SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1

                       หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง รู้ จักทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา
รหัสวิชา ส22101 รายวิชา สั งคมศึกษา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2               ภาคเรียนที่ 1                        เวลาเรียน 9 ชั่ วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วด ั
         มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1
                   ม.2/1 ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
                   ม.2/2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
ยุโรปและแอฟริ กา
สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
         การรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลทางลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางสังคม
ของทวีปยุโรปและแอฟริ กา โดยอาศัยเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
สาระการเรียนรู้
         สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
         1.เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและ
แอฟริ กา
         2.ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
         1.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
         2.ความสามารถในการคิด
 -                   ทักษะการคิดวิเคราะห์
 -                   ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                            ิ
 -                   ทักษะการคิดสังเคราะห์
         3.ความสามารถในการใช้ชีวต         ิ
 -                   กระบวนการปฏิบติ    ั
 -                   กระบวนการกลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
         1.มีวนย
               ิ ั
         2.ใฝ่ เรี ยนรู้
         3.มุ่งมันในการทางาน
                   ่
ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
         1.รายงานผลการวิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางสังคมของทวีปยุโรป
                                          ้
และแอฟริ กา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ
         2.แผนภาพโครงเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรป
และแอฟริ กา
การวัดและการประเมินผล
         การประเมินก่อนเรียน
 -                    ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและ
                                                                            ั
แอฟริ กา
         การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                     1.ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปยุโรป
                     2.ใบงานที่ 1.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
                     3.ใบงานที่ 1.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ ของ
ทวีปยุโรป
                     4.ใบงานที่ 1.4 เรื่ องภูมิหลังทางสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครองของ
ทวีปยุโรป
                     5.ใบงานที่ 2.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปแอฟริ กา
                     6.ใบงานที่ 2.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของแอฟริ กา
                     7.ใบงานที่ 2.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ ของทวีป
แอฟริ กา
                     8.ใบงานที่ 2.4 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 1
                     9.ใบงานที่ 2.5 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 2
                     10.ใบงานที่ 2.6 เรื่ อง ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปแอฟริ กา
                     11. แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
                     12. แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
การประเมินผลหลังเรียน
 -              ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและ
                                                                     ั
แอฟริ กา
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
               1.แบบประเมินรายงานการวิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อความ
                                              ้
        ่
เป็ นอยูของประชากรของทวีปยุโรปและแอฟริ กา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ
               2. แบบประเมินแผนภาพโครงร่ างความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและ
สังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
                  แบบประเมินรายงานการวิเคราะห์ ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ
   ทีส่งผลต่ อความเป็ นอยู่ของประชากรในทวีปยุโรปและแอฟริกา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ
     ่

รายการประเมิน                      คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
                       ดีมาก(4)           ดี(3)         พอใช้(2)           ปรับปรุ ง(1)
1.ความสมบูรณ์     มีการวิเคราะห์   มีการวิเคราะห์   มีการสรุ ป         สรุ ปประเด็น
ของรายงาน         และสรุ ปประเด็น และสรุ ปประเด็น ประเด็นสาคัญ         สาคัญแสดง
                  สาคัญแสดง        สาคัญแสดง        แสดงลักษณะ         ลักษณะทาง
                  ลักษณะทาง        ลักษณะทาง        ทางกายภาพและ       กายภาพและทาง
                  กายภาพและทาง กายภาพและทาง ทางสังคมของ                สังคมของทวีป
                  สังคมของทวีป สังคมของทวีป ทวีปยุโรปและ               ยุโรปและ
                  ยุโรปและ         ยุโรปและ         แอฟริ กาได้        แอฟริ กาได้แต่ยง ั
                  แอฟริ กาได้อย่าง แอฟริ กาได้                         ไม่ครอบคลุม
                  ชัดเจนครอบคลุม                                       ครบถ้วน
                  ถูกต้อง
2.การใช้สื่อ      มีการใช้สื่อ     มีการใช้สื่อ     มีการใช้สื่อ       ไม่มีการใช้สื่อ
เทคโนโลยี่        เทคโนโลยี        เทคโนโลยี        เทคโนโลยี          เทคโนโลยี
สารสนเทศ          สารสนเทศอย่าง สารสนเทศใน          สารสนเทศบ้าง       สารสนเทศใน
                  หลากหลายใน       การสื บค้นข้อมูล ในการสื บค้น       การสื บค้นข้อมูล
                  การสื บค้นข้อมูล ลักษณะทาง        ข้อมูลลักษณะ       ลักษณะทาง
                  ลักษณะทาง        กายภาพและทาง ทางกายภาพและ           กายภาพและทาง
                  กายภาพและทาง สังคมของทวีป ทางสังคมของ                สังคมของทวีป
                  สังคมของทวีป ยุโรปและ             ทวีปยุโรปและ       ยุโรปและ
                  ยุโรปและ         แอฟริ กา         แอฟริ กา           แอฟริ กา
                  แอฟริ กา
รายการประเมิน                       คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
                      ดีมาก(4)               ดี(3)        พอใช้(2)          ปรับปรุ ง(1)
3.ความร่ วมมือ   มีการแบ่งหน้าที่   มีการแบ่งหน้าที่ มีการแบ่งหน้าที่   มีการแบ่งหน้าที่
กันทากิจกรรม     กันทางานอย่าง      กันทางานอย่าง กันทางานอย่าง         กันทางานไม่
                 ชัดเจนและทุกคน     ชัดเจนและ        ชัดเจนมีสมาชิก     ชัดเจนและ
                 ปฏิบติตามหน้าที่
                        ั           สมาชิกส่ วนใหญ่ บางคนปฏิบติ    ั    สมาชิกส่ วนใหญ่
                 ที่ได้รับ          ปฏิบติตามหน้าที่ ตามหน้าที่ที่
                                           ั                            ไม่ปฏิบติตาม
                                                                                  ั
                 มอบหมาย            ที่ได้รับ        ได้รับมอบหมาย      หน้าที่ที่ได้รับ
                                    มอบหมาย                             มอบหมาย
4.การนาเสนอ      มีการนาเสนอ        มีการนาเสนอ      มีการนาเสนอ        มีการนาเสนอ
ผลงาน            ผลงานเป็ นลาดับ    ผลงานเป็ นลาดับ ผลงานเป็ นลาดับ     ผลงานเป็ นลาดับ
                 ขั้นตอนด้วย        ขั้นตอนด้วย      ขั้นตอนด้วย        ขั้นตอนด้วย
                 วิธีการแปลกใหม่    วิธีการแปลกใหม่ วิธีการคล้ายคลึง    วิธีการคล้ายคลึง
                 ได้รับความ         ได้รับความ       กับแบบทัวไปได้
                                                              ่         กับแบบทัวไปแต่
                                                                                    ่
                 ชัดเจน น่าสนใจ     ชัดเจน น่าสนใจ ความชัดเจน           ไม่ได้ความ
                 ตลอดเวลา                                               ชัดเจน

