SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  62
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 4
งาน กาลัง และพลังงาน
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
หัวข้อบรรยาย
• ความหมายของงานกาลังและพลังงาน
• งานของแรงคงตัวและแรงไม่คงตัว
• งานของแรงอนุรักษ์และแรงไม่อนุรักษ์
• พลังงานจลน์ พลังงานศักย์
• ทฤษฎีงานพลังงาน
• กฎการคงตัวของพลังงาน
งาน และ พลังงาน
งาน ( work )
งาน หรือ งานเชิงกล (Work : W) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณของ
พลังงานซึ่งถูกส่งมาจากแรงที่กระทาต่อวัตถุให้
เคลื่อนที่ไปได้ระยะทางขนาดหนึ่ง งานเป็นปริมาณสเกลาร์
เช่นเดียวกับพลังงาน มีหน่วยเอสไอเป็นจูล(J)
𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑙
𝑙
𝐹
m
งาน ( work )
พิจารณาวัตถุมวล m ถูกแรง 𝐹 ซึ่งทามุมกับแนวระดับเป็นมุม q
กระทา แล้วเคลื่อนที่ได้การกระจัด l ดังรูป
โดย 𝐹 คงที่ทั้งขนาดและทิศทางตลอดการ
เคลื่อนที่
𝐹
qm
𝐹
qm
𝑙
นิยาม : งาน ( work ) ที่เกิดจากแรง 𝐹 ที่กระทาต่อวัตถุนี้คือ
งานมีหน่วยเป็น N.m หรือ J ( จูล ) และมีค่าเป็นได้ทั้ง ศูนย์ , บวก ,
ลบ สามารถแบ่งออกเป็นกรณีต่างๆได้ดังนี้
𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
𝐹
qm
𝐹
qm
งาน ( work )
𝑙
1. งาน : กรณีที่เป็ น บวก
o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 0° เมื่อ cos 0° = 1
o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 0° ∙ 𝑙 = 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น บวก
𝐹 𝐹m m
𝑙
Motion
2. งาน : กรณีที่เป็ น ลบ
o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 180° เมื่อ cos 180° = −1
o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 180° ∙ 𝑙 = − 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น ลบ
𝐹 m 𝐹 m
𝑙
Motion
3. งาน : กรณีที่เป็ น ศูนย์
o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙
o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 90° เมื่อ cos 90° = 0
o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 90° ∙ 𝑙 = 0 มีค่าเป็น ศูนย์
𝐹
m m
𝐹
𝑙
Motion
ถ้ามีแรงหลายแรงกระทาต่อวัตถุ สามารถหางานได้จากการ
พิจารณางานของแรงแต่ละแรง ดังรูป
1. งานของแรง 𝐹1 คือ 𝑊 = 𝐹1 cos 𝜃1 ∙ 𝑙
2. งานของแรง 𝐹2 คือ 𝑊 = 𝐹2 cos 𝜃2 ∙ 𝑙
𝑙
m
𝐹1
𝐹2
𝐹3
𝐹4
𝐹5
m
𝐹1
𝐹2
𝐹3
𝐹4
𝐹5
4. งาน : กรณีที่แรงหลายแรงกระทากับวัตถุ
งานรวม = ผลรวมของงานเนื่องจากแรงทุกแรงที่กระทาต่อวัตถุ
3. งานของแรง 𝐹3 คือ 𝑊 = 𝐹3 cos 𝜃3 ∙ 𝑙
4. งานของแรง 𝐹4 คือ 𝑊 = 𝐹4 cos 𝜃4 ∙ 𝑙
5. งานของแรง 𝐹5 คือ 𝑊 = 𝐹5 cos 𝜃5 ∙ 𝑙
 เมื่อ 𝜃 เป็นมุมที่ทิศทางของแรงทามุมกับแนวการ
เคลื่อนที่ 𝑙 ตามลาดับ
𝑊 = 𝑊 𝐹1
+ 𝑊 𝐹2
+ 𝑊 𝐹3
+ 𝑊 𝐹4
+ 𝑊 𝐹5
ตัวอย่าง
จากรูปวัตถุเคลื่อนที่ได้การกระจัด 𝑠 ถ้าพื้นมีสัมประสิทธ์ความเสียดทาน 𝜇 𝑘
จงหางานของแรงแต่ละแรงที่กระทาต่อวัตถุ และ งานรวม
𝐹
qm
𝐹
qm
𝑠
วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ไถลไปบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์
ระหว่างพื้นกับผิว วัตถุเท่ากับ 0.2 เป็นระยะทาง 5 เมตร งานของแรง
เสียดทานมีค่าเท่ากับกี่จูล
ตัวอย่าง
10 kg
5 m
10 kg
mk = 0.2
ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบ
เป็น ระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้นบันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูง
จากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นั้นทา
ตัวอย่าง
m=10 kg
3เมตร
10 เมตร
แรง F กระทากับวัตถุแสดงโดยกราฟ ดังรูป งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10
เมตร เป็นกี่จูล
ตัวอย่าง
80
40
5 10
s (เมตร)
F (นิวตัน)
มวล 4 กิโลกรัมเคลื่อนที่ขึ้นระนาบเอียง 30 องศากับแนวระดับ โดยมี
แรง 100 นิวตัน ดึงขึ้นขนานกับพื้นเอียง และมีแรงเสียดทาน 10 นิวตัน
ต้านการเคลื่อนที่ ปรากฏว่ามวลเคลื่อนที่ได้ระยะ 20 เมตร จงหางานของ
แต่ละแรง และ งานรวม
ตัวอย่าง
30o
วัตถุมวล 4 กิโลกรัม แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเส้นหนึ่งเหนือระดับ
พื้น 20 เมตร ถ้า ดึงเชือกให้มวลเคลื่อนขึ้นเป็นระยะทาง 10 เมตร
ด้วยอัตราเร่ง 2.5 เมตรต่อวินาที2 จงหา งานที่ทาโดยแรงตึงเชือก (
ให้ใช้ค่า g = 10 เมตรต่อวินาที2 )
ตัวอย่าง
4 kg
20เมตร
4 kg
10เมตร
a = 2.5 m/s2
g = 10 m/s2
T
พลังงานคืออะไร
พลังงาน (Energy) หมายถึง
ความสามารถในการทางานได้ หรือ
อานาจที่แฝงอยู่ในวัตถุซึ่งสามารถ
เปลี่ยนรูปได้ หรือสามารถกล่าวได้
ว่าวัตถุใดที่มีพลังงาน วัตถุนั้นจะ
สามารถทางานได้ พลังงานของวัตถุ
ต่าง ๆ อาจสะสมอยู่ในหลาย
รูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงาน
ศักย์ พลังงานจลน์ ความร้อน แสง
ไฟฟ้ า เสียง เป็นต้น
พลังงาน (Energy)
สปริงก็มีพลังงานสะสม นาไปใช้ยิงกระสุนได้
น้าในเขื่อนมีพลังงานสะสมอยู่ เราสามารถเอามาผลิตกระแสไฟฟ้ าได้
งาน และ พลังงานสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
*** งาน คือ การถ่ายเทพลังงาน ***
พลังงานมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ?
