SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
ระบบเลขฐาน
เลขฐาน
ระบบจำานวนที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำาวันเป็นระบบเลขฐาน
สิบ
ซึ่งมีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลข 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, …, 9
ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดระบบเลขฐานอื่นๆ คือ
ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1
ระบบเลขฐานแปด มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 8 ตัว คือ 0, 1, 2,
3, 4, 5, 6, และ 7 และ
ระบบเลขฐานสิบหก มีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร
16 ตัว
คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F
เพื่อให้ทราบว่าจำานวนใดเป็นจำานวนในระบบเลขฐานใด ทำา
โดยเขียนตัวเลขฐานกำากับไว้ที่ท้ายของจำานวนนั้น ยกเว้นเลขฐาน
สิบ ตัวอย่างเช่น
102 หมายถึง 10 ในระบบเลขฐานสอง
768 หมายถึง 76 ในระบบเลขฐานแปด
และ 10216 หมายถึง 102 ในระบบเลขฐานสิบหก
เลขฐานต่างๆสามารถโยงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้ เช่น
สามารถแปลงจากเลขฐานหนึ่งไปยังอีกฐานหนึ่งได้ และเปลี่ยน
จากเลขฐานต่างๆ ไปยังเลขฐานสิบที่ใช้กันทั่วไป
ฐานสอง ฐานแปด ฐานสิบ ฐานสิบหก
10 2 2 2
100 4 4 4
1000 10 8 8
1110 16 14 E
10000 20 16 10
100000 40 32 20
ตัวอย่างการแปลงเลขฐานของระบบตัวเลข
การแปลงฐานสองเป็นเลขฐานสิบ :
หลักการ : คือการเอาค่า Weight ของทุกบิตที่มีค่าเป็น 1 มาบ
วกกัน ดังตัวอย่าง
ตัวอย่าง : จงแปลง (11011101)2 ให้เป็นเลขฐานสิบ
(11011101)2 = (1X27
) + (1X26
) + (0X25
) + (1X24
) +
(1X23
)+ (1X22
) +
(0X21
) + (1X20
)
= 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1
= (221)10
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (1011.101)2 เป็นเลขฐานสิบ
1 0 1 1 . 1 0 1 ผลลัพธ์
2-3
0.125
2-2
0.0
2-1
0.5
-
20
1.
21
2.
22
0.
23
8.
(11.625
)10
∴ (1011.101)2 = (11.625)10
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
หลักการ
1. ให้นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งและนำา 2 มาหาร ได้เศษเท่าไรจะ
เป็นค่าบิตที่มีนัยสำาคัญน้อยที่สุด (LSB)
2. นำาผลลัพธ์ที่ได้จากข้อที่ 1 มาตั้งหารด้วย 2 อีกเศษที่จัดจะ
เป็นบิตถัดไปของเลขฐานสอง
3. ทำาเหมือนข้อ 2 ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ เศษที่ได้จะ
เป็นบิตเลขฐานสองที่มีนัยสำาคัญมากที่สุด (MSB)
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (221)10 เป็นเลขฐานสอง
2 221 เศษ 1 (LSB)
2 110 เศษ 0
2 55 เศษ 1
2 27 เศษ 1
2 13 เศษ 1
2 6 เศษ 0
2 3 เศษ 1
2 1 เศษ 1 (MSB)
0
∴ (221)10 = (11011101)2
หมายเหตุ
1. บิตที่มีนัยสำาคัญสูงสุด (Most Significant Bit : MSB) คือ
บิตที่อยู่ซ้ายมือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักมากที่สุด
2. บิตที่มีนัยสำาคัญตำ่าสุด (Least Significant Bit : LSB) คือ
บิตที่อยู่ขวามือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักน้อยที่สุด
วิธีคิดโดยใช้นำ้าหนัก (Weight) ของแต่ละบิต
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (221)10 = (……)2
1. นำาค่านำ้าหนัก (Weight) มาตั้ง โดย Weight ที่มีค่ามาก
ที่สุดต้องไม่เกินจำานวนที่จะเปลี่ยนดังนี้
356 128 64 32 16 8 4 2 1
2. เลือกค่า Weight ที่มีค่ามากที่สุด และค่า Weight ตัวอื่น ๆ
เมื่อนำามารวมกันแล้วให้ได้เท่ากับจำานวนที่ต้องการ
ค่า Weight 128 64 32 16 8 4 2 1
เลือก 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = 221
ฐานสอง 1 1 0 1 1 1 0 1
∴ (221)10 = (11011101)2
การเปลี่ยนเลขฐานสิบที่มีจุดทศนิยมเป็นเลขฐานสอง
หลักการ
1. ให้เปลี่ยนเลขจำานวนเต็มหน้าจุดทศนิยมด้วยวิธี ที่กล่าวมา
แล้ว
2. ให้นำาเลขจุดทศนิยมมาตั้งแล้วคูณด้วย 2 ผลคูณมีค่าน้อย
