SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  267
โดย
รศ. ณรงค์ ใจหาญ

1
หัวข้อศึกษา
หลักทั่วไปในการดาเนินคดีอาญา
บทบาทของเจ้ าพนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้ อง
ขั้นตอนการดาเนินคดีอาญา
ผู้มีอานาจฟ้ อง
เขตอานาจศาล
2
การฟ้ องคดี

การขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์
การถอนฟ้ อง

สิทธินาคดีอาญามาฟ้ องระงับ
การฟ้ องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
3
การจากัดเสรีภาพของบุคคล
หมายเรียก
หมายอาญา
จับ
ควบคุม
ขัง

4
 การร้ องขอให้ ปล่อยกรณีคุมขังโดยมิชอบ
 การปล่อยชั่วคราว
 การค้ น
 ค้ นตัวบุคคล
 ค้ นสถานที่
 ค้ นกรณีพิเศษ
 ค้ นบุคคลเพื่อตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์

5
 การสอบสวนสามัญ

 การชันสูตรพลิกศพ
 การอุทธรณ์

 การฎีกา
 การบังคับโทษ
 ค่าธรรมเนียม
 การอภัยโทษ
6
บทบาทของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
 กฎหมายวิธพิจารณาความอาญา เป็ นกฎหมายที่กาหนด
ี

กระบวนการเพื่อทาให้ รัฐสามารถค้ นหาความจริง และทาให้
สามารถบังคับกฎหมายอาญาได้
 กระบวนการที่กาหนดไว้ ในกฎหมายวิธพิจารณาความอาญา จึง
ี
เป็ นกระบวนการที่ให้ ความสมดุลระหว่างหลักประกันสิทธิของ
ประชาชนและการใช้ อานาจรัฐในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
ในการหาความจริงและได้ ตัวผู้กระทาความผิดมาลงโทษ
7
หลักในการดาเนิ นคดีอาญา

1. ระบบไต่สวน กับ ระบบกล่าวหา
2. หลัก Due process กับ
Crime Control
8
ระบบไต่สวน เป็ นระบบที่เดิมไม่แยก
หน้ าที่สอบสวนฟ้ องร้ องและพิจารณา
พิพากษาออกจากกัน และจาเลยไม่มีสทธิ
ิ
ในการแก้ ตัว
มีใช้ ในยุโรปตั้งแต่สมัยกลาง

9
ระบบกล่าวหา เป็ นระบบที่ให้ สทธิในการ
ิ

ต่อสู้คดีของจาเลย ศาลเป็ นคนกลาง และ
คู่ความนาพยานมาเสนอ โดยศาลหรือ
ลูกขุนเป็ นผู้ช้ ีขาด
มีใช้ ในอังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา

10
ระบบไต่สวน

ระบบกล่าวหา

 ศาลเป็ นหลักในการชี้ขาดตัดสิน
 ศาลไม่ผูกพันว่าจะต้ องพิจารณา

 คู่ความเป็ นหลักในการนาเสนอ

ข้ อเท็จจริงตามที่คู่ความนาเสนอ
 ไม่แยกหน้ าที่สอบสวนฟ้ องร้ อง
กับชี้ขาดตัดสิน
 คู่ความมีอานาจในการนาเสนอ
ข้ อเท็จจริงเท่าที่ศาลอนุญาต

ข้ อเท็จจริง
 ศาลต้ องผูกพันที่จะวินิจฉัย
ข้ อเท็จจริงเฉพาะที่คู่ความ
นาเสนอ
 คู่ความมีความเท่าเทียมกันใน
การนาเสนอหลักฐาน
 แยกหน้ าที่สอบสวนออกจาก
หน้ าที่ช้ ีขาดตัดสิน
11
หลัก Crime Control
 มีใช้ ในระบบกฎหมายยุโรป
 ซึ่งมุ่งเน้ นการควบคุมอาชญากรรมเป็ นหลัก
 หากมีความจาเป็ นต้ องก้ าวล่วงเพื่อจากัดเสรีภาพของประชาชน ก็

สามารถกระทาได้ ภายใต้ การตรวจสอบขององค์กรภายนอก เช่น ศาล
เป็ นต้ น
 ดังนั้นกระบวนการนี้ ให้ ความคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพแก่ประชาชน
เป็ นลาดับรองจากเหตุผลในการสร้ างประสิทธิภาพในการป้ องกันและ
ปราบปรามอาชญากรรม
12
Due Process
 ใช้ ในสหรัฐอเมริกา
 เน้ นการให้ หลักประกันสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเป็ นหลัก
 ดังนั้น หากมีการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน แม้ จะกระทาเพื่อให้

ได้ มาซึ่งพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีหรือเพื่อให้ ได้ มาซึ่งตัวบุคคล
ศาลจะไม่อนุญาตให้ กระทา
 เพราะเห็นว่าสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเป็ นสิ่งที่ต้องให้ การปกป้ อง
และศาลจะไม่ยอมให้ มีการละเมิดโดยอาเภอใจ 13และหากปล่อยให้ เจ้ า
พนักงานกระทา เท่ากับเป็ นการยอมรับผลของการกระทาที่ฝ่าฝื น
กฎหมาย

13
ข้อเปรียบเทียบ
Crime Control

Due Process

 ค้ นหาความจริงและการพิสจน์
ู
ความผิด

 เน้ นการตรวจสอบในระหว่างการ

 ให้ ความสาคัญของสิทธิผ้ ูเสียหาย
 หากจาเป็ นเพื่อการสืบสวน สอบสวน
และป้ องกันอาชญากรรม ขยาย

อานาจตารวจได้
 กฎหมายต้ องไม่จากัดการป้ องกัน
อาชญากรรม

ดาเนินกระบวนพิจารณา และความ
เป็ นธรรม
 ให้ หลักประกันของผู้ถูกกล่าวหา
 อานาจตารวจมีอย่างจากัด
 กฎหมายมีไว้ เพื่อควบคุมการใช้
อานาจที่ก้าวล่วงสิทธิของประชาชน
14
Crime Control

Due Proces

 ทุกขั้นตอนต้ องมีระเบียบ

 ทุกขั้นตอนของกระบวนการ

เพื่อให้ อานาจเจ้ าพนักงาน
ยุติธรรมต้ องมีหลักประกัน
ปฏิบัติงานได้ อย่างมี
สิทธิและเสรีภาพ
ประสิทธิภาพ
 ได้ รับการสันนิษฐานว่า
 เมื่อฟ้ องแล้ ว ถือว่าน่าจะเป็ น
บริสทธิ์จนกว่าจะมีคา
ุ
ผู้ผดเพราะมีกระบวนการ
ิ
พิพากษาถึงที่สดว่าผิด
ุ
ตรวจสอบที่เข้ มงวด
15
การดาเนิ นคดีอาญา
การดาเนินคดีอาญาโดยประชาชน ( popular

prosecution)
ประชาชนมีอานาจในการดาเนินคดีอาญา ใช้ ในอังกฤษ
การดาเนินคดีอาญาโดยรัฐ (public
prosecution)
รัฐมีหน้ าที่ในการดาเนินคดีอาญา ใช้ ในยุโรป
16
หลักการดาเนิ นคดีอาญา
 การดาเนินคดีอาญาตามกฎหมาย (legality

principle)
 เมื่อมีหลักฐานในการดาเนินคดีท่มีมูลแล้ วต้ องดาเนินคดีเพราะ
ี
เป็ นหน้ าที่ของเจ้ าพนักงานที่จะนาตัวผู้กระทาผิดมาลงโทษ
 การดาเนินคดีอาญาตามดุลพินิจ (opportunity
principle)
 แม้ จะมีหลักฐานว่าผู้น้นกระทาความผิด รัฐอาจไม่ดาเนินคดี
ั
เพราะเหตุผลของการไม่เป็ นประโยชน์ หรือประโยชน์สาธารณะ
17
หลักการค้นหาความจริง
 การค้ นหาความจริงตามรูปแบบ
 ศาลอาจยอมรับพยานที่คู่ความตกลงกันแล้ วได้ โดยไม่ต้อง

ตรวจสอบ
 การค้ นหาความจริงตามเนื้อหา
 คดีอาญา โดยศาลต้ องค้ นหาความจริงด้ วยตัวของศาลเอง โดย
ไม่จากัดว่าเป็ นพยานของฝ่ ายใด และศาลเป็ นผู้ซักถามพยานนั้น
18
หลักฟั งความทุกฝ่ าย
หมายความว่าในกระบวนการค้ นหาความจริงในทุกขั้นตอน
โดยเฉพาะในชั้นอัยการ และศาล
ต้ องรับฟังข้ อมูลที่ได้ จากทั้งสองฝ่ าย โดยทั้งผู้กล่าวหา
และผู้ถูกกล่าวหา
ซึ่งแตกต่างจากแบบเดิมที่เน้ นการซักฟอกจากตัวผู้ถูก
กล่าวหา
19
หลักวาจา
การพิจารณาคดีในศาล ต้ องเบิกความด้ วยวาจาต่อ

หน้ าศาล
ข้ อเท็จจริงที่อยู่ในเอกสารต้ องมาเบิกความประกอบ
ทั้งนี้เพื่อให้ ศาลสามารถตรวจสอบความจริงได้ โดย
อาศัยจิตวิทยาพยาน
และคู่ความมีสทธิตรวจสอบ
ิ
20
หลักพยานโดยตรง
ใกล้ เคียงกับหลักวาจา
การสืบพยานเป็ นหน้ าที่ของศาล จะไม่อาจมอบหมายให้