พลังงาน (Energy)
ถ้ามีงานกระทาต่อระบบ
ถ้าระบบทางานเอง
มีการถ่ายเทพลังงาน
เข้าสู่ระบบ
มีการถ่ายเทพลังงาน
ออกจากระบบ
พลังงานระบบเพิ่มขึน
พลังงานระบบลดลง
พลังงาน คือ ความสามารถในการทางาน มีหน่วยเป็ น จูล (J)
o พลังงานมีอยู่หลายรูป เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้ า
พลังงานเคมี
o พลังงานไม่มีวันสูญหาย เพียงแต่เปลี่ยนรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ เช่น
พลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน
พลังงาน (Energy)
พลังงาน แบ่งประเภทที่ปรากฏในธรรมชาติได้ 2 แบบ คือ
𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
1. พลังงานจลน์
𝐸 𝑝 = 𝑚𝑔ℎ
2. พลังงานศักย์
𝑣
ℎ𝑔
พลังงาน (Energy)
พลังงานศักย์ (Potential Energy)
พลังงานศักย์ (Potential Energy; P.E.) คือ เป็ นพลังงานที่
ขึนอยู่กับ ตาแหน่ง หรือ ลักษณะรูปร่าง ของวัตถุ
o พลังงานศักย์โน้มถ่วงขึนอยู่กับ
ความสูงจากระดับอ้างอิง (h)
𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ
o พลังงานศักย์สปริงขึนอยู่กับระยะ
ยื ดหรื อหดของสปริ ง จา ก
ตาแหน่งสมดุลของสปริง (x)
𝐸 𝐸 = 1
2
𝑘𝑥2
ℎ
𝑥
ระดับอ้างอิง
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
( gravitational potential energy )
พิจารณาอนุภาคมวล 𝑚 เคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก
𝑥
𝑦
𝑧 𝑎
𝑏𝑟2
𝑚
𝐹
0
𝑟1
จะเห็นว่า 𝐹 = −mg 𝑘
ให้งานเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกจาก 1 → 2 = 𝑊12
𝑊12 = 𝑟1
𝑟2
𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
= 𝑟1
𝑟2
−mg 𝑘 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘
= 𝑧1
𝑧2
−mg 𝑑𝑧
= −mg 𝑧1
𝑧2
𝑑𝑧
= −mg 𝑧2 − 𝑧1
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
( gravitational potential energy )
จะเห็นว่า งานเนื่องจาก 𝑧 จะขึ้นกับตาแหน่งของจุดตั้งต้น (1) และ
จุดสุดท้าย (2) เท่านั้น โดยไม่ขึ้นกับเส้นทางในการเคลื่อนที่ของ
วัตถุ เราเรียกแรงที่มีสมบัติในลักษณะนี้ว่า 𝐦𝒈 แรงอนุรักษ์ (
Conservative force )
o เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( Gravitational
Potential Energy )
นิยาม :
𝐸 𝑝 = m 𝑔 ∙ 𝑧
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
ดังนั้น
แต่โดยทั่วไปมักจะวัดความสูงของวัตถุเทียบกับระดับอ้างอิงใดๆ
ระดับอ้างอิงใดๆ
𝒛
𝒛 𝟏
𝒉 𝟏
𝒛 𝟐
𝒉 𝟐
𝟏
𝟐
𝑊12 = − 𝐸 𝑝2 − 𝐸 𝑝1 = −∆𝐸 𝑝
พบว่า 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏
ดังนัน 𝑾 𝟏𝟐 = −𝒎𝒈 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = −𝒎𝒈 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏
𝟎
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
จะได้ว่า 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง
โดยที่ ℎ คือ ตาแหน่งของวัตถุวัดจากระดับอ้างอิง
ดังนั้น ค่าของพลังงานศักย์จึงมีค่าไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับระดับอ้างอิง
นิยาม : พลังงานศักย์โน้มถ่วง
𝐸 𝑝 = m𝑔ℎ
1. สรุป : พลังงานศักย์โน้มถ่วง
เมื่อสปริงยืดหรือหดเป็นระยะ 𝑥 จากตาแหน่งสมดุล จะทาเกิดแรงคืนตัวในทิศ
ตรงข้ามกับการกระจัด
𝐹 = −𝑘𝑥
m
ตาแหน่งสมดุล
−𝑘𝑥
𝑚
𝑥
𝑥
−𝑘𝑥
(𝑎)
(𝑏)
(𝑐)
o พิจารณาสปริงที่มีค่าคงที่
สปริงเท่ากับ 𝑘 และมีมวล
𝑚 ติดอยู่ที่ปลาย ดังรูป
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
( elastic potential energy )
เมื่อสปริงเปลี่ยนระยะยืดหรือหดจากตาแหน่ง 𝑥1 จากจุด
สมดุลเป็นตาแหน่ง 𝑥2 หางานของแรงคืนตัวได้จาก
𝑊12 = 𝑟1
𝑟2
𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
= 𝑟1
𝑟2
−kx 𝑖 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘
= 𝑥1
𝑥2
−kx 𝑑𝑥
= −k 𝑥1
𝑥2
𝑥𝑑𝑥
= −k 1
2
𝑥2
2
− 1
2
𝑥1
2
= 1
2
𝑘𝑥1
2
− 1
2
𝑘𝑥2
2
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
โดยที่ 𝑥 เป็นระยะยืดหรือหดของสปริงจากตาแหน่งสมดุล
นิยาม : พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
𝐸 𝑝𝑠 = 1
2
𝑘𝑥2
2. สรุป :พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( elastic potential
energy )
𝑊12 = − 𝐸 𝑝𝑠2 − 𝐸 𝑝𝑠1 = −∆𝐸 𝑝𝑠
พลังงานศักย์ (Potential Energy)
พลังงานศักย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วงขึนอยู่กับความสูงจากระดับอ้างอิง (h)
ระดับอ้างอิง
𝐸 𝑃 > 0
𝐸 𝑃 < 0
𝐸 𝑃 = 0
มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1 เมตร กับ มวล B ขนาด
5 กิโลกรัมอยู่สูงจากพื้นโลก 1.5 เมตร อัตราส่วนของพลังงานศักย์ของ
A ต่อ B เป็นเท่า ไร
ตัวอย่าง
10 kg
1เมตร
5 kg
1.5เมตร
สปริงตัวหนึ่งมีความยาวปกติ 1 เมตร และมีค่า นิจสปริง 100 นิวตันต่อ
เมตร ต่อมาถูกแรงกระทา แล้วทาให้ยืดออกและมีความยาวเปลี่ยนเป็น
1.2 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นขณะที่ถูกแรงนี้กระทามีค่า กี่จูล
ตัวอย่าง
1 เมตร
1.2 เมตร
k = 100 นิวตันต่อ
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
o พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น มีหน่วย
เป็น จูล (J)
o พลังงานจลน์ของวัตถุมวล m อัตราเร็ว v คือ 𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
𝑑
𝐸 𝑘𝑓 = 1
2
𝑚𝑣2
𝐸 𝑘𝑖 = 1
2
𝑚𝑣0
2
∆𝐸 𝑘= 1
2
𝑚𝑣2
− 1
2
𝑚𝑣0
2
Initial Final
พิจารณาวัตถุมวล 𝑚 เคลื่อนที่ใน 3 มิติจาก 𝑎 ไป 𝑏
𝑥
𝑦
𝑧
𝑎
𝑏
𝑟
𝑚
𝐹
0
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
งานลัพธ์ของแรงลัพธ์ 𝐹 จาก 𝑎 ไป 𝑏 คือ
ดังนั้น
𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎
𝑏
𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
=
𝑎
𝑏
𝑚
𝑑 𝑣
𝑑𝑡
∙ 𝑣𝑑𝑡
จาก
𝑑
𝑑𝑡
𝑣 ∙ 𝑣 = 𝑣 ∙
𝑑𝑣
𝑑𝑡
+
𝑑𝑣
𝑑𝑡
∙ 𝑣 = 2 𝑣 ∙
𝑑𝑣
𝑑𝑡
𝑣 ∙
𝑑 𝑣
𝑑𝑡
=
1
2
𝑑
𝑑𝑡
𝑣 ∙ 𝑣 =
1
2
𝑑
𝑑𝑡
𝑣2
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
ได้ว่า
เรียกสมการดังกล่าวว่า ทฤษฎีบทงาน-พลังงาน
โดยที่ 𝐸 𝑘 =
1
2
𝑚𝑣2
เรียกว่า พลังงานจลน์ ( kinetic energy )
𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎
𝑏 𝑚
2
𝑑
𝑑𝑡
𝑣2
𝑑𝑡
=
𝑚
2 𝑎
𝑏
𝑑 𝑣2
=
𝑚
2
𝑣 𝑏
2
−
𝑚
2
𝑣 𝑎
2
𝑊𝑎→𝑏 = ∆𝐸 𝑘
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