กว่า 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 0 แต่ถ้าผลคูณมีค่ามากกว่า 1
หรือเท่ากับ 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 1
3. ให้นำาเลขจุดทศนิยมที่ได้จากผลการคูณใน ‚ มาตั้งและคูณ
ด้วย 2 และพิจารณาผลลัพธ์เช่นเดียวกับข้อ ‚ และกระบวนการ
นี้จะทำำต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่ำผลคูณจะมีค่ำเท่ำกับ 1 หรือได้ค่ำที่
แม่นยำำเพียงพอแล้ว
ตัวอย่ำง : จงเปลี่ยน (0.375)10 เป็นเลขฐำนสอง
ผลกำรคูณ ผลของจำำนวนเต็ม
0.375 X 2 =
0.75
0.75 X 2 = 1.5
0.5 X 2 =
1.0
0
1
1
ดังนั้น (0.375)10 = (0.011)2
ตัวอย่ำง : จงเปลี่ยน (12.35)10 เป็นฐำนสอง
1. 1. เปลี่ยน (12)10 ให้เป็นเลขฐำนสอง
(12)10 = (1100)2
2. เปลี่ยน (0.35)10 เป็นเลขฐำนสอง
ผลกำรคูณ ผลของจำำนวนเต็ม
0.35 X 2 = 0.7
0.7 X 2 = 1.4
0.4 X 2 = 0.8
0.8 X 2 = 1.6
0.6 X 2 = 1.2
0.2 X 2 = 0.4
0
1
0
1
1
0
0.4 X 2 = 0.8
0.8 X 2 = 1.6
0
1
กำรเปลี่ยนจะซำ้ำกันไปเรื่อย ๆ จะนำำมำใช้เพียง 6 บิต
ดังนั้น (12.35)10 = (1100.010110)2
กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นฐำนสิบและเลขฐำนสิบเป็นฐำนแปด
กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสิบ
หลักเกณฑ์ : นำำค่ำนำ้ำหนัก (Weight)และเลขฐำนแปด
คูณด้วยเลข
ประจำำหลักแล้วนำำผลที่ได้ทุกหลักมำรวมกัน
นำ้ำหนัก : Weight …ได้แก่ 84
83
82
81
80
8-1
8-2
8-3
…
ตัวอย่ำง : (134)8 = (…)10
(134)8 = (1X82
) + (3X81
) + (4X80
)
= 64 + 24 + 4
= (92) 10
ดังนั้น (134)8 = (92)10
จุดทศนิยม
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนแปด
หลักเกณฑ์ : นำำเลขฐำนสิบเป็นตัวตั้งแล้วหำรด้วย 8 เศษ
ที่ได้จำกกำร
หำรจะเป็นค่ำของเลขฐำนแปด ทำำเช่นเดียว
กับกำรเปลี่ยน
เลขฐำนสิบเป็นฐำนสอง
ตัวอย่ำง : (92)10 = (…)8
8 92 เศษ 4
8 11 เศษ 3
8 1 เศษ 1
0
1 3 4
ดังนั้น (92)10 = (134)8
กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นสองและเลขฐำนสองเป็น
ฐำนแปด
กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง
หลักกำร : จะต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำงในกำรเปลี่ยน
ตัวอย่ำง : (134)8 = (…)2
1. เปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสิบ
(134)8 = (1X88
) + (3X81
) + (4X80
)
= (92)10
2. เปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสอง
(92)10 = (…)2
Weight = 64 32 16 8 4 2 1
= 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
เลขฐำน 2 = 1 0 1 1 1 0 0
ดังนั้น (134)8 = (1011100)2
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนแปด
หลักกำร : จะต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำงในกำรเปลี่ยน
ตัวอย่ำง : (1011100)2 = (…)8
1. 1. เปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนสิบ
(1011100)2 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
= (92)10
2. 2. เปลี่ยนฐำนสิบเป็นเลขฐำนแปด
8 92 เศษ 4
8 11 เศษ 3
8 1 เศษ 1
0
1 3 4
ดังนั้น (1011100)2 = (134)8
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนแปดและฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง วิธีลัด
เลขฐำนแปด เลขฐำนสอง
0
1
2
3
4
5
6
7
000
001
010
011
100
101
110
111
ตำรำงเปรียบเทียบเลขฐำนแปดและเลขฐำนสอง
จำกตำรำงจะเห็นว่ำเลขฐำนแปดหนึ่งหลักสำมำรถแทนด้วยเลข
ฐำนสองจำำนวน 3 บิต
ตัวอย่ำง : จงแปลงเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนแปด
(1011100) 2 = (…)8
วิธีทำำ : 001 011 100
1 3 4
ดังนั้น (1011100) 2 = (134)8
ตัวอย่ำง เปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง
(6143)8 = (…)2
วิธีทำำ 6 1 4 3
110 001 100 011
ดังนั้น (6143)8 = (110001100011)2
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นฐำนสิบและเลขฐำนสิบเป็นฐำนสิบ
หก
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นเลขฐำนสิบ
