ น ผมขอแสดงความยิ น ดี กั บ ท่ า นผู้ บ ริ ห าร คณะกรรมการและ เจ้าหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมแห่งชาติ ในโอกาสเปิดที่ทําการแห่งใหม่หรืองานขึ้นบ้านใหม่ในวันนี้ ผมเองจําได้อย่างชัดเจนว่าแนวคิดในการจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ หรือ สวทน. ได้เกิดขึ้นและเห็นผล เป็นรูปธรรมภายใต้คณะรัฐบาล ของพลเอกสุ ร ยุ ท ธ์ จุ ล านนท์ และท่ า นอดี ต รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ซึ่งท่านได้ให้เกี ยรติมาร่วมงาน ในวันนี้ด้วยครับ โดยในขณะนั้น ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 17
  • 18. ผมเองได้ มี โ อกาสประสานงานเพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ พ ระราชบั ญ ญั ติ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ สู่กระบวนการพิจารณาของ สนช. และผมคิด ว่าบทบาทภารกิจของ สวทน. นั้น มีความสําคัญเป็นอย่างมาก ในการการบูรณา การการทํางานร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคสังคม ในการกําหนดทิศทาง แผนงาน แผนเงินและระบบขับเคลื่อนงานวิจัย พัฒนาของประเทศให้เป็นไปอย่างมีเอกภาพ มียุทธศาสตร์ และการใช้งบประมาณ ด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนการสนับสนุน ให้สังคมไทยก้าวสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีเหตุมีผล มีความ เข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ว่ามีคุณค่าและประโยชน์อย่างยิ่ง สามารถสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิต เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้านการแข่งขันของผมเห็นว่าภารกิจดังกล่าว เป็นภารกิจที่ยากและท้าทาย มีความคาดหวังจากสังคมสูงมาก ท่ า น น า ย ก รั ฐ ม น ต รี นายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ ได้ ใ ห้ ความสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การบู ร ณา การงบประมาณ การวิ จั ย ของ หน่ ว ยงานต่ า งๆ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น การวิจัยและพัฒนาให้เป็นเอกภาพ และมี ยุ ทธศาสตร์ รวมทั้ง การให้ ความสําคัญในการวางแผนพัฒนาคนด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศให้มี ทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจนยิ่งขึ้น และมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งภารกิจที่ท่านนายกรัฐมนตรีมอบหมายนั้น ถือว่าเป็น ภาระหน้ า ที่ ที่ สํ า คั ญ ยิ่ ง ของ สวทน. ที่ ต้ อ งเร่ ง ทํ า การบ้ า นเพื่ อ ตอบโจทย์ ข อง นายกรัฐมนตรีและเป็นคําตอบที่พี่น้องประชาชนต้องการ 18 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 19. วันนี้ผมได้มาเห็นแนวความคิดของผู้บริหาร สวทน. ที่ได้ให้ความสําคัญกับ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การนําวัสดุเหลือใช้มารีไซเคิล และการใช้ทรัพย์สินอย่าง ยั่ ง ยื น มาใช้ ใ นการตกแต่ ง สํ า นั ก งาน รวมทั้ ง การเลื อ กใช้ นวัตกรรมที่เป็นของคนไทยแต่ เป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ นานา ประเทศมาใช้ในสํานักงานแห่ง ใหม่ นี้ ผมรู้ สึก ชื่ น ชมในวิ ธี ก าร คิ ด และวิ ธี ก ารทํ า งานของท่ า น ทั้ ง หลายที่ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ กั บ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันได้เป็น อย่างดี และการที่ สวทน. ได้เปิดพื้นที่ให้กับเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดนิทรรศการ มีส่วนร่วมในการเรียนรู้และสร้างวัฒนธรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน สังคมไทยนั้น ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าชื่นชม มี คํ า กล่ า วว่ า ถ้ า สภาพ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร ทํ า ง า น ดี กา ร ทํ า ง า น ก็ จ ะ มี ค ว า ม สุ ข ผ ล ง า น ที่ อ อ ก ม า ก็ มี ประสิทธิภาพ ผมได้มาเห็นบ้าน ใหม่ ข อง สวทน. ซึ่ ง มี ส ภาพ แวดล้อมการทํางานที่ดี ผมเชื่อ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ท่ า นผู้ บ ริ ห าร และพนักงานของ สวทน. จะมีความสุขในการทํางาน สามารถทํางานที่มีคุณค่า และมีประโยชน์ต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 19
  • 20. สุ ด ท้ า ย นี้ ผ มขออํ า นาจ คุ ณพระ ศรี รั ต นตรั ย บุ ญบารมี แห่ ง อง ค์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่หั ว สมเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรมราชิ นีน าถ รวมทั้ ง อํานาจแห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ได้โปรดอํานวยพรให้คณะกรรมการผู้บริหารและ พนักงานของ สวทน. ทุกท่าน ประสบแต่ความสุขความเจริญ มีกําลังกาย กําลังใจ สติ ปั ญ ญาในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ พื่ อ ขั บ เคลื่อ นการทํ า งานของ สวทน. ให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ที่ได้ตั้งไว้ทุกประการ ขอบคุณครับ เรียบเรียงโดย : สุธิดา อุ่นสนธิ์ 20 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 21. โครงการ “กระทรวงวิทย์...ร่วมกู้วิกฤต ฟื้นฟูเศรษฐกิจ กทม.” วันอังคารที่ 22 มิถุนายน 2553 เวลา 14.00 น. ณ บริเวณหน้าอาคารพระจอมเกล้า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กราบสวัสดีทานอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ่ (ดร. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช) ท่านรองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่านผู้บริหารกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่านผู้ประกอบการ พี่น้องสื่อมวลชน ท่านผู้มีเกียรติทุกท่านครับ ผมคิดว่าเป็นที่ทราบกันดีอยู่นะครับว่าท่านนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีความเป็นห่วงเป็นใยต่อสถานการณ์บ้านเมืองที่เกิดขึ้นตลอดจนพี่น้องประชาชน ทุกกลุ่ม ทุกหมู่เหล่า ที่ได้รับผลกระทบวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วง 2 - 3 เดื อ นที่ ผ่ า นมา ท่ า นนายกอภิ สิท ธิ์ ไ ด้ มี น โยบายขอให้ ท างส่ ว นราชการ ทุ ก ภาคส่ ว นได้ เ ข้ า มาช่ ว ยเหลื อ กั น เพื่อบรรเทาทุกข์และช่วยเหลือพี่น้อง ป ร ะ ช า ช น ที่ ป ร ะ ส บ กั บ ค ว า ม ยากลํ า บากกั บ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทางกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ เองก็ ไม่ ไ ด้ นิ่ ง นอนใจนะครั บ เมื่ อ ผมมี ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 21