ให้พลังงานที่จะทาให้รถที่มีมวล 1,000 กิโลกรัม จากหยุดนิ่งมี
ความเร็วเป็น 30 เมตรต่อวินาที สมมติว่าไม่มีแรงเสียดทาน และการ
เคลื่อนที่อยู่ในแนวราบ
ตัวอย่าง
Initial Final
𝑣0 = 0 𝑣 = 30 𝑚/𝑠
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด นั่นคือไม่มีงานเนื่องจากแรงเกิดขึ้นเมื่อไม่มี
งาน ก็ไม่มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออกนอกระบบ แสดงว่าพลังงาน
รวมของระบบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
∆𝐸 = 0
หรือ ถ้าเราเปรียบเทียบสภาวะของระบบที่ตาแหน่ง Initial กับ Final
จะได้
𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด
∆𝐸 = 0 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙หรือ
นี่ คือ กฎการอนุรักษ์พลังงาน (Law of
Conservation of Energy) ซึ่งบอกว่า “พลังงาน
ไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยน
รูปจากพลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น”
เปลี่ยนรูปอย่างไร ?
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
: ระบบปิ ด (ไม่มีแรงต้านอากาศ)
𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ
𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
2. พลังงานจลน์
1. พลังงานศักย์
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
ระดับอ้างอิง
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
1
2
3
4
5
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
คาว่าระบบเปิด คือ มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออก ซึ่งก็หมายความว่า มีการได้
งาน(หรือเสียงาน) เกิดขึ้นนั่นเองสิ่งที่ต่างกันออกไปก็คือ พลังงานจะเปลี่ยนแปลงโดย
ปริมาณที่เปลี่ยนไปก็คือ งานที่ได้(งานเป็นบวก) หรือ เสียงานไป(งานเป็นลบ)
นั่นเอง “พลังงานไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยนรูปจาก
พลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น”
แล้วถ้าระบบไม่ปิ ด (ระบบเปิ ด) จะเกิดอะไรขึน?
∆𝐸 = 𝑊
𝑊 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 − 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙
ใช้ได้ทุกกรณี นั่นคือถ้าไม่มีงานใดๆ
(w=0) พลังงานมีค่าคงที่
หรือ
กฎการอนุรักษ์พลังงาน
: ระบบเปิ ด (มีแรงต้านอากาศ)
𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ
𝐸 𝑘 = 1
2
𝑚𝑣2
2. พลังงานจลน์
1. พลังงานศักย์
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
ระดับอ้างอิง
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
𝐸 𝑃 𝐸 𝑘
1
2
3
4
5
3.งานของแรง
ต้านอากาศ
𝑊𝑎
𝑊𝑎
𝑊𝑎
𝑊𝑎
𝑊𝑎
ปล่อยวัตถุมวล 3.0 กิโลกรัม จากที่สูง 2 เมตร ลงมากระทบกับสปริงซึ่ง
มีค่าคงตัวสปริง เท่ากับ 120 นิวตันต่อเมตร โดยไม่เด้ง สปริงจะถูกกดลง
เป็นระยะทางมากที่สุดกี่เมตร
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
2m
3 kg
k=120n/m
วัตถุมวล 1.0 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงด้วยความเร็ว 2.0
เมตรต่อวินาที วิ่งเข้าชนสปริงดังรูป ปรากฏว่าวัตถุหยุดชั่วขณะเมื่อ
สปริงหดสั้นกว่าเดิม 0.05 เมตร
ตัวอย่าง
0.05 m
1
kg
v = 2
m/s1
kg
ก. พลังงานศักย์ของสปริง เมื่อหดสั้นสุดเป็นเท่าใด
ข. ณ. ตาแหน่งที่วัตถุหยุดนั้นสปริงผลักวัตถุด้วยแรงเท่าใด
ยิงลูกปืนมวล 10 กรัม เข้าไปในเนื้อไม้ด้วยอัตราเร็ว 300 เมตรต่อวินาที
ลูกปืนหยุดนิ่ง หลังจากที่เข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะทาง 5 เซนติเมตร จงหา
แรงเฉลี่ยที่ลูกปืนกระทาต่อแท่งไม้ในหน่วยนิวตัน
ตัวอย่าง
u = 300
m/s
5 cm
จากรูป แผ่นเลื่อนที่มีมวล 20 กิโลกรัม อยู่บนเนินเขาเริ่มที่จะเลื่อนลง
เขา ถามว่าจะเลื่อนไปได้เร็วเท่าไรเมื่อถึงตีนเขา ถ้าเขานี้สูง 100 เมตร
และเราไม่คานึงถึงแรงเสียดทาน
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙
𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
100เมตร m = 20 กิโลกรัม
ถ้าแผ่นเลื่อนมีความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที จากตีนเขา ถามว่ามีพลังงาน
ความร้อนเกิดขึ้นเท่าไร เนื่องมาจากความเสียดทานในขณะที่เคลื่อนที่ลง
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙
𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
100เมตร m = 20 กิโลกรัม
v = 30 เมตรต่อวินาที
จากรูปมวล m อยู่ที่ตาแหน่ง A เริ่มไถลลงตามทางลาดลื่นด้วย
อัตราเร็วต้น u อยากทราบว่ามวล m จะสามารถไถลขึ้นไปตามทาง
เอียง BC ได้สูงสุดในแนวดิ่งเท่าไร
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
h
A
B
C
u
กาลัง (Power)
กาลัง (Power) คือ อัตราการทางาน หรืองานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
หน่วย J/s (จูลต่อวินาที) หรือ W (วัตต์)
𝑃 = 𝑑𝑊
𝑑𝑡
𝑑𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟เนื่องจาก
𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟
𝑑𝑡 𝑣 =
𝑑 𝑟
𝑑𝑡
และ
𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑣
1 กาลังม้า (horsepower : hp) =
746 วัตต์
กาลัง (Power)
ให้คนปกติ และคนไข้ วิ่งขึ้นบันได แล้วจับเวลาเปรียบเทียบกัน
กาลังมนุษย์ =
นาหนัก (N) x ความสูงของห้องคนไข้ (m)
เวลาทังหมด (s)
o จะเห็นได้ว่า คนปกติจะใช้เวลาน้อยกว่า แสดงว่า
ได้กาลังงานสูงกว่า
“Ergometer” เป็นเครื่องวัดกาลังงานของคน ประกอบไป
ด้วยล้อจักรยานที่จอดนิ่งอยู่กับที่ และต่อกับไดนาโมหรือสเกล
“Ergon” คือ งาน และ “Metron” คือ การวัต
กาลัง (Power)
กาลัง (Power : P)
=
ปริมาณของานที่ทา หรือ ใช้ (Work : W)
หนึ่งหน่วยเวลา (Time : t)
o หน่วยของกาลังคือ จูลต่อวินาที
(Joule/second : J/s) ซึ่งมีชื่อเฉพาะว่า
วัตต์ (Watt : W)
กาลัง (Power) คือ ปริมาณของานที่ทา(หรือใช้) ต่อหนึ่งหน่วยเวลา
หรือ อัตราการใช้พลังงาน
อีกหน่วยหนึ่งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ กาลังม้า (Horse Power : hp) หรือ
แรงม้า สามารถเขียนในหน่วย SI ได้ดังนี 1 hp คือ 746 W
เจมส์ วัตต์ วิศวกรและนักประดิษฐ์ ชาว
สกอตแลนด์ ผู้ปรับปรุงเครื่องจักรไอน้า
12 แรงม้า
กาลัง (Power)
𝑃 = 𝑑𝑊
𝑑𝑡
400 แรงม้า
รถคันไหนจะถึงเส้นชัยก่อนกัน?
