SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  100
บทที่ 2
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี
Outline
o การเคลื่อนที่แนวตรง
o การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
o การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไตล์ (2 มิติ และ 3 มิติ)
o การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
o การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวเส้นตรง
โดยไม่ออกจากแนวเส้นตรงของการเคลื่อนที่ หรือเรียกว่า การเคลื่อนที่
แบบ 1 มิติ ของวัตถุ
เช่น การเคลื่อนที่ของรถยนต์บนถนนตรง
การเคลื่อนที่ของผลมะม่วงที่ร่วงลงสู่พื้น
การเคลื่อนที่แนวตรง แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
การเคลื่อนแนวตรงตามแนวราบ และ การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวดิ่ง 𝑔
𝑣
การบอกตาแหน่งของวัตถุสาหรับการเคลื่อนที่แนวตรง
o ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตาแหน่งของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึง
ต้องมีการบอกตาแหน่งเพื่อความชัดเจน การบอกตาแหน่งของวัตถุจะต้อง
เทียบกับ จุดอ้างอิง หรือ ตาแหน่งอ้างอิง
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางขวามีทิศทางเป็นบวก (A,C)
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางซ้ายมีทิศทางเป็นลบ (A,B)
A
0
CB
20 40 60 80-80 -60 -40 -20
ระยะทาง (Distance)
ระยะทาง (Distance) คือ เส้นทาง หรือ ความยาว
ตามเส้นทางการเคลื่อนที่ จากตาแหน่งเริ่มต้นถึง
ตาแหน่งสุดท้าย
o ระยะทางใช้สัญลักษณ์ “ S ” เป็นปริมาณส
เกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
การกระจัด (Displacement)
การกระจัด (Displacement) คือ ความยาวเส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่าง
จุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่
o การกระจัดใช้สัญลักษณ์ 𝑆 เป็นปริมาณเวกเตอร์มี
หน่วยเป็น เมตร (m)
ตัวอย่างการแสดงระยะทางและการกระจัด
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป B ตามแนวเส้นทางดังรูป
ตามเส้นทางที่ 1 ได้ระยะทาง = S1 และได้การกระจัด = 𝑆2 ทิศจาก A ไป B
ตามเส้นทางที่ 2 ได้ระยะทาง = S2 และได้การกระจัด = 𝑆2 ทิศจาก A ไป B
ตามเส้นทางที่ 3 ได้ระยะทาง = S3 และได้การกระจัด = 𝑆2 ทิศจาก A ไป B
A
B
(3)
S1
S2
S3
(2)
(1)
ข้อสรุประหว่างระยะทางและการกระจัด
o ระยะทาง ขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่
o การกระจัด ไม่ขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่แต่จะขึ้นอยู่กับตาแหน่ง
เริ่มต้นและตาแหน่งสุดท้าย
 การเคลื่อนที่โดยทั่วๆ ไป ระยะทางจะมากกว่าการกระจัดเสมอ ยกเว้น เมื่อวัตถุ
เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง การกระจัดจะมีขนาดเท่ากับระยะทาง
วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป B และต่อไป C ดังรูป จงหาระยะทางและ
การกระจัดของวัตถุจาก A ไป C
ตัวอย่าง 1
A B
C
3กม.
4 กม.
วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไปยัง B ดังรูป จงหาระยะทางและการกระจัด
ตัวอย่าง 2
A B
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
ใช้สัญลักษณ์ คือ v เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s)
o แบ่งพิจารณาได้เป็น 3 แบบ คือ
1. อัตราเร็วเฉลี่ย (vav)
2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (vt)
3. อัตราเร็วคงที่ (v)
1. อัตราเร็วเฉลี่ย (vav)
อัตราเร็วเฉลี่ย (vav) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วย
เวลา (ในช่วงเวลาหนึ่งที่กาลังพิจารณาเท่านั้น)
เมื่อ ∆𝑠, 𝑠 คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้
∆𝑡, 𝑡 คือ ช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
𝑣 𝑎𝑣 คือ อัตราเร็วเฉลี่ย
𝑣 𝑎𝑣 =
∆𝑠
∆𝑡
หรือ 𝑣 𝑎𝑣 =
𝑠
𝑡
2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (vt)
หรือ อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คือ อัตราเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหรือ
อัตราเร็วที่จุดใดจุดหนึ่ง
อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (vt) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน
หนึ่งหน่วยเวลา เมื่อช่วงเวลาที่เคลื่อนที่น้อยมาก ๆ ( ∆𝑡 เข้าใกล้ศูนย์)
𝑣𝑡 =
∆𝑠
∆𝑡
เมื่อ ∆𝑡 → 0
3. อัตราเร็วคงที่ (v)
