SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  239
Télécharger pour lire hors ligne
กฎหมายอาญาภาคความผิด
โดย
รศ.ณรงค์ ใจหาญ
1
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
•เป็ นความผิดที่ค้ ุมครอง
•กรรมสิทธิ์- การครอบครอง การใช้ และตัว
ทรัพย์ ของผู้อ่ ืน
•ทรัพย์ สิน (มีรูปร่ างหรือไม่ มีกได้ )
็
•การครอบครองอสังหาริมทรัพย์ โดยปกติสุข
2
ความผิดที่คุมครองกรรมสิ ทธิ์ ลักทรัพย์ วิงราวทรัพย์
้
่
ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์

•องค์ประกอบความผิดฐาน “ลักทรัพย์”
•1.เอาไป ซึงทรัพย์ของผู้อื่นหรื อที่ผ้ อื่นเป็ น
่
ู
เจ้ าของรวมอยู่ด้วย
•2.โดยเจตนา เอาไป รู้วาเป็ นของผู้อื่น
่
•3.โดยเจตนาทุจริต (แสวงหาประโยชน์ที่มิควร
ได้ โดยชอบด้ วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อ
ผู้อื่น)

3
• ทรั พย์ หมายถึง สิ่งที่มีรูปร่ าง ที่อาจมีราคาและ
ถือเอาได้ (นิยามจากปพพ.)
• ของผู้อ่ ืน ของที่ผ้ ูอ่ ืนเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ด้วย
• ปั ญหา
• ทรั พย์ สาธารณะ เช่ น ห้ องนาสาธารณะ เป็ นต้ น
้
• ทรั พยากรธรรมชาติ ดิน นา ป่ าไม้ สัตว์ ป่า ปลาใน
้
แม่ นา แร่ ธาตุ ก๊ าชธรรมชาติ เป็ นต้ น
้
4
• เอาไป คือการแย่ งการครอบครองตลอดไป ไม่ ใช่
เอาไปใช้ แล้ วนามาคืน (แต่ ถ้าแย่ งไปแล้ วอย่ างถาวร
ต่ อมากลับใจมาคืน ก็เป็ นลักทรั พย์ )
• ต้ องเอาไปขณะที่ไม่ ได้ ครอบครอง ถ้ าเอาไประหว่ าง
ที่ครอบครอง เป็ นการเบียดบัง
• เอาไป ต้ องเป็ นการแย่ ง (หมายความว่ าเจ้ าของ
ไม่ ได้ ยนยอมโดยชัดแจ้ งหรื อโดยปริยายที่จะมอบ
ิ
ให้ )
• หากเป็ นกรณีเจ้ าของยินยอมให้ ไม่ เป็ นการเอาไป
ตามหลักเรื่ องลักทรั พย์

5
•ร่างกายของคน(ขณะที่ยงมีชีวิตอยู่) ไม่ใช่ทรัพย์ แต่
ั
ถ้ าหลุดออกมาแล้ ว อาจเป็ นทรัพย์ได้ ถ้ ามีการ
ถือเอาเป็ นเจ้ าของ
•ศพ เป็ นทรัพย์หรื อไม่
•พลังงาน กระแสไฟฟา กระแสไฟในสายโทรศัพท์
้
•ข้ อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ข้ อมูลในบัตร
อิเล็กทรอนิกส์
•คลื่นมือถือ คลื่นสัญญาณโทรทัศน์ คลื่นวิทยุ
6
•การที่เจ้ าของยินยอมให้ ทรัพย์ เพราะถูกหลอก
ไม่ใช่ยินยอมให้ เอาไปไม่เป็ นลักทรัพย์ แต่เป็ น
ความผิดฐานฉ้ อโกง
•ทรัพย์ที่เอาไปได้ ต้ องเป็ นทรัพย์ที่เป็ นสังหาริมทรัพย์
หากเป็ นอสังหาริมทรัพย์ไม่อาจเป็ นการเอาไปได้
•แต่อาจเป็ นกรณีบกรุกอสังหาริมทรัพย์
ุ
7
•ความผิดสาเร็จ เมื่อทรัพย์ที่ถกแย่งอยู่ในความ
ู
ครอบครองของผู้กระทา
•ถ้ ายังไม่สามารถเข้ าครอบครอง เป็ นเพียงพยายาม
ลักทรัพย์
•ทรัพย์ที่ติดกับตัวแม่ทรัพย์ ต้ องทาให้ ขาดและเข้ า
ถือเอาทรัพย์นนจึงเป็ นผิดสาเร็จ
ั้
•ทรัพย์ที่อยู่เป็ นเอกเทศ ผู้กระทาต้ องเข้ าครอบครอง
8
วิงราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์
่
•ลักทรัพย์ + ฉกฉวย เอาซึงหน้ า = วิ่งราว
่
ทรัพย์
•ลักทรัพย์ + ขู่ หรื อใช้ กาลังประทุษร้ าย+ ใน
ทันใดนัน = ชิงทรัพย์
้
•ลักทรัพย์+ขูหรื อใช้ กาลังประทุษร้ าย+ใน
่
ทันใดนัน +3 คน=ปล้ นทรัพย์
้

9
• การฉกฉวย หมายถึง การหยิบหรื อคว้ าทรั พย์ แต่ ไม่
ต้ องถึงกับพาหนี
• ซึ่งหน้ า หมายถึง การกระทาต่ อหน้ าเจ้ าทรั พย์
• ขู่ เป็ นการข่ มขืนใจ เพื่อให้ แย่ งการครอบครองได้
• ใช้ กาลังประทุษร้ าย หมายถึง การใช้ กาลังต่ อ
ร่ างกาย
• เพื่อแย่ งการครอบครอง หรื อเพื่อความสะดวกใน
การลักทรั พย์
• หรื อเพื่อพาทรั พย์ ไป หรื อเพื่อให้ พ้นจากการจับกุม

10
กรรโชก กับ รี ดเอาทรัพย์

•ขู่ หรื อใช้ กาลังประทุษร้ าย เพื่อให้
ส่งทรัพย์ให้ หรื อเพื่อให้ ยอมรับว่า
จะส่งทรัพย์ให้ เป็ นกรรโชก
•ขู่ โดยเปิ ดเผยความลับ เป็ น
รี ดเอาทรัพย์

11
กรรโชก กับ ชิงทรัพย์
• กรรโชก กับชิงทรั พย์ เป็ นการขู่ หรื อใช้ กาลังทัง
้
สองกรณี
• แต่ กรณีชิงทรั พย์ ต้องเป็ นการใช้ กาลังในทันใดนัน
้
และให้ มีการส่ งทรั พย์ แต่ กรรโชก อาจไม่ ต้องทา
เช่ นนัน
้
• กรรโชก เป็ นเรื่ องใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อขู่เพื่อให้
ยอมรั บว่ าจะให้ ทรั พย์
• แต่ ชิงทรั พย์ เป็ นเรื่ องแย่ งการครอบครองทรั พย์ โดย
ขู่หรื อใช้ กาลังประทุษร้ ายในทันใดนัน
้

12
ความผิดฐาน ยักยอก เป็ นการกระทําที่ได้ทรัพย์ของ
ผูอื่น โดยเบียดบังแต่ไม่แย่งการครอบครอง
้
•1.เบียดบัง หมายถึง เอาทรัพย์ไปเป็ นประโยชน์
ขณะที่ตนครอบครองทรัพย์นนอยู่
ั้
•2.ทรัพย์ของผู้อื่นหรื อที่ผ้ อื่นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่
ู
ด้ วย
•3.โดยเจตนาเบียดบัง
•4.ทุจริต

13
• การเบียดบัง เกิดขึ ้นได้ เมื่อการครอบครองอยูกบตัว
่ ั
ผู้กระทาผิด ดังนัน
้
• ถ้ าการครอบครองไม่อยูกบผู้กระทา ผู้กระทาผิดลักทรัพย์
่ ั
• ถ้ าการครอบครองอยูกบผู้กระทา การกระทาเป็ นยักยอก
่ ั
• ถ้ าทรัพย์ไม่มีผ้ ใดครอบครองเลย แต่ผ้ กระทาเก็บเอาไป
ู
ู
เป็ นยักยอกทรัพย์สนหาย ม.352 วรรคสอง
ิ
• ถ้ าเจ้ าของมอบการครอบครองให้ โดยสาคัญผิด แล้ วเอา
ไปเป็ นประโยชน์ เป็ นยักยอกตาม วรรคสอง ม. 352
เช่นกัน

14
•ฝากเงินให้ นายก. ไปซื ้อตัวภาพยนตร์ นาย ก.นา
๋
เงินไป โดยไม่ยอมซื ้อตัวให้
๋
•ฝากเอกสารไปให้ แก่นายดา ผู้รับฝากนาเอกสารนัน
้
ไปใช้ เอง
•ฝากขายของ คนรับฝากขายของได้ แล้ วไม่ยอม
จ่ายเงินให้ แก่ผ้ ฝากขาย
ู
15
• วางกระเป๋ าไว้ ที่เคาเตอร์ แล้ วลืมหยิบมา มีคนหยิบ
กระเป๋ าไปใช้
• โทรศัพท์มือถือหล่นในรถประจาทาง มีผ้ โดยสารเก็บไปใช้
ู
• เบิกเงิน 3,000 บาท พนักงานธนาคารจ่ายให้ 4,000 บาท
• เบิกเงิน 5,000 บาทที่เครื่ อง ATM. เงินไม่ออกมา พอ
เดินออกไป มีคนมาดึงกระดาษที่ปิดไว้ ในช่องจ่ายเงินแล้ ว
เงินที่กดจานวน 5,000 บาทไหลออกจากเครื่ อง คนนัน
้
เก็บเงินไปใช้
16
•มีคนโอนเงินเข้ าบัญชีให้ 5,000 บาท โดยกด
หมายเลขผิด เราเอาเงินไปใช้ โดยรู้วาไม่ใช่เงิน
่
ของเรา
•พบเงินจานวน 1,000 ตกที่ถนนสาธารณะ เก็บ
ไปให้ แม่ใช้
17
ฉ้ อโกง ความผิดที่มงต่อทรัพย์สิน
ุ่
•หลอกลวง ด้ วยการแสดงข้ อความอันเป็ น
เท็จ หรือปกปิ ดข้ อความจริงซึ่งควรบอกให้
แจ้ ง
•ได้ ไปซึ่งทรัพย์ สิน หรือให้ ผ้ ูอ่ ืนทา ถอน
เอกสารสิทธิ
•โดยเจตนา
•โดยทุจริต

18
•นิ่งไม่บอกว่า ของที่ขายมีตาหนิ แล้ วติดราคาขายใน
ราคาปกติ
•ใช้ เครื่ องหมายการค้ า เช่น ลีวาย ติดกับกางเกงยีน
เพื่อขายในราคาปกติ
•ขับรถเข้ าไปในปั๊ มน ้ามัน แล้ วบอกให้ เด็กปั๊ มเติม
น ้ามันให้ เต็ม พอเติมเสร็จ ขับรถออกไปโดยไม่จ่าย
ค่าน ้ามัน
•เอาพระใหม่มาให้ เช่าบูชา โดยบอกว่าเป็ นพระกรุ 19
เก่า
•ผลของการฉ้ อโกง ต้ องได้ ไปซึงทรัพย์สิน
่
แต่อาจไม่ต้องได้ ทรัพย์ไปทังหมด
้
•ได้ ประโยชน์จากการทา ถอน หรื อทาลาย
เอกสารสิทธิ
•แนวคิด คือ ได้ ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ
20
•ฉ้ อโกงประชาชน เป็ นการกระทาการหลอกลวง
โดยไม่จากัดตัวผู้เสียหาย
•ถ้ าหลอกลวงเป็ นรายคน แม้ จะมีจานวนมาก ก็
เป็ นฉ้ อโกง ม. 341
•ถ้ าหลอกโดยไม่เจาะจงตัวบุคคล แม้ จะเชื่อ
เพียงคนเดียวก็เป็ นฉ้ อโกงประชาชน ตาม ม.
343

21
ฉ้อโกงแรงงาน ม. 344

•หลอกลวงบุคคลตังแต่ สิบคนขึนไป
้
้
เพื่อให้ ทางานให้ โดยไม่ จ่าย
ค่ าแรงงาน หรื อจ่ ายไม่ ครบตามที่
ตกลงกัน
•เจตนาหลอกลวง
•โดยทุจริต

22
ฉ้อโกงค่าอาหารและเครื่ องดื่มหรื อค่าเช่าโรงแรม

•สังซื ้อและบริ โภคอาหารหรื อเครื่ องดื่ม
่
หรื อเข้ าอยู่ในโรงแรม
•โดยรู้ วาตนไม่สามารถชาระค่าอาหาร
่
หรื อเครื่ องดื่ม หรื อค่าอยู่ในโรงแรม
•เจตนา

23
• ชักจูงให้ จาหน่ายทรัพย์โดยเสียเปรี ยบซึงทรัพย์สน
่
ิ
• โดยอาศัยเหตุที่ผ้ ถกชักจูงมีจิตใจอ่อนแอหรื อเป็ นเด็กเบา
ูู
ปั ญญา
• และไม่สามารถเข้ าใจตามควรซึงสาระสาคัญแห่งการ
่
กระทาของตน
• จนผู้ถกจูงใจจาหน่ายซึงทรัพย์สนนัน
ู
่
ิ ้
• เจตนาเพื่อเอาทรัพย์สนของผู้อื่นเป็ นของตนหรื อของ
ิ
บุคคลที่สาม

24
•แกล้ งให้ ทรัพย์สินอันเป็ นวัตถุที่เอาประกันภัยเสียหาย
•เจตนา
•เพื่อให้ ตนเองหรื อผู้อื่นได้ รับประโยชน์จากการประกัน
วินาศภัย
•เช่น ทุบรถที่เอาประกันภัยไว้ เพื่อขอค่าซ่อม
•เผาบ้ านหรื อร้ าน ที่เอาประกันภัยไว้
25
โกงเจ้าหนี้ จํานํา ตามม. 349

•เอาไปเสีย ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้
เสื่อมค่า หรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์
•ซึงทรัพย์อนตนได้ จานาไว้ แก่ผ้ อื่น
่
ั
ู
•เจตนา
•เพื่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ รับจานา
ู

26
โกงเจ้าหนี้ ตามม. 350
• 1. ย้ ายไปเสีย ซ่ อนเร้ น หรื อโอนไปให้ แก่ ผ้ ูอ่ ืน
ซึ่งทรั พย์ ใด หรื อ
• 2. แกล้ งให้ ตนเองเป็ นหนีจานวนใดอันไม่ เป็ น
้
ความจริง
• เจตนา
• เพื่อมิให้ เจ้ าหนีของตนหรื อของผู้อ่ ืนได้ รับชาระ
้
หนีทงหมดหรื อแต่ บางส่ วน ซึ่งได้ ใช้ หรื อจะใช้
้ ั้
สิทธิทางศาล

27
รับของโจร
•ช่วยซ่อนเร้ น ช่วยจาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื ้อ
รับจานา หรื อรับไว้ ด้วยประการใดๆ
•ซึงทรัพย์อนได้ มาจากการกระทาความผิด
่
ั
•ลัก วิ่ง กรรโชก รี ดเอาทรัพย์ ชิง ปล้ น ฉ้ อ
ยักยอก หรื อเจ้ าพนักงานยักยอก
•เจตนา รู้วาเป็ นของได้ มาจากการกระทาผิด (ไม่
่
ต้ องรู้วาได้ มาจากความผิดฐานใด)
่

28
•คนที่ ร้ ูว่าทรัพย์ นันได้ มาจากการกระทาความผิด
้
จึงจะผิด หากไม่ ร้ ู ไม่ ผด
ิ
•ทรัพย์ นันต้ องเป็ นทรัพย์ ท่ ได้ มาจากการกระทา
้
ี
ความผิด หากเปลี่ยนสภาพหรือมีการโอนโดย
ถูกต้ อง ก็ไม่ ผด
ิ
•ผู้ กระทาความผิดที่ระบุแล้ วนาทรัพย์ ไป
จาหน่ าย ไม่ เป็ นรับของโจรอีก (ฎ. 325/2520)
•ตกลงจะซือยังไม่ ผิด เพราะต้ องรับซือ
้
้
29
•รับของที่ร้ ูวาเป็ นของที่ได้ มาจากการลักทรัพย์ แต่
่
ต้ องการนาไปคืน ไม่ผิดฐานรับของโจร เพราะไม่ได้
เป็ นการช่วยซ่อนเร้ น ช่วยจาหน่าย หรื อช่วยพาเอา
ไปเสีย (ฎ. 1975/2517)
•ช่วยสืบหาและไถ่ทรัพย์ที่อยู่ในความครอบครองของ
คนร้ ายมาให้ ผ้ เู สียหายไม่เป็ นรับของโจร (ฎ.
657/2519)
30
ทําให้เสี ยทรัพย์

•ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่า
หรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์
•ทรัพย์ของผู้อื่นหรื อที่ผ้ อื่นเป็ นเจ้ าของ
ู
รวมอยู่ด้วย
•เจตนา

31
• ความผิดนี ้ คุ้มครองการใช้ ประโยชน์ในตัวทรัพย์ หรื อการ
ครอบครองทรัพย์
• การกระทาต้ องเป็ นการก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ตวทรัพย์ มิใช่
ั
การครอบครองในตัวทรัพย์

•ปล่อยนก ปล่อยลมยางรถยนต์
•ใช้ น ้าหมึกราดไปที่เอกสาร ทาให้ อานตัวอักษร
่
ไม่ได้
•ฉีกกระดาษให้ ขาด ทุบกระจกรถให้ แตก