                                เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

                          ช่ วงคะแนน           ระดับคุณภาพ
                              13-16               ดีมาก
                               9-12                 ดี
                                5-8               พอใช้
                                1-4              ปรับปรุ ง
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
      แบบประเมินแผนภาพโครงร่ างความสั มพันธ์ ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสั งคม
                           ของทวีปยุโรปและแอฟริกา

รายการประเมิน                     คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
                      ดีมาก(4)           ดี(3)         พอใช้(2)          ปรับปรุ ง(1)
1.แผนภาพโครง ใช้แผนภาพโครง ใช้แผนภาพโครง ใช้บางแผนภาพ                 ใช้บางแผนภาพ
ร่ างของทวีป     อย่างหลากหลาย แสดง                โครงแสดง           โครงแสดง
ยุโรปและ         แสดง             ความสัมพันธ์     ความสัมพันธ์       ความสัมพันธ์
แอฟริ กา         ความสัมพันธ์     ระหว่างลักษณะ ระหว่างลักษณะ         ระหว่างลักษณะ
                 ระหว่างลักษณะ ทางกายภาพและ ทางกายภาพและ              ทางกายภาพและ
                 ทางกายภาพและ สังคมของทวีป สังคมของทวีป               สังคมของทวีป
                 สังคมของทวีป ยุโรปและ             ยุโรปและ           ยุโรปและ
                 ยุโรปและ         แอฟริ กาได้อย่าง แอฟริ กา           แอฟริ กาแต่ยงไม่
                                                                                   ั
                 แอฟริ กาได้อย่าง สอดคล้อง                            สอดคล้อง
                 สอดคล้อง
                 ครอบคลุมชัดเจน
                 และถูกต้อง
2.การสรุ ป       อภิปราย          อภิปราย          อภิปราย            อภิปราย
อภิปราย          ความสัมพันธ์     ความสัมพันธ์     ความสัมพันธ์       ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์     ของแผนภาพ        ของแผนภาพ        ของแผนภาพ          ของแผนภาพ
ของแผนภาพ        โครงร่ างระหว่าง โครงร่ างระหว่าง โครงร่ างระหว่าง   โครงร่ างระหว่าง
โครงร่ างระหว่าง ลักษณะทาง        ลักษณะทาง        ลักษณะทาง          ลักษณะทาง
ลักษณะทาง        กายภาพและ        กายภาพและ        กายภาพและ          กายภาพและ
กายภาพและ        สังคมของทวีป สังคมของทวีป สังคมของทวีป               สังคมของทวีป
สังคมของทวีป ยุโรปและ             ยุโรปและ         ยุโรปและ           ยุโรปและ
ยุโรปและ         แอฟริ กาได้      แอฟริ กาได้      แอฟริ กาได้แต่ยง
                                                                  ั   แอฟริ กาไม่
แอฟริ กา         ถูกต้องชัดเจน                     ไม่ครอบคลุม        สัมพันธ์
                                                                      สอดคล้องกัน
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

                               ช่ วงคะแนน              ระดับคุณภาพ
                                    7-10                  ดีมาก
                                     5-6                    ดี
                                     3-4                  พอใช้
                                     1-2                 ปรับปรุ ง




กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่ วโมงที่ 1-7
           1.นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและทวีป
                                                                               ั
แอฟริ กา
           2.ครู แสดงแผนที่ทวีปยุโรปและรู ปภาพสถานที่ต่าง ๆ รู ปภาพประชากรของทวีปยุโรป
แล้วร่ วมสนทนากับนักเรี ยนในประเด็นต่อไปนี้
                       - ที่ต้ งของทวีปยุโรป
                                ั
                       - ความรู ้ทวไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปของนักเรี ยน
                                    ั่
                                           ่
                       - ชีวตความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรป
                              ิ
           3.ครู ให้นกเรี ยนศึกษาแ ผนที่ทวีปยุโรป แล้วให้นกเรี ยนระดมพลังสมอง (Brainstorming)
                        ั                                         ั
                                  ่
เพื่อเป็ นการนาความรู ้ที่มีอยูแล้วมาใช้เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีอิสระทางความคิด โดยครู กาหนดประเด็น “รู้
อะไรเกี่ยวกับทวีปยุโรป”
           4.ให้นกเรี ยนจับคู่เขียนเกี่ยวกับทวีปยุโรป ในประเด็นที่กาหนดให้มากที่สุดในเวลาที่
                   ั
กาหนดให้ 10 นาที่ เช่น เกี่ยวกับสถานที่ ท่องเที่ยวที่สาคัญ เมืองสาคัญ แหล่งมรดกโลก ที่สุด
                 ่
ในโลก ที่อยูในทวีปยุโรป ฯลฯ
           5.ครู สุ่มนักเรี ยน นาเสนอข้อมูลที่ ได้เขียนขึ้น ประมาณ 2-3 คู่ โดยเปิ ดโอกาสให้มีการ
พิจารณาความถูกต้องโดยเพื่อนร่ วมชั้น และครู ร่วมพิจารณา และชี้แนะเสริ ม ครู ต้ งคาถามนาต่อว่า
                                                                                      ั
ถ้าจะทาความรู ้จกทวีปยุโรปจะต้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับเรื่ องใดบ้าง ให้นกเรี ยนตอบตามความสมัครใจ
                     ั                                                  ั
6.แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเป็ น 8 กลุ่ม ให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลและรายละเอียดของทวีปยุโรป
พร้อมรู ปภาพหรื อแผนภูมิหรื อแผนที่ที่เกี่ยวข้อง ทาเป็ นรายงาน แต่ละกลุ่มจะได้ประเด็นไม่ซ้ ากัน
ในประเด็นต่อไปนี้
                             - ประเด็นที่ 1 ตาแหน่งที่ต้ งและขนาด
                                                           ั
           -                   ประเด็นที่ 2 ลักษณะภูมิประเทศ
           -                   ประเด็นที่ 3 ลักษณะภูมิอากาศ
           -                   ประเด็นที่ 4 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
           -                   ประเด็นที่ 5 ทรัพยากรธรรมชาติและพืชพรรณธรรมชาติ
           -                   ประเด็นที่ 6 ประชากร
           -                   ประเด็นที่ 7 ภาษา ศาสนา
           -                   ประเด็นที่ 8 ลักษณะเศรษฐกิจ
          7.ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรี ยน ครู และนักเรี ยนร่ วมรับฟัง ซักถาม
นักเรี ยนจดบันทึกสาระสาคัญลงสมุด
          8.นักเรี ยนทาใบงานดังต่อไปนี้
                             - ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปยุโรป
                             - ใบงานที่ 1.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
                             - ใบงานที่ 1.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของ
ทวีปยุโรป
                             - ใบงานที่ 1.4 เรื่ องภูมิหลัง วังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครองของ
ทวีปยุโรป
          9.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินความถูกต้องของใบงาน
          ชั่วโมงที่ 8-14
          10.ครู นาภาพสถานที่สาคัญของประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริ กา ให้นั กเรี ยนดู เช่น ภาพ
ทะเลทรายสะฮารา พีรามิดในอียปต์ แม่น้ าไนล์ ชนเผ่าต่าง ๆ สัตว์ป่าของแอฟริ กา อูฐเดินอยูใน
                                    ิ                                                         ่
ทะเลทราย ภูเขาคิลิมจาโร แม่น้ าไนเจอร์ เป็ นต้น แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันทายว่า รู ปภาพที่นามา
                        ั                                           ั
ให้นกัเรี ยนดูน้ ีจะพบเห็นได้จากทวีปใด จากนั้นครู อธิ บายแต่ละภาพให้นกเรี ยนเข้าใจว่าภา พ
                                                                              ั
ทั้งหมดเป็ นลักษณะเด่นของทวีปแอฟริ กา และความแตก ต่างของประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริ กา
โดยมีความแตกต่างกันทั้งลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทางด้านสังคม และวัฒนธรรม เป็ นต้น
          11.ครู อธิบายภู มิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปแอฟริ กา ให้นกเรี ยนเข้าใจถึงความสาคัญ
                                                                          ั
และความยิงใหญ่ทางด้านประวัติศาสตร์ของทวีปแอฟริ กา ในการต่อสู ้เพื่อเรี ยกร้องเอกราชจากชาติ
              ่
ตะวันตกในยุคล่าอาณานิคมที่ชาติ ตะวันตกต้องการประเทศในทวีปแอฟริ กาเป็ นเมืองขึ้น เพื่อ เป็ น
แหล่งวัตถุดิบ แหล่งแรงงาน การถูกกดขี่ข่มเหง เพื่อป้ อนโรงงานอุตสาหกรรมในยุคนั้น
         12.ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับทาเลที่ต้ งและอาณาเขตของทวีปแอฟริ กา โดยใช้แผนที่
                                                      ั
รัฐกิจทวีปแอฟริ กา แสดงชื่อประเทศต่าง ๆ ให้อาสาสมัครออกมาชี้แผนที่บ อกที่ต้ งและอาณาเขต
                                                                                 ั
ของทวีปแอฟริ กา
         13.ครู อภิปรายสรุ ป ลักษณะโดยรวมของทวีปแอฟริ กาให้เข้าใจว่าทวีปแอฟริ กา เป็ น ทวีปที่
ยังล้าหลัง มีคนรู้จกน้อย ด้วยเหตุหลายประการ แต่เป็ นทวีปที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ
                     ั