o เนื่องจากกาลังขึ้นอยู่กับทั้งปริมาณงาน(W) และ เวลา(t) ดังนั้นวัตถุที่มีกาลัง
มากจะทางานได้มากกว่าวัตถุที่มีกาลังน้อยในเวลาที่เท่ากัน
ก. ให้คานวณหากาลังที่ใช้ในการเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7
วินาที โดยที่มวลของชายคนดังกล่าว 60 กิโลกรัม
ข. ในกรณีเดียวกัน แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
ตัวอย่าง
ระดับอ้างอิง
2เมตร
m = 60 กิโลกรัม
การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7
วินาที
แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2
วินาที
ประสิทธิภาพการทางาน
o พลังงานจานวนมากมักจะสูญเสียไปเมื่อมีการทางาน
o คาว่า “สูญเสีย” ไม่ได้หมายความว่าพลังงานสูญหาย แต่หมายความว่า
พลังงานได้เปลี่ยนรูปไปเป็นอีกรูปหนึ่งที่เราไม่ต้องการ
o หลอดไฟเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าส่วนใหญ่ให้เป็นพลังงานความร้อน แทนที่จะเป็น
แสง
o เครื่องยนต์เปลี่ยนพลังงานเคมีที่สะสมเป็นพลังงานความร้อนเป็นส่วนมากแทนที่
จะเป็นพลังงานที่ใช้ในการขับเคลื่อนที่เป็นประโยชน์
ประสิทธิภาพการทางาน
ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ ปริมาณที่ใช้บ่งบอกถึงความสามารถ
ในการนาพลังงานที่ให้กับอุปกรณ์หนึ่งๆ ไปใช้ทางานที่เป็ นประโยชน์
𝐸𝑓𝑓 =
𝑊𝑜𝑢𝑡
𝐸𝑖𝑛
Eff ไม่มีหน่วย !!!
𝐸𝑓𝑓(%) =
𝑊𝑜𝑢𝑡
𝐸𝑖𝑛
× 100
หรือในกรณีที่งานที่ได้อยู่ในรูปของ
พลังงานเราก็คานวณได้โดย𝐸𝑓𝑓 =
𝐸 𝑜𝑢𝑡
𝐸𝑖𝑛
1
2
3
ประสิทธิภาพการทางาน
หรือถ้าเราพิจารณาภายในช่วงเวลา t หนึ่งๆ เราอาจคานวณโดย
𝐸𝑓𝑓 =
𝑊𝑜𝑢𝑡 𝑡
𝐸𝑖𝑛 𝑡
=
𝑃𝑜𝑢𝑡
𝑃𝑖𝑛
𝐸𝑓𝑓(%) =
𝑃𝑜𝑢𝑡
𝑃𝑖𝑛
× 100
1
2
ประสิทธิภาพการทางาน
จะเห็นได้ว่าประสิทธิภาพของการทางานของทุกอย่างมีค่าไม่มาก(ไม่เกิน 50%)
ประสิทธิภาพ(%) การทางานของร่างกายและเครื่องกล
ร่างกายขณะขี่จักรยาน 20
ร่างกายขณะว่ายนา 2
ร่างกายขณะขุดดิน 3
เครื่องจักรไอนา 17
เครื่องยนต์ 38
โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ 35
โรงไฟฟ้ าถ่านหิน 42
ตัวอย่าง ในการเดินขึ้นบันไดประสิทธิภาพการทางานของรางกายมนุษย์คือ
20% จากตัวอย่างที่
ก) พลังงานที่ชายคนนี้ต้องการในการเดินขึ้นบันไดมีค่าเป็นเท่าไร
ข) พลังงานความร้อนที่เกิดจากการเดินขึ้นบันไดมีค่าเท่าไร
ค) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะเดินขึ้นบันไดมีค่า
เท่าไร
ง) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะวิ่งขึ้นบันไดมีค่า
เป็นเท่าไร
ระดับอ้างอิง
2เมตร
m = 60 กิโลกรัม
• การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที
• แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
𝐸𝑓𝑓 = 35%
𝐸𝑖𝑛 =?