32
•รับโทษหนักขึ ้นถ้ ากระทาต่อทรัพย์ตาม ม. 359
•เครื่ องกล หรื อเครื่ องจักร ที่ใช้ ในการประกอบกสิกร
รมหรื ออุตสาหกรรม
•ปศุสตว์
ั
•ยวดยานหรื อสัตว์พาหนะที่ใช้ ในการขนส่งสาธารณะ
หรื อในการประกอบกสิกรรม หรื ออุตสาหกรรม
•พืชหรื อพืชผลของกสิกร
33
•ทาให้ เสียทรัพย์ที่ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อสาธารณประโยชน์
ผิด ม 360
•เช่น ทาลายสะพาน ทางรถไฟ ถนนหลวง ปายบอก
้
ชื่อหนองน ้าสาธารณะ ทาลายโทรศัพท์สาธารณะ
•ถ้ าเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเช่น สถานที่
ราชการไม่เข้ า เช่น สถานีอนามัย สถานีตารวจ เป็ น
ต้ น

34
•ทาให้ เสียทรัพย์ ที่ระบุไว้ ในมาตรา 335 ทวิ
วรรคหนึ่งซึงประดิษฐานอยู่ในสถานที่ตาม
่
มาตรา 335 ทวิ วรรคสอง มีโทษสูง ตาม
มาตรา 360 ทวิ
•ตัดเศียรพระพุทธรูปที่ประดิษฐานในโบสถ์
เป็ นต้ น

35
เหตุฉกรรจ์ของลักทรัพย์
•ม. 335 (1)-(12)
•ม.335ทวิ พระพุทธรูปหรื อวัตถุในทางศาสนา
•ม. 336 ทวิ แต่งเครื่ องแบบทหารหรื อตารวจ มี
อาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด โดยใช้ ยานพาหนะ
36
เหตุฉกรรจ์ตามมาตรา 335
• (1) ในเวลากลางคืน
• (2) ในที่หรื อบริ เวณที่มีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด
อุทกภัย หรื อในที่หรื อบริ เวณที่มีอบติเหตุ เหตุทกข
ุ ั
ุ
ภัยแก่รถไฟ หรื อยานพาหนะอื่นที่ประชาชนโดยสาร
หรื อภัยพิบติอื่น ทานองเดียวกัน หรื ออาศัยโอกาส
ั
เช่นว่านัน หรื ออาศัยโอกาสที่ประชาชนกาลังตื่นกลัว
้
ภยันตรายใดๆ

37
•(3)โดยทาอันตรายสิ่งกีดกัน สาหรับคุ้มครองบุคคล
้
หรื อทรัพย์หรื อโดยผ่านสิ่งเช่นนันเข้ าไปด้ วยประการ
้
ใดๆ
•(4) โดยเข้ าทางช่องทางซึงได้ ทาขึ ้นโดยไม่ได้ จานง
่
ให้ เป็ นทางคนเข้ า หรื อเข้ าทางช่องทางซึงผู้เป็ นใจ
่
เปิ ดให้ ไว้
•(5) โดยแปลงตัวหรื อปลอมตัวเป็ นผู้อื่น หรื อมอม
หน้ าหรื อทาด้ วยประการอื่นเพื่อไม่ให้ เห็นหรื อจา 38
หน้ าได้
• (6) โดยลวงว่าเป็ นคนอื่น

• (7) โดยมีอาวุธ หรื อโดยร่วมกระทาความผิดด้ วยกันตังแต่
้
สองคนขึ ้นไป
• (8) ในเคหสถาน สถานที่ราชการ หรื อสถานที่ที่จดไว้ เพื่อ
ั
บริ การสาธารณะที่ตนได้ เข้ าโดยไม่ได้ รับอนุญาต หรื อ
ซ่อนตัวอยูในนัน
่ ้
• (9) ในสถานที่บชาสาธารณะ สถานีรถไฟ ท่าอากาศยาน
ู
ที่จอดรถ หรื อเรื อสาธารณะ สาธารณสถาน สาหรับขน
ถ่ายสินค้ าหรื อยวดยานสาธารณะ
39
•(10) ที่ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อสาธารณะประโยชน์
•(11) ที่เป็ นของนายจ้ าง หรื อที่อยู่ในความ
ครอบครองของนายจ้ าง
•(12) ที่เป็ นของผู้มีอาชีพกสิกรรม บรรดาผลิตภัณฑ์
พืชพันธุ์ สัตว์หรื อเครื่ องมืออันมีไว้ สาหรับประกอบ
กสิกรรม หรื อได้ มาจากการกสิกรรมนัน
้
40
• เหตุเพิ่มโทษตามมาตรา 335 คือ ถ้ ากระทาประกอบด้ วย
ลักษณะ (1)-(12) ตังแต่สองอนุมาตราขึ ้นไป โทษสูงขึ ้น
้
• ถ้ าเป็ นการกระทาต่อโค กระบือ เครื่ องกล เครื่ องจักร ที่ผ้ ู
มีอาชีพกสิกรรมมีไว้ สาหรับประกอบกสิกรรม มีโทษสูง
• แต่ถ้าทาด้ วยความจาใจ หรื อความยากจนเหลือทนทาน
และทรัพย์มีราคาน้ อย จะลงเพียง ม. 334 ก็ได้
41
เหตุฉกรรจ์ของวิงราวทรัพย์
่

•เป็ นเหตุให้ ได้ รับอันตรายแก่กาย
หรื อจิตใจ/ สาหัส/ ตาย
•แต่งกายเป็ นตารวจหรื อทหาร ใช้
อาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด ใช้
ยานพาหนะ

42
ชิงทรัพย์
•ทรัพย์ตามม. 335 ทวิ หรื อเป็ นเครื่ องมือในการ
เกษตรกรรม
•เป็ นเหตุให้ ได้ รับอันตรายแก่กายหรื อจิตใจ/
สาหัส หรื อ ตาย
•แต่งกายเป็ นตารวจ ทหาร ใช้ อาวุธปื นวัตถุ
ระเบิด ใช้ ยานพาหนะ

43
ปล้นทรัพย์
•มีอาวุธติดตัว
•เป็ นเหตุให้ ได้ รับอันตรายสาหัส / ตาย
•กระทาการอันทารุณจนเป็ นเหตุให้ ได้ รับ
อันตรายแก่กาย/ใช้ ปืนยิง ใช้ วตถุระเบิด กระทา
ั
ทรมาน
44
•กระทาต่อทรัพย์ตามม. 335
•แต่งกายเป็ นตารวจ ทหาร มีหรื อใช้ อาวุธปื นหรื อ
วัตถุระเบิด ใช้ ยานพาหนะ

45
เหตุฉกรรจ์ของฉ้อโกง
•แสดงตนเป็ นคนอื่น
•อาศัยความเบาปั ญญาของผู้ถกหลอกลวงซึง
ู
่
เป็ นเด็กหรื ออาศัยความอ่อนแอแห่งจิตของผู้ถก
ู
หลอกลวง
•เหตุเหล่านี ้ ใช้ กบกรณีฉ้อโกงประชาชนด้ วย
ั
46
เหตุฉกรรจ์ของทําให้เสี ยทรัพย์
•กระทาต่อเครื่ องกล เครื่ องจักรที่ใช้ ในการ
ประกอบกสิกรรม
•ปศุสตว์
ั
•ยวดยานพาหนะที่ให้ ในการขนส่งสาธารณะหรื อ
ในการประกอบกสิกรรม
•พืชหรื อพืชผลของกสิกร

47
•ทรัพย์ที่บญญัติไว้ ในมาตรา 335 ทวิวรรคหนึง ที่
ั
่
ประดิษฐานในสถานที่ตาม 335 ทวิวรรคสอง

48
เหตุฉกรรจ์ของบุกรุ ก
•ได้ ใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลัง
ประทุษร้ าย
•โดยมีอาวุธหรื อโดยร่วมกันกระทาความผิด
ตังแต่สองคนขึ ้นไปหรื อ
้
•ในเวลากลางคืน
49
ความผิดเกี่ยวกับการค้า
•ม. 270 ผู้ใดใช้ หรื อมีไว้ เพื่อใช้ / หรื อมี ไว้ เพื่อ
ขาย
•เครื่ องชัง เครื่ องตวง เครื่ องวัด ที่ผิดอัตรา
่
•เจตนา
•เพื่อเอาเปรี ยบทางการค้ า / เพื่อขาย
50
•ม. 271 ขายของ โดยหลอกลวงด้ วยประการใด ๆ
•ให้ ผ้ ซื ้อหลงเชื่อในแหล่งกาเนิด สภาพ คุณภาพ
ู
ปริมาณ แห่งของนันอันเป็ นเท็จ
้
•ถ้ าการกระทานันไม่เป็ นความผิดฐานฉ้ อโกง
้
•เจตนา
51
•ม. 272
•(1) เอาชื่อ รูป รอยประดิษฐ์ หรื อข้ อความในการ
ประกอบการค้ าของผู้อื่นมาใช้ หรื อทาให้ ปรากฏใน
สินค้ า เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นสินค้ าของ
ผู้อื่นนัน
้

52
•(2) เลียนปาย หรื อสิ่งอื่นในทานองเดียวกันนัน
้
้
เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าสถานที่การค้ าของตน
เป็ นของผู้อื่นซึงอยู่ใกล้ เคียง
่
•(3) ไขข่าวแพร่หลาย ซึงข้ อความเท็จเพื่อให้ เสีย
่
ความเชื่อถือในสถาที่การค้ า สินค้ า อุตสาหกรรม
ของผู้หนึงผู้ใด โดยมุงประโยชน์การค้ าของตน
่
่
53
•ม. 273 มีองค์ประกอบคือ
•1.ปลอม เครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่น
•ซึงเป็ นเครื่ องหมายที่จดทะเบียนแล้ ว
่
ไม่วาจะจดในราชอาณาจักรไทย
่
หรื อไม่
•2.เจตนา

54
•ม. 274
•1. เลียน เครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่นซึงได้ จดทะเบียน
่
แล้ ว
•ไม่ว่าจะจดทะเบียนในราชอาณาจักรไทยหรื อไม่
•2.เจตนา
•3.เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นเครื่ องหมายการค้ า
ของผู้อื่นนัน
้
55
•ม. 275
•1.นาเข้ า จาหน่าย เสนอขาย
•ซึงสินค้ าที่มีชื่อ รูป รอยประดิษฐ์ หรื อข้ อความใด ๆ
่
•ในมาตรา 272 (1) หรื อสินค้ าที่มีเครื่ องหมายการค้ า
ปลอมหรื อเลียนเครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่น
•2.เจตนา
56
ความผิดเกี่ยวกับการปลอม การแปลง
•เงินตรา ม. 240-249
•ดวงตรา แสตมป และตัว ม. 250-263
์
๋
•เอกสาร ม. 264-269
•บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ม. 269/1-269/7
57
เงินตรา
•ม. 240
•1.ทาปลอม เงินตรา เหรี ยญกระษาปณ์ ธนบัตร
หรื อสิ่งอื่นที่รัฐบาลออกใช้ หรื อให้ อานาจออกใช้
•หรื อ 2.ทาปลอมพันธบัตรรัฐบาล หรื อใบสาคัญ
รับดอกเบี ้ยพันธบัตรรัฐบาล
•3.เจตนา

58
•ม. 241
•1. ทาแปลง เพื่อให้ ผิดไปจากเดิม
•2.เจตนา
•3.เพื่อให้ ผ้ อื่นเชื่อว่ามีมลค่าสูงกว่าจริง
ู
ู
•ม. 243
•1.นาเข้ าเงินปลอมหรื อแปลง รับโทษเท่ากับการ
ปลอมหรื อแปลง

59
•1. ทาให้ เหรี ยญกระษาปณ์ ซึงรัฐบาลออกใช้ มี
่
น ้าหนักลดลง
•2.นาเข้ าหรื อนาออกใช้ หรื อมีไว้ เพื่อใช้ เหรี ยญที่มี
น ้าหนักลดลง
•3.โดยทุจริต

60
•1. ได้ เงินตรามาโดยไม่ร้ ูวาเป็ นของ
่
ปลอมหรื อแปลง
•2.ต่อมารู้เข้ า ยังขืนนาออกใช้
•3.เจตนา
61
•1. ทาเครื่ องมือหรื อวัตถุในการปลอม
หรื อแปลง เงินตรา หรื อพันธบัตร
•2.หรื อมีวตถุเพื่อปลอมแปลง
ั
•3.เจตนา
62
•ถ้ าเป็ นการกระทาต่อเงินตราหรื อ
พันธบัตรต่างประเทศ รับโทษกึงหนึง
่ ่
ของความผิดนัน ๆ
้
•ถ้ าปลอมหรื อแปลงแล้ วใช้ รับโทษ
กรรมเดียว
63
•1.ทาบัตร หรื อโลหะธาตุ ในลักษณะที่คล้ ายคลึงกับ
เงินตรา หรื อพันธบัตรหรื อใบสาคัญรับดอกเบี ้ย
•2.เจตนา

•1.จาหน่ายบัตรหรื อโลหะธาตุ โดยการนาออกใช้
เป็ นความผิด
64
ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์ และตัว
๋
• ทาปลอม – ดวงตราแผ่ นดิน รอยตราแผ่ นดิน หรือ
พระปรมาภิไธย
• ทาปลอม – ดวงตรา หรือรอยตรา ทบวงการเมือง
องค์ การสาธารณะหรือของเจ้ าพนักงาน
• ใช้ ดวงตรา รอยตราแผ่ นดิน หรือพระปรมาภิไธยฯ
ปลอม
• ใช้ ดวงตราหรือรอยตรา ทบวงการเมือง องค์ การ
สาธารณะ หรือของเจ้ าพนักงานที่ปลอม

65
•ได้ มาซึงดวงตรา ตามมาตรา 250 หรื อ 251 ซึงเป็ น
่
่
ดวงตราอันแท้ จริง แต่ใช้ โดยมิชอบในประการที่
น่าจะทาให้ ผ้ อื่นหรื อประชาชนเสียหาย
ู

66
•ทาปลอม แสตมป รัฐบาล ซึงใช้ สาหรับการไปรษณีย์
์
่
ภาษีอากร หรื อการเก็บค่าธรรมเนียม หรื อแปลงให้
ผิดไปจากเดิม
•นาเข้ ามาในราชอาณาจักร ซึง ดวงตราปลอม แสตม
่
ปลอม หรื อแปลง
67
•ลบ ถอน หรื อกระทาด้ วยประการใด ๆ ซึง
่
แสตมปที่ใช้ แล้ วในกลับนามาใช้ อีก โดยเจตนา
์
เพื่อให้ ใช้ ได้ อีก
•ใช้ เสนอขาย แลกเปลี่ยน หรื อเสนอแลกเปลี่ยน
แสตมปปลอมหรื อแสตมปที่กระทาเพื่อให้
์
์
นามาใช้ ได้ อีก
68
•ทาปลอมตัวโดยสาร ซึงใช้ ในการขนส่งสาธารณะ
๋
่
•หรื อแปลงให้ ผิดไปจากเดิม เพื่อให้ ผ้ อื่นเชื่อว่ามี
ู
มูลค่าสูงกว่าจริง
•ลบ ถอนเพื่อให้ นามาใช้ ได้ อีก
•กรณีทงสาม หากกระทาแก่ตวที่เข้ าชมสถานที่ ก็ผิด
ั้
ั๋
ด้ วย
69
•ใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ยน เสนอแลกเปลี่ยน ตัว
๋
โดยสารหรื อตัวเข้ าชมสถานที่
๋
•ทาเครื่ องมือในการปลอม แปลง เพื่อใช้ ในการปลอม
หรื อแปลง
•การปลอมหรื อแปลงแสตมปของรัฐบาลต่างประเทศ
์
รับโทษครึ่งหนึงของแสตมปไทย
่
์
70
•ปลอมแล้ วใช้ หรื อไปกระทาความผิดอื่นที่เกี่ยวกับ
สิ่งที่ปลอมหรื อแปลงนัน รับโทษกระทงเดียว
้

71
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
• ปลอมเอกสาร
• ทาปลอมทังหมดหรื อแต่ บางส่ วน
้
• ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ผ้ ูอ่ ืน
หรื อประชาชน
• เติมหรื อตัดข้ อความ ในเอกสารที่แท้ จริงโดย
ประการที่น่าจะทาให้ ผ้ ูอ่ ืนหรื อประชาชน
เสียหาย
• เพื่อให้ ผ้ ูอ่ ืนหลงเชื่อว่ าเป็ นเอกสารที่แท้ จริง

72
•ประทับตราปลอมหรื อลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร
โดยประการที่น่าจะเสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน
ู
•กรอกข้ อความในเอกสารที่มีลายมือชื่อของผู้อื่นโดย
ไม่ได้ รับความยินยอมหรื อโดยฝ่ าฝื นคาสังของผู้อื่น
่
เพื่อนาเอาเอกสารนันไปใช้ ในกิจการที่อาจเกิดความ
้
เสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน
ู
73
•เอกสาร สิงที่ปรากฏเป็ นหลักฐานของ
่
ความหมาย
•เอกสารสิทธิ เอกสารที่ก่อ โอน สงวน ระงับซึง
่
สิทธิ
•เอกสารราชการ เอกสารที่ทาขึ ้นโดยเจ้ า
พนักงานหรื อรับรองในหน้ าที่ และหมายถึง
สาเนาด้ วย