อัตราเร็วคงที่ (v) หมายถึง เป็นการบอกให้ทราบว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่
อย่างสม่าเสมอ ไม่ว่าจะพิจารณาในช่วงเวลาใด ๆ
ข้อสังเกต ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
จะมีค่าเท่ากับ อัตราเร็วคงที่นั้น
𝑣 =
∆𝑠
∆𝑡
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัด หรือ การ
กระจัดที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา
การกระจัด 𝑣 เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s)
o แบ่งพิจารณาได้เป็น 3 แบบ คือ
1. ความเร็วเฉลี่ย 𝒗 𝒂𝒗
2. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง 𝒗 𝒕
3. ความเร็วคงที่ 𝒗
1. ความเร็วเฉลี่ย 𝒗 𝒂𝒗
ความเร็วเฉลี่ย 𝒗 𝒂𝒗 หมายถึง การกระจัดของวัตถุที่เปลี่ยนไปในเวลาหนึ่ง
หน่วย (ในช่วงเวลาหนึ่งที่พิจารณา)
* ทิศทางของ 𝑣 𝑎𝑣 จะมีทิศทางเดียวกับ ∆ 𝑠 หรือ 𝑠 เสมอ
𝑣 𝑎𝑣 =
∆ 𝑠
∆𝑡
หรือ 𝑣 𝑎𝑣 =
𝑠
𝑡
∆ 𝑠, ∆𝑡
𝑠1, t1
𝑠2, t2
2. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง 𝒗 𝒕
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง 𝒗 𝒕 คือ ความเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหรือความเร็ว
ที่จุดใดจุดหนึ่ง
หมายถึง การกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เมื่อช่วงเวลาที่เคลื่อนที่
น้อยมาก ๆ (∆𝑡 เข้าใกล้ศูนย์)
𝑣 𝑡 =
∆ 𝑠
∆𝑡
เมื่อ ∆𝑡 → 0
∆ 𝑠, ∆𝑡
3. ความเร็วคงที่ 𝒗
ความเร็วคงที่ 𝒗 คือ เป็นการบอกให้ทราบว่า วัตถุมีการเคลื่อนที่อย่างสม่าเสมอ
ในแนวเส้นตรง ไม่ว่าจะพิจารณาในช่วงเวลาใด ๆ
ข้อสังเกต ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ความเร็วเฉลี่ย ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะมีค่า
เท่ากับ ความเร็วคงที่นั้น
𝑣 =
∆ 𝑠
∆𝑡
ข้อควรจา
ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่เป็น “เส้นตรง” พบว่า การกระจัดมีค่าเท่ากับระยะทาง ดังนั้น
ขนาดของ “ความเร็วเฉลี่ย” จะเท่ากับ “อัตราเร็วเฉลี่ย” และ เรานิยามใช้สัญลักษณ์
แทนปริมาณทั้งสองเหมือนกัน คือ 𝑣 เพื่อสะดวกในการตั้งสมการคานวณ
A ซ้อมวิ่งรอบสนามฟุตบอล ซึ่งมีความยาวเส้นรอบวง 400 เมตร ครบรอบ
ใช้เวลา 50 วินาที จงหา อัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ยของ A
ตัวอย่าง 3
อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป D ตามแนว A  B  C  D ดังรป
กินเวลานาน 20 วินาที จงหา
ตัวอย่าง 4
ก) ระยะทาง
ข) การกระจัด
ค) อัตราเร็วเฉลี่ย
ง) ความเร็วเฉลี่ย
50 m
100 m
A
B
D
C
ไก่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที ได้ทาง 100 เมตร
แล้วจึงเคลื่อนที่ต่อด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ได้ทาง 50 เมตร จง
หาความเร็วเฉลี่ยของไก่
ตัวอย่าง 5
100 𝑚 50 𝑚
𝑣1 = 5 𝑚/𝑠 𝑣2 = 10 𝑚/𝑠
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration) คือ การเคลื่อนที่ซึ่งขนาดหรือทิศทางของความเร็วมี
การเปลี่ยนแปลง เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง
ความเร่ง หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
หรือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา
ความเร่ง 𝑎 เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที2 (m/s2)
o ความเร่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ความเร่งเฉลี่ย 𝒂 𝒂𝒗 คือ เป็ นความเร็วที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลา ที่
พิจารณาเท่านั้น
2. ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง 𝒂 𝒕 คือ เป็ นความเร่ง ณ จุดใดจุดหนึ่ง
พิจารณาในช่วงเวลาที่สั้นมาก ๆ
3. ความเร่งคงที่ 𝒂 คือ เป็ นความเร่งที่ มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วอย่าง
สม่าเสมอ
หาความเร่งได้จาก
เมื่อ 𝒖, 𝒗 คือ ความเร็วที่เวลาเริ่มต้น และที่เวลาสุดท้ายตามลาดับ
∆𝒕 คือ ช่วงเวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนความเร็วจาก 𝒖 เป็น 𝒗
𝑢, t1
𝑎 =
𝑣−𝑢
t2
−t1
หรือ 𝑎 =
∆𝑣
∆𝑡
𝑣, t2
ข้อสังเกต
1. ทิศทางของความเร่ง จะอย่ในทิศทางเดียวกับความเร็ว ที่
เปลี่ยนไปเสมอ
2. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ ค่าความเร่งเฉลี่ย และค่า
ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง จะมีค่าเท่ากับ “ความเร่งคงที่” นั้น
3. เมื่อวัตถุมีความเร็วลดลง เราจะได้ว่า ความเร่งมีค่าเป็นลบ หรือ
ความเร่งมีทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่ บางครั้งเรียก ความเร่ง ที่มี