𝑊𝑜𝑢𝑡 = 1,000 𝑀𝑊
ตัวอย่าง โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ที่มีประสิทธิภาพการทางาน 35% ผลิต
พลังงานไฟฟ้ า 1,000 MW ให้หาอัตราการผลิตของเสียในรูปของ
พลังงานความร้อนในหน่วย MW
• ปริมาณพลังงานความร้อนที่ได้มาจากโรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์หรือโรงไฟฟ้ าธรรมดามีค่าสูงมาก
งาน กาลัง และพลังงาน
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์

Contenu connexe

Tendances

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 

Tendances (20)

แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 

Similaire à บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย

บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energyKrumeaw
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่piyawanrat2534
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
Comprehensive Examination (structural engineering)
Comprehensive  Examination (structural engineering)Comprehensive  Examination (structural engineering)
Comprehensive Examination (structural engineering)Anirut Dechabooya
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 

Similaire à บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย (20)

บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energy
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
Comprehensive Examination (structural engineering)
Comprehensive  Examination (structural engineering)Comprehensive  Examination (structural engineering)
Comprehensive Examination (structural engineering)
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 

Plus de Thepsatri Rajabhat University

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics IThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 

Plus de Thepsatri Rajabhat University (18)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย

  • 1. บทที่ 4 งาน กาลัง และพลังงาน อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
  • 2. หัวข้อบรรยาย • ความหมายของงานกาลังและพลังงาน • งานของแรงคงตัวและแรงไม่คงตัว • งานของแรงอนุรักษ์และแรงไม่อนุรักษ์ • พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ • ทฤษฎีงานพลังงาน • กฎการคงตัวของพลังงาน
  • 4. งาน ( work ) งาน หรือ งานเชิงกล (Work : W) ในทางฟิสิกส์ คือ ปริมาณของ พลังงานซึ่งถูกส่งมาจากแรงที่กระทาต่อวัตถุให้ เคลื่อนที่ไปได้ระยะทางขนาดหนึ่ง งานเป็นปริมาณสเกลาร์ เช่นเดียวกับพลังงาน มีหน่วยเอสไอเป็นจูล(J) 𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑙 𝑙 𝐹 m
  • 5. งาน ( work ) พิจารณาวัตถุมวล m ถูกแรง 𝐹 ซึ่งทามุมกับแนวระดับเป็นมุม q กระทา แล้วเคลื่อนที่ได้การกระจัด l ดังรูป โดย 𝐹 คงที่ทั้งขนาดและทิศทางตลอดการ เคลื่อนที่ 𝐹 qm 𝐹 qm 𝑙
  • 6. นิยาม : งาน ( work ) ที่เกิดจากแรง 𝐹 ที่กระทาต่อวัตถุนี้คือ งานมีหน่วยเป็น N.m หรือ J ( จูล ) และมีค่าเป็นได้ทั้ง ศูนย์ , บวก , ลบ สามารถแบ่งออกเป็นกรณีต่างๆได้ดังนี้ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 𝐹 qm 𝐹 qm งาน ( work ) 𝑙
  • 7. 1. งาน : กรณีที่เป็ น บวก o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 0° เมื่อ cos 0° = 1 o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 0° ∙ 𝑙 = 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น บวก 𝐹 𝐹m m 𝑙 Motion
  • 8. 2. งาน : กรณีที่เป็ น ลบ o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 180° เมื่อ cos 180° = −1 o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 180° ∙ 𝑙 = − 𝐹 ∙ 𝑙 มีค่าเป็น ลบ 𝐹 m 𝐹 m 𝑙 Motion
  • 9. 3. งาน : กรณีที่เป็ น ศูนย์ o จากนิยามของงาน คือ 𝑊 = 𝐹 cos 𝜃 ∙ 𝑙 o จะเห็นว่า 𝐹 ทามุมกับ 𝑙 เป็นมุม 90° เมื่อ cos 90° = 0 o ดังนั้น 𝑊 = 𝐹 cos 90° ∙ 𝑙 = 0 มีค่าเป็น ศูนย์ 𝐹 m m 𝐹 𝑙 Motion
  • 10. ถ้ามีแรงหลายแรงกระทาต่อวัตถุ สามารถหางานได้จากการ พิจารณางานของแรงแต่ละแรง ดังรูป 1. งานของแรง 𝐹1 คือ 𝑊 = 𝐹1 cos 𝜃1 ∙ 𝑙 2. งานของแรง 𝐹2 คือ 𝑊 = 𝐹2 cos 𝜃2 ∙ 𝑙 𝑙 m 𝐹1 𝐹2 𝐹3 𝐹4 𝐹5 m 𝐹1 𝐹2 𝐹3 𝐹4 𝐹5 4. งาน : กรณีที่แรงหลายแรงกระทากับวัตถุ
  • 11. งานรวม = ผลรวมของงานเนื่องจากแรงทุกแรงที่กระทาต่อวัตถุ 3. งานของแรง 𝐹3 คือ 𝑊 = 𝐹3 cos 𝜃3 ∙ 𝑙 4. งานของแรง 𝐹4 คือ 𝑊 = 𝐹4 cos 𝜃4 ∙ 𝑙 5. งานของแรง 𝐹5 คือ 𝑊 = 𝐹5 cos 𝜃5 ∙ 𝑙  เมื่อ 𝜃 เป็นมุมที่ทิศทางของแรงทามุมกับแนวการ เคลื่อนที่ 𝑙 ตามลาดับ 𝑊 = 𝑊 𝐹1 + 𝑊 𝐹2 + 𝑊 𝐹3 + 𝑊 𝐹4 + 𝑊 𝐹5
  • 12. ตัวอย่าง จากรูปวัตถุเคลื่อนที่ได้การกระจัด 𝑠 ถ้าพื้นมีสัมประสิทธ์ความเสียดทาน 𝜇 𝑘 จงหางานของแรงแต่ละแรงที่กระทาต่อวัตถุ และ งานรวม 𝐹 qm 𝐹 qm 𝑠
  • 13. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ไถลไปบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ ระหว่างพื้นกับผิว วัตถุเท่ากับ 0.2 เป็นระยะทาง 5 เมตร งานของแรง เสียดทานมีค่าเท่ากับกี่จูล ตัวอย่าง 10 kg 5 m 10 kg mk = 0.2
  • 14. ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารมวล 100 กิโลกรัม ไว้บนบ่าเดินไปตามพื้นราบ เป็น ระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้นบันไดด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูง จากพื้นล่าง 3 เมตร จงหางานที่ชายผู้นั้นทา ตัวอย่าง m=10 kg 3เมตร 10 เมตร