         14๔.ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม โดยในแต่ละกลุ่มจะคละความสามารถเด็กเก่ง
                   ั
ปานกลาง ค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และเด็กที่เรี ยนอ่อน
         15.ครู แจกบั ตรงานผลไม้ให้แต่ละกลุ่มใช้ศึกษาในหัวข้อที่ตนได้รับมอบหมาย แล้ว
นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยบัตรงานประกอบด้วย
                  กลุ่มที่ 1      ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปแอฟริ กา
                  กลุ่มที่ 2      ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริ กา
                  กลุ่มที่ 3      ลักษณะภูมิประเทศของทวีปแอฟริ กา
                  กลุ่มที่ 4      ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา
                  กลุ่มที่ 5      สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของ
ทวีปแอฟริ กา
            การนาเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม ควรมีแผนที่หรื อภาพประกอบเพื่อความชัดเจนของ
ข้อมูลมากขึ้น โดย
              กลุ่มที่ 1 นาเสนอผลงาน กลุ่มอื่นเป็ นผูฟัง ครู สรุ ปสาระสาคัญ แล้วให้นกเรี ยนทา
                                                            ้                        ั
ใบงานที่ 2.5 ภูมิหลังทางสังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 1 และที่ 2.6 ภูมิหลังทางสังคม
วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 2
            กลุ่มที่ 2 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.1 เรื่ องประเทศและเ มือง
                                                          ้
หลวงของทวีปแอฟริ กา
            กลุ่มที่ 3 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศ
                                                        ้
ของทวีปแอฟริ กา
            กลุ่มที่ 4 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและ
                                                  ้
พืชพรรธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา
            กลุ่มที่ 5 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.4 เรื่ องลักษณะเศรษฐกิจของ
                                                    ้
ทวีปแอฟริ กา
16.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสาระสาคัญจากการนาเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม
           ชั่วโมงที่ 15-18
           17.แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น 6 กลุ่ม ตามความสมัครใจ เลือกศึกษาระหว่าง 2 ทวีป คือ
ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริ กา ทวีปละ 3 กลุ่ม แล้ววิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
                                                                  ้
                 ่
ความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริ กา โดยการสื บค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนต
จากนั้นช่วยกันสรุ ปสาระสาคัญ จัดทาเป็ นรายงาน พร้อมกับเตรี ยมสื่ ออุปกรณ์พร้อมการนาเสนอ
เช่น แผนที่ แผนผัง แผนภูมิ รู ปภาพ ฯลฯ
           18.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรี ยน ครู และสมาชิกร่ วมรับฟัง
และซักถาม หรื อให้ขอสังเกตหรื อข้อเสนอแนะ
                          ้
           19.สมาชิกแต่ละกลุ่มต่างแลกกันประเมินรายงานของสมาชิกลุ่มอื่น โดยใช้แบบประเมิน
รายงานการวิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรป
                            ้                                              ่
และแอฟริ กา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ
           20.สมาชิกกลุ่มร่ วมกันทาแผนที่โครงร่ างความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและ
สังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
           21.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปลักษณะทางกายภาพ และลักษณะทางสังคมที่ส่งผล
                   ่
ต่อความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรปและแอฟริ กา ครู แสดงสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกี่ยวกับทวีปยุโรปและแอฟริ กาเพิ่มเติมจากที่สมาชิกลุ่มได้นาเสนอไปแล้ว
           22.นักเรี ยนซักถามข้อสงสัย ครู ช้ ีแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับทวีปยุโรปและแอฟริ กา
           23.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและ
                                                                               ั
แอฟริ กา
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้
           สื่ อการเรียนรู้
           1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
           2.ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปยุโรป
           3.ใบงานที่ 1.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
           4.ใบงานที่ 1.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปยุโรป
           5.ใบงานที่ 1.4 เรื่ องภูมิหลังทางสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครองของทวีปยุโรป
           6.ใบงานที่ 2.1 เรื่ อง ประเทศ เมืองหลวงและลักษณะภูมิประเทศของทวีปแอฟริ กา
           7.ใบงานที่ 2.2 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา 1
           8.ใบงานที่ 2.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา 2
9.ใบงานที่ 2.5 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 1
10.ใบงานที่ 2.6 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 2
11.ใบงานที่ 2.4 เรื่ อง ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปแอฟริ กา
12.รู ปภาพเมือง แม่น้ า ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากรของทวียโรปและแอฟริ กา
                                                           ุ
แหล่ งเรียนรู้
1.ห้องสมุด
2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
          http://www.aksorn.com/Lib/S/Soc_05
          http://www.tiewroblok.com/
          http://www.thai.net/lokkongrao/default.htm/