ค่าเป็นลบ (-) ว่า “ความหน่วง”
กราฟความสัมพันธ์ของปริมาณการเคลื่อนที่
การหาความชัน หรือ slope ของกราฟเส้นตรงหาได้จาก
𝒔𝒍𝒐𝒑𝒆 = tan 𝜽 =
𝚫𝒚
𝚫𝒙
=
𝒚 𝟐 − 𝒚 𝟏
𝒙 𝟐 − 𝒙 𝟏
𝜽
𝒚
𝒙
𝚫𝒚
𝚫𝒙
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา
𝒔
𝒕
จากกราฟ
1. การกระจัดคงที่
2. ความเร็ว = 0 ∵ 𝒗 =
𝜟𝒔
𝜟𝒕
เมื่อ 𝜟𝒔 = 𝟎
3. Slope = 0
จากกราฟ
1. การกระจัดเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ
2. Slope คงที่ = ความเร็วคงที่ =
𝜟𝒔
𝜟𝒕
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา
𝜽
𝒔
𝒕
𝚫𝒔
𝚫𝒕
จากกราฟ
1. การกระจัดเพิ่มขึ้นอย่างไม่สม่าเสมอ
2. Slpoe เพิ่มขึ้น(โค้งหงาย) ความเร็วเพิ่มขึ้น
𝜽
𝒔
𝒕
𝚫𝒔
𝚫𝒕
𝐴
𝑣 𝑎𝑣 =
∆ 𝑥
∆𝑡
=
𝑥2− 𝑥1
𝑡2−𝑡1
: ความชันของเส้นตรง PQ
ความเร็วเฉลี่ย 𝒗 𝒂𝒗
P
t1 t2
การกระจัด
เวลา
Q
∆ 𝑥
∆𝑡
𝑥1
𝑥2
P
x1
x2
การกระจัด
เวลา
x3
x4
x5
Q
∆ 𝑥
∆𝑡
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง 𝒗 𝒕
𝑣 𝑡 = lim
∆𝑡→0
∆ 𝑥
∆𝑡
=
𝑑𝑥
𝑑𝑡
: Slope ของเส้นสัมผัส ของกราฟการกระจัด ณ เวลาที่พิจารณา
∆𝑡 → 0
ความเร่งเฉลี่ย คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง
𝒂 > 𝟎 ความเร่ง (acceleration)
𝒂 < 𝟎 ความหน่วง (deceleration)
* ความเร่งเฉลี่ยหาได้จาก ความชันของกราฟ v-t
𝒂𝑡 = lim
∆𝑡→0
∆ 𝑣
∆𝑡
=
𝑑 𝑣
𝑑𝑡
𝒂 𝑎𝑣 =
∆ 𝑣
∆𝑡
=
𝑣2 − 𝑣1
𝑡2 − 𝑡1
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร็ว
เวลา
V0
V
0 t
ความเร่งเฉลี่ย คือ ความชันของกราฟ v-t
การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่
𝒂 𝒂𝒗 = 𝒂 =
𝒗 𝟐 − 𝒗 𝟏
𝒕 𝟐 − 𝒕 𝟏
𝒂 =
𝒗 𝟐 − 𝒗 𝟏
𝒕 𝟐 − 𝒕 𝟏
=
𝒗 − 𝒗 𝟎
𝒕 − 𝟎
∴ 𝒗 = 𝒗 𝟎 + 𝒂𝒕
สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่แนวตรง
ด้วยความเร่งคงตัว
1. 𝒗 = 𝒖 + 𝒂𝒕
2. 𝒔 =
𝒗+𝒖
𝟐
𝒕
3. 𝒔 = 𝒖𝒕 + 𝟏
𝟐
𝒂𝒕 𝟐
4. 𝒗 𝟐 = 𝒖 𝟐 + 𝟐𝒂 ∙ 𝒔
• 𝒕 คือ ระยะเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่
• 𝒔 คือ ระยะกระจัดของการเคลื่อนที่วัตถุ
• 𝒂 คือ ความเร่งของการเคลื่อนวัตถุ
• 𝒖 คือ ความเร็วที่เวลาเริ่มต้น
• 𝒗 คือ ความเร็วที่เวลาสุดท้าย
+u
+v
+s
-u
-v
-s
+a-a
จุดอ้างอิง
เงื่อนไขการกาหนดทิศทางของปริมาณต่าง ๆ
รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที แล้วเร่งเครื่อง
ด้วยความเร่ง 5 เมตรต่อวินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็ว
สุดท้ายเป็นกี่ เมตรต่อวินาที
ตัวอย่าง 6
ถ้าเครื่องบินต้องใช้เวลาในการเร่งเครื่อง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใช้
ระยะทาง 400 เมตร ก่อนที่จะขึ้นจากทางวิ่งได้ จงหาอัตราเร็วของ
เครื่องบินขณะที่ขึ้นจากทางวิ่งเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที
ตัวอย่าง 7
รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้น 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ต่อมาเร่ง
เครื่องด้วยความเร่ง 3 เมตรต่อวินาที2 จงหาว่าภายในระยะทาง 50 เมตร
รถคันนี้จะมีความเร็วปลายกี่เมตรต่อวินาที
ตัวอย่าง 8
รถยนต์คันหนึ่งกา ลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ต่อมา
รถยนต์คันนี้วิ่งผ่านรถยนต์อีกคันหนึ่งซึ่งวิ่งไปทางเดียวกันด้วยอัตราเร็ว 40
กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีอัตราเร่งคงตัว 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง2 อีกนานเท่าใด
รถยนต์ทั้งสองคันจะ มาพบกันอีกครั้ง
ตัวอย่าง 9
1 2 3
การคานวณการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ภายใต้แรงดึงดดของโลก
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก คือ การเคลื่อนที่อย่างอิสระของ
วัตถุโดยมีความเร่งคงที่เท่ากับความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (g) มีทิศพุ่งลง
สู่จุดศูนย์กลางของโลก มีค่าโดยเฉลี่ยทั่วโลกถือเป็ นค่ามาตรฐาน มีค่าเท่ากับ
9.8065 m/s2
ลักษณะของการเคลื่อนที่มี 3 ลักษณะ
u = 0
𝑔
u > 0
u < 0
1.ปล่อยลงในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้นเท่ากับศนย์ (u = 0)
2.ปาลงในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น (u < 0)
3.ปาขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น (u > 0)
𝒗 = 𝒖 + 𝒂𝒕
𝒔 = 𝒖𝒕 + 𝟏
𝟐
𝒂𝒕 𝟐
𝒗 𝟐 = 𝒖 𝟐 + 𝟐𝒂 ∙ 𝒔
วัตถุตกอย่างอิสระ
วัตถุตกอย่างอิสระ เป็นการเคลื่อนที่ด้วย ความเร่งคงที่
โดยวัตถุจะเคลื่อนที่ลงส่พื้นโลกด้วยความเร่ง 9.8 เมตร/วินาที2
𝒗 = 𝒖 + 𝒈𝒕
𝒔 = 𝒖𝒕 + 𝟏
𝟐
𝒈𝒕 𝟐