  • 15. แรง F กระทากับวัตถุแสดงโดยกราฟ ดังรูป งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10 เมตร เป็นกี่จูล ตัวอย่าง 80 40 5 10 s (เมตร) F (นิวตัน)
  • 16. มวล 4 กิโลกรัมเคลื่อนที่ขึ้นระนาบเอียง 30 องศากับแนวระดับ โดยมี แรง 100 นิวตัน ดึงขึ้นขนานกับพื้นเอียง และมีแรงเสียดทาน 10 นิวตัน ต้านการเคลื่อนที่ ปรากฏว่ามวลเคลื่อนที่ได้ระยะ 20 เมตร จงหางานของ แต่ละแรง และ งานรวม ตัวอย่าง 30o
  • 17. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเส้นหนึ่งเหนือระดับ พื้น 20 เมตร ถ้า ดึงเชือกให้มวลเคลื่อนขึ้นเป็นระยะทาง 10 เมตร ด้วยอัตราเร่ง 2.5 เมตรต่อวินาที2 จงหา งานที่ทาโดยแรงตึงเชือก ( ให้ใช้ค่า g = 10 เมตรต่อวินาที2 ) ตัวอย่าง 4 kg 20เมตร 4 kg 10เมตร a = 2.5 m/s2 g = 10 m/s2 T
  • 18. พลังงานคืออะไร พลังงาน (Energy) หมายถึง ความสามารถในการทางานได้ หรือ อานาจที่แฝงอยู่ในวัตถุซึ่งสามารถ เปลี่ยนรูปได้ หรือสามารถกล่าวได้ ว่าวัตถุใดที่มีพลังงาน วัตถุนั้นจะ สามารถทางานได้ พลังงานของวัตถุ ต่าง ๆ อาจสะสมอยู่ในหลาย รูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงาน ศักย์ พลังงานจลน์ ความร้อน แสง ไฟฟ้ า เสียง เป็นต้น
  • 20. งาน และ พลังงานสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด *** งาน คือ การถ่ายเทพลังงาน *** พลังงานมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ? พลังงาน (Energy) ถ้ามีงานกระทาต่อระบบ ถ้าระบบทางานเอง มีการถ่ายเทพลังงาน เข้าสู่ระบบ มีการถ่ายเทพลังงาน ออกจากระบบ พลังงานระบบเพิ่มขึน พลังงานระบบลดลง
  • 21. พลังงาน คือ ความสามารถในการทางาน มีหน่วยเป็ น จูล (J) o พลังงานมีอยู่หลายรูป เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี o พลังงานไม่มีวันสูญหาย เพียงแต่เปลี่ยนรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ เช่น พลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน พลังงาน (Energy)
  • 22. พลังงาน แบ่งประเภทที่ปรากฏในธรรมชาติได้ 2 แบบ คือ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 1. พลังงานจลน์ 𝐸 𝑝 = 𝑚𝑔ℎ 2. พลังงานศักย์ 𝑣 ℎ𝑔 พลังงาน (Energy)
  • 23. พลังงานศักย์ (Potential Energy) พลังงานศักย์ (Potential Energy; P.E.) คือ เป็ นพลังงานที่ ขึนอยู่กับ ตาแหน่ง หรือ ลักษณะรูปร่าง ของวัตถุ o พลังงานศักย์โน้มถ่วงขึนอยู่กับ ความสูงจากระดับอ้างอิง (h) 𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ o พลังงานศักย์สปริงขึนอยู่กับระยะ ยื ดหรื อหดของสปริ ง จา ก ตาแหน่งสมดุลของสปริง (x) 𝐸 𝐸 = 1 2 𝑘𝑥2 ℎ 𝑥 ระดับอ้างอิง
  • 24. พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( gravitational potential energy ) พิจารณาอนุภาคมวล 𝑚 เคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก 𝑥 𝑦 𝑧 𝑎 𝑏𝑟2 𝑚 𝐹 0 𝑟1
  • 25. จะเห็นว่า 𝐹 = −mg 𝑘 ให้งานเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกจาก 1 → 2 = 𝑊12 𝑊12 = 𝑟1 𝑟2 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 = 𝑟1 𝑟2 −mg 𝑘 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘 = 𝑧1 𝑧2 −mg 𝑑𝑧 = −mg 𝑧1 𝑧2 𝑑𝑧 = −mg 𝑧2 − 𝑧1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( gravitational potential energy )
  • 26. จะเห็นว่า งานเนื่องจาก 𝑧 จะขึ้นกับตาแหน่งของจุดตั้งต้น (1) และ จุดสุดท้าย (2) เท่านั้น โดยไม่ขึ้นกับเส้นทางในการเคลื่อนที่ของ วัตถุ เราเรียกแรงที่มีสมบัติในลักษณะนี้ว่า 𝐦𝒈 แรงอนุรักษ์ ( Conservative force ) o เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง ( Gravitational Potential Energy ) นิยาม : 𝐸 𝑝 = m 𝑔 ∙ 𝑧 พลังงานศักย์โน้มถ่วง
  • 27. ดังนั้น แต่โดยทั่วไปมักจะวัดความสูงของวัตถุเทียบกับระดับอ้างอิงใดๆ ระดับอ้างอิงใดๆ 𝒛 𝒛 𝟏 𝒉 𝟏 𝒛 𝟐 𝒉 𝟐 𝟏 𝟐 𝑊12 = − 𝐸 𝑝2 − 𝐸 𝑝1 = −∆𝐸 𝑝 พบว่า 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏 ดังนัน 𝑾 𝟏𝟐 = −𝒎𝒈 𝒛 𝟐 − 𝒛 𝟏 = −𝒎𝒈 𝒉 𝟐 − 𝒉 𝟏 𝟎 พลังงานศักย์โน้มถ่วง
  • 28. จะได้ว่า 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง โดยที่ ℎ คือ ตาแหน่งของวัตถุวัดจากระดับอ้างอิง ดังนั้น ค่าของพลังงานศักย์จึงมีค่าไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับระดับอ้างอิง นิยาม : พลังงานศักย์โน้มถ่วง 𝐸 𝑝 = m𝑔ℎ 1. สรุป : พลังงานศักย์โน้มถ่วง
  • 29. เมื่อสปริงยืดหรือหดเป็นระยะ 𝑥 จากตาแหน่งสมดุล จะทาเกิดแรงคืนตัวในทิศ ตรงข้ามกับการกระจัด 𝐹 = −𝑘𝑥 m ตาแหน่งสมดุล −𝑘𝑥 𝑚 𝑥 𝑥 −𝑘𝑥 (𝑎) (𝑏) (𝑐) o พิจารณาสปริงที่มีค่าคงที่ สปริงเท่ากับ 𝑘 และมีมวล 𝑚 ติดอยู่ที่ปลาย ดังรูป พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( elastic potential energy )
  • 30. เมื่อสปริงเปลี่ยนระยะยืดหรือหดจากตาแหน่ง 𝑥1 จากจุด สมดุลเป็นตาแหน่ง 𝑥2 หางานของแรงคืนตัวได้จาก 𝑊12 = 𝑟1 𝑟2 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 = 𝑟1 𝑟2 −kx 𝑖 ∙ 𝑑𝑥 𝑖 + 𝑑𝑦 𝑗 + 𝑑𝑧 𝑘 = 𝑥1 𝑥2 −kx 𝑑𝑥 = −k 𝑥1 𝑥2 𝑥𝑑𝑥 = −k 1 2 𝑥2 2 − 1 2 𝑥1 2 = 1 2 𝑘𝑥1 2 − 1 2 𝑘𝑥2 2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
  • 31. โดยที่ 𝑥 เป็นระยะยืดหรือหดของสปริงจากตาแหน่งสมดุล นิยาม : พลังงานศักย์ยืดหยุ่น 𝐸 𝑝𝑠 = 1 2 𝑘𝑥2 2. สรุป :พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เรียก 𝐸 𝑝 ว่า พลังงานศักย์ยืดหยุ่น ( elastic potential energy ) 𝑊12 = − 𝐸 𝑝𝑠2 − 𝐸 𝑝𝑠1 = −∆𝐸 𝑝𝑠