74
ตัวอย่าง
•เลขพานท้ ายปื น/ ภาพถ่ายลายนิ ้วมือ /
สัญญาณธง
•บัตรประจาตัวประชาชน /ใบอนุญาตขับขี่/
ใบสุทธิ
•โฉนดที่ดิน/ น.ส. 3 / ทะเบียนสมรส/ ทะเบียน
บ้ าน/ใบเสร็จรับเงิน
•คาร้ องทุกข์ / ใบมอบอานาจ /
•หนังสือเดินทาง

75
•ปายทะเบียนรถยนต์ เขียนด้ วยกระดาษหรื อไม้
้
•นาปายทะเบียนจริงไปติดไว้ กบรถคันอื่น
้
ั
•ใบอนุญาตของบุคคลบนพื ้นที่สงที่จะอนุญาตไป
ู
ทางานนอกเขต

76
•ปลอมเอกสารสิทธิ
•ปลอมเอกสารราชการ
•ปลอมเอกสารสิทธิอนเป็ นเอกสาราชการ
ั
•พินยกรรม
ั
•ใบหุ้ น ใบหุ้นกู้ ใบสาคัญของใบหุ้น หรื อใบหุ้นกู้
•ตัวเงิน/บัตรเงินฝาก
๋
77
•แจ้ งให้ เจ้ าพนักงานจดข้ อความอันเป็ นเท็จใน
เอกสารมหาชนหรื อเอกสารราชการ
•เอกสารนันมีไว้ เพื่อใช้ เป็ นพยานหลักฐาน
้
•โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ อื่น
ู
หรื อประชาขน
78
•คนต่างด้ าวแจ้ งว่าเป็ นคนไทย
•กรอกใบสมัครรับเลือกตังโดยแจ้ งว่าจบปริญญาตรี
้
•แจ้ งว่าสมุดเช็คหาย
•แจ้ งให้ นายทะเบียนจดว่ามีการย้ าย
•แจ้ งว่ายังไม่เคยจดทะเบียนสมรส ขอจดใหม่
79
•ใช้ หรื ออ้ างเอกสารที่เป็ นความผิดตาม ม. 264267 ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่
ผู้อื่นหรื อประชาชน ต้ องระวางโทษเท่ากับ
ความผิดนัน ๆ
้
•แต่ถ้าเป็ นผู้ทาหรื อแจ้ งให้ เจ้ าพนักงานจด
ข้ อความอันเป็ นเท็จ รับกระทงเดียว ม. 268
80
•รับรองเท็จ
•ผู้ ประกอบวิชาชีพ แพทย์ บัญชี กฎหมาย หรื อ
วิชาชีพใด ทาคารับรองอันเป็ นเท็จ โดยประการที่
น่าจะก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน
ู
•ผู้ อ้างคารับรองอันเป็ นเท็จ โดยทุจริต รับโทษ
เช่นเดียวกัน
81
ปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์
• ปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งการปลอม
อาจทาขึนทังหมด หรือนาบัตรที่หมดอายุ
้ ้
แล้ วมาแก้ ไขตัวเลขหรือปรับเปลี่ยนข้ อมูล
ในบัตรให้ ใช้ ได้
• นิยามของบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ม. 1 (14)
82
• (ก) เอกสารหรื อวัตถุอื่นใดไม่วาจะมีรูปลักษณะใดที่ผ้ ออก
่
ู
ได้ ออกให้ แก่ผ้ มีสทธิใช้ ซงจะระบุชื่อหรื อไม่ก็ตาม โดย
ู ิ
ึ่
บันทึกข้ อมูลหรื อรหัสไว้ ด้วยการประยุกต์ใช้ วิธีการทาง
อิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแม่เหล็กไฟฟา หรื อวิธีอื่นใด ใน
้
้
ลักษณะคล้ ายกัน ซึงรวมถึงการประยุกต์ใช้ วิธีการทาง
่
แสง หรื อวิธีการทางแม่เหล็กให้ ปรากฏความหมายด้ วย
ตัวอักษร ตัวเลขรหัส หมายเลขบัตร หรื อสัญญลักษณ์อื่น
ใด ทังที่สามารถมองเห็นและมองไม่เห็นด้ วยตาเปล่า
้
83
(ข) ข้ อมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเลขชุดทาง
อิเล็กทรอนิกส์ หรื อเครื่ องมือทางตัวเลขใดๆ ที่ผ้ ออกได้
ู
ออกให้ แก่ผ้ มีสทธิใช้ โดยมิได้ มีการออกเอกสารหรื อวัตถุ
ู ิ
อื่นใดให้ แต่มีวิธีการใช้ ในทานองเดียวกับ (ก) หรื อ
(ค) สิงอื่นใดที่ใช้ ประกอบกับข้ อมูลอิเลคทรอนิกส์เพื่อแสดง
่
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดย
มีวตถุประสงค์เพื่อระบุตวผู้เป็ นเจ้ าของ
ั
ั
84
• ผู้ที่มีเครื่ องมือหรื อวัตถุในการปลอมแปลง
หรื อมีเครื่ องมือที่จะไปได้ มาซึงข้ อมูลจากบัตร
่
อิเล็กทรอนิกส์ของคนอื่นแล้ วมาทาบัตรปลอม
เพื่อนามาใช้ ในการปลอมแปลงบัตร

85
• นาเข้ ามาหรื อส่งออกบัตรอิเล็กทรอนิกส์
ปลอมหรื อเครื่ องมือหรื อวัตถุในการปลอม
แปลง
• มีบตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (แต่ตนเองไม่ได้
ั
ปลอม แต่ร้ ูวาเป็ นบัตรปลอม) เพื่อจะนา
่
ออกใช้ หรื อใช้ บตรปลอม
ั
86
• เอาบัตรอิเล็กทรอนิกส์จริ งของคนอื่นไปใช้ โดยไม่ชอบ
เช่น แอบเอาบัตรของเขาไปรูดซื ้อสินค้ า โดยเจ้ าของไม่
ยินยอม
• แต่ถ้าเจ้ าของยินยอมไม่ผิดเพราะไม่ได้ เกิดความ
เสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน
ู
• เอาบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของคนอื่นมาเก็บไว้ โดยไม่
ชอบ เพื่อจะนาออกใช้
87
• จาหน่ายบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม
หรื อมีไว้ เพื่อขาย
• แต่ถ้าคนที่ทาปลอมเองแล้ วไปใช้ หรื อ
ขายบัตรปลอม ลงโทษกรรมเดียว
88
•บัตรอิเล็กทรอนิกส์ การปลอมบัตรเป็ นการ
ปลอมเอกสารหรื อไม่
•การนาไปใช้ เป็ นการฉ้ อโกงหรื อไม่
•เป็ นการลักทรัพย์หรื อไม่

89
• หากเป็ นการใช้ บตรเครดิตเพื่อซื ้อสินค้ า
ั
ค่าบริการหรื อการนาบัตรดังกล่าวไปเบิกเงิน
สด กฎหมายกาหนดให้ คนที่กระทาความผิด
ต้ องระวางโทษสูงขึ ้นกว่าที่กาหนดไว้ กึ่งหนึ่ง

90
ความผิดเกี่ยวกับหนังสื อเดินทาง
• ปลอมหนังสือเดินทาง ม. 269/8
• จาหน่ายหรื อมีไว้ เพื่อจาหน่ายหนังสือเดินทางปลอม
ม. 269/9
• นาเข้ าหรื อส่งออกหนังสือเดินทางปลอม ม.
269/10
• ใช้ หนังสือเดินทางของผู้อื่นโดยมิชอบ ม. 269/11
• ปลอมดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตรา
สาหรับการเดินทางระหว่างประเทศ ม. 269/12

91
• ปลอมดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตรา สาหรับ
การเดินทางระหว่างประเทศ ม. 269/12
• ใช้ ดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นประตรวจลงตราปลอม ม.
269/13
• นาเข้ าหรื อส่งออก ดวงตราหรื อรอยตรา ปลอม
ม.269/14
• ใช้ ดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตราอันแท้ จริ งแต่
92
ใช้ โดยมิชอบ ม. 269/15
หนังสื อเดินทาง หมายถึง ม. 1 (15)
•เอกสารสาคัญประจาตัวไม่ว่าจะอยู่ในรูปลักษณะ
ใด ที่รัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรื อองค์การ
ระหว่างประเทศออกให้ แก่บคคลใด เพื่อใช้ แสดงตน
ุ
ในการเดินทางระหว่างประเทศ และให้ หมายความ
รวมถึงเอกสารใช้ แทนหนังสือเดินทางและแบบ
หนังสือเดินทางที่ยงไม่ได้ กรอกข้ อความเกี่ยวกับผู้
ั
ถือหนังสือเดินทางด้ วย

93
ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุ ขของประชาชน
•มุ่งคุ้มครองความปลอดภัยของประชาชนที่
จะไม่ถกคุกคามจากองค์กรอาชญากรรม
ู
หรื อกลุมคนที่อาจจะประทุษร้ าย
่
•อังยี่ ซ่องโจร
้
•มัวสุม
่
94
อั้งยี่
•สมาคมลับที่มีจดมุงหมายเพื่อกระทาการอันมิ
ุ ่
ชอบด้ วยกฎหมาย
•นิยาม คณะบุคคลซึงปกปิ ดวิธีดาเนินการและมี
่
ความมุงหมายเพื่อการอันมิชอบด้ วยกฎหมาย
่
•ความผิด เป็ นสมาชิก เป็ นหัวหน้ าหรื อผู้มี
ตาแหน่งหน้ าที่ในอังยี่
้
•ประชุมในที่ประชุมอังยี่
้

95
องค์ประกอบของความผิดฐาน ซ่องโจร

•1.กลุ่ มคนตังแต่ 5 คนขึนไป สมคบ เพื่อ
้
้
กระทาความผิดอาญาภาคสอง+ เป็ น
ความผิดที่มีโทษจาคุกตังแต่ หนึ่งปี ขึน
้
้
ไป
• 2.เข้ าประชุมในที่ประชุมซ่ องโจรเป็ นความผิด
ฐานซ่ องโจร
• 3.เจตนา

96
ความรับผิดของสมาชิกหรื อพรรคพวกซ่องโจร

•รับผิดจากการกระทาของสมาชิกหรื อซ่อง
โจรที่ไปกระทาความผิดตามความมุ่งหมาย
•ถ้ าเป็ นสมาชิกแต่ไม่ค้านในที่ประชุม
•เป็ นหัวหน้ า หรื อผู้มีตาแหน่งในอังยี่หรื อ
้
ซ่องโจร
97
กระทําการเป็ นการช่วยเหลือหรื ออุปการะ
•จัดหาที่ประชุม หรื อที่พานักในอังยี่หรื อซ่องโจร
้
•ชักชวนบุคคล ให้ เข้ าเป็ นสมาชิก
•อุปการะโดยการให้ ทรัพย์หรื อโดยประการอื่น
•ช่วยจาหน่ายทรัพย์ที่ได้ มาโดยการกระทาผิด
•โดยเจตนา
98
ประพฤติตนเป็ นปกติธุระให้ที่พานัก
ํ
•1.ให้ ที่พานัก ที่ซอนเร้ น หรื อที่ประชุม
่
•เป็ นปกติธุระ
•แก่ บุคคลที่กระทาผิดตามภาคสอง
•2. เจตนา
•เหตุที่จะไม่ลงโทษ คือ ในกรณีช่วยบิดา มารดา
บุตร สามี ภริ ยา ของผู้กระทา ศาลไม่ลงโทษก็ได้

99
องค์ประกอบความผิดฐาน มัวสุ ม
่
•1.มัวสุม ตังแต่ 10 คนขึ ้นไป
่
้
•2.ใช้ กาลังประทุษร้ าย ขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลัง
ประทุษร้ าย
•หรื อกระทาการอย่างหนึงอย่างใด ให้ เกิดความ
่
วุ่นวายในบ้ านเมือง
•3. เจตนา
•เหตุรับโทษสูงขึ ้น - คนใดคนหนึงมีอาวุธ
่
•เป็ นหัวหน้ าหรื อผู้มีหน้ าที่สงการ
ั่

100
ความผิดฐาน ไม่ยอมเลิกเมื่อสังให้เลิกมัวสุ ม
่
่

•1. เมื่อเจ้ าพนักงานสังให้ เลิก มัวสุม
่
่
•2.ผู้ นนไม่ยอมเลิก
ั้
•3. เจตนา
101
หมวด ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดอันตรายต่อ
ประชาชน

•มุงหมายที่จะคุ้มครองความปลอดภัยของ
่
ประชาชน โดยการลงโทษแม้ ภยจะยังไม่เกิด แต่
ั
ถ้ าเกิดเป็ นอันตรายแก่บคคลหรื อทรัพย์ รับโทษ
ุ
สูงขึ ้น
•รับผิดโดยเจตนาเป็ นหลัก
•แต่ถ้ากระทาโดยประมาท ต้ องรับผิดด้ วย ม.239

102
ความผิดฐาน วางเพลิง
•1.วางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น (ไม่มีกรณี ทรัพย์ที่
ผู้อื่นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ด้วย)
•2. เจตนา
•ต่างจากทาให้ เสียทรัพย์อย่างไร??
•วางเพลิงเผาทรัพย์พิเศษ ม. 218
•โทษสูงเพราะ การตระเตรี ยมการ ระวางโทษเท่า
พยายาม

103
•ผลของการวางเพลิงหรื อทาให้ เกิดระเบิด แต่กระทาต่อ
ทรัพย์มีราคาน้ อย และไม่น่าจะเป็ นอันตรายแก่บคคล
ุ
อื่น รับโทษน้ อย ไม่เกินสามปี
•แต่ถ้าเป็ นเหตุให้ เกิดความตาย บาดเจ็บสาหัส รับโทษ
สูง
•การทาให้ เกิดเพลิงไหม้ โดยประมาท และเป็ นเหตุให้
ทรัพย์ของผู้อื่นเสียหาย หรื อน่าจะเป็ นอันตรายแก่ชีวิต
ของผู้อื่น มีความผิด ม. 225
104
•ทาให้ เกิดเพลิงไหม้ แก่วตถุ แม้ เป็ นของตนเองจนน่าจะ
ั
เกิดอันตรายแก่บคคลอื่น หรื อทรัพย์ของบุคคลอื่น
ุ
•รับโทษสูงหากกระทาต่อทรัพย์ตามมาตรา 218
•ทาให้ เกิดระเบิดจนน่าจะเป็ นอันตรายแก่บคคลอื่น
ุ
•ทาให้ เกิดระเบิดจนเป็ นอันตรายแก่ทรัพย์ตาม ม. 217
หรื อ 218
105
2. การกระทําที่ก่อให้เกิดภยันตรายแก่ ความปลอดภัย
สาธารณะและอนามัย
•เจตนากระทาผิด ประมาทก็ผิด ม. 239 ถ้ าใกล้
จะเป็ นอันตรายแก่ ชีวิตของคน
• ม. 226 กระทาแก่ โรงเรือน อู่เรือ ที่จอดรถ
หรือเรือสาธารณะ สิ่งปลูกสร้ าง เครื่องจักร
เครื่องกล สายไฟฟา หรือสิ่งที่ทาไว้ เพื่อปองกัน
้
้
อันตรายแก่ บุคคลหรือทรัพย์ จนน่ าจะเป็ น
เหตุให้ เกิดอันตรายแก่ บุคคลอื่น

106
•ม. 227 วิศวกร สถาปนิก ปฏิบัติหน้ าที่ไม่
เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิชาชีพ ทาให้
สิ่งก่ อสร้ างน่ าจะเป็ นอันตราย
• ม. 228 การทาให้ เกิดอุกทกภัย หรือการ
ใช้ นาสาธารณูปโภคขัดข้ อง และมีลักษณะ
้
น่ าจะเป็ นอันตรายแก่ บุคคลหรือทรัพย์
107
•ม. 229 กระทาการอันน่ าจะเป็ นอันตรายต่ อ
การจราจร โดยกระทาต่ อทางสาธารณะประตูนา
้
ทานบ เขื่อน อันเป็ นส่ วนหนึ่งของทางสาธารณะ
หรือที่ขนลงของอากาศยาน
ึ้
•ม. 230 ทาอันตรายต่ อทางหรือสัญญาณ ของรถไฟ
หรือรถราง
•ม. 231 ก่ ออันตรายต่ อเครื่องสัญญาณเพื่อความ
ปลอดภัยของการจราจรทางบกหรือทางเรือ
108
•ม. 232 ทาให้ ยานพาหนะบางชนิดเป็ น
อันตรายแก่ บุคคล
• ม. 233 ใช้ ยานพาหนะบรรทุกจนน่ าจะ
เป็ นอันตราย
• ม. 234 ทาให้ ส่ งที่ใช้ ในการผลิต หรือส่ ง
ิ
พลังงานไฟฟาหรื อนา ทาให้ ประชาชนขาด
้
้
ความสะดวกหรื อน่ าจะเป็ นอันตราย
109
•ม. 235 ทาให้ การสื่อสารขัดข้ อง
•ม. 236 ปลอมปนอาหารและยา
•ม. 237 เอาของมีพษหรื อสิ่งที่น่าจะ
ิ
เป็ นอันตรายเจือลงในอาหารหรื อนาที่
้
จัดให้ ประชาชนบริโภค
110
•ม. 238 ถ้ าเป็ นอันตรายถึง
ตายหรื อบาดเจ็บสาหัส
รั บโทษสูง
111
ความผิดต่อความมันคง
่
•ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์
•ความผิดต่อความมันคงของรัฐภายใน
่
•ความผิดต่อความมันคงของรัฐภายนอก
่
•ความผิดต่อสัมพันธ์ไมตรี กบต่างประเทศ
ั
•ความผิดฐานก่อการร้ าย
112
ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริ ย ์
• ความผิดในหมวดนี ้ มีการบัญญัติคล้ ายกับความผิดต่อ
บุคคล แต่จดเป็ นหมวดพิเศษ เพราะถือเป็ นสถาบันที่เป็ นที่
ั
เคารพสูงสุดและประชาชนให้ ความเคารพนับถือ
• เป็ นความผิดที่ต้องรับผิดแม้ ได้ กระทาในขันตระเตรี ยมการ
้
• หรื อมีการช่วยปกปิ ดการกระทา
• มีโทษสูง และสนับสนุนในการกระทาความผิดรับผิด
เท่ากับตัวการ
113
ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริ ย ์
• ความมีฐานปลงพระชนม์ มีโทษ พยายาม รับผิด
เท่ากับความผิดสาเร็จ
• ตระเตรี ยมการ หรื อช่วยปกปิ ดมีความผิด
• ถ้ ากระทาต่อ K ผิด ม. 107
• กระทาต่อ Q หรื อรัชทายาท หรื อผู้สาเร็จราชการ
แทนพระองค์ ผิด ม. 109
114
• ประทุษร้ ายต่อพระองค์ ต่อเสรี ภาพ ต่อ K ผิด ม. 108
• ถ้ ากระทาต่อ Q หรื อรัชทายาท หรื อผู้สาเร็จราชการแทน
พระองค์
• ผิด ม. 110
• ถ้ าเป็ นการกระทาที่น่าจะเป็ นอันตรายแก่พระองค์ มี
ความผิดตามม. 108 วรรค 3 หรื อ ม. 110 วรรคสาม
• สนับสนุนรับผิดเท่ากับตัวการ
115
•หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาด
ร้ าย
•K Q รัชทายาทหรื อผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์
•ผิด ม. 112