ผู้อ่นปฏิบัติหน้ าที่ได้
ื
เพื่อที่จะตรวจสอบพยานหลักฐานด้ วยตนเองจึงจะพิสจน์
ู
ความจริงได้

21
หลักเปิ ดเผย
การพิจารณาของศาลต้ องทาโดยเปิ ดเผย
เปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้ าฟังการพิจารณา
ถือเป็ นการทาให้ เกิดความโปร่งใสในการพิจารณาและให้

ความเป็ นธรรมแก่ผ้ ูถูกกล่าวหา
ข้ อยกเว้ น
พิจารณาลับ
22
หลักอิสระในการชังน้ าหนักพยานหลักฐาน
่
ศาลมีดุลพินิจเต็มที่ในการวินิจฉัยว่า
พยานหลักฐานที่นาเสนอนี้มีความน่าเชื่อ
เพียงใด
จึงไม่มีกฎหมายกาหนดว่า พยานหลักฐานใดที่
มีความน่าเชื่อกว่ากัน
23
หลักยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จาเลย
หลักที่ยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้ จาเลยเป็ นหลักที่

ป้ องกันมิให้ รัฐลงโทษผู้กระทาผิดโดยอาศัยหลักฐานที่ยัง
ไม่ชัดแจ้ งว่าเป็ นผู้กระทาผิด
จึงมีหลักในทางอาญาว่า
Proof beyond reasonable doubt
แต่ในทางแพ่งใช้ หลักความน่าเชื่อ
24
เอกสิทธิที่จะไม่ให้การเป็ นปฏิปักษ์กบตนเอง
ั
The Privilege against self-

incrimination
สิทธิท่จะไม่ถูกบังคับเพื่อให้ การเป็ นปฏิปักษ์กบตนเอง
ี
ั
คอมมอนลอว์ ใช้ กบผู้ถูกกล่าวหา พยานและครอบครัว
ั
ซิวิลลอว์ ใช้ กบพยาน
ั
25
หลักฟ้ องซ้า
Ne bis in Idem
การกระทาความผิดครั้งเดียว ผู้น้นไม่ควรต้ อง
ั
เดือดร้ อนซาสอง
้
คุ้มครองผู้ต้องหาและจาเลย
26
หลักการดาเนิ นคดีของไทย
ผู้เสียหายฟ้ องคดีอาญาได้
ผู้เสียหายในความผิดต่อส่วนตัว มีส่วนในการเริ่มคดีและ

ระงับคดี
ตารวจมีบทบาทในการสอบสวน
พนักงานอัยการมีบทบาทในการสั่งคดีแต่ไม่มีอานาจ
สอบสวนคดีท่วไปยกเว้ นมีกฎหมายกาหนดไว้ เป็ นพิเศษ
ั
27
ขั้นตอนการการดาเนิ นกระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา
ก่อนฟ้ องคดี
ร้ องทุกข์ กล่าวโทษ
สืบสวน
สอบสวน
สั่งคดี
28
หลังฟ้ องคดี

ตรวจคาฟ้ อง
ไต่สวนมูลฟ้ อง
29
นัดตรวจพยานหลักฐาน

สืบพยาน
พิพากษาคดี
อุทธรณ์ ฎีกา
30
หลังจากศาลมีคาพิพากษาถึงที่สด
ุ
บังคับโทษ
ประหารชีวิต
จาคุก
ปรับ

ริบทรัพย์

31
หลักการดาเนิ นกระบวนพิจารณาในชั้นก่อนฟ้ อง

ผู้เสียหายมีสทธิฟ้องคดีและร้ องทุกข์ต่อ
ิ

เจ้ าพนักงานเพื่อให้ ดาเนินคดีแก่ผ้ ูกระทา
ความผิดได้
ฝรั่งเศส เยอรมัน ไม่เปิ ดโอกาสให้ ฟ้อง
ส่วนอังกฤษ ให้ ประชาชนสามารถฟ้ องได้
32
ในคดีความผิดต่อส่วนตัว (ความผิดอันยอม

ความได้ ) การเริ่มคดีและยุติคดีข้ ึนอยู่กบ
ั
ความประสงค์ของผู้เสียหายเป็ นสาคัญ แต่ถ้า
เป็ นความผิดที่ไม่อาจยอมความได้ แม้
ผู้เสียหายไม่แจ้ งความหรือถอนคาฟ้ อง ไม่ตัด
สิทธิพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการที่จะ
ดาเนินคดีต่อไป

33
ในคดีอาญามีความจาเป็ นต้ องได้ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ

ความผิดจึงต้ องมีพยานรู้เห็นเหตุการณ์มานาสืบ
ประกอบกับพยานหลักฐานอื่นหากไม่มี ก็อาจไม่
สามารถลงโทษจาเลยได้ เพราะหลักที่ว่า ศาลต้ อง
แน่ใจว่าผู้น้นกระทาความผิด จึงจะลงโทษได้ และ
ั
โจทก์ต้องพิสจน์ว่าจาเลยเป็ นผู้กระทาความผิด
ู

34
การให้ ความคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกจับ

ผู้ต้องหา และประชาชนโดยทั่วไปจากการใช้
อานาจเกินขอบเขตของเจ้ าพนักงาน
จับไม่ได้ ถ้าไม่มีหมายจับจากศาล เว้ นแต่จะ
เข้ าเหตุจับโดยไม่มีหมายหรือเป็ นการกระทา
ความผิดซึ่งหน้ า ตามมาตรา 78

35
หลักในการดาเนิ นคดีในชั้นพิจารณา
จาเลยมีสทธิต้งทนายความ ถ้ าไม่มีศาล
ิ ั
ต้ องตั้งให้ ม. 173
จาเลยมีสทธิฟังการพิจารณาและต่อสู้คดี
ิ
ได้ เต็มที่
36
การพิจารณาคดีต่อกระทาโดย

เปิ ดเผย ต่อเนื่องและเป็ นธรรม
พิจารณาลับ เป็ นข้ อยกเว้ น เพราะ
เหตุความสงบเรียบร้ อยหรือศีลธรรม
อันดีของประชาชน
37
การพิจารณาคดีต้องทาโดยองค์คณะ

และหากไม่ได้ น่ังพิจารณาจะพิพากษา
ตัดสินไม่ได้
ห้ ามดาเนินคดีซา (ฟ้ องซา ดาเนิน
้
้
กระบวนพิจารณาคดีซา ฟ้ องซ้ อน)
้
38
การพิจารณาคดีใช้ หลักพยานโดยตรง ต้ องเป็ น

พยานที่ร้ เห็นเหตุการณ์ และต้ องเป็ นพยานที่
ู
ได้ มาโดยชอบ
ถ้ าเป็ นคดีแพ่งอาจเป็ นการตกลงในข้ อเท็จจริง
โดยไม่สบพยานได้
ื
มีข้อห้ ามมิให้ รับฟังพยานหลักฐานที่เกิดและ
ได้ มาโดยมิชอบ ตามมาตรา 226, 226/1

39
คาพิพากษาต้ องให้ ให้ เหตุผล
คู่ความมีสทธิโต้ แย้ งได้ ท้งข้ อเท็จจริงและ
ิ
ั

ข้ อกฎหมาย เว้ นแต่จะมีกฎหมายห้ าม
การพิจารณาในศาลสูง อาจไม่ได้ สบพยาน
ื
แต่ถ้าสืบต้ องเปิ ดเผย

40
หากมีข้อผิดพลาดในกระบวนพิจารณา ถ้ าอยู่ในศาล

สูง ศาลสูงเพิกถอนแล้ วให้ พิจารณาพิพากษาใหม่
ตามรูปคดี
แต่ถ้าเป็ นข้ อผิดพลาดหลังจากที่มีคาพิพากษาถึง
ที่สดแล้ ว ต้ องใช้ การรื้อฟื้ นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่
ุ
ตามพระราชบัญญัติร้ ือฟื้ นคดีอาญาขึ้นมาพิจารณา
ใหม่ พ.ศ. 2526

41
กรณีท่จาเลยได้ รับความเสียหายจากกระบวน
ี

พิจารณาที่ผดพลาด แต่ศาลสูงยกฟ้ อง
ิ
ความเสียหายที่จะได้ รับชดเชย ต้ องเป็ นไปตาม
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่า
ทดแทนและค่าใช้ จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ.
2544 ซึ่งต้ องเป็ นกรณีท่จาเลยไม่ได้ กระทาความผิด
ี
แต่ถูกคุมขังในระหว่างพิจารณา

42
ผูมีอานาจฟ้ อง
้
กฎหมายไทย มี สองประเภท
ฟ้ องโดยรัฐ ได้ แก่ พนักงาน

อัยการ
ฟ้ องโดย ผู้เสียหาย
43
เงื่อนไขการฟ้ องคดี
พนักงานอัยการ จะฟ้ องได้ ต้ องมี

การสอบสวนในข้ อหานั้นก่อน
ผู้เสียหาย ไม่กาหนดเงื่อนไขก่อนฟ้ อง
แต่ต้องเป็ นผู้ได้ รับความเสียหายจาก
ความผิดฐานนั้น
44
ผูเ้ สียหาย
ผู้เสียหาย มี สองประเภท

ผู้เสียหายที่แท้ จริง
ผู้มีอานาจจัดการแทน
ตาม มาตรา 4 วรรคสอง มาตรา 5 และมาตรา 6
กรณีอ่น ๆ
ื
45
ผูเ้ สียหายที่แท้จริง
1. มีความผิดอาญาเกิดขึ้น