  • 22. โอกาสได้ ม าเป็ น รั ฐ มนตรี ว่ า การ ก ร ะ ท ร ว ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เทคโนโลยี ผ มก็ ไ ด้ รั บ ข้ อ มู ล ข่าวสารเกี่ยวกับเรื่องโครงการฯ นี้ มาเรื่ อ ยๆ ซึ่ ง จากการที่ ผ มได้ พูด คุ ย กับ คุ ณหญิ ง ฯ ทํ า ให้ผ มได้ รับรู้รับทราบว่าโครงการฯ นี้เป็น โครงการฯ ที่ ดี ตั้ ง ใจที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ พี่ น้ อ งผู้ ป ระกอบการ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ สอดคล้องกับนโยบายของท่านนายกรัฐมนตรี ผมจึงขอทางท่านปลัด ท่านรองปลัด และผู้ บ ริ ห าร ได้ เ ดิ น หน้ า โครงการฯ นี้ ต่ อ อย่ า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ ให้ พี่ น้ อ งประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบสามารถได้เข้ามาทําการขาย สินค้ าที่ มีคุ ณภาพ โดยไม่ คิดค่าใช้จ่ ายใดๆ กระทรวงวิทย์ ฯ ถึง แม้จ ะมี พื้น ที่ไ ม่ ใหญ่โต ไม่กว้างขวางมากนักแต่ว่าเราก็ทําเต็มที่นะครับ เราจัดพื้นที่เท่าที่เราจะ สามารถทํ า ได้ ใ ห้ กั บ ทุ ก ท่ า นทั้ ง หลายที่ เ ป็ น ผู้ประกอบการเข้ามาในวันนี้ ผมหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า การจั ด งานใน วันนี้ทุกท่านได้รับประโยชน์ พี่น้องผู้ประกอบการ ก็จะได้มีโอกาสขายสินค้า สร้างรายได้ สร้างอาชีพ พี่น้องประชาชน ก็ได้มีโอกาสเข้ามาซื้อสินค้าที่มี คุ ณ ภาพ การจั ด งานที่ เ กิ ด ขึ้ น ในครั้ ง นี้ ไ ด้ ต้ อ ง ข อ ข อบ คุ ณทุ ก กลุ่ ม น ะ ค รั บ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น 22 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 23. ผู้ประกอบการ พี่น้องประชาชนโดยทั่วไป พี่น้องสื่อมวลชนรวมทั้งส่วนราชการ ต่างๆ ที่อยู่ในส่วนใกล้เคียงกัน ผมหวังเป็นอย่างยิ่งครับว่าโครงการฯ นี้จะเป็น หนึ่งในโครงการที่กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีส่วนที่ใกล้ชิดกับพี่น้อง ประชาชนจริงๆ วั นแรกที่ผมมารับตําแหน่งรัฐมนตรี ผมได้รับนโยบายมาสอง เรื่ อ ง หนึ่ ง ในเรื่ อ งนั้ น ก็ คื อ การนํ า วิ ท ยาศาสตร์ สู่ ชุ ม ชนทํ า อย่ า งไรที่ จ ะนํ า วิทยาศาสตร์ไ ปสร้างความใกล้ชิดให้กับพี่น้ องประชาชน สร้างประโยชน์ให้กั บ ชุมชนที่เราอยู่ บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว ในนามของคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และ กระผมขอเปิดงาน โครงการ “กระทรวงวิทย์ฯ ร่วมกู้วิกฤต ฟื้นฟูเศรษฐกิจ กทม.” อย่างเป็นทางการครับ เรียบเรียงโดย : วรวรรณ รักษาสังข์ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 23
  • 24. การอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ของกลุ่มเกษตรกร จังหวัดชุมพร วันพุธที่ 23 มิถุนายน 2553 เวลา 09.00 น. ณ โรงแรมนานาบุรี อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร เรียน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร (นายชุมพล จุลใส) รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (นายวีระพงษ์ แพสุวรรณ) รองผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายสุรพล วาณิชเสนี) ผู้ว่าการสถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ั คณะทางาน แขกผู้มีเกียรติ และผู้เข้ารับการอบรมทุกท่าน วั น นี้ ผ ม และคณะ ผู้ บ ริ ห าร ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ร อ ง ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ ร้ อ ม ด้ ว ย ผู้ บ ริ ห า ร ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ๆ ทุ ก ๆ หน่ ว ยงานมี ค วามยิ น ดี แ ละ ถือเป็นเกียรติอย่างยิ่ง ที่ได้เดินทางมาในจังหวัดชุมพร เพื่อพบปะกับทุกท่าน ในการอบรมเชิ ง ปฏิบั ติ ก ารโครงการพัฒ นาการผลิต ปุ๋ ย อิ นทรี ย์ สํ า หรับ พี่ น้ อ ง เกษตรกร จังหวัดชุมพร 24 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 25. การที่พวกผมและคณะ ได้เดินทางมาจังหวัดชุมพรในวันนี้ เป็นเพราะ พวกผมมีความตั้งใจที่จะเดินทางเข้ามาพบปะกับพวกท่าน เนื่องจากจังหวัดชุมพร เป็นจังหวัดที่มีความพร้อม เป็นจังหวัดที่ได้รับรางวัลในการบริหารราชการแบบ มีส่วนร่วม ซึ่งการบริห ารแบบมี ส่วนร่ว มนี้จ ะประสบผลสําเร็จได้ จําเป็ นต้อ ง ประกอบด้วยทุกภาคส่วนเข้า มาบู ร ณาการการทํ า งาน ร่ว มกั น ไม่ ว่า จะเป็น ภาครั ฐ ภาคเอกช น ภ าคป ระช า สั ง คม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในภาครั ฐ เอง การทํ า งาน ร ะ ห ว่ า ง นั ก ก า ร เ มื อ ง การทํางานระหว่างข้าราชการประจํา ถือว่ามีความสําคัญเป็นอย่างยิ่ง และผมก็ดีใจ ด้วยที่ผู้แทนราษฎรของจังหวัดชุมพร ถึงแม้ว่าจะอายุยังน้อย เป็นผู้แทนราษฎร สมัยแรก แต่ก็ถื อว่ามี ความเข้ม แข็ง เป็นอย่างมาก ขออนุญาตพวกเราปรบมื อ ต้อนรับท่าน ส.ส. ด้วยครับ ท่า นนายกรั ฐมนตรี (นายอภิ สิท ธิ์ เวชชาชี วะ) ท่ า นมี ค วามเป็น ห่ ว ง เป็นใยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ ท่านมีนโยบายที่ชัดเจนในเรื่องการที่จะ พัฒนาวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่จะนําเอาองค์ความรู้ในเรื่องต่างๆ มาสู่ พี่ น้ อ งเกษตรกรทั่ ว ประเทศ แน่ น อนกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ คงไม่ ใ ช่ กระทรวงหลักในการทําเรื่องเหล่านี้ แต่ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มีเทคโนโลยี มีวิทยากรในบางเรื่องที่เราคิดว่า เรามีความพร้อม ท่านนายกรัฐมนตรีก็ย้ํากับผม ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 25
  • 26. หลายครั้งว่าจะทําอย่างไรในการนําวิทยาศาสตร์ลงไปสู่พี่น้องเกษตรกรที่เป็นคน ส่วนใหญ่ของประเทศ ผมทราบดีว่าท่านเป็นห่วงเป็นใยความทุกข์สุขของพี่น้อง ประชาชน เมื่อผมเป็นรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ผมได้มี โอกาสไปตรวจ ราชการภาคเหนือเกือบทุกจังหวัด ท่านนายกรัฐมนตรี ได้ย้ํากับผมว่าอยากให้ผม ไปพบปะเยี่ยมเยื อน พูดคุย และที่สําคัญที่สุดคือการรับฟังปัญหา หรืออาจจะมี แนวทางแก้ไขปัญหาของพี่น้องเกษตรกรของเรา ท่านพูดอยู่เสมอว่า บางครั้งเวลา เราเป็ น รั ฐ มนตรี ล งไป มั น อาจจะไม่ ส ามารถแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ใ นทุ ก ปั ญ หา แต่บางครั้งมันเป็นเรื่อง ดิน น้ํา ลม ไฟ เป็นเรื่องของธรรมชาติ บางทีไม่สามารถ แก้ไขปัญหาได้โดยเร็ว ต้องใช้ระยะเวลา แต่อย่างน้อยท่านก็อยากให้รัฐมนตรีของ ท่านที่กํากับดูแลพื้นที่ต่างๆ ได้มีโอกาสพบปะ พูดคุย และให้กําลังใจ ซึ่งมีหลาย เรื่องที่ผมทํางานตรงนั้นทําให้แก้ไขปัญหาได้ แต่มีหลายเรื่องที่ไม่สามารถแก้ไข ปัญหาได้ เราต้องยอมรับตรงๆ จําเป็นต้องไปประสานงานกับกระทรวง กรมต่างๆ ปัญหาหลักๆ ส่วนใหญ่เรื่องน้ํา ไฟฟ้า ไม่มีถนน หรือมีแต่ไม่เพีย งพอ หลายๆ เรื่องเป็นปัญหาเกี่ยวกับราคาสินค้าเกษตร เมื่ อผ ม ไ ด้ รั บ พ ร ะ กรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ดํ า รง ตํ า แ ห น่ ง รั ฐ ม น ต รี ว่ า ก า ร กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ผมได้ นําแนวคิด บางอย่า งของท่า น นายกรั ฐ มนตรี มาปรั บ การ 26 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 27. ทํา งานในกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ สิ่ งหนึ่ งที่ ผ มได้ พู ดเอาไว้ วั นแรกตอนมารั บ ตําแหน่ง ผมได้พูดว่าเราจะทําอย่างไรที่จะนําวิทยาศาสตร์ลงไปให้ถึงชุมชน ลงไป ให้ถึงต่างจังหวัด ลงไปให้ถึง พื้นที่ห่างไกลความเจริญ ลงไปให้ถึงคนส่วนใหญ่ที่ เป็นรากหญ้าของประเทศให้ได้รับประโยชน์สูงสุด ผมเชื่อว่าสิ่งที่ผมพูดอยู่นี้ไม่ใช่ สิ่งที่ง่าย เป็นสิ่งที่ยาก และท้าทาย แต่วันนี้ผมมาพบปะกับพี่น้องเกษตรกรจังหวัด ชุมพร ผมก็ขอย้ําอีกครั้งหนึ่งว่า ผมตั้งใจที่จะนํากระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ และ ผู้บริหารกระทรวง ลงมาพบปะ พูดคุยกับพี่น้องในต่างจังหวัดให้มากที่สุดเท่าที่จะ เป็นไปได้ และการที่ผมเดินทางมาจังหวัดชุมพรในวันนี้ ก็เป็นการยืนยันได้ว่าผม จะสานต่ อ นโยบายนี้ จ ากรั ฐมนตรี ท่ า นอื่ น ๆ ที่ ไ ด้ ทํ า มา และผมจะทํ า มากกว่ า เดิมด้วย วันนี้อย่างที่ผมได้เรียนแล้วว่า ผมดีใจที่ได้มีโอกาสมาพบปะกับทุกท่าน สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ท างกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ มี เ ทคโนโลยี ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จาก ประชาชนทั่ ว ประเทศ คื อ ปุ๋ ย หน่ ว ยงานหลั ก ที่ ทํ า เรื่ อ งปุ๋ ย คื อ สถาบั น วิ จั ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย หรือเรียกว่า วว. ซึ่งทางท่านผู้ว่าฯ ที่ เ ป็ น สุ ภ าพสตรี ไ ด้ ขึ้ น มาพู ด โดยจากการพบปะกับพวกเรา แนวทางที่ เ ราพั ฒ นาก็ เ ป็ น แ น ว ท า ง ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ในการนํ า ปุ๋ ย ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 27
  • 28. อินทรีย์มาใช้ทดแทนปุ๋ยเคมี แนวทางที่เราตั้งใจจะใช้ในการทําปุ๋ยอินทรีย์ คือใช้ วัตถุดิบที่มีอยู่ชุมชน ไม่ต้องไปหาซื้อมา เป็นวัตถุดิบที่หาได้ในพื้นที่ของชุมชน การที่พวกเราได้มาร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการพัฒนาการผลิต ปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ ใ นวั น นี้ ผมเชื่ อ ว่ า พี่ น้ อ งเกษตรกรส่ ว นใหญ่ จ ะได้ มี โ อกาสพู ด คุ ย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ สิ่งที่ผมอยากบอก ไว้ในอนาคต ผมต้องการให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ โดย วว. ได้ลงมาให้ความรู้ เกี่ยวกับการอบรมพัฒนาเรื่องความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยให้มากยิ่งขึ้น ผมก็หวังว่า พี่น้องเกษตรกรที่ได้มาร่วมรับฟัง มาร่วมรับความรู้ในวันนี้ จะได้นําความรู้ที่ได้ลง ไปในการประกอบอาชีพของท่าน เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ และในที่สุดก็จะไป พั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น นอกจากนี้ ผมหวั ง ว่ า ท่ า นจะได้ ใ ช้ ค วามรู้ นี้ ลงไป 28 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 29. ถ่ายทอดให้กับเกษตรกรคนอื่นๆ อย่างน้อยเริ่มจากพื้นที่ใกล้เคียง หมู่บ้านอื่นที่ ใกล้เคียง อําเภอใกล้เคียง ขออนุญ าตย้ํา เกี่ยวกับ นโยบายของกระทรวงวิท ยาศาสตร์ ฯ ว่ าผมจะ พยายามนําความรู้ลงไปสู่พี่น้องเกษตรกร ซึ่งเป็นคนรากหญ้าของประเทศให้มาก ที่ สุ ด เท่ า ที่ จ ะเป็ น ไปได้ และหวั ง ว่ า ท่ า นจะได้ รั บ ความรู้ ที่ ท่ า นต้ อ งการนํ า ไป ประกอบอาชีพของท่าน และหวังว่าท่านจะนําความรู้เหล่านี้ไปแบ่งปันถ่ายทอดให้ คนอื่นๆ ด้วย บั ด นี้ ไ ด้ เ วลาอั น สมควรแล้ ว ผมขออนุ ญ าตเปิ ด การอบรมอย่ า งเป็ น ทางการเกี่ยวกับโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาการผลิตปุ๋ยอินทรี ย์ ให้กับพี่น้องเกษตรกร จังหวัดชุมพรครับ ขอบคุณครับ เรียบเรียบโดย : ยุภาภรณ์ เทพจันทร์ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 29