116
ความผิดเกี่ยวกับสัมพันธ์ไมตรี
• ต้ องเป็ นประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการทูต กับไทย
• มีลกษณะที่ลงโทษเช่นเดียวกับ ความผิดต่อองค์
ั
พระมหากษัตริ ย์ โดยคุ้มครองประมุข และคณะทูต
• พยายามรับโทษเท่าความผิดสาเร็จ แต่ไม่มีความผิด
ฐานตระเตรี ยมการ
• ไม่มีกรณีสนับสนุนรับผิดเท่าตัวการ
117
• ฆ่าหรื อพยายามฆ่า ราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรื อ
ประมุข หรื อผู้แทนของรัฐต่างประเทศ ที่ได้ รับแต่งตังให้ มาสู่
้
พระราชสานัก
• ผิด ม. 132
• ทาร้ ายร่างกาย หรื อประทุษร้ ายต่อเสรี ภาพ ต่อราชาธิบดี
ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรื อประมุข ผิด 130
• หมิ่นประมาท ดูหมิ่นหรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ ายต่อ
ราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรื อประมุข ผิด 133
118
•ทาร้ ายร่างกาย หรื อประทุษร้ ายต่อเสรี ภาพ ต่อ
ผู้แทนรัฐต่างประเทศ ผิด ม. 131
•หมิ่นประมาท ดูหมิ่นหรื อแสดงความอาฆาตมาด
ร้ ายต่อผู้แทนรัฐต่างประเทศ ผิด ม. 135
•กระทาการต่อธง หรื อเครื่ องหมาย อันมีความหมายถึง
รัฐต่างประเทศ ซึงมีสมพันธไมตรี เพื่อเหยียดหยามรัฐ
่ ั
นัน ผิด ม. 135
้
119
ความผิดต่อความมันคงของรัฐภายใน
่
•มุงคุ้มครองการทาลายสถาบัน ที่เป็ นอานาจ
่
อธิปไตย คือ บริหาร นิติบญญัติ และตุลาการ
ั
•การทาลายกฎหมายหรื อข่มขู่รัฐ โดยไม่มีอานาจ
ทาได้
•กบฏ สะสมกาลังพล ยุยงทหาร บ่อนทาลาย
ชาติ ยุยงนัดปิ ดงาน และการกระทาที่เหยียด
หยามธงไทย

120
•กบฏ ม. 113
•ใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อขู่วาจะใช้ กาลังประทุษร้ าย
่
•เจตนา
•เพื่อล้ มรัฐธรรมนูญ นิติบญญัติ อานาจบริหาร ตุลา
ั
การ
•เพื่อแบ่งแยกราชอาณาจักร หรื อยึดการปกครอง
121
•ส่งเสริมการกบฏ ม. 114
•1.สะสมกาลังพล ตระเตรี ยม สมคบ หรื อ
•กระทาการอันเป็ นส่วนหนึงของแผน
่
•2.ยุยงราษฎร หรื อรู้แล้ วช่วยปกปิ ด
•3.เจตนา
•4.เพื่อเป็ นกบฏ
122
•1.ยุยงให้ ตารวจ ทหารละเมิดวินย ม. 115
ั
•2.ยุยงให้ ทหาร หรื อตารวจ หนีราชการ ละเลย
ไม่ทาหน้ าที่หรื อก่อการกาเริบ
•3.เจตนา
•4.จะต้ องรับโทษสูงขึ ้น หากมีเจตนาพิเศษ เพื่อ
มุงบ่อนวินย
่
ั

123
• ความผิดฐาน บ่อนทาลาย ม. 116
• 1.ทาให้ ปรากฏด้ วยวาจา หนังสือ หรื อโดยวิธีอื่นใด
• โดยไม่มีเสรี ภาพตามที่รัฐธรรมนูญ
• หรื อแสดงความคิดเห็น โดยสุจริ ต
• 2.เจตนา
• 3.เพื่อให้ เกิดความเปลี่ยนแปลง ปั่ นป่ วน หรื อทาให้ ประชาชน
ล่วงละเมิดกฎหมาย
124
•ยุยงให้ หยุดงาน งดจ้ าง ม. 117
•1. ยุยงหรื อจัดให้ มีการร่วมกันนัดหยุดงาน
•การร่วมกันปิ ดงาน งดจ้ าง
•หรื อไม่ยอมค้ าขายหรื อติดต่อทางธุรกิจ
•2.เจตนา
•3.เพื่อให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงในกฎหมายของแผ่นดิน
บังคับรัฐบาล หรื อข่มขู่ประชาชน
125
•2. ทราบการนัดหยุดงาน หรื อปิ ดงานแล้ ว เข้ าร่วม
•เจตนา
•3. ทราบการนัดหยุดงานหรื อปิ ดงานแล้ ว ใช้ กาลัง
ข่มขู่
•โดยเจตนา
•เพื่อให้ ผ้ อื่นเข้ าร่วม
ู
126
•ความผิดฐานลบหลูธง หรื อเครื่ องหมายของรัฐไทย
่
ม. 118
•1.กระทาด้ วยประการใดๆ แก่ธง หรื อเครื่ องหมายที่
หมายถึงรัฐ
•2.เจตนา
•3.เพื่อเหยียดหยามประเทศ
127
•ปั ญหา ผิดฐาน 118 หรื อไม่
•เมาสุรา แล้ วชักปื น ยิงไปที่ธงชาติไทย
•นาธงชาติไทยไปทาเป็ นชุดชันในหรื อรองเท้ า
้
•นาธงชาติไทยไปเผา
128
ความผิดต่อความมันคงของรัฐภายนอก
่
•ทาให้ รัฐเสียเอกราช ม. 119
•1.กระทาการใดๆ
•2.โดยเจตนา
•3.เพื่อให้ ราชอาณาจักร ทังหมดหรื อบางส่วนอยู่
้
ใต้ อานาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ
•หรื อ เพื่อให้ เอกราชของรัฐเสื่อมเสีย

129
•กบฏ ภายนอกราชอาณาจักร ม. 120
•1.คบคิด กับบุคคลซึงกระทาการ
่
•เพื่อประโยชน์ของรัฐต่างประเทศ
•2.เจตนา ด้ วยความประสงค์จะก่อให้ เกิดการดาเนินการ
รบต่อรัฐหรื อในทางอื่นที่เป็ นปรปั กษ์ ต่อรัฐ

130
•ทาการรบต่อประเทศ ม. 121
•1.เป็ นคนไทย
•2.กระทาการรบหรื อเข้ าร่วมเป็ นข้ าศึก
•กับประเทศไทย
•3.เจตนา
131
•ความผิดฐาน อุปการะแก่ข้าศึก ม. 122
•1.กระทาการใด เพื่อเป็ นการอุปการะหรื อเพื่อ
ตระเตรี ยมการรบแก่ข้าศึก
•ตัวอย่างของการให้ การอุปการะ กาหนดใน (1)
–(4)
•2.เจตนา
132
•ความผิดฐาน สืบความลับของประเทศ ม. 123
•1.กระทาการใด เพื่อให้ ได้ มาซึงข้ อความ
่
•เอกสารหรื อ สิ่งอื่นใด อันปกปิ ด ไว้ เป็ นความลับ
•สาหรับความปลอดภัยของประเทศ
•2.เจตนา
133
• ความผิดฐาน กระทาการให้ ผ้ อื่นล่วงรู้ความลับ ม. 124
ู
• 1.กระทาการเพื่อให้ ผ้ อื่นล่วงรู้ความลับ
ู
• หรื อได้ ไปซึงเอกสารหรื อสิ่งอื่นใด อันปกปิ ดไว้ เป็ นความลับอัน
่
เป็ นความปลอดภัยของประเทศ
• 2.เจตนา
• เหตุเพิ่มโทษ ถ้ ากระทาในระหว่างประเทศอยูในภาวการณ์รบ
่
หรื อสงคราม ได้ กระทาให้ รัฐต่างประเทศได้ ประโยชน์
134
•ม. 125
•1.ทาปลอม ทาเทียม กักไว้ ซ่อนเร้ น ปิ ดบัง ยักย้ าย
ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ สญหาย หรื อไร้
ู
ประโยชน์
•เอกสารหรื อแบบใดๆ อันเกี่ยวด้ วยส่วนได้ เสียของ
รัฐในการระหว่างประเทศ
•2.เจตนา
135
•ม. 126
•1.เป็ นผู้ได้ รับมอบหมายจากรัฐบาลไทย ให้ ทา
กิจการกับรัฐต่างประเทศ
•2.ไม่ปฏิบติการดังกล่าว
ั
•3.เจตนา
•4.ทุจริต
136
•ม. 127
•1.กระทาการใดๆ
•เพื่อให้ เกิดเหตุร้ายแก่ประเทศ จากภายนอก
•2.เจตนา
•รับผิดหนักขึ ้น ถ้ าเหตุร้ายนันเกิดขึ ้น
้
137
•ความผิดในหมวดนี ้
•การตระเตรี ยมการ พยายาม รับผิดเท่ากับ
ความผิดสาเร็จ ม. 128
•ผู้ สนับสนุน รับผิดเท่ากับตัวการ ม. 129
138
ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย
•ความผิดฐานก่อการร้ าย ม. 135/1
•1.กระทาการใดๆ ตาม (1) หรื อ (2) หรื อ (3)
•2.เจตนา
•3.โดยมีความมุงหมายเพื่อบังคับรัฐบาลไทย
่
รัฐบาลต่างประเทศ หรื อองค์การระหว่าง
ประเทศ ให้ กระทาการหรื อไม่กระทาการอันจะ
ก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรง

139
•หรื อเพื่อสร้ างความปั่ นป่ วน โดยให้ เกิดความหวาดกลัว
ในหมู่ประชาชน
•เหตุที่มีอานาจกระทา คือ ถ้ าเป็ นการเดินขบวน ชุมนุม
ประท้ วง โต้ แย้ ง หรื อเคลื่อนไหวเพื่อเรี ยกร้ องให้ รัฐ
ช่วยเหลือหรื อขอความเป็ นธรรมตามรัฐธรรมนูญ
140
• (1) ใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อกระทาการใดๆ อันก่อให้ เกิด
อันตรายแก่ชีวิต หรื ออันตรายร้ ายแรงต่อร่างกาย เช่น ยิง จับ
ทาร้ ายหรื อวางระเบิด
• (2) กระทาการใดๆ อันก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรง
ต่อระบบการขนส่งสาธารณะ ระบบโทรคมนาคม หรื อ
โครงสร้ างพื ้นฐานอันเป็ นประโยชน์สาธารณะ เช่น วางระเบิด
ทางรถไฟ เผาสถานีเครื อข่ายการสื่อสาร เป็ นต้ น
141
•(3) กระทาการใดๆ อันก่อให้ เกิดความเสียหายแก่
ทรัพย์สินของรัฐ หรื อบุคคลหรื อต่อสิ่งแวดล้ อม อัน
ก่อให้ เกิดหรื อน่าจะเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ
อย่างร้ ายแรง เช่น วางเพลิงเผาป่ าไม้ หรื อระเบิด
คลังนามันหรื อคลังอาวุธ ก่อให้ เกิดมลพิษทาง
อากาศอย่างร้ ายแรง
142
•ม. 135/2 ขู่วาจะก่อการร้ าย
่
•(1) ขู่เข็ญ ว่าจะทาการก่อการร้ าย
•โดยมีพฤติการณ์อนควรเชื่อว่าจะกระทาการตามที่ขู่
ั
เข็ญจริง
•เช่น ขู่วาจะวางระเบิดสนามบินสุวรรณภูมิหรื อ
่
สนามบินเชียงใหม่ ในช่วงเวลาของงานราชพฤกษ
143
•(2) สะสมกาลังพล หรื ออาวุธ จัดหาหรื อ รวบรวม
ทรัพย์สิน
•เช่น สะสมอาวุธสงครามหรื อซื ้อจากต่างประเทศ
หรื อรวบรวมผู้คนฝึ กอาวุธ เป็ นต้ น
•(3) ให้ หรื อรับการฝึ กการก่อการร้ าย
•ตระเตรี ยมการอื่นใด หรื อสมคบกันเพื่อก่อการร้ าย
144
•หรื อกระทาการความผิดอันเป็ นส่วนหนึงของ
่
แผนการก่อการร้ าย
•หรื อยุยงประชาชนให้ เข้ ามามีสวนก่อการร้ าย
่
•หรื อรู้วามีการก่อการร้ าย แล้ วช่วยปกปิ ด
่
•เจตนา
145
• สนับสนุน ตาม ม. 135/1 หรื อ ม. 135/2 รับผิดเท่ากับตัวการ
ม. 135/3
• เป็ นสมาชิก คณะบุคคล ที่มีมติของหรื อประกาศ ภายใต้ มนตรี
ความมันคงแห่งสหประชาชาติ กาหนดให้ เป็ นคณะบุคคลที่มี
่
การก่อการร้ ายและรัฐบาลไทยได้ ประกาศรับรองมติหรื อ
ประกาศดังกล่าวแล้ ว
• เจตนา
• ผิด ม. 135/4
146
ความผิดในหมวดเจ้าพนักงาน

•ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
•ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม

147
ลักษณะของความผิดในหมวดเจ้าพนักงาน
• เป็ นความผิดที่รัฐต้ องการคุ้มครองความเด็ดขาดของ
อานาจรัฐโดยการคุ้มครองสองประการ
• ประการแรก คุ้มครองการทางานของเจ้ าพนักงานให้
มีประสิทธิภาพ
• ประการที่สอง ปองกันมิให้ เจ้ าพนักงานใช้ อานาจโดย
้
มิชอบหรื อทุจริ ต
148
• โดยหลักแล้ ว รัฐจะเป็ นผู้เสียหาย
• การกระทาความผิดโดยหลักต้ องกระทาโดยเจตนา และมี
เจตนาพิเศษเพื่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ อื่น หรื อทุจริ ต
ู
ในกรณีที่เป็ นเจ้ าพนักงานกระทาความผิดต่อตาแหน่ง
หน้ าที่
• ส่วนการกระทาที่ประชาชนกระทาต่อรัฐหรื อเจ้ าพนักงาน
ของรัฐ เป็ นการกระทาโดยเจตนาและมีผลทาให้ รัฐ
เสียหายหรื อไม่อาจบังคับใช้ กฎหมายได้
149
ความผิดต่อเจ้าพนักงาน

•มีสองรูปแบบ
•ประชาชนกระทาต่อเจ้ าพนักงาน
•เจ้ าพนักงานกระทาผิดต่อตาแหน่งหน้ าที่
•กรณีตาแหน่งหน้ าที่ - โดยทุจริต / โดยมิ
ชอบ
150
•ประเภทของเจ้ าพนักงาน
•เจ้ าพนักงานปกครอง
•เจ้ าพนักงานในกระบวนการยุติธรรม
รวมถึงศาลด้ วย
151
ความผิดต่อเจ้าพนักงาน