𝒗 𝟐 = 𝒖 𝟐 + 𝟐𝒈 ∙ 𝒔
𝒂 = 𝒈
สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ภายใต้แรงดึงดดของโลก
1. 𝒗 = 𝒖 + 𝒈𝒕
2. 𝒔 =
𝒗+𝒖
𝟐
𝒕
3. 𝒔 = 𝒖𝒕 + 𝟏
𝟐
𝒈𝒕 𝟐
4. 𝒗 𝟐 = 𝒖 𝟐 + 𝟐𝒈 ∙ 𝒔
• 𝒕 คือ ระยะเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่
• 𝒔 คือ ระยะกระจัดของการเคลื่อนที่วัตถุ
• 𝒈 คือ ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดดของโลก
• 𝒖 คือ ความเร็วที่เวลาเริ่มต้น
• 𝒗 คือ ความเร็วที่เวลาสุดท้าย
เมื่อ a = g และทุกปริมาณเป็นบวกหมด เพราะมีทิศทางเดียวกัน
สมการสาหรับการคานวณ
ส่วนลักษณะที่ 3 วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง แต่มี 2 ทิศทางคือ ขึ้น และ ลง ดังนั้น
ปริมาณเวกเตอร์ต่าง ๆ ต้องกาหนดทิศทางโดยใช้เครื่องหมาย บวก (+) และ ลบ (-)
A
B
C
D
+S
-S
+u+v
-v
a = - g
เงื่อนไขการกาหนดทิศทางของปริมาณต่าง ๆ
จุดอ้างอิง
+u+v
a = - g **+s
-u-v -s
ปล่อยลกบอลจากดาดฟ้ าตึกสง 30 เมตร ช่วงเวลาตั้งแต่ปล่อยจนตก
กระทบพื้นมีค่าเท่าใด (g= 10 m/s2)
ตัวอย่าง 10
30m− 𝑔
ปาวัตถุลงในแนวดิ่งจากตึกสูงด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลา
ผ่านไป 5 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเท่าใด (g= 10 m/s2)
ตัวอย่าง 11
u = -10 m/s
ปาวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่งบนยอดตึกสูงด้วยความเร็ว 15 เมตร
ต่อวินาที เมื่อเวลาผ่านไป 8 วินาที วัตถุจึงตกกระทบพื้นความ
สูงของตึกดังกล่าวเป็นเท่าใด (g= 10 m/s2)
ตัวอย่าง 12
u = 15 m/s
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไตล์ คือ ???
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไตล์ คือ การเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิด
จากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและ
ความเร็วในแนวดิ่ง ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ได้แก่ ดอกไม้
ไฟ น้าพุ การเคลื่อนที่ของลูกบอลที่ถูกเตะขึ้นจากพื้น การเคลื่อนที่ของนัก
กระโดดไกล
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไตล์
ตัวอย่างในชีวิตประจาวัน
𝒗 𝟐
𝒗 𝟑
𝒗 𝟏
− 𝑔
− 𝑔
− 𝑔
1
2
3
ตัวอย่างในชีวิตประจาวัน𝒚
𝒙
𝒗 𝟐
𝒗 𝟑
𝒗 𝟏
− 𝑔
− 𝑔
− 𝑔
𝒗 𝒙𝟏
𝒗 𝒚𝟏
𝒗 𝒚𝟐 = 𝟎
1
2
3
= 𝒗 𝒙𝟐
𝒗 𝒙𝟑
𝒗 𝒚𝟑
𝜽
𝒗 𝒚 = 𝒗 sin 𝜃
𝒗 𝒙 = 𝒗 cos 𝜃
𝒗 𝟏
− 𝑔
𝒗 𝒙𝟏
𝒗 𝒚𝟏
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไตล์
o ในแนวราบ (แนวแกนX) วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (ไม่มีแรงกระทา)
และความเร่งในแนวราบเป็นศูนย์
o ในแนวดิ่ง (แนวแกนY) วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างเสรีภายใต้แรงโน้มถ่วงคงตัว
และความเร่งในแนวดิ่งคือความเร่งโน้มถ่วงของโลก
o จึงทาให้แนวทางการเคลื่อนที่เป็นแนว โค้งพาราโบลา เช่น การเคลื่อนที่ของ
ก้อนหินเมื่อถูกขว้างออกไปแนวระดับ การเคลื่อนที่ของลูกฟุตบอลที่ถูกเตะ
การเคลื่อนที่ของลูกปืนใหญ่ที่ถูกยิง เป็นต้น
𝒚
𝒙
𝜽
การทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไตล์
− 𝑔
𝒕 𝟎
𝒕 𝟏
𝒕 𝟐
𝒕 𝟑
𝒕 𝟎 𝒕 𝟏 𝒕 𝟐 𝒕 𝟑
−𝒚
𝒙
𝒗
− 𝑔
𝒗 𝒙𝟏
𝒗 𝒚
รปแบบของการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไตล์
1. ความเร็วต้นตามแนวระดับ
𝒚
𝒙
𝜽
𝒗
2. ความเร็วต้นทามุมกับแนวระดับ
− 𝑔
1. ความเร็วต้นตามแนวระดับ
a) หาความเร็ว ณ จุดใดๆ (มีทิศ
สัมผัสกับเส้นทางเดิน ณ จุดนั้น)
𝒗
𝒗
𝒗 𝒙
𝒗 𝒚
𝜽
𝒗 𝟐 = 𝒗 𝒙
𝟐 + 𝒗 𝒚
𝟐
𝜽 = 𝐭𝐚𝐧−𝟏
𝒗 𝒚
𝒗 𝒙
b) หาการกระจัด ณ จุดใดๆ
𝒔 𝒙
𝒔 𝒚
𝑠2 = 𝑠 𝑥
2 + 𝑠 𝑦
2
− 𝑔
1. ความเร็วต้นตามแนวระดับ𝒗
𝒗𝒗 𝒙
𝒗 𝒚𝜽
หลักการคานวณ
• ตั้งแกน X ให้อยู่ในแนวระดับ และ แกน Y อยู่ใน
แนวดิ่ง โดยจุดกาเนิด(origin) ต้องอยู่ที่จุดเริ่มต้น
• แตกเวกเตอร์ทุกค่าคือ ความเร็ว ระยะทาง ให้อยู่ใน
แนวแกน X และ Y
• ax = 0 และ ay = -g
− 𝑔
2. ความเร็วต้นทามุมกับแนวระดับ𝒚
𝒙
𝒗 𝟐𝒗 𝒚𝟐 = 𝟎
2
3
= 𝒗 𝒙𝟐
𝑣 = 𝑣 𝑥 𝑖 + 𝑣 𝑦 𝑗
𝑣 𝑦 = 𝑣 𝑠𝑖𝑛 𝜃 และ 𝑣 𝑥 = 𝑣 cos 𝜃
𝒗 𝟑
𝒗 𝒙𝟑
𝒗 𝒚𝟑
𝒗 𝟏
𝒗 𝒙𝟏
𝒗 𝒚𝟏
1 𝜽
𝒔 𝒚
𝒔 𝒙
− 𝑔
สตรการคานวณการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไตล์
ในแนวดิ่งในแนวราบ
ความเร็วในแนวราบคงที่ ax = 0 ความเร็วในแนวดิ่งไม่คงที่ ay = -g
𝒔 𝒙 = 𝒖 𝒙 𝒕
𝒗 𝒙 = 𝒖 𝒙
𝒗 𝒙
𝟐
= 𝒖 𝒙
𝟐
𝒔 𝒚 = 𝒖 𝒚 𝒕 −
𝟏
𝟐
𝒈𝒕 𝟐
𝒗 𝒚 = 𝒖 𝒚 − 𝒈𝒕
𝒗 𝒚
𝟐
= 𝒖 𝒚
𝟐
− 𝟐𝒈 ∙ 𝒔 𝒚
สตรการคานวณการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไตล์
การเวลาที่วัตถุอยู่ที่จุดสูงสุด• จาก 𝒗 𝒚 = 𝒖 𝒚 − 𝒈𝒕
• ที่จุดสูงสุด ความเร็วในแนวดิ่ง 𝒗 𝒚 = 𝟎