หลักกำร : นำำค่ำนำ้ำหนัก (Weight) ของเลขฐำนสิบหก
คูณด้วยเลขประจำำ
หลัก และนำำผลที่ได้ทุกหลักมำรวมกัน
นำ้ำหนัก (Weight) : … 164
163
162
161
160
16-1
16-2
16-3
…
ตัวอย่ำง (6C)16 = (…)10
(6C)16 = (5X161
) + (12X160
)
= 80 + 12
= (92)10
ดังนั้น (6C)16 = (92)10
ตัวอย่ำง (0.3)16 = (…)10
(0.3.16 (0.3)16= 3X10-1
= 3X0.0625
= (0.1875)10
ดังนั้น (0.3)16 = (0.1878)10
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสิบหก
หลักกำร : นำำเลขฐำนสิบมำเป็นตัวตั้งแล้วนำำ 16 มำหำร เศษที่ได้จำก
กำรหำร จะเป็นค่ำ
เลขฐำนสิบหก ทำำเช่นเดียวกับกำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลข
ฐำนสอง
ตัวอย่ำง : (92)10 = (…)16
วิธีทำำ : 16 92 เศษ 12 =C
16 5 เศษ 5
5 C
ดังนั้น (92)10 = (5C)16
ตัวอย่ำง (0.7875)10 = (….)16
วิธีทำำ
ผลกำรคูณ ผลของจำำนวนเต็ม
0.7875 X 16 =
12.6
0.6 X 16 =
9.6
12 = C
9
0.6 X 16 =
9.6
0.6 X 16 =
9.6
9
9
ดังนั้น (0.7875)10 = (0.C9)16
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นฐำนสิบหก และฐำนสิบหกเป็นฐำนสอง
กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง
หลักกำร : จะต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำง
ตัวอย่ำง : (5C)16 = (…)2
1. เปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นเลขฐำนสิบ
(5C)16 = (5X161
) + (12X160
)
= 80 + 12
= (92)10
2. เปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสอง
(92)10 = (…)2
Weight = 64 32 16 8 4 2 1
64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
เลขฐำนสอง = 1 0 1 1 1 0 0
ดังนั้น (5C)16 = (1011100)2
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนสิบหก
หลักกำร : ต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำง
ตัวอย่ำง : (1011100)2 = (…)16
1. เปลี่ยน (1011100)2 เป็นเลขฐำนสิบ
(1011100)2 = (92)10
2. เปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสิบหก
16 92 เศษ 12 =C
16 5 เศษ 5
0
5 C
ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16
กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นฐำนสองและเลขฐำนสองเป็นฐำนสิบหก
วิธีลัด
เลขฐำนสิบหก เลขฐำนสอง
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
A
0000
0001
0010
0011
0100
0101
0110
0111
1000
1001
1010
B
C
D
E
F
1011
1100
1101
1110
1111
ตำรำงเปรียบเทียบเลขฐำนสิบหกกับเลขฐำนสอง
จำกตำรำงจะเห็นว่ำ เลขฐำนสิบหกหนึ่งหลักสำมำรถจะแทนด้วยเลข
ฐำนสองจำำนวน 4 บิต
ตัวอย่ำง จงเปลี่ยน (1011100)2 เป็นเลขฐำนสิบหก
วิธีทำำ0101 1100
5 12
5 C
ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16
ตัวอย่ำง จงเปลี่ยน (1011110111011)2 เป็นเลขฐำนสิบหก
วิธีทำำ0001 0111 1011 1011
1 7 11 11
1 7 B B
ดังนั้น (1011110111011)2 = (17BB)16
ตัวอย่ำง จงเปลี่ยน (A95)16 เป็นเลขฐำนสอง
วิธีทำำ A 9 5
1010 1001 0101
ดังนั้น (A95)16 = (101010010101)2
แบบฝึกหัด
2.1 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสี่ (base-4) และเลขฐานห้า (base-5)
a. 10 b. 21
c. 50 d. 67
e. 100
2.2 จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบ
a. (24)5 b. (3F7)16
c. (148)8 d. (ABC)15
2.3 จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง
a. (0.1111)2 b. (0.11010011)2
c. (001110.111111111)2
2.4 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสองและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง
a. (0.1111)10 b. (947.613)10
c. (4287.6543)10
2.5 จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ เป็นเลขฐานแปด
a. (ABCE)16 b. (97F)16
c. (A0)16
2.6 จงแปลงเลขฐานแปดต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบหก
a. (375)8 b. (054)8
c. (3517)8
อ้างอิงโปรแกรม
http://kmitlboard.packetlove.com/webserv/bnctool/#b10tob2