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 

Tendances (20)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 

En vedette

En vedette (8)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 

Similaire à หน่วยที่๑

3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตRungdawan Rungrattanachai
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4Meaw Sukee
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์krupornpana55
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบkrutitirut
 

Similaire à หน่วยที่๑ (20)

หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
Chordata1
Chordata1Chordata1
Chordata1
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 

Plus de นันทนา วงศ์สมิตกุล

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 

Plus de นันทนา วงศ์สมิตกุล (15)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 

หน่วยที่๑

  • 1. แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง รู้ จักทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา รหัสวิชา ส22101 รายวิชา สั งคมศึกษา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 9 ชั่ วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วด ั มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1 ม.2/1 ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา ม.2/2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป ยุโรปและแอฟริ กา สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลทางลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางสังคม ของทวีปยุโรปและแอฟริ กา โดยอาศัยเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง 1.เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและ แอฟริ กา 2.ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 2.ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ 3.ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการกลุ่ม
  • 2. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวนย ิ ั 2.ใฝ่ เรี ยนรู้ 3.มุ่งมันในการทางาน ่ ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.รายงานผลการวิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางสังคมของทวีปยุโรป ้ และแอฟริ กา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.แผนภาพโครงเรื่ องความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรป และแอฟริ กา การวัดและการประเมินผล การประเมินก่อนเรียน - ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและ ั แอฟริ กา การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปยุโรป 2.ใบงานที่ 1.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป 3.ใบงานที่ 1.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ ของ ทวีปยุโรป 4.ใบงานที่ 1.4 เรื่ องภูมิหลังทางสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครองของ ทวีปยุโรป 5.ใบงานที่ 2.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปแอฟริ กา 6.ใบงานที่ 2.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของแอฟริ กา 7.ใบงานที่ 2.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ ของทวีป แอฟริ กา 8.ใบงานที่ 2.4 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 1 9.ใบงานที่ 2.5 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 2 10.ใบงานที่ 2.6 เรื่ อง ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปแอฟริ กา 11. แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน 12. แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
  • 3. การประเมินผลหลังเรียน - ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและ ั แอฟริ กา การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.แบบประเมินรายงานการวิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อความ ้ ่ เป็ นอยูของประชากรของทวีปยุโรปและแอฟริ กา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. แบบประเมินแผนภาพโครงร่ างความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและ สังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