𝟎 = 𝒖 𝒚 − 𝒈𝒕
• เวลาที่วัตถุอยู่ที่จุดสูงสุด 𝒕 =
𝒖 𝒚
𝒈
• เวลาที่วัตถุอยู่ที่จุดสูงสุดจนตกถึงพื้น
• 𝑻 = 𝟐𝒕 =
𝟐𝒖 𝒚
𝒈
𝒗 𝒚 = 𝟎
𝒗 𝒙
𝒖 𝒙
𝒖 𝒚
𝒔 𝒚
− 𝑔
สตรการคานวณการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไตล์
การกระจัดที่วัตถุอยู่ที่จุดสูงสุด• จาก 𝒗 𝒚
𝟐 = 𝒖 𝒚
𝟐 − 𝟐𝒈 𝒔 𝒚
• ที่จุดสูงสุด ความเร็วในแนวดิ่ง 𝒗 𝒚 = 𝟎
𝟎 = 𝒖 𝒚
𝟐
− 𝟐𝒈 𝒔 𝒚
• การกระจัดที่วัตถุอยู่ที่จุดสูงสุด 𝒔 𝒚 =
𝒖 𝒚
𝟐
𝟐𝒈
𝒗 𝒚 = 𝟎
𝒗 𝒙
𝒖 𝒙
𝒖 𝒚
𝒔 𝒚
− 𝑔
สตรการคานวณการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไตล์
วัตถุจะตกถึงพื้นได้ไกลที่สุดจากจุดยิง
• การกระจัดที่วัตถุตกถึงพื้นจากจุดยิง 𝒔 𝒙 = 𝒖 𝒙 𝑻
𝒔 𝒙 =
𝟐𝒖 𝒙 𝒖 𝒚
𝒈
=
𝟐𝒖 cos 𝜽 𝒖 sin 𝜽
𝒈
=
𝟐𝒖 𝟐 cos 𝜽 sin 𝜽
𝒈
• เมื่อ 2 cos 𝜽 sin 𝜽 = sin 2𝜽
𝒔 𝒙 =
𝒖 𝟐 sin 2𝜽
𝒈
• วัตถุจะตกถึงพื้นได้ไกลที่สุดจากจุดยิง(เตะ)
𝒖
𝒖 𝒙
𝒖 𝒚
𝜽 =? ? ?
สตรการคานวณการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไตล์
วัตถุจะตกถึงพื้นได้ไกลที่สุดจากจุดยิง
• วัตถุจะตกถึงพื้นได้ไกลที่สุดจากจุดยิง(เตะ) ทามุม 𝜽 = 45°
𝒔 𝒙 =
𝒖 𝟐 sin 2𝜽
𝒈
𝒔 𝒙 =
𝒖 𝟐 sin 2 𝟒𝟓°
𝒈
 𝒔 𝒙 =
𝒖 𝟐 sin 𝟗𝟎°
𝒈
• เมื่อ sin 𝟗𝟎° = 𝟏 ดังนั้น 𝒔 𝒙 =
𝒖 𝟐
𝒈
𝒖
𝒖 𝒙
𝒖 𝒚
𝜽
𝒔 𝒙
− 𝑔
นักอเมริกันคนหนึ่งฟุตบอลเตะลูกบอลทามุม 30o กับแนวระดับด้วย
ความเร็วต้น 80 เมตร/วินาที จงหาว่าเมื่อลูกบอลเคลื่อนที่ไปได้3 วินาที
จะมีความเร็วเท่าไร และใช้เวลานานเท่าไรลูกบอลนั้นจึงตกถึงพื้น
ตัวอย่าง 12
30o
ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนตึกสูง 45 เมตร ขว้างลูกเทนนิสออกไปในแนวราบด้วย
ความเร็ว 12 เมตร/วินาที กระทบกับกาแพงแล้วกระดอนกลับ จงหาว่าลูกเทนนิส
จะตกกระทบพื้นที่จุดห่างจากฐานตึกเท่าไร ถ้าให้หน้าตึกห่างจากกาแพง 20 เมตร
ตัวอย่าง 1345m
𝒖 𝒙 = 𝟏𝟐 𝒎/𝒔
ชายคนหนึ่งเตะลูกบอลด้วยความเร็ว 25 เมตร/วินาที ในทิศทามุมเงย 53o จงหา
ว่าลูกบอลนี้ขึ้นได้สูงสุดเท่าไร และ ใช้เวลานานเท่าไรลูกบอลจึงตกถึงพื้น
(เมื่อ g = 10 เมตร/วินาที2)
ตัวอย่าง 14
53o
ยิงลูกกระสุนออกไปในแนวระดับด้วยความเร็ว 400 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่าน
ไป 3 วินาที จงหา (เมื่อ g = 10 เมตร/วินาที2)
ก) ความเร็วและทิศทางของกระสุน
ข) ระยะกระจัดของลูกกระสุน
ตัวอย่าง 15
𝒖 𝒙 = 𝟒𝟎𝟎 𝒎/𝒔
ยิงปืนทามุมเงย 37 องศา กับแนวราบด้วยความเร็ว 500 เมตร/วินาที จงคานวณหา
(เมื่อ g = 10 เมตร/วินาที2)
ก) ความเร็วของลูกกระสุน เมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที
ข) เวลาที่ลูกกระสุนอยู่ที่ตาแหน่งสูงสุด
ค) การกระจัดของลูกกระสุน เมื่อตกถึงพื้น
ตัวอย่าง 16
37o
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
(Circular Motion)
การเคลื่อนที่ในแนววงกลม หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุ ที่มีการ
เปลี่ยนแปลงความเร็วตามทิศทางการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ใน
การศึกษาเราส่วยใหญ่จะให้อัตราเร็วของวัตถุจะคงที่ เช่น การโคจร
ของดวงจันทร์รอบโลก เป็นต้น
องค์ประกอบการเคลื่อนที่แบบวงกลม
การเคลื่อนที่แบบวงกลมประกอบไปด้วย
• แรงกระทาจากภายนอก
• การเปลี่ยนแปลงความเร็วตาม
ทิศทาง
• ความเร่งมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง
• เกิดแรงสู่ศูนย์กลาง
• อัตราเร็วตามแนวสัมผัสคงที่𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝒗
𝒗
𝒗
𝒗
𝜽
𝑹
𝒂 𝒄
สัญลักษณ์ในการคานวณ
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
• คาบ (T) คือ เวลาที่ใช้ในการ
เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หรือ
วินาทีต่อรอบ (s)
• ความถี่ (f) คือ จานวนรอบที่
เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
หรือ รอบต่อวินาที (Hz)
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝒗
𝒗
𝒗
𝒗
𝒇 =
𝟏
𝑻
, 𝑻 =
𝟏
𝒇
𝜽
𝑹
𝒂 𝒄
สัญลักษณ์ในการคานวณ
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
• อัตราเร็ วเชิ ง เส้ น (v) คือ
ระยะทางตามแนวเส้นรอบวง
ของวงกลมที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน
หนึ่งหน่วยเวลา ( m/s)
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝒗
𝒗
𝒗
𝒗
𝒗 =
𝟐𝝅𝑹
𝑻
= 𝟐𝝅𝑹𝒇
• อัตราเร็วเชิงมุม ( w ) คือ คือ มุมที่จุด
ศูนย์กลางของวงกลมที่รัศมีกวาดไปได้ใน
หนึ่งหน่วยเวลา (เรเดียน/วินาที หรือ rad/s)
𝝎 =
𝜽
𝑻
=
𝟐𝝅
𝑻
= 𝟐𝝅𝒇 =
𝒗
𝑻
𝜽
𝑹
𝒂 𝒄
สัญลักษณ์ในการคานวณ