Contenu connexe

Tendances

การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับTutor Ferry
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 thirachet pendermpan
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 

Tendances (20)

ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิตใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ป.1
ป.1ป.1
ป.1
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 

En vedette

การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆNoii Kittiya
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์iamaomkitt
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์Ooa Worrawalun
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์rattanapachai
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานjibjoy_butsaya
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 

En vedette (7)

การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆ
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 

Similaire à การแปลงเลขฐาน

การแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆการแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆsiripaporn
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานพัน พัน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานPreecha Yeednoi
 
58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ssManunya Museanko
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานAE Mct
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานพัน พัน
 
Base
BaseBase
Basesa
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelพัน พัน
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 

Similaire à การแปลงเลขฐาน (20)

การแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆการแปลงเลขฐานต่างๆ
การแปลงเลขฐานต่างๆ
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
01
0101
01
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
 
Base
BaseBase
Base
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
Oe 3
 Oe 3 Oe 3
Oe 3
 

การแปลงเลขฐาน

  • 1. ระบบเลขฐาน เลขฐาน ระบบจำานวนที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำาวันเป็นระบบเลขฐาน สิบ ซึ่งมีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลข 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, …, 9 ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดระบบเลขฐานอื่นๆ คือ ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1 ระบบเลขฐานแปด มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, และ 7 และ ระบบเลขฐานสิบหก มีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร 16 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F เพื่อให้ทราบว่าจำานวนใดเป็นจำานวนในระบบเลขฐานใด ทำา โดยเขียนตัวเลขฐานกำากับไว้ที่ท้ายของจำานวนนั้น ยกเว้นเลขฐาน สิบ ตัวอย่างเช่น 102 หมายถึง 10 ในระบบเลขฐานสอง 768 หมายถึง 76 ในระบบเลขฐานแปด และ 10216 หมายถึง 102 ในระบบเลขฐานสิบหก เลขฐานต่างๆสามารถโยงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้ เช่น สามารถแปลงจากเลขฐานหนึ่งไปยังอีกฐานหนึ่งได้ และเปลี่ยน จากเลขฐานต่างๆ ไปยังเลขฐานสิบที่ใช้กันทั่วไป ฐานสอง ฐานแปด ฐานสิบ ฐานสิบหก 10 2 2 2 100 4 4 4 1000 10 8 8 1110 16 14 E 10000 20 16 10 100000 40 32 20