•1. ดูหมิ่นเจ้ าพนักงาน ม. 136 เทียบ
ม. 326 มาตรา 393
•ดูหมิ่น หมิ่นประมาท ต่ างกันอย่ างไร
•2. แจ้ งความเท็จต่ อเจ้ าพนักงาน
เทียบ ม. 172 ม. 173 และมาตรา 267
152
•3. ฐานต่ อสู้ขัดขวาง เจ้ าพนักงาน หรือผู้ต้อง
ช่ วยเจ้ าพนักงานตามกฎหมาย ม. 138
•ถ้ าใช้ กาลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญว่ าจะใช้ กาลัง
ประทุษร้ าย มีโทษสูง
•ถ้ ามีหรือใช้ อาวุธ หรือโดยร่ วมกระทาความผิด
ด้ วยกันตังแต่ สามคนขึนไป มีโทษสูงตามมาตรา
้
้
140 วรรคแรก
153
•อ้ างอานาจอังยี่หรือซ่ องโจร มีโทษสูงตาม
้
มาตรา 140 วรรคสอง
•โดยมีหรือใช้ อาวุธปื นหรือวัตถุระเบิด รับโทษ
หนัก
•ความหมายของคาว่ า “ต่ อสู้” หมายถึง การใช้
กาลังเข้ าต่ อสู้กับเจ้ าพนักงาน
•ส่ วน “การขัดขวาง” หมายถึง การกระทาให้ การ
ปฏิบัตงานของเจ้ าพนักงานเป็ นอุปสรรค
ิ
154
•การนิ่ ง การนั่งเฉย การนอน การวิ่งหนี เป็ นการ
ขัดขวางหรือไม่
•4. ฐานข่ มขืนใจเจ้ าพนักงานให้ กระทาการอันมิ
ชอบด้ วยหน้ าที่หรือละเว้ นการปฏิบตการตาม
ั ิ
หน้ าที่
• ม. 139 เทียบ ม. 309 ข่ มขืนใจหรือผู้อ่ ืนกระทา
การหรือละเว้ นการกระทาการ
155
•5. ฐานทาให้ เสียเสียหาย หรือทาลาย ตราหรือ
เครื่องหมาย ที่เจ้ าพนักงานประทับเพื่อปฏิบัติ
ตามกฎหมายเพื่อเป็ นหลักฐานในการยึด
ม. 141

•แต่ ถ้าเป็ นการทาลายทรั พย์ ที่ถกยึดหรื อ
ู
อายัด ผิดตามมาตรา 142
156
• 6. ฐานเป็ นคนกลางในการติดต่ อกับเจ้ าพนักงานเพื่อกระทา
การอันมิชอบด้ วยหน้ าที่ ม. 143

• การกระทาคือ
• 1.เรี ยก รั บ ยอมจะรั บ ทรั พย์ สินหรื อประโยชน์ อ่ ืนใด
สาหรั บตนเองหรื อผู้อ่ ืน
• เพื่อเป็ นการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรื อได้ จูงใจ
เจ้ าพนักงาน สส. สว. สจ. สท. โดยวิธีอันทุจริต หรื อ
ผิดกฎหมายหรื อโดยอิทธิพลของตนเอง
• ให้ กระทาการหรื อไม่ กระทาการอันเป็ นคุณหรื อเป็ น
โทษแก่ บุคคลใด
• 2. เจตนา
157
•7. ติดสินบนเจ้ าพนักงาน ม. 144 เทียบ 167
•1.ให้ ขอให้ หรือรับว่ าจะให้ ทรัพย์ สินหรือ
ประโยชน์ อ่ นใด แก่ เจ้ าพนักงาน สส. สว. สจ.
ื
สท.
•เพื่ อจูงใจให้ กระทาการ ไม่ กระทาการ หรือ
ประวิงการกระทาอันมิชอบด้ วยหน้ าที่
•2.เจตนา เจตนาพิเศษ เพื่อจูงใจฯ
158
•8. แสดงตนเป็ นเจ้ าพนักงานและกระทาการ
เป็ นเจ้ าพนักงาน ม. 145
•1.ผู้ ใด (ราษฎร เจ้ าพนักงานอื่น หรือเจ้ า
พนักงานที่ถูกพักงาน)
•2.แสดงตนว่ าเป็ นเจ้ าพนักงาน และ กระทาการ
เป็ นเจ้ าพนักงาน โดยตนเองไม่ ได้ เป็ นเจ้ า
พนักงาน
159
•3.โดยเจตนา
•9. แต่ งกายหรือใช้ เครื่องหมายของเจ้ าพนักงาน
หรือเครื่องราชฯ ม. 146
•1.ผู้ ใด ไม่ มีสิทธิสวมเครื่องแบบหรือ
เครื่องหมาย หรือเครื่องราชฯ หรือสิ่งที่
หมายถึงเครื่องราชฯ
•2.สวมเครื่ องแบบ ติดเครื่องหมาย หรือเครื่อง
ราชฯ
160
•3.โดยเจตนา
ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ ม. 147-157

• ความผิดที่เจ้ าพนักงานปฏิบัตหรือละเว้ น
ิ
การปฏิบัตหน้ าที่ โดยทุจริต ม. 147-157
ิ
• ความผิดที่เจ้ าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้ น
การปฏิบัตหน้ าที่โดยมิชอบเพื่อให้ เกิด
ิ
ความเสียหายแก่ ผ้ ูอ่ ืน ม.157-166
161
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)

Contenu connexe

Tendances

สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapkrupornpana55
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายBeerza Kub
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 

Tendances (20)

Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind map
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 

En vedette

กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557Narong Jaiharn
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 

En vedette (7)

หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
ลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญาลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญา
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 

Plus de Narong Jaiharn

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2Narong Jaiharn
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556Narong Jaiharn
 
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.Narong Jaiharn
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Narong Jaiharn
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Narong Jaiharn
 
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556Narong Jaiharn
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยNarong Jaiharn
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์Narong Jaiharn
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556Narong Jaiharn
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริNarong Jaiharn
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfNarong Jaiharn
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์Narong Jaiharn
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติNarong Jaiharn
 

Plus de Narong Jaiharn (16)

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
 
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
 
Criminal penalties2
Criminal penalties2Criminal penalties2
Criminal penalties2
 
Criminal penalties1
Criminal penalties1Criminal penalties1
Criminal penalties1
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
 

เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)