  • 33. มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1 เมตร กับ มวล B ขนาด 5 กิโลกรัมอยู่สูงจากพื้นโลก 1.5 เมตร อัตราส่วนของพลังงานศักย์ของ A ต่อ B เป็นเท่า ไร ตัวอย่าง 10 kg 1เมตร 5 kg 1.5เมตร
  • 34. สปริงตัวหนึ่งมีความยาวปกติ 1 เมตร และมีค่า นิจสปริง 100 นิวตันต่อ เมตร ต่อมาถูกแรงกระทา แล้วทาให้ยืดออกและมีความยาวเปลี่ยนเป็น 1.2 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นขณะที่ถูกแรงนี้กระทามีค่า กี่จูล ตัวอย่าง 1 เมตร 1.2 เมตร k = 100 นิวตันต่อ
  • 35. พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) o พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น มีหน่วย เป็น จูล (J) o พลังงานจลน์ของวัตถุมวล m อัตราเร็ว v คือ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 𝑑 𝐸 𝑘𝑓 = 1 2 𝑚𝑣2 𝐸 𝑘𝑖 = 1 2 𝑚𝑣0 2 ∆𝐸 𝑘= 1 2 𝑚𝑣2 − 1 2 𝑚𝑣0 2 Initial Final
  • 36. พิจารณาวัตถุมวล 𝑚 เคลื่อนที่ใน 3 มิติจาก 𝑎 ไป 𝑏 𝑥 𝑦 𝑧 𝑎 𝑏 𝑟 𝑚 𝐹 0 พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
  • 37. งานลัพธ์ของแรงลัพธ์ 𝐹 จาก 𝑎 ไป 𝑏 คือ ดังนั้น 𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎 𝑏 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 = 𝑎 𝑏 𝑚 𝑑 𝑣 𝑑𝑡 ∙ 𝑣𝑑𝑡 จาก 𝑑 𝑑𝑡 𝑣 ∙ 𝑣 = 𝑣 ∙ 𝑑𝑣 𝑑𝑡 + 𝑑𝑣 𝑑𝑡 ∙ 𝑣 = 2 𝑣 ∙ 𝑑𝑣 𝑑𝑡 𝑣 ∙ 𝑑 𝑣 𝑑𝑡 = 1 2 𝑑 𝑑𝑡 𝑣 ∙ 𝑣 = 1 2 𝑑 𝑑𝑡 𝑣2 พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
  • 38. ได้ว่า เรียกสมการดังกล่าวว่า ทฤษฎีบทงาน-พลังงาน โดยที่ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 เรียกว่า พลังงานจลน์ ( kinetic energy ) 𝑊𝑎→𝑏 = 𝑎 𝑏 𝑚 2 𝑑 𝑑𝑡 𝑣2 𝑑𝑡 = 𝑚 2 𝑎 𝑏 𝑑 𝑣2 = 𝑚 2 𝑣 𝑏 2 − 𝑚 2 𝑣 𝑎 2 𝑊𝑎→𝑏 = ∆𝐸 𝑘 พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
  • 39. ให้พลังงานที่จะทาให้รถที่มีมวล 1,000 กิโลกรัม จากหยุดนิ่งมี ความเร็วเป็น 30 เมตรต่อวินาที สมมติว่าไม่มีแรงเสียดทาน และการ เคลื่อนที่อยู่ในแนวราบ ตัวอย่าง Initial Final 𝑣0 = 0 𝑣 = 30 𝑚/𝑠
  • 40. กฎการอนุรักษ์พลังงาน ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด นั่นคือไม่มีงานเนื่องจากแรงเกิดขึ้นเมื่อไม่มี งาน ก็ไม่มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออกนอกระบบ แสดงว่าพลังงาน รวมของระบบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ∆𝐸 = 0 หรือ ถ้าเราเปรียบเทียบสภาวะของระบบที่ตาแหน่ง Initial กับ Final จะได้ 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙
  • 41. กฎการอนุรักษ์พลังงาน ในกรณีที่ระบบเป็นระบบปิ ด ∆𝐸 = 0 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙หรือ นี่ คือ กฎการอนุรักษ์พลังงาน (Law of Conservation of Energy) ซึ่งบอกว่า “พลังงาน ไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยน รูปจากพลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น” เปลี่ยนรูปอย่างไร ?
  • 42. กฎการอนุรักษ์พลังงาน : ระบบปิ ด (ไม่มีแรงต้านอากาศ) 𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 2. พลังงานจลน์ 1. พลังงานศักย์ 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 ระดับอ้างอิง 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 1 2 3 4 5
  • 43. กฎการอนุรักษ์พลังงาน คาว่าระบบเปิด คือ มีการถ่ายเทพลังงานเข้าหรือออก ซึ่งก็หมายความว่า มีการได้ งาน(หรือเสียงาน) เกิดขึ้นนั่นเองสิ่งที่ต่างกันออกไปก็คือ พลังงานจะเปลี่ยนแปลงโดย ปริมาณที่เปลี่ยนไปก็คือ งานที่ได้(งานเป็นบวก) หรือ เสียงานไป(งานเป็นลบ) นั่นเอง “พลังงานไม่มีการสูญหาย หรือ สร้างขึ้นมาใหม่ได้ มันเพียงแต่เปลี่ยนรูปจาก พลังงานแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่งเท่านั้น” แล้วถ้าระบบไม่ปิ ด (ระบบเปิ ด) จะเกิดอะไรขึน? ∆𝐸 = 𝑊 𝑊 = 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 − 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 ใช้ได้ทุกกรณี นั่นคือถ้าไม่มีงานใดๆ (w=0) พลังงานมีค่าคงที่ หรือ
  • 44. กฎการอนุรักษ์พลังงาน : ระบบเปิ ด (มีแรงต้านอากาศ) 𝐸 𝑃 = 𝑚𝑔ℎ 𝐸 𝑘 = 1 2 𝑚𝑣2 2. พลังงานจลน์ 1. พลังงานศักย์ 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 ระดับอ้างอิง 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 𝐸 𝑃 𝐸 𝑘 1 2 3 4 5 3.งานของแรง ต้านอากาศ 𝑊𝑎 𝑊𝑎 𝑊𝑎 𝑊𝑎 𝑊𝑎
  • 45. ปล่อยวัตถุมวล 3.0 กิโลกรัม จากที่สูง 2 เมตร ลงมากระทบกับสปริงซึ่ง มีค่าคงตัวสปริง เท่ากับ 120 นิวตันต่อเมตร โดยไม่เด้ง สปริงจะถูกกดลง เป็นระยะทางมากที่สุดกี่เมตร ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 2m 3 kg k=120n/m
  • 46. วัตถุมวล 1.0 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงด้วยความเร็ว 2.0 เมตรต่อวินาที วิ่งเข้าชนสปริงดังรูป ปรากฏว่าวัตถุหยุดชั่วขณะเมื่อ สปริงหดสั้นกว่าเดิม 0.05 เมตร ตัวอย่าง 0.05 m 1 kg v = 2 m/s1 kg ก. พลังงานศักย์ของสปริง เมื่อหดสั้นสุดเป็นเท่าใด ข. ณ. ตาแหน่งที่วัตถุหยุดนั้นสปริงผลักวัตถุด้วยแรงเท่าใด
  • 47. ยิงลูกปืนมวล 10 กรัม เข้าไปในเนื้อไม้ด้วยอัตราเร็ว 300 เมตรต่อวินาที ลูกปืนหยุดนิ่ง หลังจากที่เข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะทาง 5 เซนติเมตร จงหา แรงเฉลี่ยที่ลูกปืนกระทาต่อแท่งไม้ในหน่วยนิวตัน ตัวอย่าง u = 300 m/s 5 cm