  • 2. ตัวอย่างการแปลงเลขฐานของระบบตัวเลข การแปลงฐานสองเป็นเลขฐานสิบ : หลักการ : คือการเอาค่า Weight ของทุกบิตที่มีค่าเป็น 1 มาบ วกกัน ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง : จงแปลง (11011101)2 ให้เป็นเลขฐานสิบ (11011101)2 = (1X27 ) + (1X26 ) + (0X25 ) + (1X24 ) + (1X23 )+ (1X22 ) + (0X21 ) + (1X20 ) = 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = (221)10 ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (1011.101)2 เป็นเลขฐานสิบ 1 0 1 1 . 1 0 1 ผลลัพธ์ 2-3 0.125 2-2 0.0 2-1 0.5 - 20 1. 21 2. 22 0. 23 8. (11.625 )10 ∴ (1011.101)2 = (11.625)10 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง หลักการ 1. ให้นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งและนำา 2 มาหาร ได้เศษเท่าไรจะ เป็นค่าบิตที่มีนัยสำาคัญน้อยที่สุด (LSB) 2. นำาผลลัพธ์ที่ได้จากข้อที่ 1 มาตั้งหารด้วย 2 อีกเศษที่จัดจะ เป็นบิตถัดไปของเลขฐานสอง 3. ทำาเหมือนข้อ 2 ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ เศษที่ได้จะ เป็นบิตเลขฐานสองที่มีนัยสำาคัญมากที่สุด (MSB)
  • 3. ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (221)10 เป็นเลขฐานสอง 2 221 เศษ 1 (LSB) 2 110 เศษ 0 2 55 เศษ 1 2 27 เศษ 1 2 13 เศษ 1 2 6 เศษ 0 2 3 เศษ 1 2 1 เศษ 1 (MSB) 0 ∴ (221)10 = (11011101)2 หมายเหตุ 1. บิตที่มีนัยสำาคัญสูงสุด (Most Significant Bit : MSB) คือ บิตที่อยู่ซ้ายมือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักมากที่สุด 2. บิตที่มีนัยสำาคัญตำ่าสุด (Least Significant Bit : LSB) คือ บิตที่อยู่ขวามือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักน้อยที่สุด วิธีคิดโดยใช้นำ้าหนัก (Weight) ของแต่ละบิต ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (221)10 = (……)2 1. นำาค่านำ้าหนัก (Weight) มาตั้ง โดย Weight ที่มีค่ามาก ที่สุดต้องไม่เกินจำานวนที่จะเปลี่ยนดังนี้ 356 128 64 32 16 8 4 2 1 2. เลือกค่า Weight ที่มีค่ามากที่สุด และค่า Weight ตัวอื่น ๆ เมื่อนำามารวมกันแล้วให้ได้เท่ากับจำานวนที่ต้องการ ค่า Weight 128 64 32 16 8 4 2 1 เลือก 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = 221 ฐานสอง 1 1 0 1 1 1 0 1 ∴ (221)10 = (11011101)2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบที่มีจุดทศนิยมเป็นเลขฐานสอง หลักการ 1. ให้เปลี่ยนเลขจำานวนเต็มหน้าจุดทศนิยมด้วยวิธี ที่กล่าวมา แล้ว 2. ให้นำาเลขจุดทศนิยมมาตั้งแล้วคูณด้วย 2 ผลคูณมีค่าน้อย กว่า 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 0 แต่ถ้าผลคูณมีค่ามากกว่า 1 หรือเท่ากับ 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 1 3. ให้นำาเลขจุดทศนิยมที่ได้จากผลการคูณใน ‚ มาตั้งและคูณ ด้วย 2 และพิจารณาผลลัพธ์เช่นเดียวกับข้อ ‚ และกระบวนการ