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
• ความเร่ งเข้ าส่ ศนย์ กลาง
(Centripetal Acceleration, ac)
ac คือ ความเร่งเนื่องจากการ
เคลื่อนที่แบบวงกลมมีขนาดคงที่
และมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางเสมอ
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝒗
𝒗
𝒗
𝒗
𝒂 𝒄 =
𝒗 𝟐
𝑹
𝜽
𝑹
𝒂 𝒄
เมื่อ R= รัศมีการเคลื่อนที่ในแนววงกลม (m)
สัญลักษณ์ในการคานวณ
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
• แรงเข้าส่ศนย์กลาง (Centripetal
Force, Fc) คือ แรงที่กระทาต่อ
วัตถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลม
มิทิศเดียวกับทิศของความเร่ง
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝒗
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝑭 𝒄
𝒗
𝒗
𝒗
𝒗
𝑭 𝒄 = 𝒎𝒂 𝒄 =
𝒎𝒗 𝟐
𝑹
𝜽
𝑹
𝒂 𝒄
เมื่อ m = มวลวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม (kg)
กฎแรงดึงดดระหว่างมวลนิวตัน
กฎแรงดึงดดระหว่างมวลนิวตัน กล่าวว่า “วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออก
แรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่งๆ จะแปร
ผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสองและจะแปรผกผันกับกาลังสอง
ระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสองนั้น”
𝑭 =
𝑮𝒎𝑴
𝑹 𝟐
เมื่อ 𝑭 𝒎 = 𝑭 𝑬
G คือ ค่านิจความโน้มถ่วงสากล มีค่า 6.672 x 10-11 Nm2/kg2
𝑭 𝑬
𝑭 𝒎
𝑴
𝒎 𝑹
หลักการคานวณเรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบต่าง ๆ
1. เขียนระนาบกลมขณะที่วัตถุกาลังหมุน
2. เขียนแรงที่กระทาต่อวัตถุ แล้วแตกแรงทั้งหมดให้อยู่ในแนวสู่
ศูนย์กลางวงกลม และแนวตั้งฉากกับแนวสู่ศูนย์กลาง
3. ในแนวสู่ศูนย์กลาง หาแรงลัพธ์ที่ทีทิศทางพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลาง แรง
นี้จะทาหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง
• ในแนวตั้งฉากกับระนาบวงกลมนี้ ถือว่า
สมดุล ∴ 𝑭 ในแนวนี้เท่ากับศูนย์
𝑭 = 𝟎
การเคลื่อนที่วงกลมตามแนวระดับ
o เมื่อระบบของวงกลมวางอยู่ในแนว
ระดับวัตถุผูกเชือก แกว่งเป็น
วงกลมบนโต๊ะระดับผิวเกลี้ยง
• หาความเร็วเชิงมุมได้จาก 𝝎 =
𝜽
𝑻
=
𝟐𝝅
𝑻
= 𝟐𝝅𝒇 =
𝒗
𝑻
• หาความเร่งสู่ศูนย์กลางได้จาก 𝒂 𝒄 =
𝒗 𝟐
𝑹
= 𝝎 𝟐 𝑹
• หาแรงสู่ศูนย์กลางได้จาก
𝒗
𝑭 𝒄 = 𝒎𝒂 𝒄 =
𝒎𝒗 𝟐
𝑹
= 𝒎𝝎 𝟐 𝑹
การเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวดิ่ง
 การเคลื่อนที่ของวงกลมในแนวดิ่ง
แตกต่างจากแนวระดับ คือ มีค่า g
• แรงตามแนวรัศมี 𝑭 𝒄 = 𝑻 − 𝒎𝒈 cos 𝜽
• แรงตามแนวสัมผัส 𝑭 𝑻 = 𝒎𝒈 sin 𝜽
• จาก 𝑭 𝒄 = 𝒎𝒂 𝒄 ได้ว่า 𝒂 𝒄 =
𝑭 𝒄
𝒎
=
𝑻−𝒎𝒈 cos 𝜽
𝒎
• เมื่อ 𝒂 𝒄 =
𝒗 𝟐
𝑹
ได้ว่า 𝒗 𝟐
𝑹
=
𝑻−𝒎𝒈 cos 𝜽
𝒎
• ดังนั้น ความตึกเชือกคือ
q
𝑚𝑔
𝑇
𝑻 =
𝒎𝒗 𝟐
𝑹
+ 𝒎𝒈 cos 𝜽
𝑹
การเคลื่อนที่บนทางโค้งในแนวราบ
การที่วัตถุหรือรถจะเลี้ยวโค้งต้องมีแรงสู่ศูนย์กลางเสมอ ในขณะที่รถเลี้ยวโค้งแรง
สู่ศูนย์กลางที่กระทาต่อรถก็คือ แรงเสียดทานนั่นเอง โดยแรงเสียดทานมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางใน
ขณะที่รถเลี้ยวโค้งการหาความเร็วที่พอดีทาให้รถเลี้ยวโค้งได้
รถจะเลี้ยวโค้งได้ด้วยความเร็วมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับรัศมี (R) วงกลมของทางโค้ง
และมุม q ที่รถเอียงจากแนวดิ่ง ถ้า R และ q มีค่ามาก รถจะเลี้ยวโค้งได้ด้วยความเร็วสูง
q
𝑓 𝑘 = 𝜇𝑁
𝑁=𝑚𝑔
• 𝜇 = ส.ป.ส. ของแรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน
o เมื่อ 𝐹 𝑐 = 𝑓 𝑘 =
𝑚𝑣2
𝑅
o ดังนั้น 𝑡𝑎𝑛 𝜃 =
𝑓 𝑘
𝑁
= 𝜇 =
𝑚𝑣2
𝑅
𝑚𝑔
o ได้ว่า 𝒕𝒂𝒏 𝜽 = 𝝁 =
𝒗 𝟐
𝑹𝒈
𝒗 = 𝒕𝒂𝒏 𝜽 𝑹𝒈 = 𝝁𝑹𝒈
การเคลื่อนที่เป็นทางโค้งบนถนนลื่นเอียงทามุม q กับแนวระดับ
ในกรณีทางโค้งนิยมยกขอบด้านนอกให้สูงกว่าด้านใน เพื่อช่วยทาให้เกิดแรงสู่
ศูนย์กลางโดยไม่ต้องอาศัยแรงเสียดทาน
q
𝑵𝐜𝐨𝐬𝜽
𝑵 𝐬𝐢𝐧 𝜽
𝒎𝒈
 อัตราเร็วพอดีกับมุมที่ยกขึ้น หาได้ดังนี้
o เมื่อ 𝐹 𝑐 = 𝑁 sin 𝜃 =
𝑚𝑣2
𝑅
o และ 𝑁 cos 𝜃 = 𝑚𝑔
o ได้ว่า 𝒕𝒂𝒏 𝜽 =
𝒗 𝟐
𝑹𝒈
o อัตราเร็วพอดีกับมุมที่ยกขึ้น คือ
q
q = มุมที่ผิวถนนกระทาต่อพื้นราบ
v = อัตราเร็วที่พอดีกับมุมที่ยกผิวถนน
R = เป็นรัศมีความโค้ง
g = ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง
𝒗 = 𝒕𝒂𝒏 𝜽 𝑹𝒈
การเคลื่อนที่วงกลมของดาวเทียม
• แรงสู่ศูนย์กลาง 𝑭 𝒄 = 𝒎𝒈 𝒉ดังนั้น 𝒎𝒈 𝒉 =
𝒎𝒗 𝟐
𝑹
หรือ 𝒎𝒈 𝒉 =
𝑮𝒎𝑴
𝑹 𝟐
• ค่าแรงโน้มถ่วงกระทากับดาวเทียม 𝒈 𝒉 =
𝑮𝑴
𝑹 𝟐 เมื่อ 𝑹 = 𝑹 𝑬 + 𝒉
• ความเร็วของดาวเทียม 𝒈 𝒉 =
𝒗 𝟐
𝑹