  • 4. การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) แบบประเมินรายงานการวิเคราะห์ ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ ทีส่งผลต่ อความเป็ นอยู่ของประชากรในทวีปยุโรปและแอฟริกา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ ่ รายการประเมิน คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน ดีมาก(4) ดี(3) พอใช้(2) ปรับปรุ ง(1) 1.ความสมบูรณ์ มีการวิเคราะห์ มีการวิเคราะห์ มีการสรุ ป สรุ ปประเด็น ของรายงาน และสรุ ปประเด็น และสรุ ปประเด็น ประเด็นสาคัญ สาคัญแสดง สาคัญแสดง สาคัญแสดง แสดงลักษณะ ลักษณะทาง ลักษณะทาง ลักษณะทาง ทางกายภาพและ กายภาพและทาง กายภาพและทาง กายภาพและทาง ทางสังคมของ สังคมของทวีป สังคมของทวีป สังคมของทวีป ทวีปยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ แอฟริ กาได้ แอฟริ กาได้แต่ยง ั แอฟริ กาได้อย่าง แอฟริ กาได้ ไม่ครอบคลุม ชัดเจนครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง 2.การใช้สื่อ มีการใช้สื่อ มีการใช้สื่อ มีการใช้สื่อ ไม่มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี่ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศ สารสนเทศอย่าง สารสนเทศใน สารสนเทศบ้าง สารสนเทศใน หลากหลายใน การสื บค้นข้อมูล ในการสื บค้น การสื บค้นข้อมูล การสื บค้นข้อมูล ลักษณะทาง ข้อมูลลักษณะ ลักษณะทาง ลักษณะทาง กายภาพและทาง ทางกายภาพและ กายภาพและทาง กายภาพและทาง สังคมของทวีป ทางสังคมของ สังคมของทวีป สังคมของทวีป ยุโรปและ ทวีปยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ แอฟริ กา แอฟริ กา แอฟริ กา แอฟริ กา
  • 5. รายการประเมิน คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน ดีมาก(4) ดี(3) พอใช้(2) ปรับปรุ ง(1) 3.ความร่ วมมือ มีการแบ่งหน้าที่ มีการแบ่งหน้าที่ มีการแบ่งหน้าที่ มีการแบ่งหน้าที่ กันทากิจกรรม กันทางานอย่าง กันทางานอย่าง กันทางานอย่าง กันทางานไม่ ชัดเจนและทุกคน ชัดเจนและ ชัดเจนมีสมาชิก ชัดเจนและ ปฏิบติตามหน้าที่ ั สมาชิกส่ วนใหญ่ บางคนปฏิบติ ั สมาชิกส่ วนใหญ่ ที่ได้รับ ปฏิบติตามหน้าที่ ตามหน้าที่ที่ ั ไม่ปฏิบติตาม ั มอบหมาย ที่ได้รับ ได้รับมอบหมาย หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย มอบหมาย 4.การนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอ มีการนาเสนอ ผลงาน ผลงานเป็ นลาดับ ผลงานเป็ นลาดับ ผลงานเป็ นลาดับ ผลงานเป็ นลาดับ ขั้นตอนด้วย ขั้นตอนด้วย ขั้นตอนด้วย ขั้นตอนด้วย วิธีการแปลกใหม่ วิธีการแปลกใหม่ วิธีการคล้ายคลึง วิธีการคล้ายคลึง ได้รับความ ได้รับความ กับแบบทัวไปได้ ่ กับแบบทัวไปแต่ ่ ชัดเจน น่าสนใจ ชัดเจน น่าสนใจ ความชัดเจน ไม่ได้ความ ตลอดเวลา ชัดเจน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-16 ดีมาก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 ปรับปรุ ง
  • 6. การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) แบบประเมินแผนภาพโครงร่ างความสั มพันธ์ ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสั งคม ของทวีปยุโรปและแอฟริกา รายการประเมิน คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน ดีมาก(4) ดี(3) พอใช้(2) ปรับปรุ ง(1) 1.แผนภาพโครง ใช้แผนภาพโครง ใช้แผนภาพโครง ใช้บางแผนภาพ ใช้บางแผนภาพ ร่ างของทวีป อย่างหลากหลาย แสดง โครงแสดง โครงแสดง ยุโรปและ แสดง ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ แอฟริ กา ความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะ ระหว่างลักษณะ ระหว่างลักษณะ ระหว่างลักษณะ ทางกายภาพและ ทางกายภาพและ ทางกายภาพและ ทางกายภาพและ สังคมของทวีป สังคมของทวีป สังคมของทวีป สังคมของทวีป ยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ แอฟริ กาได้อย่าง แอฟริ กา แอฟริ กาแต่ยงไม่ ั แอฟริ กาได้อย่าง สอดคล้อง สอดคล้อง สอดคล้อง ครอบคลุมชัดเจน และถูกต้อง 2.การสรุ ป อภิปราย อภิปราย อภิปราย อภิปราย อภิปราย ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ของแผนภาพ ของแผนภาพ ของแผนภาพ ของแผนภาพ ของแผนภาพ โครงร่ างระหว่าง โครงร่ างระหว่าง โครงร่ างระหว่าง โครงร่ างระหว่าง โครงร่ างระหว่าง ลักษณะทาง ลักษณะทาง ลักษณะทาง ลักษณะทาง ลักษณะทาง กายภาพและ กายภาพและ กายภาพและ กายภาพและ กายภาพและ สังคมของทวีป สังคมของทวีป สังคมของทวีป สังคมของทวีป สังคมของทวีป ยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ ยุโรปและ แอฟริ กาได้ แอฟริ กาได้ แอฟริ กาได้แต่ยง ั แอฟริ กาไม่ แอฟริ กา ถูกต้องชัดเจน ไม่ครอบคลุม สัมพันธ์ สอดคล้องกัน