  • 4. นี้จะทำำต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่ำผลคูณจะมีค่ำเท่ำกับ 1 หรือได้ค่ำที่ แม่นยำำเพียงพอแล้ว ตัวอย่ำง : จงเปลี่ยน (0.375)10 เป็นเลขฐำนสอง ผลกำรคูณ ผลของจำำนวนเต็ม 0.375 X 2 = 0.75 0.75 X 2 = 1.5 0.5 X 2 = 1.0 0 1 1 ดังนั้น (0.375)10 = (0.011)2 ตัวอย่ำง : จงเปลี่ยน (12.35)10 เป็นฐำนสอง 1. 1. เปลี่ยน (12)10 ให้เป็นเลขฐำนสอง (12)10 = (1100)2 2. เปลี่ยน (0.35)10 เป็นเลขฐำนสอง ผลกำรคูณ ผลของจำำนวนเต็ม 0.35 X 2 = 0.7 0.7 X 2 = 1.4 0.4 X 2 = 0.8 0.8 X 2 = 1.6 0.6 X 2 = 1.2 0.2 X 2 = 0.4 0 1 0 1 1 0 0.4 X 2 = 0.8 0.8 X 2 = 1.6 0 1 กำรเปลี่ยนจะซำ้ำกันไปเรื่อย ๆ จะนำำมำใช้เพียง 6 บิต ดังนั้น (12.35)10 = (1100.010110)2 กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นฐำนสิบและเลขฐำนสิบเป็นฐำนแปด กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสิบ หลักเกณฑ์ : นำำค่ำนำ้ำหนัก (Weight)และเลขฐำนแปด คูณด้วยเลข ประจำำหลักแล้วนำำผลที่ได้ทุกหลักมำรวมกัน นำ้ำหนัก : Weight …ได้แก่ 84 83 82 81 80 8-1 8-2 8-3 … ตัวอย่ำง : (134)8 = (…)10 (134)8 = (1X82 ) + (3X81 ) + (4X80 ) = 64 + 24 + 4 = (92) 10 ดังนั้น (134)8 = (92)10
  • 5. จุดทศนิยม กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนแปด หลักเกณฑ์ : นำำเลขฐำนสิบเป็นตัวตั้งแล้วหำรด้วย 8 เศษ ที่ได้จำกกำร หำรจะเป็นค่ำของเลขฐำนแปด ทำำเช่นเดียว กับกำรเปลี่ยน เลขฐำนสิบเป็นฐำนสอง ตัวอย่ำง : (92)10 = (…)8 8 92 เศษ 4 8 11 เศษ 3 8 1 เศษ 1 0 1 3 4 ดังนั้น (92)10 = (134)8 กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นสองและเลขฐำนสองเป็น ฐำนแปด กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง หลักกำร : จะต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำงในกำรเปลี่ยน ตัวอย่ำง : (134)8 = (…)2 1. เปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสิบ (134)8 = (1X88 ) + (3X81 ) + (4X80 ) = (92)10 2. เปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสอง (92)10 = (…)2 Weight = 64 32 16 8 4 2 1 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 เลขฐำน 2 = 1 0 1 1 1 0 0 ดังนั้น (134)8 = (1011100)2 กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนแปด หลักกำร : จะต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำงในกำรเปลี่ยน ตัวอย่ำง : (1011100)2 = (…)8 1. 1. เปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนสิบ (1011100)2 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 = (92)10 2. 2. เปลี่ยนฐำนสิบเป็นเลขฐำนแปด 8 92 เศษ 4 8 11 เศษ 3
  • 6. 8 1 เศษ 1 0 1 3 4 ดังนั้น (1011100)2 = (134)8 กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนแปดและฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง วิธีลัด เลขฐำนแปด เลขฐำนสอง 0 1 2 3 4 5 6 7 000 001 010 011 100 101 110 111 ตำรำงเปรียบเทียบเลขฐำนแปดและเลขฐำนสอง จำกตำรำงจะเห็นว่ำเลขฐำนแปดหนึ่งหลักสำมำรถแทนด้วยเลข ฐำนสองจำำนวน 3 บิต ตัวอย่ำง : จงแปลงเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนแปด (1011100) 2 = (…)8 วิธีทำำ : 001 011 100 1 3 4 ดังนั้น (1011100) 2 = (134)8 ตัวอย่ำง เปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง (6143)8 = (…)2 วิธีทำำ 6 1 4 3 110 001 100 011 ดังนั้น (6143)8 = (110001100011)2 กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นฐำนสิบและเลขฐำนสิบเป็นฐำนสิบ หก กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นเลขฐำนสิบ หลักกำร : นำำค่ำนำ้ำหนัก (Weight) ของเลขฐำนสิบหก คูณด้วยเลขประจำำ หลัก และนำำผลที่ได้ทุกหลักมำรวมกัน