𝒗
𝑹
 น้าหนักดาวเทียมลงส่โลก เป็นแรงส่ศนย์กลาง
𝒎𝒈 𝒉
𝒎 𝑴
𝑹 𝑬
• G คือ ค่านิจความโน้มถ่วงสากล มีค่า 6.672 x 10-11 Nm2/kg2𝒗 = 𝒈 𝒉 𝑹 = 𝒈 𝒉 𝑹 𝑬 + 𝒉 =
𝑮𝑴
𝑹 𝑬 + 𝒉
จงหาความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลางของวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นรูปวงกลมรัศมี 8 เมตร ด้วย
อัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที และหากมวลที่เคลื่อนที่มีขนาด 5 กิโลกรัม จงหาแรงเข้า
สู่ศูนย์กลาง
ตัวอย่าง 17
วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกเชือกยาว 1 เมตร แล้วแกว่งให้เคลื่อนที่เป็น
วงกลมตามแนวระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ 2 รอบต่อวินาที จงหา
ก) ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
ข) แรงตึงในเส้นเชือก
ตัวอย่าง 18
1 m
โลกหมุนรอบตัวเองครบ 1 รอบ ใช้เวลา 24 ชั่วโมง และรัศมีของโลกเท่ากับ
6.37x106 เมตร จงคานวณหา
ก) อัตราเร็วเชิงมุมของวัตถุบนผิวโลก
ข) อัตราเร็วเชิงเส้น และขนาดของความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุที่อยู่
บนเส้นศูนย์สูตรของโลก
ตัวอย่าง 19
เส้นเชือกเบายาว 1 เมตร ปลายข้างหนึ่งติดวัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม อีกปลายหนึ่ง
ตรึงแน่นแกว่งให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวราบรัศมี 30 เซนติเมตร และ
เส้นเชือกทามุม 37o กับแนวดิ่ง จงคานวณหา
ก) อัตราเร็วเชิงเส้น และ อัตราเร็วเชิงมุม
ข) แรงตึงในเส้นเชือก
ค) คาบของการแกว่ง
ตัวอย่าง 20
0.5
kg
37o
30 cm
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
(Simple Harmonic Motion, SHM)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก หมายถึง การที่
วัตถุเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ารอยเดิม มักจะใช้
สัญญลักษณ์ว่า SHM. ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบ
นี้ได้แก่ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกผูกติดไว้กับสปริง
ในแนวราบ การแกว่งของชิงช้า การแกว่งของลูกตุ้ม
นาฬิกา เป็นต้น
สมการของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
จากภาพจะเห็นว่าเมื่อวัตถุสีเหลืองเคลื่อนที่เป็นวงกลม เงาของวัตถุบนฉากจะ
เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงกลับไปกลับมา เรียกการเคลื่อนที่แบบซ้ารอยเดิมนี้ว่า การ
เคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิค (Simple Harmonic Motion) หรือการเคลื่อนที่
แบบ S.H.M
q
ฉาก
เงาของบอล
𝑹
𝒀
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
q
ฉาก
เงาของบอล
จะได้การกระจัดในแนวแกน Y ดังนี้
𝑹
𝒀
อัตราเชิงเส้นมุม คือ 𝝎 =
𝜽
𝒕
𝒀 = 𝑹 sin 𝜔𝑡
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
𝑌 𝑚𝑎𝑥 = 𝑅 หรือ 𝑌 𝑚𝑎𝑥 = 𝐴 (แอมปลิจูด)
เมื่อนา 𝑌 = 𝑅 𝑠𝑖𝑛 𝜔𝑡 ไปเขียนกราฟการกระจัด-เวลา ของการเคลื่อนที่แบบซิม
เปิลฮาร์โมนิค จะได้กราฟดังนี้
จากสมการ 𝑌 = 𝑅 𝑠𝑖𝑛 𝜔𝑡 เมื่อ 𝑠𝑖𝑛 𝜔𝑡 = 𝑠𝑖𝑛 90° = 1 ค่าของการกระจัดของ
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิคจะมีค่ามากที่สุด นั่นคือ
-1.5
-1
-0.5
0
0.5
1
1.5
0 2 4 6 8 10 12 14
การกระจัด
เวลา
ซิมเปิลฮาร์โมนิคในสปริง
การที่วัตถุเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ารอยเดิม มักจะใช้สัญลักษณ์ว่า SHM.
ตาแหน่งสมดุล
ตาแหน่งสมดุล −𝒚
+𝒚
−𝒙
+𝒙
2
2
2
2
F ma
kx m x
k m
T
m
T
k
w