  • 7. เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7-10 ดีมาก 5-6 ดี 3-4 พอใช้ 1-2 ปรับปรุ ง กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่ วโมงที่ 1-7 1.นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและทวีป ั แอฟริ กา 2.ครู แสดงแผนที่ทวีปยุโรปและรู ปภาพสถานที่ต่าง ๆ รู ปภาพประชากรของทวีปยุโรป แล้วร่ วมสนทนากับนักเรี ยนในประเด็นต่อไปนี้ - ที่ต้ งของทวีปยุโรป ั - ความรู ้ทวไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปของนักเรี ยน ั่ ่ - ชีวตความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรป ิ 3.ครู ให้นกเรี ยนศึกษาแ ผนที่ทวีปยุโรป แล้วให้นกเรี ยนระดมพลังสมอง (Brainstorming) ั ั ่ เพื่อเป็ นการนาความรู ้ที่มีอยูแล้วมาใช้เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีอิสระทางความคิด โดยครู กาหนดประเด็น “รู้ อะไรเกี่ยวกับทวีปยุโรป” 4.ให้นกเรี ยนจับคู่เขียนเกี่ยวกับทวีปยุโรป ในประเด็นที่กาหนดให้มากที่สุดในเวลาที่ ั กาหนดให้ 10 นาที่ เช่น เกี่ยวกับสถานที่ ท่องเที่ยวที่สาคัญ เมืองสาคัญ แหล่งมรดกโลก ที่สุด ่ ในโลก ที่อยูในทวีปยุโรป ฯลฯ 5.ครู สุ่มนักเรี ยน นาเสนอข้อมูลที่ ได้เขียนขึ้น ประมาณ 2-3 คู่ โดยเปิ ดโอกาสให้มีการ พิจารณาความถูกต้องโดยเพื่อนร่ วมชั้น และครู ร่วมพิจารณา และชี้แนะเสริ ม ครู ต้ งคาถามนาต่อว่า ั ถ้าจะทาความรู ้จกทวีปยุโรปจะต้องเรี ยนรู ้เกี่ยวกับเรื่ องใดบ้าง ให้นกเรี ยนตอบตามความสมัครใจ ั ั
  • 8. 6.แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเป็ น 8 กลุ่ม ให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลและรายละเอียดของทวีปยุโรป พร้อมรู ปภาพหรื อแผนภูมิหรื อแผนที่ที่เกี่ยวข้อง ทาเป็ นรายงาน แต่ละกลุ่มจะได้ประเด็นไม่ซ้ ากัน ในประเด็นต่อไปนี้ - ประเด็นที่ 1 ตาแหน่งที่ต้ งและขนาด ั - ประเด็นที่ 2 ลักษณะภูมิประเทศ - ประเด็นที่ 3 ลักษณะภูมิอากาศ - ประเด็นที่ 4 ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม - ประเด็นที่ 5 ทรัพยากรธรรมชาติและพืชพรรณธรรมชาติ - ประเด็นที่ 6 ประชากร - ประเด็นที่ 7 ภาษา ศาสนา - ประเด็นที่ 8 ลักษณะเศรษฐกิจ 7.ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรี ยน ครู และนักเรี ยนร่ วมรับฟัง ซักถาม นักเรี ยนจดบันทึกสาระสาคัญลงสมุด 8.นักเรี ยนทาใบงานดังต่อไปนี้ - ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปยุโรป - ใบงานที่ 1.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป - ใบงานที่ 1.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของ ทวีปยุโรป - ใบงานที่ 1.4 เรื่ องภูมิหลัง วังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครองของ ทวีปยุโรป 9.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินความถูกต้องของใบงาน ชั่วโมงที่ 8-14 10.ครู นาภาพสถานที่สาคัญของประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริ กา ให้นั กเรี ยนดู เช่น ภาพ ทะเลทรายสะฮารา พีรามิดในอียปต์ แม่น้ าไนล์ ชนเผ่าต่าง ๆ สัตว์ป่าของแอฟริ กา อูฐเดินอยูใน ิ ่ ทะเลทราย ภูเขาคิลิมจาโร แม่น้ าไนเจอร์ เป็ นต้น แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันทายว่า รู ปภาพที่นามา ั ั ให้นกัเรี ยนดูน้ ีจะพบเห็นได้จากทวีปใด จากนั้นครู อธิ บายแต่ละภาพให้นกเรี ยนเข้าใจว่าภา พ ั ทั้งหมดเป็ นลักษณะเด่นของทวีปแอฟริ กา และความแตก ต่างของประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริ กา โดยมีความแตกต่างกันทั้งลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทางด้านสังคม และวัฒนธรรม เป็ นต้น 11.ครู อธิบายภู มิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปแอฟริ กา ให้นกเรี ยนเข้าใจถึงความสาคัญ ั และความยิงใหญ่ทางด้านประวัติศาสตร์ของทวีปแอฟริ กา ในการต่อสู ้เพื่อเรี ยกร้องเอกราชจากชาติ ่
  • 9. ตะวันตกในยุคล่าอาณานิคมที่ชาติ ตะวันตกต้องการประเทศในทวีปแอฟริ กาเป็ นเมืองขึ้น เพื่อ เป็ น แหล่งวัตถุดิบ แหล่งแรงงาน การถูกกดขี่ข่มเหง เพื่อป้ อนโรงงานอุตสาหกรรมในยุคนั้น 12.ครู และนักเรี ยนสนทนาเกี่ยวกับทาเลที่ต้ งและอาณาเขตของทวีปแอฟริ กา โดยใช้แผนที่ ั รัฐกิจทวีปแอฟริ กา แสดงชื่อประเทศต่าง ๆ ให้อาสาสมัครออกมาชี้แผนที่บ อกที่ต้ งและอาณาเขต ั ของทวีปแอฟริ กา 13.ครู อภิปรายสรุ ป ลักษณะโดยรวมของทวีปแอฟริ กาให้เข้าใจว่าทวีปแอฟริ กา เป็ น ทวีปที่ ยังล้าหลัง มีคนรู้จกน้อย ด้วยเหตุหลายประการ แต่เป็ นทวีปที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ั 14๔.ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม โดยในแต่ละกลุ่มจะคละความสามารถเด็กเก่ง ั ปานกลาง ค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และเด็กที่เรี ยนอ่อน 15.