  • 2. ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ •เป็ นความผิดที่ค้ ุมครอง •กรรมสิทธิ์- การครอบครอง การใช้ และตัว ทรัพย์ ของผู้อ่ ืน •ทรัพย์ สิน (มีรูปร่ างหรือไม่ มีกได้ ) ็ •การครอบครองอสังหาริมทรัพย์ โดยปกติสุข 2
  • 3. ความผิดที่คุมครองกรรมสิ ทธิ์ ลักทรัพย์ วิงราวทรัพย์ ้ ่ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ •องค์ประกอบความผิดฐาน “ลักทรัพย์” •1.เอาไป ซึงทรัพย์ของผู้อื่นหรื อที่ผ้ อื่นเป็ น ่ ู เจ้ าของรวมอยู่ด้วย •2.โดยเจตนา เอาไป รู้วาเป็ นของผู้อื่น ่ •3.โดยเจตนาทุจริต (แสวงหาประโยชน์ที่มิควร ได้ โดยชอบด้ วยกฎหมายสาหรับตนเองหรื อ ผู้อื่น) 3
  • 4. • ทรั พย์ หมายถึง สิ่งที่มีรูปร่ าง ที่อาจมีราคาและ ถือเอาได้ (นิยามจากปพพ.) • ของผู้อ่ ืน ของที่ผ้ ูอ่ ืนเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ด้วย • ปั ญหา • ทรั พย์ สาธารณะ เช่ น ห้ องนาสาธารณะ เป็ นต้ น ้ • ทรั พยากรธรรมชาติ ดิน นา ป่ าไม้ สัตว์ ป่า ปลาใน ้ แม่ นา แร่ ธาตุ ก๊ าชธรรมชาติ เป็ นต้ น ้ 4
  • 5. • เอาไป คือการแย่ งการครอบครองตลอดไป ไม่ ใช่ เอาไปใช้ แล้ วนามาคืน (แต่ ถ้าแย่ งไปแล้ วอย่ างถาวร ต่ อมากลับใจมาคืน ก็เป็ นลักทรั พย์ ) • ต้ องเอาไปขณะที่ไม่ ได้ ครอบครอง ถ้ าเอาไประหว่ าง ที่ครอบครอง เป็ นการเบียดบัง • เอาไป ต้ องเป็ นการแย่ ง (หมายความว่ าเจ้ าของ ไม่ ได้ ยนยอมโดยชัดแจ้ งหรื อโดยปริยายที่จะมอบ ิ ให้ ) • หากเป็ นกรณีเจ้ าของยินยอมให้ ไม่ เป็ นการเอาไป ตามหลักเรื่ องลักทรั พย์ 5
  • 6. •ร่างกายของคน(ขณะที่ยงมีชีวิตอยู่) ไม่ใช่ทรัพย์ แต่ ั ถ้ าหลุดออกมาแล้ ว อาจเป็ นทรัพย์ได้ ถ้ ามีการ ถือเอาเป็ นเจ้ าของ •ศพ เป็ นทรัพย์หรื อไม่ •พลังงาน กระแสไฟฟา กระแสไฟในสายโทรศัพท์ ้ •ข้ อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ข้ อมูลในบัตร อิเล็กทรอนิกส์ •คลื่นมือถือ คลื่นสัญญาณโทรทัศน์ คลื่นวิทยุ 6
  • 7. •การที่เจ้ าของยินยอมให้ ทรัพย์ เพราะถูกหลอก ไม่ใช่ยินยอมให้ เอาไปไม่เป็ นลักทรัพย์ แต่เป็ น ความผิดฐานฉ้ อโกง •ทรัพย์ที่เอาไปได้ ต้ องเป็ นทรัพย์ที่เป็ นสังหาริมทรัพย์ หากเป็ นอสังหาริมทรัพย์ไม่อาจเป็ นการเอาไปได้ •แต่อาจเป็ นกรณีบกรุกอสังหาริมทรัพย์ ุ 7
  • 8. •ความผิดสาเร็จ เมื่อทรัพย์ที่ถกแย่งอยู่ในความ ู ครอบครองของผู้กระทา •ถ้ ายังไม่สามารถเข้ าครอบครอง เป็ นเพียงพยายาม ลักทรัพย์ •ทรัพย์ที่ติดกับตัวแม่ทรัพย์ ต้ องทาให้ ขาดและเข้ า ถือเอาทรัพย์นนจึงเป็ นผิดสาเร็จ ั้ •ทรัพย์ที่อยู่เป็ นเอกเทศ ผู้กระทาต้ องเข้ าครอบครอง 8
  • 9. วิงราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ่ •ลักทรัพย์ + ฉกฉวย เอาซึงหน้ า = วิ่งราว ่ ทรัพย์ •ลักทรัพย์ + ขู่ หรื อใช้ กาลังประทุษร้ าย+ ใน ทันใดนัน = ชิงทรัพย์ ้ •ลักทรัพย์+ขูหรื อใช้ กาลังประทุษร้ าย+ใน ่ ทันใดนัน +3 คน=ปล้ นทรัพย์ ้ 9
  • 10. • การฉกฉวย หมายถึง การหยิบหรื อคว้ าทรั พย์ แต่ ไม่ ต้ องถึงกับพาหนี • ซึ่งหน้ า หมายถึง การกระทาต่ อหน้ าเจ้ าทรั พย์ • ขู่ เป็ นการข่ มขืนใจ เพื่อให้ แย่ งการครอบครองได้ • ใช้ กาลังประทุษร้ าย หมายถึง การใช้ กาลังต่ อ ร่ างกาย • เพื่อแย่ งการครอบครอง หรื อเพื่อความสะดวกใน การลักทรั พย์ • หรื อเพื่อพาทรั พย์ ไป หรื อเพื่อให้ พ้นจากการจับกุม 10
  • 11. กรรโชก กับ รี ดเอาทรัพย์ •ขู่ หรื อใช้ กาลังประทุษร้ าย เพื่อให้ ส่งทรัพย์ให้ หรื อเพื่อให้ ยอมรับว่า จะส่งทรัพย์ให้ เป็ นกรรโชก •ขู่ โดยเปิ ดเผยความลับ เป็ น รี ดเอาทรัพย์ 11
  • 12. กรรโชก กับ ชิงทรัพย์ • กรรโชก กับชิงทรั พย์ เป็ นการขู่ หรื อใช้ กาลังทัง ้ สองกรณี • แต่ กรณีชิงทรั พย์ ต้องเป็ นการใช้ กาลังในทันใดนัน ้ และให้ มีการส่ งทรั พย์ แต่ กรรโชก อาจไม่ ต้องทา เช่ นนัน ้ • กรรโชก เป็ นเรื่ องใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อขู่เพื่อให้ ยอมรั บว่ าจะให้ ทรั พย์ • แต่ ชิงทรั พย์ เป็ นเรื่ องแย่ งการครอบครองทรั พย์ โดย ขู่หรื อใช้ กาลังประทุษร้ ายในทันใดนัน ้ 12
  • 13. ความผิดฐาน ยักยอก เป็ นการกระทําที่ได้ทรัพย์ของ ผูอื่น โดยเบียดบังแต่ไม่แย่งการครอบครอง ้ •1.เบียดบัง หมายถึง เอาทรัพย์ไปเป็ นประโยชน์ ขณะที่ตนครอบครองทรัพย์นนอยู่ ั้ •2.ทรัพย์ของผู้อื่นหรื อที่ผ้ อื่นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ ู ด้ วย •3.โดยเจตนาเบียดบัง •4.ทุจริต 13
  • 14. • การเบียดบัง เกิดขึ ้นได้ เมื่อการครอบครองอยูกบตัว ่ ั ผู้กระทาผิด ดังนัน ้ • ถ้ าการครอบครองไม่อยูกบผู้กระทา ผู้กระทาผิดลักทรัพย์ ่ ั • ถ้ าการครอบครองอยูกบผู้กระทา การกระทาเป็ นยักยอก ่ ั • ถ้ าทรัพย์ไม่มีผ้ ใดครอบครองเลย แต่ผ้ กระทาเก็บเอาไป ู ู เป็ นยักยอกทรัพย์สนหาย ม.352 วรรคสอง ิ • ถ้ าเจ้ าของมอบการครอบครองให้ โดยสาคัญผิด แล้ วเอา ไปเป็ นประโยชน์ เป็ นยักยอกตาม วรรคสอง ม. 352 เช่นกัน 14
  • 15. •ฝากเงินให้ นายก. ไปซื ้อตัวภาพยนตร์ นาย ก.นา ๋ เงินไป โดยไม่ยอมซื ้อตัวให้ ๋ •ฝากเอกสารไปให้ แก่นายดา ผู้รับฝากนาเอกสารนัน ้ ไปใช้ เอง •ฝากขายของ คนรับฝากขายของได้ แล้ วไม่ยอม จ่ายเงินให้ แก่ผ้ ฝากขาย ู 15
  • 16. • วางกระเป๋ าไว้ ที่เคาเตอร์ แล้ วลืมหยิบมา มีคนหยิบ กระเป๋ าไปใช้ • โทรศัพท์มือถือหล่นในรถประจาทาง มีผ้ โดยสารเก็บไปใช้ ู • เบิกเงิน 3,000 บาท พนักงานธนาคารจ่ายให้ 4,000 บาท • เบิกเงิน 5,000 บาทที่เครื่ อง ATM. เงินไม่ออกมา พอ เดินออกไป มีคนมาดึงกระดาษที่ปิดไว้ ในช่องจ่ายเงินแล้ ว เงินที่กดจานวน 5,000 บาทไหลออกจากเครื่ อง คนนัน ้ เก็บเงินไปใช้ 16
  • 17. •มีคนโอนเงินเข้ าบัญชีให้ 5,000 บาท โดยกด หมายเลขผิด เราเอาเงินไปใช้ โดยรู้วาไม่ใช่เงิน ่ ของเรา •พบเงินจานวน 1,000 ตกที่ถนนสาธารณะ เก็บ ไปให้ แม่ใช้ 17
  • 18. ฉ้ อโกง ความผิดที่มงต่อทรัพย์สิน ุ่ •หลอกลวง ด้ วยการแสดงข้ อความอันเป็ น เท็จ หรือปกปิ ดข้ อความจริงซึ่งควรบอกให้ แจ้ ง •ได้ ไปซึ่งทรัพย์ สิน หรือให้ ผ้ ูอ่ ืนทา ถอน เอกสารสิทธิ •โดยเจตนา •โดยทุจริต 18
  • 19. •นิ่งไม่บอกว่า ของที่ขายมีตาหนิ แล้ วติดราคาขายใน ราคาปกติ •ใช้ เครื่ องหมายการค้ า เช่น ลีวาย ติดกับกางเกงยีน เพื่อขายในราคาปกติ •ขับรถเข้ าไปในปั๊ มน ้ามัน แล้ วบอกให้ เด็กปั๊ มเติม น ้ามันให้ เต็ม พอเติมเสร็จ ขับรถออกไปโดยไม่จ่าย ค่าน ้ามัน •เอาพระใหม่มาให้ เช่าบูชา โดยบอกว่าเป็ นพระกรุ 19 เก่า
  • 20. •ผลของการฉ้ อโกง ต้ องได้ ไปซึงทรัพย์สิน ่ แต่อาจไม่ต้องได้ ทรัพย์ไปทังหมด ้ •ได้ ประโยชน์จากการทา ถอน หรื อทาลาย เอกสารสิทธิ •แนวคิด คือ ได้ ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ 20
  • 21. •ฉ้ อโกงประชาชน เป็ นการกระทาการหลอกลวง โดยไม่จากัดตัวผู้เสียหาย •ถ้ าหลอกลวงเป็ นรายคน แม้ จะมีจานวนมาก ก็ เป็ นฉ้ อโกง ม. 341 •ถ้ าหลอกโดยไม่เจาะจงตัวบุคคล แม้ จะเชื่อ เพียงคนเดียวก็เป็ นฉ้ อโกงประชาชน ตาม ม. 343 21
  • 22. ฉ้อโกงแรงงาน ม. 344 •หลอกลวงบุคคลตังแต่ สิบคนขึนไป ้ ้ เพื่อให้ ทางานให้ โดยไม่ จ่าย ค่ าแรงงาน หรื อจ่ ายไม่ ครบตามที่ ตกลงกัน •เจตนาหลอกลวง •โดยทุจริต 22
  • 23. ฉ้อโกงค่าอาหารและเครื่ องดื่มหรื อค่าเช่าโรงแรม •สังซื ้อและบริ โภคอาหารหรื อเครื่ องดื่ม ่ หรื อเข้ าอยู่ในโรงแรม •โดยรู้ วาตนไม่สามารถชาระค่าอาหาร ่ หรื อเครื่ องดื่ม หรื อค่าอยู่ในโรงแรม •เจตนา 23
  • 24. • ชักจูงให้ จาหน่ายทรัพย์โดยเสียเปรี ยบซึงทรัพย์สน ่ ิ • โดยอาศัยเหตุที่ผ้ ถกชักจูงมีจิตใจอ่อนแอหรื อเป็ นเด็กเบา ูู ปั ญญา • และไม่สามารถเข้ าใจตามควรซึงสาระสาคัญแห่งการ ่ กระทาของตน • จนผู้ถกจูงใจจาหน่ายซึงทรัพย์สนนัน ู ่ ิ ้ • เจตนาเพื่อเอาทรัพย์สนของผู้อื่นเป็ นของตนหรื อของ ิ บุคคลที่สาม 24
  • 25. •แกล้ งให้ ทรัพย์สินอันเป็ นวัตถุที่เอาประกันภัยเสียหาย •เจตนา •เพื่อให้ ตนเองหรื อผู้อื่นได้ รับประโยชน์จากการประกัน วินาศภัย •เช่น ทุบรถที่เอาประกันภัยไว้ เพื่อขอค่าซ่อม •เผาบ้ านหรื อร้ าน ที่เอาประกันภัยไว้ 25
  • 26. โกงเจ้าหนี้ จํานํา ตามม. 349 •เอาไปเสีย ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่า หรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์ •ซึงทรัพย์อนตนได้ จานาไว้ แก่ผ้ อื่น ่ ั ู •เจตนา •เพื่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ รับจานา ู 26
  • 27. โกงเจ้าหนี้ ตามม. 350 • 1. ย้ ายไปเสีย ซ่ อนเร้ น หรื อโอนไปให้ แก่ ผ้ ูอ่ ืน ซึ่งทรั พย์ ใด หรื อ • 2. แกล้ งให้ ตนเองเป็ นหนีจานวนใดอันไม่ เป็ น ้ ความจริง • เจตนา • เพื่อมิให้ เจ้ าหนีของตนหรื อของผู้อ่ ืนได้ รับชาระ ้ หนีทงหมดหรื อแต่ บางส่ วน ซึ่งได้ ใช้ หรื อจะใช้ ้ ั้ สิทธิทางศาล 27
  • 28. รับของโจร •ช่วยซ่อนเร้ น ช่วยจาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื ้อ รับจานา หรื อรับไว้ ด้วยประการใดๆ •ซึงทรัพย์อนได้ มาจากการกระทาความผิด ่ ั •ลัก วิ่ง กรรโชก รี ดเอาทรัพย์ ชิง ปล้ น ฉ้ อ ยักยอก หรื อเจ้ าพนักงานยักยอก •เจตนา รู้วาเป็ นของได้ มาจากการกระทาผิด (ไม่ ่ ต้ องรู้วาได้ มาจากความผิดฐานใด) ่ 28
  • 29. •คนที่ ร้ ูว่าทรัพย์ นันได้ มาจากการกระทาความผิด ้ จึงจะผิด หากไม่ ร้ ู ไม่ ผด ิ •ทรัพย์ นันต้ องเป็ นทรัพย์ ท่ ได้ มาจากการกระทา ้ ี ความผิด หากเปลี่ยนสภาพหรือมีการโอนโดย ถูกต้ อง ก็ไม่ ผด ิ •ผู้ กระทาความผิดที่ระบุแล้ วนาทรัพย์ ไป จาหน่ าย ไม่ เป็ นรับของโจรอีก (ฎ. 325/2520) •ตกลงจะซือยังไม่ ผิด เพราะต้ องรับซือ ้ ้ 29
  • 30. •รับของที่ร้ ูวาเป็ นของที่ได้ มาจากการลักทรัพย์ แต่ ่ ต้ องการนาไปคืน ไม่ผิดฐานรับของโจร เพราะไม่ได้ เป็ นการช่วยซ่อนเร้ น ช่วยจาหน่าย หรื อช่วยพาเอา ไปเสีย (ฎ. 1975/2517) •ช่วยสืบหาและไถ่ทรัพย์ที่อยู่ในความครอบครองของ คนร้ ายมาให้ ผ้ เู สียหายไม่เป็ นรับของโจร (ฎ. 657/2519) 30
  • 31. ทําให้เสี ยทรัพย์ •ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ เสื่อมค่า หรื อทาให้ ไร้ ประโยชน์ •ทรัพย์ของผู้อื่นหรื อที่ผ้ อื่นเป็ นเจ้ าของ ู รวมอยู่ด้วย •เจตนา 31
  • 32. • ความผิดนี ้ คุ้มครองการใช้ ประโยชน์ในตัวทรัพย์ หรื อการ ครอบครองทรัพย์ • การกระทาต้ องเป็ นการก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ตวทรัพย์ มิใช่ ั การครอบครองในตัวทรัพย์ •ปล่อยนก ปล่อยลมยางรถยนต์ •ใช้ น ้าหมึกราดไปที่เอกสาร ทาให้ อานตัวอักษร ่ ไม่ได้ •ฉีกกระดาษให้ ขาด ทุบกระจกรถให้ แตก 32
  • 33. •รับโทษหนักขึ ้นถ้ ากระทาต่อทรัพย์ตาม ม. 359 •เครื่ องกล หรื อเครื่ องจักร ที่ใช้ ในการประกอบกสิกร รมหรื ออุตสาหกรรม •ปศุสตว์ ั •ยวดยานหรื อสัตว์พาหนะที่ใช้ ในการขนส่งสาธารณะ หรื อในการประกอบกสิกรรม หรื ออุตสาหกรรม •พืชหรื อพืชผลของกสิกร 33
  • 34. •ทาให้ เสียทรัพย์ที่ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อสาธารณประโยชน์ ผิด ม 360 •เช่น ทาลายสะพาน ทางรถไฟ ถนนหลวง ปายบอก ้ ชื่อหนองน ้าสาธารณะ ทาลายโทรศัพท์สาธารณะ •ถ้ าเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเช่น สถานที่ ราชการไม่เข้ า เช่น สถานีอนามัย สถานีตารวจ เป็ น ต้ น 34
  • 35. •ทาให้ เสียทรัพย์ ที่ระบุไว้ ในมาตรา 335 ทวิ วรรคหนึ่งซึงประดิษฐานอยู่ในสถานที่ตาม ่ มาตรา 335 ทวิ วรรคสอง มีโทษสูง ตาม มาตรา 360 ทวิ •ตัดเศียรพระพุทธรูปที่ประดิษฐานในโบสถ์ เป็ นต้ น 35
  • 36. เหตุฉกรรจ์ของลักทรัพย์ •ม. 335 (1)-(12) •ม.335ทวิ พระพุทธรูปหรื อวัตถุในทางศาสนา •ม. 336 ทวิ แต่งเครื่ องแบบทหารหรื อตารวจ มี อาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด โดยใช้ ยานพาหนะ 36
  • 37. เหตุฉกรรจ์ตามมาตรา 335 • (1) ในเวลากลางคืน • (2) ในที่หรื อบริ เวณที่มีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด อุทกภัย หรื อในที่หรื อบริ เวณที่มีอบติเหตุ เหตุทกข ุ ั ุ ภัยแก่รถไฟ หรื อยานพาหนะอื่นที่ประชาชนโดยสาร หรื อภัยพิบติอื่น ทานองเดียวกัน หรื ออาศัยโอกาส ั เช่นว่านัน หรื ออาศัยโอกาสที่ประชาชนกาลังตื่นกลัว ้ ภยันตรายใดๆ 37
  • 38. •(3)โดยทาอันตรายสิ่งกีดกัน สาหรับคุ้มครองบุคคล ้ หรื อทรัพย์หรื อโดยผ่านสิ่งเช่นนันเข้ าไปด้ วยประการ ้ ใดๆ •(4) โดยเข้ าทางช่องทางซึงได้ ทาขึ ้นโดยไม่ได้ จานง ่ ให้ เป็ นทางคนเข้ า หรื อเข้ าทางช่องทางซึงผู้เป็ นใจ ่ เปิ ดให้ ไว้ •(5) โดยแปลงตัวหรื อปลอมตัวเป็ นผู้อื่น หรื อมอม หน้ าหรื อทาด้ วยประการอื่นเพื่อไม่ให้ เห็นหรื อจา 38 หน้ าได้
  • 39. • (6) โดยลวงว่าเป็ นคนอื่น • (7) โดยมีอาวุธ หรื อโดยร่วมกระทาความผิดด้ วยกันตังแต่ ้ สองคนขึ ้นไป • (8) ในเคหสถาน สถานที่ราชการ หรื อสถานที่ที่จดไว้ เพื่อ ั บริ การสาธารณะที่ตนได้ เข้ าโดยไม่ได้ รับอนุญาต หรื อ ซ่อนตัวอยูในนัน ่ ้ • (9) ในสถานที่บชาสาธารณะ สถานีรถไฟ ท่าอากาศยาน ู ที่จอดรถ หรื อเรื อสาธารณะ สาธารณสถาน สาหรับขน ถ่ายสินค้ าหรื อยวดยานสาธารณะ 39
  • 40. •(10) ที่ใช้ หรื อมีไว้ เพื่อสาธารณะประโยชน์ •(11) ที่เป็ นของนายจ้ าง หรื อที่อยู่ในความ ครอบครองของนายจ้ าง •(12) ที่เป็ นของผู้มีอาชีพกสิกรรม บรรดาผลิตภัณฑ์ พืชพันธุ์ สัตว์หรื อเครื่ องมืออันมีไว้ สาหรับประกอบ กสิกรรม หรื อได้ มาจากการกสิกรรมนัน ้ 40
  • 41. • เหตุเพิ่มโทษตามมาตรา 335 คือ ถ้ ากระทาประกอบด้ วย ลักษณะ (1)-(12) ตังแต่สองอนุมาตราขึ ้นไป โทษสูงขึ ้น ้ • ถ้ าเป็ นการกระทาต่อโค กระบือ เครื่ องกล เครื่ องจักร ที่ผ้ ู มีอาชีพกสิกรรมมีไว้ สาหรับประกอบกสิกรรม มีโทษสูง • แต่ถ้าทาด้ วยความจาใจ หรื อความยากจนเหลือทนทาน และทรัพย์มีราคาน้ อย จะลงเพียง ม. 334 ก็ได้ 41