2. ผู้น้ันได้ รับความเสียหายจาก

ความผิดฐานนั้น
3. เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัย
46
ได้รบความเสียหายจากความผิดฐานนั้น
ั
พิจารณาจาก การที่ผ้ ูน้ันเสื่อมสิทธิในทางแพ่งจาก

การกระทาความผิดฐานนั้น (แนวฎีกา)
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ เจ้ าของกรรมสิทธิ์ และผู้มี
สิทธิครอบครอง เป็ นผู้เสียหายทั้งสองกรณี
ความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค ผู้ทรงเช็คขณะ
ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน
47
ความผิดต่อรัฐ เช่นความผิดต่อเจ้ าพนักงาน

โดยหลักไม่มีผ้ ูเสียหายที่เป็ นเอกชน แต่ถ้า
ได้ รับความเสียหายพิเศษ เป็ นผู้เสียหายได้
ความผิดฐานแจ้ งความเท็จ
ความผิดฐานเบิกความเท็จ

48
ความผิดที่เอกชนไม่ใช่ผเู้ สียหาย
ความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทาง

บก พ.ศ. 2522
ความผิดตามพระราชกาหนดการกู้ยืมเงิน
อันเป็ นการฉ้ อโกงประชาชน
49
ผูเ้ สียหายโดยนิ ตินัย
ศาลฎีกาสร้ างหลักนี้ โดยอ้ างว่า ผู้ท่มาศาล
ี

ต้ องมาด้ วยมือที่สะอาด
ถ้ าผู้เสียหายมีส่วนในการ ยอม หรือก่อ
หรือมีเจตนาทุจริต ทาให้ มีการกระทา
ความผิด ศาลไม่ถอว่าเป็ นผู้เสียหาย
ื
50
ผูมีอานาจจัดการแทนผูเ้ สียหาย
้

ม. 4 วรรคสอง สามีจัดการแทน

ภริยาได้ ถ้ าได้ รับอนุญาตโดยชัดแจ้ ง
วิธการอนุญาตไม่กาหนดไว้ อาจทา
ี
ด้ วยวาจาก็ได้
51
มาตรา 5
1. ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล จัดการแทน
ผู้เยาว์ คนไร้ ความสามารถ
2. ผู้บุพการี ผู้สบสันดาน สามีหรือภริยา ของผู้ท่ี
ื
ถูกทาร้ ายถึงตายหรือบาดเจ็บจนไม่สามารถ
จัดการเองได้
52
ม. 5
3. ผู้จัดการ

หรือผู้แทนอื่นของนิติบุคคล กรณีนิติบุคคลเป็ น
ผู้เสียหาย
กรณีตามมาตรา 5 (3) นี้ใช้ กบกรณีนิติบุคคลเป็ น
ั
ผู้เสียหาย และผู้อ่นกระทาผิดต่อนิติบุคคล
ื
ถ้ า ผู้จัดการทาผิดต่อนิติบุคคล ไม่อาจใช้ มาตรา 5 (3)
แต่ใช้ หลักมาตรา 2 (4) โดยผู้ถอหุ้นในบริษัทหรือผู้เป็ น
ื
หุ้นส่วนดาเนินคดีกบผู้จัดการในฐานะผู้เสียหายแท้ จริง
ั
53
ผูมีอานาจจัดการแทนเพราะศาลตั้ง ม. 6
้
 กรณีเข้ าตามมาตรา 5 (1) แต่ ไม่มีผ้ ูแทนโดยชอบธรรม

หรือไม่มีผ้ ูอนุบาล หรือมีแต่ทาหน้ าที่ไม่ได้ หรือมีผลประโยชน์
ขัดกัน (ตามแนวศาลฎีกา ไม่ใช้ กบกรณี มาตรา 5 (2) แล้ ว
ั
ผู้ตายไม่มีผ้ ูแทนโดยชอบธรรม)
 ญาติหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้ อง ร้ องขอให้ ต้ังตนเป็ นผู้แทน
เฉพาะคดี
 ศาลไต่สวนแล้ ว เห็นสมควรตั้งผู้ร้องหรือผู้อ่นหรือพนักงาน
ื
ปกครองเป็ นผู้แทนเฉพาะคดี
54
ผูมีอานาจจัดการแทนกรณีอื่น
้
ประมวลกฎหมายอาญา ม. 333 วรรคสอง
ผู้ตายถูกหมิ่นประมาทแล้ วตายก่อนร้ องทุกข์
บิดา มารดา บุตร ของผู้ตาย ร้ องทุกข์ได้
และให้ ถอว่าเป็ นผู้เสียหาย (จึงฟ้ องคดีได้ ด้วย)
ื
55
มาตรา 29 ผู้เสียหายที่แท้ จริง ฟ้ องคดีแล้ วตาย ระหว่าง

พิจารณา
ผู้บุพการี (ตามความเป็ นจริง) ผู้สบสันดาน(ตามความ
ื
เป็ นจริง) สามีหรือภริยา (ตามกฎหมาย)ดาเนินคดีแทน
ได้
ถ้ าบุคคลดังกล่าวไม่เข้ ามา ศาลต้ องสั่งตามรูปคดี
หากสืบครบแล้ ว พิพากษาได้ แต่ถ้าสืบไม่ครบ ยกฟ้ อง
เพราะโจทก์สบไม่สม
ื

56
 กรณีความผิดเกียวกับทรัพย์ แต่ผูเ้ ป็ นเจ้าของตายก่อนร้อง
่

ทุกข์หรือฟ้ องคดี ทายาทจะดาเนินคดีแทนได้หรือไม่

คาร้ องทุกข์ในคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ เป็ นสิทธิท่ี

เกี่ยวกับทรัพย์สน ทายาทเข้ าดาเนินการแทนได้ แต่การ
ิ
ฟ้ องคดีไม่ใช่สทธิท่เกี่ยวกับทรัพย์สนจึงไม่สามารถฟ้ อง
ิ ี
ิ
คดีได้
ฎีกาที่ 11/2518 และ ฎ. 206/2488

57
ผู้เสียหายหรือผู้มีอานาจจัดการแทน

มอบอานาจให้ ดาเนินคดีแทน
ฎีกาที่ 890/2503 (ประชุมใหญ่)
ขอบเขตที่ได้ รับ พิจารณาจากใบมอบ
อานาจ ซึ่งต่างจากผู้มีอานาจจัดการ
แทนที่มีอานาจตามมาตรา 3
58
ข้อพิจารณา
เด็กอายุเท่าใด จึงจะร้ องทุกข์ได้
อายุท่โตพอเข้ าใจสาระของการกระทาของตน (แนวฎีกา
ี

วินิจฉัยว่า ประมาณอายุ14 ปี ขึ้นไป)
ร้ องทุกข์ได้ เองไม่ต้องขอความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบ
ธรรม
แต่ถ้าฟ้ องคดีทาไม่ได้ เลย ขออนุญาตผู้แทนโดยชอบ
ธรรมก็ฟ้องเองไม่ได้ (เพราะกฎหมายคุ้ มครองผู้เยาว์)
59
ผูถกกล่าวหา
ู้
มี สองฐานะ
ผู้ต้องหา –ผู้ ท่ถูกกล่าวหาต่อเจ้ าหน้ าที่ว่าเป็ น
ี

ผู้กระทาความผิด แต่ยังไม่ถูกฟ้ อง
จาเลย ผู้ท่ถูกฟ้ องว่ากระทาผิดต่อศาล
ี
(กรณีราษฎรเป็ นโจทก์ฟ้อง จะเป็ นจาเลยต่อเมื่อ
ศาลรับฟ้ องหลังไต่สวนมูลฟ้ องมีมูลแล้ ว
60
สิทธิ
มีทนายความช่วยเหลือ/ พบปรึกษาทนายความ/มี

ทนายอยู่ดวยในระหว่างสอบสวนและพิจารณา
้
มีส่วนร่วมในการดาเนินคดี
ไม่ตองถูกบังคับเพือให้การในเรืองทีถูกกล่าวหา
้
่
่ ่
ไม่ถูกจากัดเสรีภาพโดยไม่จาเป็ น
61
ต้ องมีความสามารถในการต่อสู้คดีในระหว่าง

การดาเนินคดี จึงมีสทธิ มีล่าม
ิ
ถ้ าวิกลจริตต้ องได้ รับการงดการดาเนินคดี
จนกว่าจะหายจากวิกลจริต
มีสทธิตรวจสอบพยานที่ปรักปราตนและแก้ ตัว
ิ
ได้ หรือต่อสู้คดีได้ เต็มที่
62
อานาจพนักงานสืบสวน
มีหน้ าที่รักษาความสงบเรียบร้ อย และสืบสวนหาตัว

ผู้กระทาความผิดและรู้ว่าความผิดเกิดอย่างไร
ตารวจ มีอานาจสืบสวนทั่วราชอาณาจักร
พนักงานปกครอง มีอานาจสืบสวนเฉพาะเขตพื้นที่ท่ี
คนรับผิดชอบและภายในขอบเขตที่กฎหมายกาหนด
63
ความผิดเกิดในราชอาณาจักรหรือให้ถือว่าในฯ
คือความผิดตาม ปอ. ม. 4 วรรคแรก และ ม. 4

วรรคสอง ม.5 ม.6
ถ้ าความผิดเกิดท้ องที่เดียว ใช้ ม. 18 (1) (2)
กทม. นอก กทม.
ความผิดเกิดเกี่ยวพันกัน ใช้ ม. 19 ทุกท้ องที่ท่ี
เกี่ยวพัน มีสทธิสอบสวน
ิ
64
อานาจสอบสวน
ต้ องเป็ นพนักงานสอบสวนตามที่กฎหมาย
กาหนด
กฎหมายที่กาหนดคือ ม. 18 ม. 19 และ ม.
20
กาหนดยศ หรือระดับ และ กาหนดพื้นที่
65
พิจารณาพนักงานสอบสวน