ครู แจกบั ตรงานผลไม้ให้แต่ละกลุ่มใช้ศึกษาในหัวข้อที่ตนได้รับมอบหมาย แล้ว นาเสนอหน้าชั้นเรี ยน โดยบัตรงานประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปแอฟริ กา กลุ่มที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริ กา กลุ่มที่ 3 ลักษณะภูมิประเทศของทวีปแอฟริ กา กลุ่มที่ 4 ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา กลุ่มที่ 5 สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของ ทวีปแอฟริ กา การนาเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม ควรมีแผนที่หรื อภาพประกอบเพื่อความชัดเจนของ ข้อมูลมากขึ้น โดย กลุ่มที่ 1 นาเสนอผลงาน กลุ่มอื่นเป็ นผูฟัง ครู สรุ ปสาระสาคัญ แล้วให้นกเรี ยนทา ้ ั ใบงานที่ 2.5 ภูมิหลังทางสังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 1 และที่ 2.6 ภูมิหลังทางสังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 2 กลุ่มที่ 2 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.1 เรื่ องประเทศและเ มือง ้ หลวงของทวีปแอฟริ กา กลุ่มที่ 3 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศ ้ ของทวีปแอฟริ กา กลุ่มที่ 4 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและ ้ พืชพรรธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา กลุ่มที่ 5 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่เป็ นผูฟังทาใบงานที่ 2.4 เรื่ องลักษณะเศรษฐกิจของ ้ ทวีปแอฟริ กา
  • 10. 16.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสาระสาคัญจากการนาเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม ชั่วโมงที่ 15-18 17.แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น 6 กลุ่ม ตามความสมัครใจ เลือกศึกษาระหว่าง 2 ทวีป คือ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริ กา ทวีปละ 3 กลุ่ม แล้ววิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อ ้ ่ ความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริ กา โดยการสื บค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนต จากนั้นช่วยกันสรุ ปสาระสาคัญ จัดทาเป็ นรายงาน พร้อมกับเตรี ยมสื่ ออุปกรณ์พร้อมการนาเสนอ เช่น แผนที่ แผนผัง แผนภูมิ รู ปภาพ ฯลฯ 18.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรี ยน ครู และสมาชิกร่ วมรับฟัง และซักถาม หรื อให้ขอสังเกตหรื อข้อเสนอแนะ ้ 19.สมาชิกแต่ละกลุ่มต่างแลกกันประเมินรายงานของสมาชิกลุ่มอื่น โดยใช้แบบประเมิน รายงานการวิเคราะห์ขอมูลลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรป ้ ่ และแอฟริ กา โดยสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ 20.สมาชิกกลุ่มร่ วมกันทาแผนที่โครงร่ างความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและ สังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา 21.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปลักษณะทางกายภาพ และลักษณะทางสังคมที่ส่งผล ่ ต่อความเป็ นอยูของประชากรในทวีปยุโรปและแอฟริ กา ครู แสดงสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ เกี่ยวกับทวีปยุโรปและแอฟริ กาเพิ่มเติมจากที่สมาชิกลุ่มได้นาเสนอไปแล้ว 22.นักเรี ยนซักถามข้อสงสัย ครู ช้ ีแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับทวีปยุโรปและแอฟริ กา 23.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 1 รู้จกทวีปยุโรปและ ั แอฟริ กา สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ 1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2.ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ประเทศและเมืองหลวงของทวีปยุโรป 3.ใบงานที่ 1.2 เรื่ องลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป 4.ใบงานที่ 1.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปยุโรป 5.ใบงานที่ 1.4 เรื่ องภูมิหลังทางสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครองของทวีปยุโรป 6.ใบงานที่ 2.1 เรื่ อง ประเทศ เมืองหลวงและลักษณะภูมิประเทศของทวีปแอฟริ กา 7.ใบงานที่ 2.2 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา 1 8.ใบงานที่ 2.3 เรื่ องลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปแอฟริ กา 2
  • 11. 9.ใบงานที่ 2.5 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 1 10.ใบงานที่ 2.6 เรื่ องภูมิหลังสังคมวัฒนธรรม การเมืองการปกครอง 2 11.ใบงานที่ 2.4 เรื่ อง ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปแอฟริ กา 12.รู ปภาพเมือง แม่น้ า ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากรของทวียโรปและแอฟริ กา ุ แหล่ งเรียนรู้ 1.ห้องสมุด 2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.aksorn.com/Lib/S/Soc_05 http://www.tiewroblok.com/ http://www.thai.net/lokkongrao/default.htm/