  • 30. การแถลงข่าว กิจกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนจังหวัดชุมพร วันพุธที่ 23 มิถุนายน 2553 ณ ศูนย์บริการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และดาราศาสตร์ ภายใต้โครงการพระราชดาริ พื้นที่หนองใหญ่ อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร ผู้ร่วมแถลงข่าว : ดร. วีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รศ.ดร. วีระพงษ์ แพสุวรรณ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายสุรพล วาณิชเสนี รองผูว่าราชการจังหวัดชุมพร ้ รศ.ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน ผู้อานวยการสานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นายธงชัย ลิ้มตระกูล ประธานหอการค้าจังหวัดชุมพร ผู้ดาเนินรายการ : นายไอศูนย์ ภาษยะวรรณ์ รองประธานหอการค้าจังหวัดชุมพร ผู้ ด า เ นิ น ร า ย ก า ร : นโยบายการพั ฒ นาจั ง หวั ด ชุ ม พร เรื่ อ ง ไบโอเทคโนโลยี จะส่ ง ผล อย่างไรต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ จังหวัดชุมพร และของประเทศชาติ 30 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 31. ร ม ว . ว ท . : ผ ม ข อ อ นุ ญ า ต เ รี ย น ถึ ง น โ ย บ า ย ภ า พ ก ว้ า ง ข อ ง กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ ก่ อ น ต่ อ จากนั้ น จะพู ด ถึ ง โครงการไบโอเทคโนโลยี ช่วงที่ผมมารับตําแหน่ง รมว.วท. ท่านนายกรัฐมนตรี (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ได้ ปรารภหลายเรื่อง คือ ทําอย่างไรถึงจะนําเรื่องงานวิจัยเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งอาจมี งบประมาณจํ า กั ด ได้ มี ก ารทํ า งาน โดยการบูรณาการงานวิจัยอย่างเป็น เอกภาพ ถ้าไม่อย่างนั้นงานวิจัยก็จะ อยู่ อ ย่ า งกระจั ด กระจายอยู่ ใ นส่ ว น ต่ า งๆ เรื่ อ งที่ ห นึ่ ง เรื่ อ งที่ สอง ท่ า น เป็นห่วงว่า เราจะทําอย่างไรถึงจะนํา เรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปสู่คนส่วนใหญ่ของประเทศ จริงๆ แล้วเรื่อง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของ คนเป็นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงมิติของความมั่นคง แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าโดยปกติแล้ว เรื่องของวิทยาศาสตร์ เรื่องของเทคโนโลยี และเรื่องของนวัตกรรม ได้รับความสนใจจากพี่น้องประชาชนค่อนข้างน้อยเมื่อ เทียบกับเรื่องอื่นๆ จากโจทย์ที่ท่านนายกรัฐมนตรีได้มอบให้ ผมได้นํามาปรึกษาหารือกับ ผู้ บ ริ ห ารของกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ ซึ่ ง หลั ก ๆ มี 3 เรื่ อ งที่ อ ยากเห็ น ในการ ขับเคลื่อนกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ คือ การนําวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สู่ชุมชน การนํ า วิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี สู่เ ยาวชน สู่เ ด็ ก ๆ ในโรงเรี ย น และเรื่ อ งที่ ผู้ดําเนินรายการได้ถามถึง การนําวิทยาศาสตร์ไปเพิ่มขีดความสามารถในการ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 31