ถ้ าเป็ นตารวจ ยศ ร.ต.ต. ขึ้นไป
ถ้ าเป็ นปกครอง ระดับสาม ขึ้นไป
ข้ อสังเกต รมต. นายกฯ ไม่เกี่ยว

66
ความผิดนอกราชอาณาจักร ปอ.ม.7,8,9
 อัยการสูงสุดหรือผู้รักษาการแทน
 พนักงานสอบสวนที่จับผู้ต้องหาหรือพบการกระทาความผิด

ระหว่างรอคาสั่ง มีอานาจสอบสวน
 พนักงานอัยการและพนักงานสอบสวนที่อยการสูงสุดมอบหมาย
ั
ให้ รับผิดชอบร่วมกัน
 พนักงานอัยการหรือพนักงานสอบสวนที่ได้ รับมอบหมายจาก
อัยการสูงสุดให้ รับผิดชอบในการสอบสวนคดีน้น
ั

67
พนักงานสอบสวนผูรบผิดชอบ
้ั
นอกราชอาณาจักร - อัยการสูงสุดหรือพนักงาน

สอบสวนหรือพนักงานอัยการที่ได้ รับมอบหมายหรือ
ได้ รับมอบหมายให้ ร่วมสอบสวนกับพนักงานสอบสวน
ผู้รับผิดชอบจากอัยการสูงสุด
ในราชอาณาจักร – หัวหน้ าพนักงานสอบสวน + ท้ องที่
ความผิดเกิด
ยกเว้ น ความจาเป็ นหรือสะดวก คือ ท้ องที่ผ้ ูต้องหามีท่อยู่
ี
หรือถูกจับ
68
ในราชอาณาจักร -หัวหน้ าพนักงานสอบสวน +

ท้ องที่เกี่ยวพันกัน+ท้ องที่จับได้ ก่อน
ถ้ าจับยังไม่ได้ แต่พบก่อนจับได้ คือ หัวหน้ า
พนักงานสอบสวน +ท้ องที่เกี่ยวพันกัน+ท้ องที่
พบก่อนได้
69
ถ้ามีขอโต้แย้งในเรื่องใครรับผิดชอบ
้
ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งระหว่างเขตในจังหวัดเดียวกัน
กทม. ส่ง ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ชี้ขาด
นอกกทม. ส่งผู้ว่าราชการจังหวัด ชี้ขาด
ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งระหว่างเขตในระหว่างจังหวัด
ส่ง อัยการสูงสุด
70
เขตศาล
ในราชอาณาจักร
เขต ความผิดเกิด เชื่อ อ้ าง จาเลยมีท่อยู่ จาเลยถูก
ี

จับ
เขตที่การสอบสวนกระทาในเขตศาล
นอกราชอาณาจักร
ศาลอาญา ศาลที่การสอบสวนกระทาในเขต
71
เขตเกี่ยวพัน

หลัก ศาลที่มีอานาจพิจารณาคดีท่มี
ี

โทษสูง
ถ้ าโทษสูงเท่ากัน ถือ ศาลที่รับฟ้ องไว้
ก่อน
72
ศาลที่รบคดีเกี่ยวพันกันไว้
ั
จะพิจารณาและพิพากษาคดีท่ฟ้องรวมกันไว้ กได
ี
็
หรือ
ถ้ าเห็นสมควร อาจสั่งให้ แยกความผิดฐานใดฐาน

หนึ่งเพื่อไปฟ้ องที่ศาลที่มีอานาจตามปกติได้ แต่ต้อง
ตกลงกับศาลนั้นก่อน
73
โอนคดี
กรณีธรรมดา ม. 23 กรณีพเศษ ม. 26
ิ
ม. 23 ศาลทีความผิดไม่ได้เกิด ไปยังศาลทีความผิด
่
่

เกิด
คู่ความขอโอนได้
ศาลทีความผิดเกิด โอนไปยังศาลทีความผิดมิได้เกิด
่
่
โจทก์ขอได้ จาเลยไม่มีสิทธิ และโจทก์ตองอ้างสะดวก
้
74
การโอนในกรณีพิเศษ
ลักษณะความผิด จานวนจาเลย ความรู้สกของ
ึ

ประชาชน หรือเหตุผลอย่างอื่น
ทาให้ อาจมีการขัดขวางการไต่สวนหรือพิจารณา
หรือน่ากลัวว่าจะเกิดความไม่สงบหรือเหตุร้าย

75
โจทก์หรือจาเลย ยื่นคาร้ องต่อประธานศาลฎีกา
ขอให้ โอนคดีไปศาลอื่น
ประธานศาลฎีกา อนุญาต ให้ โอนไปศาลใดก็ได้

ตามที่เห็นสมควร
คาสั่งเป็ นเด็ดขาด

76
การตั้งรังเกียจผูพิพากษา
้
ใช้ หลัก วิ.แพ่ง ม. 11
นอกจากนี้ ยังมีการตั้งรังเกียจ นักจิตวิทยาหรือ
นักสังคมสงเคราะห์ พนักงานอัยการ ในกรณี
เด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี จะให้ ถ้อยคาด้ วย ตาม
มาตรา 133 ทวิ ซึ่งมีเหตุต้องการคุ้มครองเด็ก
77
การฟ้ องคดีอาญา
วิธการฟ้ อง
ี

ยื่นฟ้ องโดยทาคาฟ้ อง ต่อศาล
ยื่นคาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ เมื่อมีการ

ฟ้ องของอัยการหรือผู้เสียหายแล้ ว
78
พนักงานอัยการฟ้ อง ต้ องมีการสอบสวนโดยชอบด้ วย

กฎหมายก่อน และต้ องมีตัวผู้ต้องหามาศาลพร้ อมกับคา
ฟ้ อง แต่เมื่อยื่นฟ้ องแล้ ว ศาลประทับฟ้ องได้ โดยไม่ต้อง
ไต่สวนมูลฟ้ องก่อน
ผู้เสียหายฟ้ อง ไม่ต้องมีการสอบสวน ไม่ต้องมีตัว
ผู้ต้องหามาพร้ อมฟ้ อง แต่ต้องไต่สวนมูลฟ้ องก่อน จึงจะ
ประทับฟ้ อง และเมื่อคดีมีมูล สั่งประทับฟ้ องแล้ วจึง
เรียกจาเลยมา

79
เปรียบเทียบ
การขอเข้ าเป็ นโจทก์ร่วม ต้ องทาเป็ นคาร้ อง
ก่อนศาลชั้นต้ นพิพากษา / ก่อนคดีเสร็จ
เด็ดขาด
ทุกคดี / คดีท่ไม่ใช่ความผิดต่อส่วนตัว
ี
80
การขอเข้าร่วมเป็ นโจทก์
มีได้ สองกรณี
ผู้เสียหายขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบพนักงาน
ั

อัยการ
กับพนักงานอัยการขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์
กับผู้เสียหาย
81
ผลของการเป็ นโจทก์ร่วม
มีสทธิเช่นเดียวกับโจทก์เดิม / สืบพยาน / ซักค้ าน
ิ

พยานฝ่ ายจาเลย / อุทธรณ์ / ฎีกา
ไม่มีสทธิแก้ ไขเพิ่มเติมฟ้ อง
ิ
ไม่มีสทธิถอนฟ้ อง แต่มีสทธิถอนคาร้ องขอเข้ าร่วม
ิ
ิ
เป็ นโจทก์
ถ้ าผู้เสียหายทาให้ คดีเสียหาย อัยการขอศาลให้ ส่ง
ั
ระงับได้
82
ถอนฟ้ องคดีอาญา
หลักเกณฑ์อยู่ใน ม. 35 ผลของการถอนฟ้ องอยู่ใน ม.

36 และ 39 (2) ประกอบด้ วย
ต้ องยื่นเป็ นคาร้ องขอถอนฟ้ อง
ก่อนศาลชั้นต้ นมีคาพิพากษา/ ก่อนคดีถงที่สด(คดี
ึ ุ
ส่วนตัว)
ศาลอนุญาตให้ ถอนฟ้ อง จึงจะถือว่าเป็ นการถอนฟ้ อง
83
หลักเกณฑ์ที่ศาลพิจารณาคาร้องขอถอนฟ้ อง
โดยหลักเป็ นดุลพินิจที่จะอนุญาตให้ ถอนหรือไม่กได้
็
ก่อนพิจารณาอนุญาตมีวิธการที่ต้องปฏิบติดังนี้
ี
ั
หากโจทก์ย่ นขอถอนหลังจากจาเลยยื่นคาให้ การ
ื

(มิใช่น่ง) ต้ องถามจาเลยว่าจะคัดค้ านหรือไม่ แต่ถ้า
ิ
ยื่นก่อนคาให้ การไม่ต้องถามก็ได้
84
หากจาเลยคัดค้ านการถอนฟ้ อง ศาลต้ องสั่งยกคา

ร้ อง (ไม่อนุญาตให้ ถอน)
ถ้ าจาเลยไม่ค้าน ศาลมีดุลพินิจที่จะให้ ถอนหรือไม่ก ็
ได้ (ยกเว้ นมีเหตุระงับคดีเพราะยอมความใน
ความผิดต่อส่วนตัวแล้ วมาถอน)
การถอนฟ้ องมีผลเมื่อศาลสั่งอนุญาตให้ ถอนฟ้ อง