 
  
 

2 k
T m

w  
ซิมเปิลฮาร์โมนิคในสปริง
ตาแหน่งสมดุล
−𝒙
+𝒙
สปริงเบาตัวหนึ่งมีค่านิจ 100 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยู่
บนพื้น ราบเกลี้ยง เมื่อดึงสปริงออกไป 30 เซนติเมตร แล้วปล่อยมือ มวลก้อนนี้
จะมีอัตราเร่งสูง
สุดเท่าใด
ตัวอย่าง 21
รถทดลองมวล 500 กรัม ติดอยู่กับปลายสปริงดังรูป เมื่อดึงด้วยแรง 5 นิวตัน ใน
ทิศขนานกับพื้น จะทาให้สปริงยืดออก 10 เซนติเมตร เมื่อปล่อยรถจะเคลื่อนที่
กลับไปกลับมาบนพื้นเกลี้ยงแบบซิมเปิลฮาร์โมนิก ด้วยคาบเท่าไร(ค่าคงที่
สปริงเท่ากับ 10 N/m)
ตัวอย่าง 22
แขวนมวล 2 กิโลกรัม กับสปริง แล้วปล่อยให้สั่นขึ้นลง วัดคาบของการสั่นได้
1 วินาที ถ้าเอามวล 2 กิโลกรัม ออกสปริงจะสั้นกว่าตอนที่แขวนมวลนี้อยู่กี่เมตร
ตัวอย่าง 23
การเคลื่อนที่แบบลูกตุ้มนาฬิกา
จากรูป เป็นการเคลื่อนที่แบบลูกตุ้มนาฬิกา (simple
pendulum) ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิ
กอย่างง่าย อีกลักษณะหนึ่งโดยการนาวัตถุมวล m
ผูกเชือกยาว l เมื่อวัตถุแกว่งเป็นมุมแคบๆ (q มีค่า
น้อย ๆ) ซึ่งถือได้ว่าแรงลัพธ์ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่มี
ทิศขนานกับเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ และส่วน
โค้งของวงกลมจากตาแหน่งสมดุลถึงตาแหน่งต่างๆ
ของวัตถุเป็นเส้นตรง
q
𝑚𝑔
𝑇
𝒍
𝒙
การเคลื่อนที่แบบลูกตุ้มนาฬิกา
o จากกฎข้อสองของนิวตัน 𝑭 = 𝒎𝒂
𝑚𝑎 = −𝑚𝑔 sin 𝜃  𝑎 = −𝑔 sin 𝜃
o เมื่อ q มีค่าน้อย ๆ 𝜽 =
𝒙
𝒍
ดังนั้น
𝑎 = −𝑔
𝒙
𝒍
o จาก 𝑎 = −ω2
𝑥 ได้ว่า
ω2 𝑥 = 𝑔
𝒙
𝒍
 ω2 =
𝒈
𝒍
q
𝑚𝑔
𝑇
𝒍
𝒙
∴ 𝜔 =
𝒈
𝒍
, 𝑇 = 2𝜋
𝒍
𝒈
และ 𝑓 =
1
2𝜋
𝒈
𝒍
ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 0.4 เมตร แกว่งไปมาด้วยแอมพลิจูด 0.1
เมตร จงหา ความเร็วขณะเคลื่อนผ่านจุดสมดุล
ตัวอย่าง 24
q
𝑥 = 0.1 𝑚
ลูกตุ้มแขวนด้วยเชือกยาว 100 เซนติเมตร เมื่อจับลูกตุ้มให้เบนออกมาจากตา
แหน่ง สมดุลเป็นระยะ 5 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้แกว่งอย่างอิสระความเร็วสูงสุด
ในการแกว่ง จะมีค่าเท่ากับกี่ เซนติเมตร / วินาที
ตัวอย่าง 25
ปล่อยลูกตุ้มซึ่งมีสายยาว 90 เซนติเมตรจากมุมหนึ่งให้แกว่ง แต่สายลูกตุ้มติด
ตะปูที่ระยะ 50 เซนติเมตร ใต้จุดที่แขวนในแนวดิ่ง ลูกตุ้มจะแกว่งกลับมาที่
เดิมในเวลาเท่าใด (g = 10 m/s2)
ตัวอย่าง 26
q
50𝑐𝑚.
บทที่ 2
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 

Tendances (20)

บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 

Similaire à บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ

บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงKaettichai Penwijit
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 

Similaire à บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ (20)

บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
6 1
6 16 1
6 1
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 

Plus de Thepsatri Rajabhat University

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics IThepsatri Rajabhat University
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 

Plus de Thepsatri Rajabhat University (20)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 

บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