SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
1

                    การยกและการเคลื่อ นย้า ย
                                                             อุบล ยี่เฮ็ง

                    ศูนย์กู้ชีพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี
วัต ถุป ระสงค์
   • ทราบท่าในการยกและเคลื่อนย้ายที่ถูกต้อง
   • ทราบข้อบ่งชี้ในการยกและเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉิน
   • รู้จักอุปกรณ์ วิธีใช้ และเลือกใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะ
      สม
   • พิ จ ารณายกและเคลื่ อ นย้ า ยผู้ เ จ็ บ ป่ ว ยฉุ ก เฉิ น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง
      เหมาะสมกับสภาพของผู้เจ็บป่วยและเหตุการณ์
หลัก ในการยกและเคลื่อ นย้า ย
   • เราต้องปลอดภัย
   • ผู้ป่วยต้องปลอดภัย
แนวทางในการยก
   • รู้ขีดความสามารถและข้อจำากัดของตนเองและทีม
   • ประมาณนำ้าหนักผู้เจ็บป่วย
   • วางแผน และบอกเล่าแผนการในการยกให้ทีมทราบ
   • ขณะยก ยกขึ้นตรงๆ อย่าบิดตัว อย่าเอี้ยวตัวขณะยก
   • ยืนในตำาแหน่งที่สมดุล
                           การแบก (Carry)
   • ห้ามงอหลัง ห้ามเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง
   • หลังตรง อย่าเอี้ยวหลัง
   • ผู้ช่วยเหลือควรมีความสูงและแข็งแรงพอๆกับผู้เจ็บป่วย
   • ย่อเข่า งอสะโพก อย่าก้มตัว
   • ให้นำ้าหนักที่จะแบกอยู่ใกล้ตัวมากที่สุด
                     การเอื้อ มจับ ( Reaching)
   • ระวังหลังให้ตรง
   • เมื่อเอื้อมแขนเหนือหัว อย่าแอ่นหลัง
   • อย่าเบี้ยวหรือบิดตัวขณะเอื้อมมือ
   • หลีกเลี่ยงการเอื้อมมือไปข้างหน้า ไกลเกิน 15-20 นิ้ว



                      การผลัก หรือ ดัน ( Push)
   • เลือก การผลักหรือดันดีกว่าการดึงหรือลาก
    - Pushing is better than Pulling
    -    หลีกเลี่ยงการผลักหรือดันจากที่สูงกว่าศีรษะ
    -    ผลักให้แนวอยู่ระหว่างเอวและไหล่
2
-     หากนำ้าหนักอยู่ตำ่ากว่าเอว ให้ใช้ท่าคุกเข่า

                        ท่า ยกที่ถ ูก ต้อ ง




การเคลื่อ นย้า ยแบ่ง เป็น
1. เคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน (Emergency Moves
2 .เคลื่อนย้ายแบบเร่งด่วน ( Urgent Moves)
3 .เคลื่อนย้ายแบบไม่เร่งด่วน ( Non - Urgent Moves)
4. เคลื่อนย้ายขณะนำาส่ง
        เคลื่อ นย้า ยแบบฉุก เฉิน (Emergency Moves)
3
• ทำาเมื่อเหตุการณ์ไม่ปลอดภัย เช่น ไฟไหม้
• ทำาเพื่อ Save Life
4
            เคลื่อ นย้า ยแบบเร่ง ด่ว น ( Urgent Moves)
•   ทำาเมื่อมีผู้เจ็บป่วยอาการรุนแรง จำาเป็นต้องนำาตัวออกมารักษา
    พยาบาล แต่ผู้เจ็บป่วยนั้น อยู่ในที่ที่มีผู้บาดเจ็บคนอื่นขวางทาง
    อยู่
•   หรือสถานการณ์มีผู้เจ็บป่วยติดภายในรถ
•   ต้องระวังการ Save Limb
•   มักใช้อุปกรณ์ร่วมด้วย ในการเคลื่อนย้าย เช่น Spinal
    board ,KED
5
      เคลื่อ นย้า ยแบบไม่เ ร่ง ด่ว น ( Non - Urgent Moves)
  • ทำา เมื่อ ผู้เจ็บป่วยไม่ จำา เป็ นต้ อ งให้ การรั กษาพยาบาลอย่ า งเร่ ง
    ด่วน คือต้องช่วย A,B,C ก่อนเสมอ
  • มั ก ทำา การ First aid ให้ เ สร็ จ สิ้ น ก่ อ น เช่ น Splint , Stop
    Bleeding
  • แล้วจึงพิจารณาการใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม




                       เคลื่อ นย้า ยขณะนำา ส่ง
  • เตรียมพร้อมทั้งผู้ป่วยและอุปกรณ์ จัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะสม
  • ขับรถด้วยความนุ่มนวลและปลอดภัย
  • นำาส่งโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถในการรักษา




     เอกสารอ้า งอิง

     อุบล ยี่เฮ็ง. Transportation and Communication.
หนังสือประกอบการประชุมวิชาการการรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ.
โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร : บริษัท แอล ที เพรส จำากัด. 2546.
หน้า 116-129
          อุบล ยี่เฮ็ง. การยกและการเคลื่อนย้าย. เอกสารประกอบ
การบรรยายแก่ บุ ค ลากรโรงพยาบาลสงฆ์ “ การอบรมการเตรี ย ม
6
พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3
สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)
6
พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3
สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)
6
พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3
สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)

Contenu connexe

Tendances

การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 

Tendances (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 

Plus de Narenthorn EMS Center

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesNarenthorn EMS Center
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidNarenthorn EMS Center
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนNarenthorn EMS Center
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistNarenthorn EMS Center
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 

Plus de Narenthorn EMS Center (20)

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
 
CPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLSCPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLS
 
CPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLSCPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLS
 
CPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALSCPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALS
 
Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
 
CPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issuesCPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issues
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklist
 
Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010
 
ACLS 2010
ACLS 2010ACLS 2010
ACLS 2010
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
Airway workshop Reading material
Airway workshop Reading materialAirway workshop Reading material
Airway workshop Reading material
 
APHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 ExamAPHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 Exam
 
Ill appearing neonates
Ill appearing neonatesIll appearing neonates
Ill appearing neonates
 