  • 7. นำ้ำหนัก (Weight) : … 164 163 162 161 160 16-1 16-2 16-3 … ตัวอย่ำง (6C)16 = (…)10 (6C)16 = (5X161 ) + (12X160 ) = 80 + 12 = (92)10 ดังนั้น (6C)16 = (92)10 ตัวอย่ำง (0.3)16 = (…)10 (0.3.16 (0.3)16= 3X10-1 = 3X0.0625 = (0.1875)10 ดังนั้น (0.3)16 = (0.1878)10 กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสิบหก หลักกำร : นำำเลขฐำนสิบมำเป็นตัวตั้งแล้วนำำ 16 มำหำร เศษที่ได้จำก กำรหำร จะเป็นค่ำ เลขฐำนสิบหก ทำำเช่นเดียวกับกำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลข ฐำนสอง ตัวอย่ำง : (92)10 = (…)16 วิธีทำำ : 16 92 เศษ 12 =C 16 5 เศษ 5 5 C ดังนั้น (92)10 = (5C)16 ตัวอย่ำง (0.7875)10 = (….)16 วิธีทำำ ผลกำรคูณ ผลของจำำนวนเต็ม 0.7875 X 16 = 12.6 0.6 X 16 = 9.6 12 = C 9 0.6 X 16 = 9.6 0.6 X 16 = 9.6 9 9 ดังนั้น (0.7875)10 = (0.C9)16 กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นฐำนสิบหก และฐำนสิบหกเป็นฐำนสอง กำรเปลี่ยนเลขฐำนแปดเป็นเลขฐำนสอง
  • 8. หลักกำร : จะต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำง ตัวอย่ำง : (5C)16 = (…)2 1. เปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นเลขฐำนสิบ (5C)16 = (5X161 ) + (12X160 ) = 80 + 12 = (92)10 2. เปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสอง (92)10 = (…)2 Weight = 64 32 16 8 4 2 1 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 เลขฐำนสอง = 1 0 1 1 1 0 0 ดังนั้น (5C)16 = (1011100)2 กำรเปลี่ยนเลขฐำนสองเป็นเลขฐำนสิบหก หลักกำร : ต้องใช้เลขฐำนสิบเป็นตัวกลำง ตัวอย่ำง : (1011100)2 = (…)16 1. เปลี่ยน (1011100)2 เป็นเลขฐำนสิบ (1011100)2 = (92)10 2. เปลี่ยนเลขฐำนสิบเป็นเลขฐำนสิบหก 16 92 เศษ 12 =C 16 5 เศษ 5 0 5 C ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16 กำรเปลี่ยนเลขฐำนสิบหกเป็นฐำนสองและเลขฐำนสองเป็นฐำนสิบหก วิธีลัด เลขฐำนสิบหก เลขฐำนสอง 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A 0000 0001 0010 0011 0100 0101 0110 0111 1000 1001 1010
  • 9. B C D E F 1011 1100 1101 1110 1111 ตำรำงเปรียบเทียบเลขฐำนสิบหกกับเลขฐำนสอง จำกตำรำงจะเห็นว่ำ เลขฐำนสิบหกหนึ่งหลักสำมำรถจะแทนด้วยเลข ฐำนสองจำำนวน 4 บิต ตัวอย่ำง จงเปลี่ยน (1011100)2 เป็นเลขฐำนสิบหก วิธีทำำ0101 1100 5 12 5 C ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16 ตัวอย่ำง จงเปลี่ยน (1011110111011)2 เป็นเลขฐำนสิบหก วิธีทำำ0001 0111 1011 1011 1 7 11 11 1 7 B B ดังนั้น (1011110111011)2 = (17BB)16 ตัวอย่ำง จงเปลี่ยน (A95)16 เป็นเลขฐำนสอง วิธีทำำ A 9 5 1010 1001 0101 ดังนั้น (A95)16 = (101010010101)2 แบบฝึกหัด
  • 10. 2.1 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสี่ (base-4) และเลขฐานห้า (base-5) a. 10 b. 21 c. 50 d. 67 e. 100 2.2 จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบ a. (24)5 b. (3F7)16 c. (148)8 d. (ABC)15 2.3 จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง a. (0.1111)2 b. (0.11010011)2 c. (001110.111111111)2 2.4 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสองและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง a. (0.1111)10 b. (947.613)10 c. (4287.6543)10 2.5 จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ เป็นเลขฐานแปด a. (ABCE)16 b. (97F)16 c. (A0)16 2.6 จงแปลงเลขฐานแปดต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบหก a. (375)8 b. (054)8 c. (3517)8 อ้างอิงโปรแกรม http://kmitlboard.packetlove.com/webserv/bnctool/#b10tob2