85
ผลของการถอนฟ้ อง
หลัก ถอนฟ้ องแล้ว ห้ามนาคาฟ้ องมาฟ้ องจาเลยใหม่

อีก ยกเว้ น
ในคดีความผิดต่อแผ่นดิน พนักงานอัยการถอนฟ้ อง
ไม่ตัดสิทธิผ้ ูเสียหาย ในทางตรงกันข้ าม ผู้เสียหายถอน
ฟ้ องไม่ตัดสิทธิพนักงานอัยการที่จะฟ้ องใหม่
(การถอนไม่ตัดสิทธิโจทก์อกประเภทหนึ่ง)
ี
86
ในคดีความผิดต่อส่วนตัว (ผู้ เสียหายตัดสิทธิอยการ)
ั

พนักงานอัยการฟ้ อง แล้ วถอนฟ้ อง ถ้ าได้ รับความ
ยินยอมเป็ นหนังสือจากผู้เสียหาย ผู้เสียหายฟ้ องอีก
ไม่ได้ แต่ถ้าไม่ได้ รับความยินยอมเป็ นหนังสือ ไม่ตัด
สิทธิผ้ ูเสียหาย
ผู้เสียหายถอนฟ้ องคดีความผิดต่อส่วนตัว ตัดสิทธิ
พนักงานอัยการที่จะฟ้ องคดีน้ัน เพราะสิทธินาคดีอาญา
มาฟ้ องระงับ ตามม. 39 (2)

87
ข้อพิจารณา
1. การถอนฟ้ อง ในชั้นไต่สวนมูลฟ้ องในคดีทีราษฎร
่

เป็ นโจทก์ ซึ่งศาลยังไม่สงประทับฟ้ องนั้น จะถือเป็ น
ั่
การถอนฟ้ องหรือไม่
2. การถอนฟ้ องทียงติดใจดาเนินคดี เช่น ถอนฟ้ อง
่ ั
เพราะต้องการไปขอเข้าร่วมเป็ นโจทก์ร่วมกับ
พนักงานอัยการนั้น จะมีผลเป็ นการห้ามมิให้ฟ้อง
ใหม่ตาม มาตรา 36 หรือไม่
88
3. ผูเสียหายหลายคน คนหนึงฟ้ องแล้วถอนฟ้ องไป
้
่

ดังนี้ ผูเ้ สียหายอีกคนหนึงจะมาฟ้ องอีกได้หรือไม่
่
4. ในกรณีที่พนักงานอัยการถอนฟ้ อง พนักงาน
อัยการต้องดาเนินการตาม ม. 145 หรือไม่
5. ผูเ้ สียหายขอเข้าร่วมเป็ นโจทก์กบพนักงาน
ั
อัยการ ผูเ้ สียหายจะถอนฟ้ องของพนักงานอัยการ
ได้หรือไม่
หรือถอนคาร้องขอเข้าร่วมเป็ นโจทก์ได้หรือไม่

89
ถอนคาร้องทุกข์
ถอนต่อใคร
ต่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานฝ่ ายปกครอง

หรือตารวจที่รับคาร้ องทุกข์ ม.123, 124
ต่อศาล ถ้ าคดีอยู่ในศาลแล้ ว (แต่ไม่บังคับว่า

จะต้ องถอนที่ศาล ผู้ร้องทุกข์อาจขอถอนต่อ
พนักงานสอบสวนก็ได้
90
ถอนได้ จนถึงเมื่อใด
 ถอนได้ ในระยะใดก็ได้ ตาม ม. 126

91
ผลของการถอนคาร้ องทุกข์
คดีความผิดต่อส่วนตัว สิทธินาคดีอาญามาฟ้ อง

ระงับ ม. 39 (2)
คดีอาญาแผ่นดิน คดีอาญาไม่ระงับ และไม่ตัด
สิทธิพนักงานสอบสวนที่จะสอบสวนต่อไปและ
พนักงานอัยการที่จะฟ้ องคดี ม. 126
92
การยอมความในความผิดต่อส่วนตัว
การยอมความในคดีอาญาไม่มีแบบที่ต้องทาเป็ น

หนังสือ (ต่างจากคดีแพ่ง) ดังนั้น การยอมความที่
กระทาด้ วยวาจา ย่อมมีผลเป็ นการยอมความ
การยอมความในคดีอาญากระทาได้ ก่อนคดีถงทีสด
ึ ุ่
ม. 35
การยอมความมีผลทันทีเมื่อยอมความโดยถูกต้ อง
93
ผลของการยอมความในคดีความผิดต่อส่วนตัว คือ

สิทธินาคดีอาญามาฟ้ องระงับ ตาม ม. 39 (2) ศาล
จาหน่ายคดี / อัยการสั่งไม่ฟ้อง
ถ้ ากาหนดเงื่อนไขบังคับก่อนจึงจะถือว่าเป็ นการยอม
ความ หากเงื่อนไขไม่สาเร็จไม่เป็ นการยอมความ
เช่น ยอมความต่อเมื่อได้ รับชาระหนี้แล้ ว เป็ นต้ น
การยอมความทางอาญากับทางแพ่งแยกกัน
94
สิทธินาคดีอาญามาฟ้ องระงับ ม. 39
1. โดยความตายของผู้กระทาความผิด
2. ในคดีความผิดต่อส่วนตัวเมื่อมีการถอนคาร้ องทุกข์

ถอนฟ้ อง หรือยอมความโดยชอบด้ วยกฎหมาย
3. คดีอาญาเลิกกัน ตาม ม. 37
4. เมื่อศาลมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้
ฟ้ อง
95
5. มีกฎหมายยกเว้ นความผิด
6. คดีขาดอายุความ
7. มีกฎหมายยกเว้ นโทษ
กรณี 1 และ 2 ศาลจาหน่ายคดี ส่วนที่เหลือ
ศาลยกฟ้ อง
96
ผูกระทาความผิดตาย
้
กรณีบุคคลธรรมดา ตายเพราะสิ้ นชีวิต แต่ถาเป็ นนิติ
้

บุคคล ต้องถูกเพิกถอน
ตายหลังกระทาความผิด แต่ยงไม่ถูกศาลตัดสินลงโทษ
ั
ถ้าตายถ้าหลังศาลมีคาพิพากษาลงโทษ ต้องใช้ ม. 38
ของป.อาญา โทษเป็ นอันระงับไปด้วยความตายของ
ผูกระทาความผิด
้
ผูจะถูกจับต่อสูเ้ จ้าพนักงานแล้วถูกยิงตาย ใช้หลักอะไร
้
97
คดีอาญาเลิกกัน
กรณีแรก ตาม ม. 37 (1) ผู้ต้องหายอมชาระ

ค่าปรับอย่างสูงตามที่กฎหมายกาหนดสาหรับ
ความผิดนั้น (ในคดีท่มีโทษปรับสถานเดียว)
ี
กรณีท่สอง ตาม ม. 37 (2) เมื่อผู้ต้องหายอมชาระ
ี
ค่าปรับตามที่เจ้ าพนักงานเปรียบเทียบปรับกาหนด
ภายในเวลาที่เจ้ าพนักงานกาหนดแต่ต้องไม่เกินสิบ
ห้ าวันนับแต่วันเปรียบเทียบ
98
กระบวนการเปรียบเทียบปรับ
1. คดีท่เปรียบเทียบได้ คดีท่มีอตราโทษจาคุก
ี
ี ั
ไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ คดีท่โทษปรับสถานเดียวแต่
ี
ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือคดีท่มกฎหมาย
ี ี
พิเศษให้ เปรียบเทียบปรับได้
99
2. ผู้มีอานาจเปรียบเทียบ ได้ แก่ พนักงานสอบสวน
หรือพนักงานเจ้ าหน้ าที่ท่กฎหมายพิเศษได้
ี
กาหนดให้ มีอานาจเปรียบ หรือคณะกรรมการ
เปรียบเทียบปรับในกฎหมายพิเศษ
ข้ อสังเกต การเปรียบเทียบคดีอาญากับการปรับทาง
ปกครองมีแนวคิดเดียวกันแต่มีข้นตอนต่างกัน
ั

100
ขั้นตอนการเปรียบเทียบ
1. พนักงานสอบสวนเห็นควรไม่ตองรับโทษจาคุก
้
2. ผูเ้ สียหายและผูตองหายินยอมให้เปรียบเทียบ
้ ้

3. พนักงานสอบสวนกาหนดค่าปรับโดยเทียบกับความ

ร้ายแรงของความผิด และกาหนดวันชาระค่าปรับแต่ตอง
้
ไม่เกินสิบห้าวัน
4. ผูตองหานาเงินค่าปรับมาชาระตามกาหนด
้ ้
5. ถ้าไม่นามาชาระ ดาเนินการต่อไป (สอบสวนต่อ)
101
พนักงานสอบสวนกาหนดค่าทดแทนให้ผเู้ สียหาย
 การกาหนดค่าทดแทน คือ ค่าเสียหายในทางแพ่งทีผูเสียหาย
่ ้

ควรได้รบ จากการกระทาผิดทีถูกเปรียบเทียบ
ั
่
 พนักงานสอบสวนกาหนดค่าทดแทนให้ได้ ตามทีเห็นสมควร
่
 เมือผูตองหาชาระค่าทดแทนให้ผูเ้ สียหายแล้ว คดีแพ่งก็
่ ้ ้
ระงับไป
 การชาระค่าทดแทนไม่เกียวกับการระงับคดีทางอาญา แม้ไม่
่
ชาระค่าทดแทนแต่ชาระค่าปรับคดีอาญาระงับ
102
 คดีอาญาเลิกกัน มีอยู่ในกฎหมายอื่นด้วย ซึ่งอาจเป็ นการ

เปรียบเทียบโดยคณะกรรมการเปรียบเทียบ และคดีอาจมี
โทษจาคุกเกินหนึงเดือน หรือปรับเกินกว่าหนึงหมืนบาท
่
่ ่
 พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534
คดีระงับเพราะการใช้เงินตามเช็คครบ ไม่ใช่การชาระ
ค่าปรับตามทีเปรียบเทียบ
่
 เมือเปรียบเทียบแล้ว หากเป็ นคดีทีไม่อาจเปรียบเทียบได้
่
่
ต้องดาเนินคดีต่อไป และคืนเงินค่าปรับ

103
ฟ้ องซ้า
ม. 39 เมือมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่ง
่

ได้ฟ้อง
เป็ นแนวคิดจากหลักสิทธิมนุ ษยชน ทีว่า ผูกระทา
่ ้
ความผิดครั้งเดียวจะไม่ตองเดือดร้อนซ้ าสอง ne
้
bis in idem
หลักนี้ มีปรากฏในกรณีศาลมีคาพิพากษาแล้วแต่ก็มี
หลักในการสอบสวนด้วย ม. 147
104
องค์ประกอบของการฟ้ องซ้า
 1.