  • 48. จากรูป แผ่นเลื่อนที่มีมวล 20 กิโลกรัม อยู่บนเนินเขาเริ่มที่จะเลื่อนลง เขา ถามว่าจะเลื่อนไปได้เร็วเท่าไรเมื่อถึงตีนเขา ถ้าเขานี้สูง 100 เมตร และเราไม่คานึงถึงแรงเสียดทาน ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 100เมตร m = 20 กิโลกรัม
  • 49. ถ้าแผ่นเลื่อนมีความเร็ว 30 เมตรต่อวินาที จากตีนเขา ถามว่ามีพลังงาน ความร้อนเกิดขึ้นเท่าไร เนื่องมาจากความเสียดทานในขณะที่เคลื่อนที่ลง ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 𝐸𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙 𝐸𝑓𝑖𝑛𝑎𝑙 100เมตร m = 20 กิโลกรัม v = 30 เมตรต่อวินาที
  • 50. จากรูปมวล m อยู่ที่ตาแหน่ง A เริ่มไถลลงตามทางลาดลื่นด้วย อัตราเร็วต้น u อยากทราบว่ามวล m จะสามารถไถลขึ้นไปตามทาง เอียง BC ได้สูงสุดในแนวดิ่งเท่าไร ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง h A B C u
  • 51. กาลัง (Power) กาลัง (Power) คือ อัตราการทางาน หรืองานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา หน่วย J/s (จูลต่อวินาที) หรือ W (วัตต์) 𝑃 = 𝑑𝑊 𝑑𝑡 𝑑𝑊 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟เนื่องจาก 𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑑 𝑟 𝑑𝑡 𝑣 = 𝑑 𝑟 𝑑𝑡 และ 𝑃 = 𝐹 ∙ 𝑣 1 กาลังม้า (horsepower : hp) = 746 วัตต์
  • 52. กาลัง (Power) ให้คนปกติ และคนไข้ วิ่งขึ้นบันได แล้วจับเวลาเปรียบเทียบกัน กาลังมนุษย์ = นาหนัก (N) x ความสูงของห้องคนไข้ (m) เวลาทังหมด (s) o จะเห็นได้ว่า คนปกติจะใช้เวลาน้อยกว่า แสดงว่า ได้กาลังงานสูงกว่า “Ergometer” เป็นเครื่องวัดกาลังงานของคน ประกอบไป ด้วยล้อจักรยานที่จอดนิ่งอยู่กับที่ และต่อกับไดนาโมหรือสเกล “Ergon” คือ งาน และ “Metron” คือ การวัต
  • 53. กาลัง (Power) กาลัง (Power : P) = ปริมาณของานที่ทา หรือ ใช้ (Work : W) หนึ่งหน่วยเวลา (Time : t) o หน่วยของกาลังคือ จูลต่อวินาที (Joule/second : J/s) ซึ่งมีชื่อเฉพาะว่า วัตต์ (Watt : W) กาลัง (Power) คือ ปริมาณของานที่ทา(หรือใช้) ต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือ อัตราการใช้พลังงาน อีกหน่วยหนึ่งที่ยังใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ กาลังม้า (Horse Power : hp) หรือ แรงม้า สามารถเขียนในหน่วย SI ได้ดังนี 1 hp คือ 746 W เจมส์ วัตต์ วิศวกรและนักประดิษฐ์ ชาว สกอตแลนด์ ผู้ปรับปรุงเครื่องจักรไอน้า
  • 54. 12 แรงม้า กาลัง (Power) 𝑃 = 𝑑𝑊 𝑑𝑡 400 แรงม้า รถคันไหนจะถึงเส้นชัยก่อนกัน? o เนื่องจากกาลังขึ้นอยู่กับทั้งปริมาณงาน(W) และ เวลา(t) ดังนั้นวัตถุที่มีกาลัง มากจะทางานได้มากกว่าวัตถุที่มีกาลังน้อยในเวลาที่เท่ากัน
  • 55. ก. ให้คานวณหากาลังที่ใช้ในการเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที โดยที่มวลของชายคนดังกล่าว 60 กิโลกรัม ข. ในกรณีเดียวกัน แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที ตัวอย่าง ระดับอ้างอิง 2เมตร m = 60 กิโลกรัม การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
  • 56. ประสิทธิภาพการทางาน o พลังงานจานวนมากมักจะสูญเสียไปเมื่อมีการทางาน o คาว่า “สูญเสีย” ไม่ได้หมายความว่าพลังงานสูญหาย แต่หมายความว่า พลังงานได้เปลี่ยนรูปไปเป็นอีกรูปหนึ่งที่เราไม่ต้องการ o หลอดไฟเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าส่วนใหญ่ให้เป็นพลังงานความร้อน แทนที่จะเป็น แสง o เครื่องยนต์เปลี่ยนพลังงานเคมีที่สะสมเป็นพลังงานความร้อนเป็นส่วนมากแทนที่ จะเป็นพลังงานที่ใช้ในการขับเคลื่อนที่เป็นประโยชน์
  • 57. ประสิทธิภาพการทางาน ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ ปริมาณที่ใช้บ่งบอกถึงความสามารถ ในการนาพลังงานที่ให้กับอุปกรณ์หนึ่งๆ ไปใช้ทางานที่เป็ นประโยชน์ 𝐸𝑓𝑓 = 𝑊𝑜𝑢𝑡 𝐸𝑖𝑛 Eff ไม่มีหน่วย !!! 𝐸𝑓𝑓(%) = 𝑊𝑜𝑢𝑡 𝐸𝑖𝑛 × 100 หรือในกรณีที่งานที่ได้อยู่ในรูปของ พลังงานเราก็คานวณได้โดย𝐸𝑓𝑓 = 𝐸 𝑜𝑢𝑡 𝐸𝑖𝑛 1 2 3
  • 58. ประสิทธิภาพการทางาน หรือถ้าเราพิจารณาภายในช่วงเวลา t หนึ่งๆ เราอาจคานวณโดย 𝐸𝑓𝑓 = 𝑊𝑜𝑢𝑡 𝑡 𝐸𝑖𝑛 𝑡 = 𝑃𝑜𝑢𝑡 𝑃𝑖𝑛 𝐸𝑓𝑓(%) = 𝑃𝑜𝑢𝑡 𝑃𝑖𝑛 × 100 1 2
  • 59. ประสิทธิภาพการทางาน จะเห็นได้ว่าประสิทธิภาพของการทางานของทุกอย่างมีค่าไม่มาก(ไม่เกิน 50%) ประสิทธิภาพ(%) การทางานของร่างกายและเครื่องกล ร่างกายขณะขี่จักรยาน 20 ร่างกายขณะว่ายนา 2 ร่างกายขณะขุดดิน 3 เครื่องจักรไอนา 17 เครื่องยนต์ 38 โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ 35 โรงไฟฟ้ าถ่านหิน 42
  • 60. ตัวอย่าง ในการเดินขึ้นบันไดประสิทธิภาพการทางานของรางกายมนุษย์คือ 20% จากตัวอย่างที่ ก) พลังงานที่ชายคนนี้ต้องการในการเดินขึ้นบันไดมีค่าเป็นเท่าไร ข) พลังงานความร้อนที่เกิดจากการเดินขึ้นบันไดมีค่าเท่าไร ค) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะเดินขึ้นบันไดมีค่า เท่าไร ง) อัตราการผลิตพลังงานความร้อนในหน่วยวัตต์ ในขณะวิ่งขึ้นบันไดมีค่า เป็นเท่าไร ระดับอ้างอิง 2เมตร m = 60 กิโลกรัม • การเดินขึ้นบันใดที่สูง 2 เมตร ในเวลา 7 วินาที • แต่ชายคนดังกล่าววิ่งขึ้นบันไดในเวลา 2 วินาที
  • 61. 𝐸𝑓𝑓 = 35% 𝐸𝑖𝑛 =? 𝑊𝑜𝑢𝑡 = 1,000 𝑀𝑊 ตัวอย่าง โรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์ที่มีประสิทธิภาพการทางาน 35% ผลิต พลังงานไฟฟ้ า 1,000 MW ให้หาอัตราการผลิตของเสียในรูปของ พลังงานความร้อนในหน่วย MW • ปริมาณพลังงานความร้อนที่ได้มาจากโรงไฟฟ้ าพลังงานนิวเคลียร์หรือโรงไฟฟ้ าธรรมดามีค่าสูงมาก