PAROS Proposal
PAROS ProposalPAROS Proposal
PAROS Proposal
 

การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

  • 1. 1 การยกและการเคลื่อ นย้า ย อุบล ยี่เฮ็ง ศูนย์กู้ชีพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี วัต ถุป ระสงค์ • ทราบท่าในการยกและเคลื่อนย้ายที่ถูกต้อง • ทราบข้อบ่งชี้ในการยกและเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉิน • รู้จักอุปกรณ์ วิธีใช้ และเลือกใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะ สม • พิ จ ารณายกและเคลื่ อ นย้ า ยผู้ เ จ็ บ ป่ ว ยฉุ ก เฉิ น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง เหมาะสมกับสภาพของผู้เจ็บป่วยและเหตุการณ์ หลัก ในการยกและเคลื่อ นย้า ย • เราต้องปลอดภัย • ผู้ป่วยต้องปลอดภัย แนวทางในการยก • รู้ขีดความสามารถและข้อจำากัดของตนเองและทีม • ประมาณนำ้าหนักผู้เจ็บป่วย • วางแผน และบอกเล่าแผนการในการยกให้ทีมทราบ • ขณะยก ยกขึ้นตรงๆ อย่าบิดตัว อย่าเอี้ยวตัวขณะยก • ยืนในตำาแหน่งที่สมดุล การแบก (Carry) • ห้ามงอหลัง ห้ามเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง • หลังตรง อย่าเอี้ยวหลัง • ผู้ช่วยเหลือควรมีความสูงและแข็งแรงพอๆกับผู้เจ็บป่วย • ย่อเข่า งอสะโพก อย่าก้มตัว • ให้นำ้าหนักที่จะแบกอยู่ใกล้ตัวมากที่สุด การเอื้อ มจับ ( Reaching) • ระวังหลังให้ตรง • เมื่อเอื้อมแขนเหนือหัว อย่าแอ่นหลัง • อย่าเบี้ยวหรือบิดตัวขณะเอื้อมมือ • หลีกเลี่ยงการเอื้อมมือไปข้างหน้า ไกลเกิน 15-20 นิ้ว การผลัก หรือ ดัน ( Push) • เลือก การผลักหรือดันดีกว่าการดึงหรือลาก - Pushing is better than Pulling - หลีกเลี่ยงการผลักหรือดันจากที่สูงกว่าศีรษะ - ผลักให้แนวอยู่ระหว่างเอวและไหล่
  • 2. 2 - หากนำ้าหนักอยู่ตำ่ากว่าเอว ให้ใช้ท่าคุกเข่า ท่า ยกที่ถ ูก ต้อ ง การเคลื่อ นย้า ยแบ่ง เป็น 1. เคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน (Emergency Moves 2 .เคลื่อนย้ายแบบเร่งด่วน ( Urgent Moves) 3 .เคลื่อนย้ายแบบไม่เร่งด่วน ( Non - Urgent Moves) 4. เคลื่อนย้ายขณะนำาส่ง เคลื่อ นย้า ยแบบฉุก เฉิน (Emergency Moves)
  • 4. 4 เคลื่อ นย้า ยแบบเร่ง ด่ว น ( Urgent Moves) • ทำาเมื่อมีผู้เจ็บป่วยอาการรุนแรง จำาเป็นต้องนำาตัวออกมารักษา พยาบาล แต่ผู้เจ็บป่วยนั้น อยู่ในที่ที่มีผู้บาดเจ็บคนอื่นขวางทาง อยู่ • หรือสถานการณ์มีผู้เจ็บป่วยติดภายในรถ • ต้องระวังการ Save Limb • มักใช้อุปกรณ์ร่วมด้วย ในการเคลื่อนย้าย เช่น Spinal board ,KED
  • 5. 5 เคลื่อ นย้า ยแบบไม่เ ร่ง ด่ว น ( Non - Urgent Moves) • ทำา เมื่อ ผู้เจ็บป่วยไม่ จำา เป็ นต้ อ งให้ การรั กษาพยาบาลอย่ า งเร่ ง ด่วน คือต้องช่วย A,B,C ก่อนเสมอ • มั ก ทำา การ First aid ให้ เ สร็ จ สิ้ น ก่ อ น เช่ น Splint , Stop Bleeding • แล้วจึงพิจารณาการใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม เคลื่อ นย้า ยขณะนำา ส่ง • เตรียมพร้อมทั้งผู้ป่วยและอุปกรณ์ จัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะสม • ขับรถด้วยความนุ่มนวลและปลอดภัย • นำาส่งโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถในการรักษา เอกสารอ้า งอิง อุบล ยี่เฮ็ง. Transportation and Communication. หนังสือประกอบการประชุมวิชาการการรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ. โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร : บริษัท แอล ที เพรส จำากัด. 2546. หน้า 116-129 อุบล ยี่เฮ็ง. การยกและการเคลื่อนย้าย. เอกสารประกอบ การบรรยายแก่ บุ ค ลากรโรงพยาบาลสงฆ์ “ การอบรมการเตรี ย ม
  • 6. 6 พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3 สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)
  • 7. 6 พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3 สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)
  • 8. 6 พร้ อ มรั บ สถานการณ์ อุ บั ติ ภั ย หมู ” . โรงพยาบาลสงฆ์ . วั น ที่ 2-3 สิงหาคม 2553. (อัดสำาเนา)