จาเลยคนเดียวกัน
2. การกระทากรรมเดียวกัน
3. ศาลมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดใน
ความผิดที่ได้ ฟ้อง
105
จาเลยคนเดียวกัน หมายถึง จาเลยทั้งคดีแรกและคดีท่ี

สองเป็ นคนเดียวกัน ดังนั้นถ้ าเป็ นจาเลยคนละคน ไม่
เข้ ากรณีน้ ี
โจทก์จะเป็ นคนเดียวกัน หรือคนละคนก็ได้ ไม่สาคัญ
กรรมเดียวกัน หมายถึง การกระทาที่นามาฟ้ องนั้น เป็ น
การกระทาเดียวกับที่ฟ้องในคาฟ้ องแรก แม้ ว่าฐาน
ความผิดจะเป็ นคนละฐานก็ตาม

106
คาพิพากษาเสร็จเด็ดขาด หมายความว่า ศาลได้

มีคาพิพากษาชี้ขาดว่าจาเลยกระทาความผิด
หรือไม่ แต่ในแนวของศาลฎีกาคาพิพากษา
ดังกล่าวไม่จาต้ องถึงที่สด (ซึ่งต่างจากคดีแพ่ง
ุ
ต้ องถึงที่สด) ดังนั้น ศาลชั้นต้ นมีคาพิพากษาก็
ุ
ถือว่าเด็ดขาด

107
กรณีใดที่ถือว่าศาลพิพากษาเสร็จเด็ดขาด
หลัก พิจารณาว่า ศาลได้ วินิจฉัยในเนื้อหา

ของการกระทาจาเลยหรือไม่ ถ้ าไม่ได้
วินิจฉัย ก็ไม่ถอว่าเด็ดขาดในความผิด
ื
เช่น ลงโทษจาเลย ถือว่าวินิจฉัยแล้ วว่า
จาเลยกระทาผิด
108
ยกฟ้ องเพราะจาเลยมีเหตุยกเว้ นโทษ

แสดงว่า จาเลยกระทาผิดแต่มีเหตุยกเว้ น
โทษ
ยกฟ้ องเพราะจาเลยมีเหตุยกเว้ นความผิด
แสดงว่าจาเลยผิดแต่การกระทาไม่ผิด
109
ยกฟ้ องเพราะคดีไม่มีมูลในชั้นไต่สวนมูลฟ้ อง
ยกฟ้ องเพราะโจทก์บรรยายฟ้ องขัดกัน
ยกฟ้ องเพราะโจทก์ไม่ระบุวัน เวลา สถานที่ในการ

กระทาความผิด
ยกฟ้ องเพราะโจทก์พิสจน์ให้ ศาลเชื่อไม่ได้ ว่าจาเลย
ู
กระทาความผิด

110
ปั ญหา
ยกฟ้ อง เพราะคดีโจทก์ขาดอายุความร้ องทุกข์ในคดี

ความผิดต่อส่วนตัว
ยกฟ้ องเพราะคดีโจทก์ขาดอายุความฟ้ องร้ อง
ยกฟ้ องเพราะโจทก์ขาดนัดพิจารณา
ยกฟ้ องเพราะโจทก์บรรยายฟ้ องว่าจาเลยกระทา
ความผิดหลังฟ้ อง
111
ยกฟ้ องเพราะโจทก์ฟ้องผิดศาล
ยกฟ้ องเพราะโจทก์ไม่ได้ ลงชื่อในฟ้ อง

หรือฟ้ องโจทก์ไม่มีผ้ ูเรียง หรือผู้พิมพ์
ฟ้ อง
ยกฟ้ องเพราะโจทก์ไม่แก้ ไขคาฟ้ อง
112
ฟ้ องซ้อน

จาเลยคนเดียวกัน การกระทากรรม

เดียวกัน โจทก์คนเดียวกันฟ้ องขณะที่
ยังมีการดาเนินคดีเดิมอยู่

113
ขอบเขตของฟ้ องซ้อนที่จะนามาใช้กบคดีอาญา
ั
อัยการฟ้ อง ผู้เสียหายฟ้ อง ไม่เป็ นฟ้ องซ้ อน
อัยการจังหวัดหนึ่งฟ้ อง อัยการอีกจังหวัดหนึ่งฟ้ อง ใน

การกระทากรรมเดียวกัน จาเลยคนเดียวกันเป็ นฟ้ องซ้ อน
ผู้เสียหายแท้ จริงฟ้ องแล้ ว ผู้มีอานาจจัดการแทน
ผู้เสียหายที่แท้ จริงฟ้ อง เป็ นฟ้ องซ้ อน
ผู้เสียหายหลายคน คนหนึ่งฟ้ อง อีกคนหนึ่งฟ้ อง ไม่เป็ น
ฟ้ องซ้ อน
114
กฎหมายยกเลิกความผิด กฎหมายยกเว้นโทษ
กฎหมายยกเลิกความผิด หมายถึง มีกฎหมายออกมา

ภายหลังกาหนดว่าการกระทานั้นไม่เป็ นความผิด
กฎหมายยกเว้ นโทษ หมายถึง มีกฎหมายออกมายกเว้ น
โทษสาหรับการกระทานั้น
กฎหมายนิรโทษกรรม เป็ นกฎหมายที่ยกเว้ นการกระทา
ของกลุ่มคนไม่ให้ เป็ นความผิด
115
คดีแพ่งเกี่ยวเนื่ องกับคดีอาญา

1. ความหมาย
2. กระบวนพิจารณาที่พิเศษกว่าคดีแพ่ง

โดยทั่วไป
3. อัยการขอทรัพย์คืนหรือราคาแทน
ผู้เสียหาย
116
4. ผู้เสียหายขอค่าเสียหายในคดีอยการ
ั

5. คาพิพากษาคดีอาญา ผูกพันศาลคดี
แพ่ง
6. อายุความฟ้ องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับ
คดีอาญา
117
ความหมาย หมายถึง คดีแพ่งที่มมูลมาจากการกระทา
ี

ความผิดอาญา
เช่น ทาร้ ายร่างกาย ทาให้ ผ้ ูเสียหายได้ รับบาดเจ็บ การ
ที่ผ้ ูเสียหายได้ รับบาดเจ็บมีมูลมาจากการกระทาผิดฐาน
ทาร้ ายร่างกาย
กระทาโดยประมาททาให้ ผ้ ูอ่นถึงแก่ความตาย การที่
ื
ทายาทมีสทธิฟ้องเรียกร้ องค่าสินไหมทดแทนเกิดมาจาก
ิ
การกระทาโดยประมาททางอาญา

118
กรณีที่ไม่มีมลมาจากการกระทาผิด
ู
การฟ้ องคดีแพ่งเพือเรียกเงินตามเช็ค เป็ นคนละกรณี
่

กับการฟ้ องคดีอาญาฐานออกเช็คไม่มีเงิน
ฟ้ องคดีแรงงาน ทีนายจ้างเลิกจ้างไม่เป็ นธรรม เพราะ
่
ไม่บอกกล่าวล่วงหน้า แต่จาเลยให้การว่าโจกท์ทุจริต
ต่อหน้าทีจึงเลิกจ้าง การทุจริตต่อหน้าที่ไม่ได้เป็ นเหตุ
่
ให้ก่อให้เกิดสิทธิทีจะไม่จ่ายค่าจ้าง จึ งไม่เกียวเนืองกัน
่
่ ่
(ฎ. 5285/2545)
119
กระบวนการพิจารณาที่พิเศษกว่าคดีแพ่งโดยทัวไป
่
ฟ้ องคดีแพ่งในศาลส่วนอาญาได้
พนักงานอัยการร้ องขอทรัพย์คืนให้ แก่ผ้ เสียหายได้
ู
ม. 43
ผู้เสียหายขอค่าเสียหายเข้ ามาในคาฟ้ องคดีอาญา
ของพนักงานอัยการได้ ม. 44/1 – 44/2
120
ข้ อเท็จจริงในคดีอาญาผูกพันคดีแพ่ง
อายุความฟ้ องคดีอาญานามาเป็ นอายุความฟ้ องคดี

แพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญาในกรณีท่ฟ้องจาเลยใน
ี
คดีอาญาให้ รับผิดค่าเสียหาย

121
ข้อที่เหมือนกับคดีแพ่งโดยทัวไป
่
การพิจารณาคดีใช้ วิธพิจารณาความแพ่ง
ี
พยานหลักฐานในคดีแพ่งสืบเพิ่มได้ หากข้ อเท็จจริง

ที่นาสืบในคดีอาญามีไม่เพียงพอ
สาระบัญญัติในส่วนแพ่งถือตาม ป.พ.พ. แม้ จาเลย
ไม่ต้องรับผิดทางอาญา
122
การฟ้ องคดี
ฟ้ องคดีแพ่งตามเขตอานาจศาลตาม ป.วิ.แพ่ง
ฟ้ องคดีแพ่งในศาลซึ่งพิจารณาคดีส่วนอาญา
ศาลอาญาซึ่งรับฟ้ องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องเมื่อรับฟ้ อง

แล้ วหากเห็นว่าการดาเนินคดีแพ่งจะทาให้ คดีอาญา
เนิ่นช้ าติดขัด ก็ส่งให้ ให้ แยกไปฟ้ องต่างหากได้
ั
123
ถ้ าพยานหลักฐานในคดีอาญาที่นาสืบแล้ วไม่พอที่จะ

ตัดสินคดีแพ่ง ศาลมีอานาจสืบพยานเพิ่มเติมได้
กรณีสบเพิ่มเติม ศาลมีอานาจพิพากษาคดีอาญาก่อนได้
ื
การวินิจฉัยความรับผิดทางแพ่งให้ ถอตาม ความรับผิด
ื
ของบุคคลทางแพ่ง การวินิจฉัยความรับผิดทางอาญา
ถือตาม ความรับผิดของบุคคลทางอาญา

124
อัยการขอคืนทรัพย์
คดี 9 คดี คือ ลัก วิ่ง ชิง ปล้ น โจรสลัด กรรโชก ฉ้ อโกง

ยักยอก รับของโจร
พนักงานอัยการฟ้ องคดีอาญาแล้ ว มีสทธิเรียกทรัพย์สน
ิ
ิ
หรือราคาที่ผ้ ูเสียหายสูญเสียไปเนื่องจากการกระทา
ความผิดคืน
ขอมาในคาฟ้ องส่วนอาญาหรือเป็ นคาร้ องภายหลังได้
125
คาพิพากษาให้ คืนหรือใช้ ราคาทรัพย์สน ตาม
ิ

มาตรา 43 ให้ ศาลพิพากษารวมเป็ นส่วนหนึ่ง
ของคาพิพากษา
เมื่อศาลพิพากษาให้ คืนแล้ ว ผู้เสียหายเป็ น
เจ้ าหนี้ตามคาพิพากษา มีสทธิขอหมายบังคับ
ิ
คดี

126
เจ้ าพนักงานยักยอก ม. 147
เจ้ าพนักงานกรรโชก ม. 148,

149
โกงเจ้ าหนี้ ฉ้ อโกงแรงงาน
127
ค่าไถ่ทรัพย์กรณีทรัพย์ถูกลักและไปขายให้ แก่ผ้ ูท่รับ
ี

ซื้อไว้
ค่าไถ่ทรัพย์กรณีเจ้ าของโรงรับจานารับจานาไว้ โดย
สุจริตและราคาไม่เกินที่กฎหมายกาหนด
ศาลสั่งให้ จาเลยไถ่ทรัพย์ท่จานาไว้ เพื่อมาให้ โจทก์
ี

128
หนังสือสัญญากู้ท่ลูกหนี้ก้ ูเจ้ าหนี้ไป จานวน
ี

50,000 บาท
ตัวจานา ซึ่งจานาไปเป็ นเงิน 2,000 บาท
๋
สลากกินแบ่งรัฐบาลที่ถูกรางวัลที่ 2 แต่ถูกลัก
ไป และนาไปขึ้นเงินแล้ ว

129
กรณี ผู้เสียหายเรียกค่าสินไหมทดแทนในคาฟ้ อง

ส่วนอาญา
เป็ นกรณีท่ผ้ ูเสียหายมีสทธิเรียกค่าทดแทนเพราะ
ี
ิ
เหตุท่ได้ รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือ
ี
ได้ รับความเสื่อมเสียเสรีภาพในร่างกาย ชื่อเสียง
หรือความเสียหายทางทรัพย์สน
ิ

130
ยื่นคาร้ องต่อศาลในคดีท่พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ ก่อน
ี

เริ่มสืบพยาน หรือก่อนศาลวินิจฉัยชี้ขาด
คาร้ องต้ องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับความเสียหายและ
จานวนค่าสินไหมทดแทน
คาร้ องที่ขอกรณีอ่นที่ไม่ใช่ค่าเสียหายไม่ได้ และต้ องไม่
ื
ขัดหรือแย้ งกับคาฟ้ องของพนักงานอัยการ และหาก
อัยการขอตาม ม. 43 แล้ วขออีกไม่ได้

131
เมื่อได้ รับคาร้ องแล้ ว ให้ ศาลแจ้ งให้ จาเลยทราบ
จาเลยมีสทธิให้ การหรือไม่ให้ การก็ได้ และให้ ศาล
ิ

บันทึกไว้
ถ้ าจาเลยประสงค์จะให้ การ ให้ ศาลกาหนดเวลาที่
จาเลยยื่นคาให้ การภายในเวลาอันสมควร

132
เมื่อพนักงานอัยการสืบพยานเสร็จ ผู้เสียหายนาพยาน

เข้ าสืบถึงค่าสินไหมทดแทนเท่าที่จาเป็ นตามที่ศาล
อนุญาต
หรือศาลอาจพิพากษาคดีอาญาไปก่อนแล้ วจึงพิจารณา
พิพากษาคดีส่วนแพ่งก็ได้
หากผู้เสียหายไม่มีทนายความเพราะยากจน ให้ ศาล
จัดหาให้ และให้ ทนายได้ เงินรางวัลและค่าใช่จ่าย ตาม
ระเบียบ

133
คาพิพากษาในส่วนการคืนทรัพย์สินและค่าเสียหาย
ราคาทรัพย์สนศาลกาหนดให้ ตามราคาอันแท้ จริง
ิ
ส่วนจานวนค่าเสียหายกาหนดให้ ตามความเสียหาย
แต่ไม่เกินคาขอ
แม้ ไม่มีการฟ้ องคดีส่วนแพ่ง เมื่อพิพากษาส่วน
อาญา ศาลสั่งให้ คืนทรัพย์สนแก่เจ้ าของได้
ิ
134
เมื่อปรากฏเจ้ าของ ให้ คืนต่อเจ้ าของ ถ้ าไม่ปรากฏ

ให้ เจ้ าพนักงานรักษาของนั้นจนกว่าจะปรากฏตัว
หากมีการโต้ แย้ งต้ องไปฟ้ องร้ องในศาลที่ม่ีอานาจ
ชาระ
คาพิพากษาที่ให้ คืนหรือใช้ ราคาทรัพย์หรือค่า
สินไหมทดแทน แก่ผ้ ูเสียหาย ให้ ถอว่าผู้เสียหายเป็ น
ื
เจ้ าหนี้ตามคาพิพากษา
135
คาพิพากษาคดีอาญาผูกพันคดีแพ่ง
1. คดีแพ่งตัดสินหลังคดีอาญา
2. คู่ความเดียวกัน
3. เหตุท่นามาฟ้ องเป็ นเหตุเดียวกัน และ
ี

เป็ นประเด็นโดยตรงในคดีอาญา
4. ศาลคดีอาญาตัดสินยุติแล้ ว(ถึงที่สด)
ุ
136
อ้ างยันได้ เฉพาะจาเลยในคดีอาญา ไม่รวมถึง

บุคคลภายนอก
คดีอาญาศาลลงโทษเพราะจาเลยประมาท คดีแพ่ง
ผู้เสียหายฟ้ องจาเลยคดีอาญาและนายจ้ าง กรณีน้ ี
นายจ้ างสามารถสืบได้ ว่าจาเลยไม่ประมาท
คดีอาญาศาลยกฟ้ องเพราะจาเลยไม่ประมาท คดีแพ่ง
ผู้เสียหายฟ้ องจาเลยและนายจ้ าง ดังนี้ นายจ้ างไม่ต้อง
รับผิดเพราะลูกจ้ างไม่ละเมิด

137
คดีอาญาศาลยกฟ้ องเพราะการร้ องทุกข์ไม่ชอบ

เพราะหนังสือมอบอานาจไม่ประทับตราห้ างฯ การ
สอบสวนไม่ชอบ อัยการไม่มีอานาจฟ้ อง คดีแพ่ง มี
ประเด็นว่าโจทก์ครอบครองที่พิพาทหรือไม่ ดังนี้
ศาลคดีอาญายังไม่ได้ วินิจฉัยว่าจาเลยทาให้ เสีย
ทรัพย์หรือไม่ ศาลคดีแพ่งไม่ต้องถือตาม (ฎ.
4377/2546)

138
อายุความ
ถ้ าไม่มีผ้ ูใดฟ้ องอาญา อายุความฟ้ องแพ่ง ถือ
ตามอายุความฟ้ องอาญา แม้ ว่าผู้เยาว์หรือผู้
วิกลจริตจะเป็ นผู้ฟ้อง (ก็ไม่ขยายออกไป)
ถ้ าฟ้ องคดีอาญาแล้ ว แต่คดียังไม่เด็ดขาด ฟ้ อง
คดีแพ่งได้ เพราะอายุความหยุดลง
139
ถ้ าฟ้ องคดีอาญาแล้ ว แต่คดีเด็ดขาดเพราะศาล