  • 42. เหตุฉกรรจ์ของวิงราวทรัพย์ ่ •เป็ นเหตุให้ ได้ รับอันตรายแก่กาย หรื อจิตใจ/ สาหัส/ ตาย •แต่งกายเป็ นตารวจหรื อทหาร ใช้ อาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิด ใช้ ยานพาหนะ 42
  • 43. ชิงทรัพย์ •ทรัพย์ตามม. 335 ทวิ หรื อเป็ นเครื่ องมือในการ เกษตรกรรม •เป็ นเหตุให้ ได้ รับอันตรายแก่กายหรื อจิตใจ/ สาหัส หรื อ ตาย •แต่งกายเป็ นตารวจ ทหาร ใช้ อาวุธปื นวัตถุ ระเบิด ใช้ ยานพาหนะ 43
  • 44. ปล้นทรัพย์ •มีอาวุธติดตัว •เป็ นเหตุให้ ได้ รับอันตรายสาหัส / ตาย •กระทาการอันทารุณจนเป็ นเหตุให้ ได้ รับ อันตรายแก่กาย/ใช้ ปืนยิง ใช้ วตถุระเบิด กระทา ั ทรมาน 44
  • 45. •กระทาต่อทรัพย์ตามม. 335 •แต่งกายเป็ นตารวจ ทหาร มีหรื อใช้ อาวุธปื นหรื อ วัตถุระเบิด ใช้ ยานพาหนะ 45
  • 46. เหตุฉกรรจ์ของฉ้อโกง •แสดงตนเป็ นคนอื่น •อาศัยความเบาปั ญญาของผู้ถกหลอกลวงซึง ู ่ เป็ นเด็กหรื ออาศัยความอ่อนแอแห่งจิตของผู้ถก ู หลอกลวง •เหตุเหล่านี ้ ใช้ กบกรณีฉ้อโกงประชาชนด้ วย ั 46
  • 47. เหตุฉกรรจ์ของทําให้เสี ยทรัพย์ •กระทาต่อเครื่ องกล เครื่ องจักรที่ใช้ ในการ ประกอบกสิกรรม •ปศุสตว์ ั •ยวดยานพาหนะที่ให้ ในการขนส่งสาธารณะหรื อ ในการประกอบกสิกรรม •พืชหรื อพืชผลของกสิกร 47
  • 48. •ทรัพย์ที่บญญัติไว้ ในมาตรา 335 ทวิวรรคหนึง ที่ ั ่ ประดิษฐานในสถานที่ตาม 335 ทวิวรรคสอง 48
  • 49. เหตุฉกรรจ์ของบุกรุ ก •ได้ ใช้ กาลังประทุษร้ ายหรื อขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลัง ประทุษร้ าย •โดยมีอาวุธหรื อโดยร่วมกันกระทาความผิด ตังแต่สองคนขึ ้นไปหรื อ ้ •ในเวลากลางคืน 49
  • 50. ความผิดเกี่ยวกับการค้า •ม. 270 ผู้ใดใช้ หรื อมีไว้ เพื่อใช้ / หรื อมี ไว้ เพื่อ ขาย •เครื่ องชัง เครื่ องตวง เครื่ องวัด ที่ผิดอัตรา ่ •เจตนา •เพื่อเอาเปรี ยบทางการค้ า / เพื่อขาย 50
  • 51. •ม. 271 ขายของ โดยหลอกลวงด้ วยประการใด ๆ •ให้ ผ้ ซื ้อหลงเชื่อในแหล่งกาเนิด สภาพ คุณภาพ ู ปริมาณ แห่งของนันอันเป็ นเท็จ ้ •ถ้ าการกระทานันไม่เป็ นความผิดฐานฉ้ อโกง ้ •เจตนา 51
  • 52. •ม. 272 •(1) เอาชื่อ รูป รอยประดิษฐ์ หรื อข้ อความในการ ประกอบการค้ าของผู้อื่นมาใช้ หรื อทาให้ ปรากฏใน สินค้ า เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นสินค้ าของ ผู้อื่นนัน ้ 52
  • 53. •(2) เลียนปาย หรื อสิ่งอื่นในทานองเดียวกันนัน ้ ้ เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าสถานที่การค้ าของตน เป็ นของผู้อื่นซึงอยู่ใกล้ เคียง ่ •(3) ไขข่าวแพร่หลาย ซึงข้ อความเท็จเพื่อให้ เสีย ่ ความเชื่อถือในสถาที่การค้ า สินค้ า อุตสาหกรรม ของผู้หนึงผู้ใด โดยมุงประโยชน์การค้ าของตน ่ ่ 53
  • 54. •ม. 273 มีองค์ประกอบคือ •1.ปลอม เครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่น •ซึงเป็ นเครื่ องหมายที่จดทะเบียนแล้ ว ่ ไม่วาจะจดในราชอาณาจักรไทย ่ หรื อไม่ •2.เจตนา 54
  • 55. •ม. 274 •1. เลียน เครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่นซึงได้ จดทะเบียน ่ แล้ ว •ไม่ว่าจะจดทะเบียนในราชอาณาจักรไทยหรื อไม่ •2.เจตนา •3.เพื่อให้ ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็ นเครื่ องหมายการค้ า ของผู้อื่นนัน ้ 55
  • 56. •ม. 275 •1.นาเข้ า จาหน่าย เสนอขาย •ซึงสินค้ าที่มีชื่อ รูป รอยประดิษฐ์ หรื อข้ อความใด ๆ ่ •ในมาตรา 272 (1) หรื อสินค้ าที่มีเครื่ องหมายการค้ า ปลอมหรื อเลียนเครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่น •2.เจตนา 56
  • 57. ความผิดเกี่ยวกับการปลอม การแปลง •เงินตรา ม. 240-249 •ดวงตรา แสตมป และตัว ม. 250-263 ์ ๋ •เอกสาร ม. 264-269 •บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ม. 269/1-269/7 57
  • 58. เงินตรา •ม. 240 •1.ทาปลอม เงินตรา เหรี ยญกระษาปณ์ ธนบัตร หรื อสิ่งอื่นที่รัฐบาลออกใช้ หรื อให้ อานาจออกใช้ •หรื อ 2.ทาปลอมพันธบัตรรัฐบาล หรื อใบสาคัญ รับดอกเบี ้ยพันธบัตรรัฐบาล •3.เจตนา 58
  • 59. •ม. 241 •1. ทาแปลง เพื่อให้ ผิดไปจากเดิม •2.เจตนา •3.เพื่อให้ ผ้ อื่นเชื่อว่ามีมลค่าสูงกว่าจริง ู ู •ม. 243 •1.นาเข้ าเงินปลอมหรื อแปลง รับโทษเท่ากับการ ปลอมหรื อแปลง 59
  • 60. •1. ทาให้ เหรี ยญกระษาปณ์ ซึงรัฐบาลออกใช้ มี ่ น ้าหนักลดลง •2.นาเข้ าหรื อนาออกใช้ หรื อมีไว้ เพื่อใช้ เหรี ยญที่มี น ้าหนักลดลง •3.โดยทุจริต 60
  • 61. •1. ได้ เงินตรามาโดยไม่ร้ ูวาเป็ นของ ่ ปลอมหรื อแปลง •2.ต่อมารู้เข้ า ยังขืนนาออกใช้ •3.เจตนา 61
  • 62. •1. ทาเครื่ องมือหรื อวัตถุในการปลอม หรื อแปลง เงินตรา หรื อพันธบัตร •2.หรื อมีวตถุเพื่อปลอมแปลง ั •3.เจตนา 62
  • 63. •ถ้ าเป็ นการกระทาต่อเงินตราหรื อ พันธบัตรต่างประเทศ รับโทษกึงหนึง ่ ่ ของความผิดนัน ๆ ้ •ถ้ าปลอมหรื อแปลงแล้ วใช้ รับโทษ กรรมเดียว 63
  • 64. •1.ทาบัตร หรื อโลหะธาตุ ในลักษณะที่คล้ ายคลึงกับ เงินตรา หรื อพันธบัตรหรื อใบสาคัญรับดอกเบี ้ย •2.เจตนา •1.จาหน่ายบัตรหรื อโลหะธาตุ โดยการนาออกใช้ เป็ นความผิด 64
  • 65. ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์ และตัว ๋ • ทาปลอม – ดวงตราแผ่ นดิน รอยตราแผ่ นดิน หรือ พระปรมาภิไธย • ทาปลอม – ดวงตรา หรือรอยตรา ทบวงการเมือง องค์ การสาธารณะหรือของเจ้ าพนักงาน • ใช้ ดวงตรา รอยตราแผ่ นดิน หรือพระปรมาภิไธยฯ ปลอม • ใช้ ดวงตราหรือรอยตรา ทบวงการเมือง องค์ การ สาธารณะ หรือของเจ้ าพนักงานที่ปลอม 65
  • 66. •ได้ มาซึงดวงตรา ตามมาตรา 250 หรื อ 251 ซึงเป็ น ่ ่ ดวงตราอันแท้ จริง แต่ใช้ โดยมิชอบในประการที่ น่าจะทาให้ ผ้ อื่นหรื อประชาชนเสียหาย ู 66
  • 67. •ทาปลอม แสตมป รัฐบาล ซึงใช้ สาหรับการไปรษณีย์ ์ ่ ภาษีอากร หรื อการเก็บค่าธรรมเนียม หรื อแปลงให้ ผิดไปจากเดิม •นาเข้ ามาในราชอาณาจักร ซึง ดวงตราปลอม แสตม ่ ปลอม หรื อแปลง 67
  • 68. •ลบ ถอน หรื อกระทาด้ วยประการใด ๆ ซึง ่ แสตมปที่ใช้ แล้ วในกลับนามาใช้ อีก โดยเจตนา ์ เพื่อให้ ใช้ ได้ อีก •ใช้ เสนอขาย แลกเปลี่ยน หรื อเสนอแลกเปลี่ยน แสตมปปลอมหรื อแสตมปที่กระทาเพื่อให้ ์ ์ นามาใช้ ได้ อีก 68
  • 69. •ทาปลอมตัวโดยสาร ซึงใช้ ในการขนส่งสาธารณะ ๋ ่ •หรื อแปลงให้ ผิดไปจากเดิม เพื่อให้ ผ้ อื่นเชื่อว่ามี ู มูลค่าสูงกว่าจริง •ลบ ถอนเพื่อให้ นามาใช้ ได้ อีก •กรณีทงสาม หากกระทาแก่ตวที่เข้ าชมสถานที่ ก็ผิด ั้ ั๋ ด้ วย 69
  • 70. •ใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ยน เสนอแลกเปลี่ยน ตัว ๋ โดยสารหรื อตัวเข้ าชมสถานที่ ๋ •ทาเครื่ องมือในการปลอม แปลง เพื่อใช้ ในการปลอม หรื อแปลง •การปลอมหรื อแปลงแสตมปของรัฐบาลต่างประเทศ ์ รับโทษครึ่งหนึงของแสตมปไทย ่ ์ 70
  • 71. •ปลอมแล้ วใช้ หรื อไปกระทาความผิดอื่นที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ปลอมหรื อแปลงนัน รับโทษกระทงเดียว ้ 71
  • 72. ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร • ปลอมเอกสาร • ทาปลอมทังหมดหรื อแต่ บางส่ วน ้ • ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ผ้ ูอ่ ืน หรื อประชาชน • เติมหรื อตัดข้ อความ ในเอกสารที่แท้ จริงโดย ประการที่น่าจะทาให้ ผ้ ูอ่ ืนหรื อประชาชน เสียหาย • เพื่อให้ ผ้ ูอ่ ืนหลงเชื่อว่ าเป็ นเอกสารที่แท้ จริง 72
  • 73. •ประทับตราปลอมหรื อลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร โดยประการที่น่าจะเสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน ู •กรอกข้ อความในเอกสารที่มีลายมือชื่อของผู้อื่นโดย ไม่ได้ รับความยินยอมหรื อโดยฝ่ าฝื นคาสังของผู้อื่น ่ เพื่อนาเอาเอกสารนันไปใช้ ในกิจการที่อาจเกิดความ ้ เสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน ู 73
  • 74. •เอกสาร สิงที่ปรากฏเป็ นหลักฐานของ ่ ความหมาย •เอกสารสิทธิ เอกสารที่ก่อ โอน สงวน ระงับซึง ่ สิทธิ •เอกสารราชการ เอกสารที่ทาขึ ้นโดยเจ้ า พนักงานหรื อรับรองในหน้ าที่ และหมายถึง สาเนาด้ วย 74
  • 75. ตัวอย่าง •เลขพานท้ ายปื น/ ภาพถ่ายลายนิ ้วมือ / สัญญาณธง •บัตรประจาตัวประชาชน /ใบอนุญาตขับขี่/ ใบสุทธิ •โฉนดที่ดิน/ น.ส. 3 / ทะเบียนสมรส/ ทะเบียน บ้ าน/ใบเสร็จรับเงิน •คาร้ องทุกข์ / ใบมอบอานาจ / •หนังสือเดินทาง 75
  • 76. •ปายทะเบียนรถยนต์ เขียนด้ วยกระดาษหรื อไม้ ้ •นาปายทะเบียนจริงไปติดไว้ กบรถคันอื่น ้ ั •ใบอนุญาตของบุคคลบนพื ้นที่สงที่จะอนุญาตไป ู ทางานนอกเขต 76
  • 77. •ปลอมเอกสารสิทธิ •ปลอมเอกสารราชการ •ปลอมเอกสารสิทธิอนเป็ นเอกสาราชการ ั •พินยกรรม ั •ใบหุ้ น ใบหุ้นกู้ ใบสาคัญของใบหุ้น หรื อใบหุ้นกู้ •ตัวเงิน/บัตรเงินฝาก ๋ 77
  • 78. •แจ้ งให้ เจ้ าพนักงานจดข้ อความอันเป็ นเท็จใน เอกสารมหาชนหรื อเอกสารราชการ •เอกสารนันมีไว้ เพื่อใช้ เป็ นพยานหลักฐาน ้ •โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้ อื่น ู หรื อประชาขน 78
  • 79. •คนต่างด้ าวแจ้ งว่าเป็ นคนไทย •กรอกใบสมัครรับเลือกตังโดยแจ้ งว่าจบปริญญาตรี ้ •แจ้ งว่าสมุดเช็คหาย •แจ้ งให้ นายทะเบียนจดว่ามีการย้ าย •แจ้ งว่ายังไม่เคยจดทะเบียนสมรส ขอจดใหม่ 79
  • 80. •ใช้ หรื ออ้ างเอกสารที่เป็ นความผิดตาม ม. 264267 ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ ผู้อื่นหรื อประชาชน ต้ องระวางโทษเท่ากับ ความผิดนัน ๆ ้ •แต่ถ้าเป็ นผู้ทาหรื อแจ้ งให้ เจ้ าพนักงานจด ข้ อความอันเป็ นเท็จ รับกระทงเดียว ม. 268 80
  • 81. •รับรองเท็จ •ผู้ ประกอบวิชาชีพ แพทย์ บัญชี กฎหมาย หรื อ วิชาชีพใด ทาคารับรองอันเป็ นเท็จ โดยประการที่ น่าจะก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน ู •ผู้ อ้างคารับรองอันเป็ นเท็จ โดยทุจริต รับโทษ เช่นเดียวกัน 81
  • 82. ปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ • ปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งการปลอม อาจทาขึนทังหมด หรือนาบัตรที่หมดอายุ ้ ้ แล้ วมาแก้ ไขตัวเลขหรือปรับเปลี่ยนข้ อมูล ในบัตรให้ ใช้ ได้ • นิยามของบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ม. 1 (14) 82
  • 83. • (ก) เอกสารหรื อวัตถุอื่นใดไม่วาจะมีรูปลักษณะใดที่ผ้ ออก ่ ู ได้ ออกให้ แก่ผ้ มีสทธิใช้ ซงจะระบุชื่อหรื อไม่ก็ตาม โดย ู ิ ึ่ บันทึกข้ อมูลหรื อรหัสไว้ ด้วยการประยุกต์ใช้ วิธีการทาง อิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแม่เหล็กไฟฟา หรื อวิธีอื่นใด ใน ้ ้ ลักษณะคล้ ายกัน ซึงรวมถึงการประยุกต์ใช้ วิธีการทาง ่ แสง หรื อวิธีการทางแม่เหล็กให้ ปรากฏความหมายด้ วย ตัวอักษร ตัวเลขรหัส หมายเลขบัตร หรื อสัญญลักษณ์อื่น ใด ทังที่สามารถมองเห็นและมองไม่เห็นด้ วยตาเปล่า ้ 83
  • 84. (ข) ข้ อมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเลขชุดทาง อิเล็กทรอนิกส์ หรื อเครื่ องมือทางตัวเลขใดๆ ที่ผ้ ออกได้ ู ออกให้ แก่ผ้ มีสทธิใช้ โดยมิได้ มีการออกเอกสารหรื อวัตถุ ู ิ อื่นใดให้ แต่มีวิธีการใช้ ในทานองเดียวกับ (ก) หรื อ (ค) สิงอื่นใดที่ใช้ ประกอบกับข้ อมูลอิเลคทรอนิกส์เพื่อแสดง ่ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดย มีวตถุประสงค์เพื่อระบุตวผู้เป็ นเจ้ าของ ั ั 84
  • 85. • ผู้ที่มีเครื่ องมือหรื อวัตถุในการปลอมแปลง หรื อมีเครื่ องมือที่จะไปได้ มาซึงข้ อมูลจากบัตร ่ อิเล็กทรอนิกส์ของคนอื่นแล้ วมาทาบัตรปลอม เพื่อนามาใช้ ในการปลอมแปลงบัตร 85
  • 86. • นาเข้ ามาหรื อส่งออกบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ปลอมหรื อเครื่ องมือหรื อวัตถุในการปลอม แปลง • มีบตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (แต่ตนเองไม่ได้ ั ปลอม แต่ร้ ูวาเป็ นบัตรปลอม) เพื่อจะนา ่ ออกใช้ หรื อใช้ บตรปลอม ั 86
  • 87. • เอาบัตรอิเล็กทรอนิกส์จริ งของคนอื่นไปใช้ โดยไม่ชอบ เช่น แอบเอาบัตรของเขาไปรูดซื ้อสินค้ า โดยเจ้ าของไม่ ยินยอม • แต่ถ้าเจ้ าของยินยอมไม่ผิดเพราะไม่ได้ เกิดความ เสียหายแก่ผ้ อื่นหรื อประชาชน ู • เอาบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของคนอื่นมาเก็บไว้ โดยไม่ ชอบ เพื่อจะนาออกใช้ 87
  • 88. • จาหน่ายบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม หรื อมีไว้ เพื่อขาย • แต่ถ้าคนที่ทาปลอมเองแล้ วไปใช้ หรื อ ขายบัตรปลอม ลงโทษกรรมเดียว 88
  • 89. •บัตรอิเล็กทรอนิกส์ การปลอมบัตรเป็ นการ ปลอมเอกสารหรื อไม่ •การนาไปใช้ เป็ นการฉ้ อโกงหรื อไม่ •เป็ นการลักทรัพย์หรื อไม่ 89
  • 90. • หากเป็ นการใช้ บตรเครดิตเพื่อซื ้อสินค้ า ั ค่าบริการหรื อการนาบัตรดังกล่าวไปเบิกเงิน สด กฎหมายกาหนดให้ คนที่กระทาความผิด ต้ องระวางโทษสูงขึ ้นกว่าที่กาหนดไว้ กึ่งหนึ่ง 90
  • 91. ความผิดเกี่ยวกับหนังสื อเดินทาง • ปลอมหนังสือเดินทาง ม. 269/8 • จาหน่ายหรื อมีไว้ เพื่อจาหน่ายหนังสือเดินทางปลอม ม. 269/9 • นาเข้ าหรื อส่งออกหนังสือเดินทางปลอม ม. 269/10 • ใช้ หนังสือเดินทางของผู้อื่นโดยมิชอบ ม. 269/11 • ปลอมดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตรา สาหรับการเดินทางระหว่างประเทศ ม. 269/12 91
  • 92. • ปลอมดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตรา สาหรับ การเดินทางระหว่างประเทศ ม. 269/12 • ใช้ ดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นประตรวจลงตราปลอม ม. 269/13 • นาเข้ าหรื อส่งออก ดวงตราหรื อรอยตรา ปลอม ม.269/14 • ใช้ ดวงตรา รอยตรา หรื อแผ่นปะตรวจลงตราอันแท้ จริ งแต่ 92 ใช้ โดยมิชอบ ม. 269/15