ลงโทษ อายุความฟ้ องคดีแพ่งฟ้ องได้ อกไม่เกิน
ี
สิบปี นับแต่วันที่ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สด
ุ
ถ้ าฟ้ องคดีอาญาแล้ วและคดีเด็ดขาดโดยศาลยก
ฟ้ อง อายุความเป็ นไปตามป.พ.พ.
ใช้ กบจาเลยในคดีอาญาเท่านั้น ไม่เกี่ยวกับ
ั
บุคคลภายนอกเช่นนายจ้ าง ผู้คาประกัน
้
140
การจากัดเสรีภาพของประชาชนโดยเจ้าพนักงาน
เหตุผล คือ ต้ องการให้ เจ้ าพนักงานมีอานาจใน
เข้ าถึงพยานหลักฐาน ไม่ว่าจะเป็ นพยานวัตถุ พยาน
บุคคล พยานเอกสาร และการเอาตัวผู้ต้องหาไว้ เพื่อ
สอบสวนหรือแจ้ งข้ อหา หรือป้ องกันมิให้ หนีหรือยุ่ง
กับพยานหลักฐาน จึงต้ องมีการจากัดเสรีภาพของ
ประชาชนและของผู้ถูกกล่าวหา
141
รูปแบบของการจากัดเสรีภาพ
 เสรีภาพในการเคลื่อนไหว
 หมายเรียกพยานบุคคล หมายเรียกให้ ส่งเอกสารหรือพยาน

วัตถุ
 จับ เรียกให้ หยุดเพื่อค้ น ควบคุมที่สถานีตารวจ ขังระหว่าง
พิจารณา
 เสรีภาพในการครอบครองอสังหาริมทรัพย์
 ค้ นที่รโหฐาน
142
เสรีภาพในความเป็ นส่วนตัว รวมถึงการ

ติดต่อสื่อสาร ข้ อมูลส่วนตัว
ค้ นกรณีพิเศษ ม. 105
ค้ น หรือดักฟังทางโทรศัพท์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ตรวจตัวผู้เสียหาย ตรวจตัวผู้ต้องหา
การตรวจค้ นตัวเพื่อนาไปตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์

143
หมายเรียก
หนังสือบงการเพื่อให้ มาที่สถานีตารวจหรือศาล

เพื่อให้ ถ้อยคา หรือให้ ส่งทรัพย์หรือเอกสารให้ เพื่อ
ใช้ เป็ นพยานหลักฐานในคดีอาญา
หนังสือบงการเพื่อให้ ผ้ ูต้องหาหรือจาเลยมาที่ สถานี
ตารวจหรือศาล เพื่อแจ้ งข้ อหาหรือเพื่อฟั งการ
พิจารณาคดี
144
หน้าที่ในการปฏิบติตามหมายเรียก
ั
หมายเรียกพยาน - มาตามหมาย ให้ ถ้อยคา และให้

ถ้ อยคาที่เป็ นจริง
หมายเรียกให้ ส่งทรัพย์ให้ – ส่งทรัพย์หรือเอกสารให้ ไม่
ต้ องมาก็ได้
หมายเรียกผู้ต้องหาหรือจาเลย – มาตามหมาย ตอบ
คาถามเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ แต่ไม่ต้องตอบคาถามที่เกี่ยวกับ
ที่ถูกกล่าวหา
145
ถ้าไม่ปฏิบติตามหมายเรียกโดยเจตนาขัดหมาย
ั
 หมายเรียกพยาน มีความผิดฐานขัดคาสั่งหรือขัดหมายเรียก
 หมายเรียก ผู้ต้องหาหรือจาเลย ไม่มีความผิดแต่เป็ นเหตุออก

หมายจับ ตามมาตรา 66 วรรคท้ าย
 มาแล้ วไม่ให้ การ พยานมีความผิด ผู้ต้องหาหรือจาเลย ไม่ ผิด
 ให้ การเท็จ พยานมีความผิดฐานแจ้ งความเท็จหรือเบิกความเท็จ
 ผู้ต้องหาหรือจาเลย ไม่มีความผิดฐานแจ้ งความเท็จหรือเบิกความเท็จ
ยกเว้ นการแจ้ งชื่อหรือที่อยู่อนเป็ นเท็จ มีความผิดลหุโทษ
ั
146
การส่งหมายเรียก
 ส่งให้ ท่ภมิลาเนาของผู้ต้องหาหรือจาเลย/พยาน
ี ู
 ส่งให้ กบตัวผู้ต้องหาหรือจาเลย พยาน เมื่อพบตัว
ั

 ถ้ าไปส่งที่บ้าน ถ้ าไม่อยู่ ส่งให้ ผ้ ูมีอายุ 20 ปี ณ ที่บ้านรับแทน
 กรณีผ้ ูต้องหา ถ้ าไม่อยู่ต้องส่งให้ แก่สามีภริยา บิดามารดาหรือ

ญาติ
 หลักการวางหมายและการปิ ดหมายใช้ หลัก ป.วิ.แพ่ง
147
หมายอาญา
 หมายที่ศาล ออกเพื่อจากัดเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจาเลย มี

อยู่ 5 ประเภทคือ
 หมายค้ น
 หมายจับ
 หมายขัง
 หมายจาคุก
 หมายปล่อย

148
การขอหมายค้น
 หลักในมาตรา 69
 เหตุแห่งการค้ นในที่รโหฐาน

 เหตุค้นเพื่อพบคน – ค้ นที่ต้องการช่วย กับคนที่เป็ นผู้ต้องหา

หรือจาเลย
 เหตุค้นเพื่อพบของ- พยานวัตถุ พยานเอกสาร เพื่อใช้ เป็ น
พยานหลักฐาน เพื่อริบ และเพื่อยึดเป็ นพยานหรือตามคา
พิพากษาหรือคาสั่ง
149
วิธีการขอหมายจับ หมายค้น
 เจ้ าพนักงานที่ขอต้ องมีหลักฐาน และต้ องยื่นคาร้ องด้ วยตนเอง
 กรณีจาเป็ น อาจยื่นขอทางโทรศัพท์ และหมายจับหรือหมาย

ค้ นเมื่อได้ ออกแล้ วจะส่งทางโทรสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 กฎหมายกาหนดให้ หมายจับหมายค้ นที่เป็ นสาเนาส่งทาง
โทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือคาบอกกล่าวทางโทรเลข
สามารถนามาเป็ นหมายเพื่อดาเนินการได้
150
กรณีขอหมายกรณีพิเศษ
ขอหมายนอกเขต

ขอหมายทางโทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์

สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
กาหนดไว้ ใน ข้ อบังคับฯ ข้ อ 25-38
151
ขอหมายจับ ค้นนอกเขต
ขอต่อศาลอาญา กรณีมีเหตุจาเป็ นเร่งด่วนอย่างยิ่ง

และถ้ าร้ องขอในเขตศาลที่มีอานาจจะเกิดความล่าช้ า
เสียหายอย่างร้ ายแรงต่อการปฏิบตหน้ าที่
ั ิ
ผู้ขอ ต้ องระดับ 9 หรือตารวจยศ พล.ต.ต.
ผู้พิพากษาของศาลอาญามีสองคนเป็ นองค์คณะ
152
ขอหมายจับหมายค้นทางสื่อเทคโนโลยีฯ
กรณีจาเป็ นเร่งด่วนและมีเหตุอนควรไม่อาจมาพบได้
ั
ผู้ขอต้ องเป็ นข้ าราชการระดับ 8 หากเป็ นตารวจต้ อง มี

ยศ พ.ต.อ.
อ้ างเหตุจาเป็ นเร่งด่วน ระบุรหัสประจาหน่วย หมายเลข
โทรศัพท์ โทรสาร รหัสสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และให้ ตอบข้ อ
ซักถามทางโทรศัพท์
153
ผู้พิพากษาจดบันทึกถ้ อยคา รหัสประจาหน่วยและ

ลงลายมือชื่อ
ข้ อพิจารณาของศาล ไม่สามารถมาได้ ระยะทางไกล
เหตุปัจจัยอื่นที่ทาให้ เดินทางมายากลาบาก
ศาลออกหมาย ต้ องลงรหัสพร้ อมลายมือชื่อของตน
ในหมายต้ นฉบับ และแจ้ งผลพร้ อมรหัส

154
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จรข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จรKamjornT
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
รายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือ
รายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือรายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือ
รายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือจักรพงษ์ แผ่นทอง
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนNattapon
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านNapasorn Juiin
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีพัน พัน
 

Tendances (20)

ข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จรข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทายใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
รายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือ
รายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือรายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือ
รายงานประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกเสือ
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดี
 

Plus de Narong Jaiharn

กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557Narong Jaiharn
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)Narong Jaiharn
 
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.Narong Jaiharn
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Narong Jaiharn
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Narong Jaiharn
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยNarong Jaiharn
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์Narong Jaiharn
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556Narong Jaiharn
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริNarong Jaiharn
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfNarong Jaiharn
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์Narong Jaiharn
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติNarong Jaiharn
 

Plus de Narong Jaiharn (15)

กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
 
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
 
Criminal penalties2
Criminal penalties2Criminal penalties2
Criminal penalties2
 
Criminal penalties1
Criminal penalties1Criminal penalties1
Criminal penalties1
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
 

วิ.อาญารังสิต 2556