  • 93. หนังสื อเดินทาง หมายถึง ม. 1 (15) •เอกสารสาคัญประจาตัวไม่ว่าจะอยู่ในรูปลักษณะ ใด ที่รัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรื อองค์การ ระหว่างประเทศออกให้ แก่บคคลใด เพื่อใช้ แสดงตน ุ ในการเดินทางระหว่างประเทศ และให้ หมายความ รวมถึงเอกสารใช้ แทนหนังสือเดินทางและแบบ หนังสือเดินทางที่ยงไม่ได้ กรอกข้ อความเกี่ยวกับผู้ ั ถือหนังสือเดินทางด้ วย 93
  • 95. อั้งยี่ •สมาคมลับที่มีจดมุงหมายเพื่อกระทาการอันมิ ุ ่ ชอบด้ วยกฎหมาย •นิยาม คณะบุคคลซึงปกปิ ดวิธีดาเนินการและมี ่ ความมุงหมายเพื่อการอันมิชอบด้ วยกฎหมาย ่ •ความผิด เป็ นสมาชิก เป็ นหัวหน้ าหรื อผู้มี ตาแหน่งหน้ าที่ในอังยี่ ้ •ประชุมในที่ประชุมอังยี่ ้ 95
  • 96. องค์ประกอบของความผิดฐาน ซ่องโจร •1.กลุ่ มคนตังแต่ 5 คนขึนไป สมคบ เพื่อ ้ ้ กระทาความผิดอาญาภาคสอง+ เป็ น ความผิดที่มีโทษจาคุกตังแต่ หนึ่งปี ขึน ้ ้ ไป • 2.เข้ าประชุมในที่ประชุมซ่ องโจรเป็ นความผิด ฐานซ่ องโจร • 3.เจตนา 96
  • 97. ความรับผิดของสมาชิกหรื อพรรคพวกซ่องโจร •รับผิดจากการกระทาของสมาชิกหรื อซ่อง โจรที่ไปกระทาความผิดตามความมุ่งหมาย •ถ้ าเป็ นสมาชิกแต่ไม่ค้านในที่ประชุม •เป็ นหัวหน้ า หรื อผู้มีตาแหน่งในอังยี่หรื อ ้ ซ่องโจร 97
  • 98. กระทําการเป็ นการช่วยเหลือหรื ออุปการะ •จัดหาที่ประชุม หรื อที่พานักในอังยี่หรื อซ่องโจร ้ •ชักชวนบุคคล ให้ เข้ าเป็ นสมาชิก •อุปการะโดยการให้ ทรัพย์หรื อโดยประการอื่น •ช่วยจาหน่ายทรัพย์ที่ได้ มาโดยการกระทาผิด •โดยเจตนา 98
  • 99. ประพฤติตนเป็ นปกติธุระให้ที่พานัก ํ •1.ให้ ที่พานัก ที่ซอนเร้ น หรื อที่ประชุม ่ •เป็ นปกติธุระ •แก่ บุคคลที่กระทาผิดตามภาคสอง •2. เจตนา •เหตุที่จะไม่ลงโทษ คือ ในกรณีช่วยบิดา มารดา บุตร สามี ภริ ยา ของผู้กระทา ศาลไม่ลงโทษก็ได้ 99
  • 100. องค์ประกอบความผิดฐาน มัวสุ ม ่ •1.มัวสุม ตังแต่ 10 คนขึ ้นไป ่ ้ •2.ใช้ กาลังประทุษร้ าย ขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลัง ประทุษร้ าย •หรื อกระทาการอย่างหนึงอย่างใด ให้ เกิดความ ่ วุ่นวายในบ้ านเมือง •3. เจตนา •เหตุรับโทษสูงขึ ้น - คนใดคนหนึงมีอาวุธ ่ •เป็ นหัวหน้ าหรื อผู้มีหน้ าที่สงการ ั่ 100
  • 101. ความผิดฐาน ไม่ยอมเลิกเมื่อสังให้เลิกมัวสุ ม ่ ่ •1. เมื่อเจ้ าพนักงานสังให้ เลิก มัวสุม ่ ่ •2.ผู้ นนไม่ยอมเลิก ั้ •3. เจตนา 101
  • 102. หมวด ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดอันตรายต่อ ประชาชน •มุงหมายที่จะคุ้มครองความปลอดภัยของ ่ ประชาชน โดยการลงโทษแม้ ภยจะยังไม่เกิด แต่ ั ถ้ าเกิดเป็ นอันตรายแก่บคคลหรื อทรัพย์ รับโทษ ุ สูงขึ ้น •รับผิดโดยเจตนาเป็ นหลัก •แต่ถ้ากระทาโดยประมาท ต้ องรับผิดด้ วย ม.239 102
  • 103. ความผิดฐาน วางเพลิง •1.วางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น (ไม่มีกรณี ทรัพย์ที่ ผู้อื่นเป็ นเจ้ าของรวมอยู่ด้วย) •2. เจตนา •ต่างจากทาให้ เสียทรัพย์อย่างไร?? •วางเพลิงเผาทรัพย์พิเศษ ม. 218 •โทษสูงเพราะ การตระเตรี ยมการ ระวางโทษเท่า พยายาม 103
  • 104. •ผลของการวางเพลิงหรื อทาให้ เกิดระเบิด แต่กระทาต่อ ทรัพย์มีราคาน้ อย และไม่น่าจะเป็ นอันตรายแก่บคคล ุ อื่น รับโทษน้ อย ไม่เกินสามปี •แต่ถ้าเป็ นเหตุให้ เกิดความตาย บาดเจ็บสาหัส รับโทษ สูง •การทาให้ เกิดเพลิงไหม้ โดยประมาท และเป็ นเหตุให้ ทรัพย์ของผู้อื่นเสียหาย หรื อน่าจะเป็ นอันตรายแก่ชีวิต ของผู้อื่น มีความผิด ม. 225 104
  • 105. •ทาให้ เกิดเพลิงไหม้ แก่วตถุ แม้ เป็ นของตนเองจนน่าจะ ั เกิดอันตรายแก่บคคลอื่น หรื อทรัพย์ของบุคคลอื่น ุ •รับโทษสูงหากกระทาต่อทรัพย์ตามมาตรา 218 •ทาให้ เกิดระเบิดจนน่าจะเป็ นอันตรายแก่บคคลอื่น ุ •ทาให้ เกิดระเบิดจนเป็ นอันตรายแก่ทรัพย์ตาม ม. 217 หรื อ 218 105
  • 106. 2. การกระทําที่ก่อให้เกิดภยันตรายแก่ ความปลอดภัย สาธารณะและอนามัย •เจตนากระทาผิด ประมาทก็ผิด ม. 239 ถ้ าใกล้ จะเป็ นอันตรายแก่ ชีวิตของคน • ม. 226 กระทาแก่ โรงเรือน อู่เรือ ที่จอดรถ หรือเรือสาธารณะ สิ่งปลูกสร้ าง เครื่องจักร เครื่องกล สายไฟฟา หรือสิ่งที่ทาไว้ เพื่อปองกัน ้ ้ อันตรายแก่ บุคคลหรือทรัพย์ จนน่ าจะเป็ น เหตุให้ เกิดอันตรายแก่ บุคคลอื่น 106
  • 107. •ม. 227 วิศวกร สถาปนิก ปฏิบัติหน้ าที่ไม่ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิชาชีพ ทาให้ สิ่งก่ อสร้ างน่ าจะเป็ นอันตราย • ม. 228 การทาให้ เกิดอุกทกภัย หรือการ ใช้ นาสาธารณูปโภคขัดข้ อง และมีลักษณะ ้ น่ าจะเป็ นอันตรายแก่ บุคคลหรือทรัพย์ 107
  • 108. •ม. 229 กระทาการอันน่ าจะเป็ นอันตรายต่ อ การจราจร โดยกระทาต่ อทางสาธารณะประตูนา ้ ทานบ เขื่อน อันเป็ นส่ วนหนึ่งของทางสาธารณะ หรือที่ขนลงของอากาศยาน ึ้ •ม. 230 ทาอันตรายต่ อทางหรือสัญญาณ ของรถไฟ หรือรถราง •ม. 231 ก่ ออันตรายต่ อเครื่องสัญญาณเพื่อความ ปลอดภัยของการจราจรทางบกหรือทางเรือ 108
  • 109. •ม. 232 ทาให้ ยานพาหนะบางชนิดเป็ น อันตรายแก่ บุคคล • ม. 233 ใช้ ยานพาหนะบรรทุกจนน่ าจะ เป็ นอันตราย • ม. 234 ทาให้ ส่ งที่ใช้ ในการผลิต หรือส่ ง ิ พลังงานไฟฟาหรื อนา ทาให้ ประชาชนขาด ้ ้ ความสะดวกหรื อน่ าจะเป็ นอันตราย 109
  • 110. •ม. 235 ทาให้ การสื่อสารขัดข้ อง •ม. 236 ปลอมปนอาหารและยา •ม. 237 เอาของมีพษหรื อสิ่งที่น่าจะ ิ เป็ นอันตรายเจือลงในอาหารหรื อนาที่ ้ จัดให้ ประชาชนบริโภค 110
  • 111. •ม. 238 ถ้ าเป็ นอันตรายถึง ตายหรื อบาดเจ็บสาหัส รั บโทษสูง 111
  • 113. ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริ ย ์ • ความผิดในหมวดนี ้ มีการบัญญัติคล้ ายกับความผิดต่อ บุคคล แต่จดเป็ นหมวดพิเศษ เพราะถือเป็ นสถาบันที่เป็ นที่ ั เคารพสูงสุดและประชาชนให้ ความเคารพนับถือ • เป็ นความผิดที่ต้องรับผิดแม้ ได้ กระทาในขันตระเตรี ยมการ ้ • หรื อมีการช่วยปกปิ ดการกระทา • มีโทษสูง และสนับสนุนในการกระทาความผิดรับผิด เท่ากับตัวการ 113
  • 114. ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริ ย ์ • ความมีฐานปลงพระชนม์ มีโทษ พยายาม รับผิด เท่ากับความผิดสาเร็จ • ตระเตรี ยมการ หรื อช่วยปกปิ ดมีความผิด • ถ้ ากระทาต่อ K ผิด ม. 107 • กระทาต่อ Q หรื อรัชทายาท หรื อผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์ ผิด ม. 109 114
  • 115. • ประทุษร้ ายต่อพระองค์ ต่อเสรี ภาพ ต่อ K ผิด ม. 108 • ถ้ ากระทาต่อ Q หรื อรัชทายาท หรื อผู้สาเร็จราชการแทน พระองค์ • ผิด ม. 110 • ถ้ าเป็ นการกระทาที่น่าจะเป็ นอันตรายแก่พระองค์ มี ความผิดตามม. 108 วรรค 3 หรื อ ม. 110 วรรคสาม • สนับสนุนรับผิดเท่ากับตัวการ 115
  • 116. •หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาด ร้ าย •K Q รัชทายาทหรื อผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ •ผิด ม. 112 116
  • 117. ความผิดเกี่ยวกับสัมพันธ์ไมตรี • ต้ องเป็ นประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการทูต กับไทย • มีลกษณะที่ลงโทษเช่นเดียวกับ ความผิดต่อองค์ ั พระมหากษัตริ ย์ โดยคุ้มครองประมุข และคณะทูต • พยายามรับโทษเท่าความผิดสาเร็จ แต่ไม่มีความผิด ฐานตระเตรี ยมการ • ไม่มีกรณีสนับสนุนรับผิดเท่าตัวการ 117
  • 118. • ฆ่าหรื อพยายามฆ่า ราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรื อ ประมุข หรื อผู้แทนของรัฐต่างประเทศ ที่ได้ รับแต่งตังให้ มาสู่ ้ พระราชสานัก • ผิด ม. 132 • ทาร้ ายร่างกาย หรื อประทุษร้ ายต่อเสรี ภาพ ต่อราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรื อประมุข ผิด 130 • หมิ่นประมาท ดูหมิ่นหรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ ายต่อ ราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรื อประมุข ผิด 133 118
  • 119. •ทาร้ ายร่างกาย หรื อประทุษร้ ายต่อเสรี ภาพ ต่อ ผู้แทนรัฐต่างประเทศ ผิด ม. 131 •หมิ่นประมาท ดูหมิ่นหรื อแสดงความอาฆาตมาด ร้ ายต่อผู้แทนรัฐต่างประเทศ ผิด ม. 135 •กระทาการต่อธง หรื อเครื่ องหมาย อันมีความหมายถึง รัฐต่างประเทศ ซึงมีสมพันธไมตรี เพื่อเหยียดหยามรัฐ ่ ั นัน ผิด ม. 135 ้ 119
  • 120. ความผิดต่อความมันคงของรัฐภายใน ่ •มุงคุ้มครองการทาลายสถาบัน ที่เป็ นอานาจ ่ อธิปไตย คือ บริหาร นิติบญญัติ และตุลาการ ั •การทาลายกฎหมายหรื อข่มขู่รัฐ โดยไม่มีอานาจ ทาได้ •กบฏ สะสมกาลังพล ยุยงทหาร บ่อนทาลาย ชาติ ยุยงนัดปิ ดงาน และการกระทาที่เหยียด หยามธงไทย 120
  • 121. •กบฏ ม. 113 •ใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อขู่วาจะใช้ กาลังประทุษร้ าย ่ •เจตนา •เพื่อล้ มรัฐธรรมนูญ นิติบญญัติ อานาจบริหาร ตุลา ั การ •เพื่อแบ่งแยกราชอาณาจักร หรื อยึดการปกครอง 121
  • 122. •ส่งเสริมการกบฏ ม. 114 •1.สะสมกาลังพล ตระเตรี ยม สมคบ หรื อ •กระทาการอันเป็ นส่วนหนึงของแผน ่ •2.ยุยงราษฎร หรื อรู้แล้ วช่วยปกปิ ด •3.เจตนา •4.เพื่อเป็ นกบฏ 122
  • 123. •1.ยุยงให้ ตารวจ ทหารละเมิดวินย ม. 115 ั •2.ยุยงให้ ทหาร หรื อตารวจ หนีราชการ ละเลย ไม่ทาหน้ าที่หรื อก่อการกาเริบ •3.เจตนา •4.จะต้ องรับโทษสูงขึ ้น หากมีเจตนาพิเศษ เพื่อ มุงบ่อนวินย ่ ั 123
  • 124. • ความผิดฐาน บ่อนทาลาย ม. 116 • 1.ทาให้ ปรากฏด้ วยวาจา หนังสือ หรื อโดยวิธีอื่นใด • โดยไม่มีเสรี ภาพตามที่รัฐธรรมนูญ • หรื อแสดงความคิดเห็น โดยสุจริ ต • 2.เจตนา • 3.เพื่อให้ เกิดความเปลี่ยนแปลง ปั่ นป่ วน หรื อทาให้ ประชาชน ล่วงละเมิดกฎหมาย 124
  • 125. •ยุยงให้ หยุดงาน งดจ้ าง ม. 117 •1. ยุยงหรื อจัดให้ มีการร่วมกันนัดหยุดงาน •การร่วมกันปิ ดงาน งดจ้ าง •หรื อไม่ยอมค้ าขายหรื อติดต่อทางธุรกิจ •2.เจตนา •3.เพื่อให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงในกฎหมายของแผ่นดิน บังคับรัฐบาล หรื อข่มขู่ประชาชน 125
  • 126. •2. ทราบการนัดหยุดงาน หรื อปิ ดงานแล้ ว เข้ าร่วม •เจตนา •3. ทราบการนัดหยุดงานหรื อปิ ดงานแล้ ว ใช้ กาลัง ข่มขู่ •โดยเจตนา •เพื่อให้ ผ้ อื่นเข้ าร่วม ู 126
  • 127. •ความผิดฐานลบหลูธง หรื อเครื่ องหมายของรัฐไทย ่ ม. 118 •1.กระทาด้ วยประการใดๆ แก่ธง หรื อเครื่ องหมายที่ หมายถึงรัฐ •2.เจตนา •3.เพื่อเหยียดหยามประเทศ 127
  • 128. •ปั ญหา ผิดฐาน 118 หรื อไม่ •เมาสุรา แล้ วชักปื น ยิงไปที่ธงชาติไทย •นาธงชาติไทยไปทาเป็ นชุดชันในหรื อรองเท้ า ้ •นาธงชาติไทยไปเผา 128
  • 129. ความผิดต่อความมันคงของรัฐภายนอก ่ •ทาให้ รัฐเสียเอกราช ม. 119 •1.กระทาการใดๆ •2.โดยเจตนา •3.เพื่อให้ ราชอาณาจักร ทังหมดหรื อบางส่วนอยู่ ้ ใต้ อานาจอธิปไตยของรัฐต่างประเทศ •หรื อ เพื่อให้ เอกราชของรัฐเสื่อมเสีย 129
  • 130. •กบฏ ภายนอกราชอาณาจักร ม. 120 •1.คบคิด กับบุคคลซึงกระทาการ ่ •เพื่อประโยชน์ของรัฐต่างประเทศ •2.เจตนา ด้ วยความประสงค์จะก่อให้ เกิดการดาเนินการ รบต่อรัฐหรื อในทางอื่นที่เป็ นปรปั กษ์ ต่อรัฐ 130
  • 131. •ทาการรบต่อประเทศ ม. 121 •1.เป็ นคนไทย •2.กระทาการรบหรื อเข้ าร่วมเป็ นข้ าศึก •กับประเทศไทย •3.เจตนา 131
  • 132. •ความผิดฐาน อุปการะแก่ข้าศึก ม. 122 •1.กระทาการใด เพื่อเป็ นการอุปการะหรื อเพื่อ ตระเตรี ยมการรบแก่ข้าศึก •ตัวอย่างของการให้ การอุปการะ กาหนดใน (1) –(4) •2.เจตนา 132
  • 133. •ความผิดฐาน สืบความลับของประเทศ ม. 123 •1.กระทาการใด เพื่อให้ ได้ มาซึงข้ อความ ่ •เอกสารหรื อ สิ่งอื่นใด อันปกปิ ด ไว้ เป็ นความลับ •สาหรับความปลอดภัยของประเทศ •2.เจตนา 133
  • 134. • ความผิดฐาน กระทาการให้ ผ้ อื่นล่วงรู้ความลับ ม. 124 ู • 1.กระทาการเพื่อให้ ผ้ อื่นล่วงรู้ความลับ ู • หรื อได้ ไปซึงเอกสารหรื อสิ่งอื่นใด อันปกปิ ดไว้ เป็ นความลับอัน ่ เป็ นความปลอดภัยของประเทศ • 2.เจตนา • เหตุเพิ่มโทษ ถ้ ากระทาในระหว่างประเทศอยูในภาวการณ์รบ ่ หรื อสงคราม ได้ กระทาให้ รัฐต่างประเทศได้ ประโยชน์ 134
  • 135. •ม. 125 •1.ทาปลอม ทาเทียม กักไว้ ซ่อนเร้ น ปิ ดบัง ยักย้ าย ทาให้ เสียหาย ทาลาย ทาให้ สญหาย หรื อไร้ ู ประโยชน์ •เอกสารหรื อแบบใดๆ อันเกี่ยวด้ วยส่วนได้ เสียของ รัฐในการระหว่างประเทศ •2.เจตนา 135
  • 136. •ม. 126 •1.เป็ นผู้ได้ รับมอบหมายจากรัฐบาลไทย ให้ ทา กิจการกับรัฐต่างประเทศ •2.ไม่ปฏิบติการดังกล่าว ั •3.เจตนา •4.ทุจริต 136
  • 137. •ม. 127 •1.กระทาการใดๆ •เพื่อให้ เกิดเหตุร้ายแก่ประเทศ จากภายนอก •2.เจตนา •รับผิดหนักขึ ้น ถ้ าเหตุร้ายนันเกิดขึ ้น ้ 137
  • 138. •ความผิดในหมวดนี ้ •การตระเตรี ยมการ พยายาม รับผิดเท่ากับ ความผิดสาเร็จ ม. 128 •ผู้ สนับสนุน รับผิดเท่ากับตัวการ ม. 129 138
  • 139. ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย •ความผิดฐานก่อการร้ าย ม. 135/1 •1.กระทาการใดๆ ตาม (1) หรื อ (2) หรื อ (3) •2.เจตนา •3.โดยมีความมุงหมายเพื่อบังคับรัฐบาลไทย ่ รัฐบาลต่างประเทศ หรื อองค์การระหว่าง ประเทศ ให้ กระทาการหรื อไม่กระทาการอันจะ ก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรง 139
  • 140. •หรื อเพื่อสร้ างความปั่ นป่ วน โดยให้ เกิดความหวาดกลัว ในหมู่ประชาชน •เหตุที่มีอานาจกระทา คือ ถ้ าเป็ นการเดินขบวน ชุมนุม ประท้ วง โต้ แย้ ง หรื อเคลื่อนไหวเพื่อเรี ยกร้ องให้ รัฐ ช่วยเหลือหรื อขอความเป็ นธรรมตามรัฐธรรมนูญ 140
  • 141. • (1) ใช้ กาลังประทุษร้ าย หรื อกระทาการใดๆ อันก่อให้ เกิด อันตรายแก่ชีวิต หรื ออันตรายร้ ายแรงต่อร่างกาย เช่น ยิง จับ ทาร้ ายหรื อวางระเบิด • (2) กระทาการใดๆ อันก่อให้ เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรง ต่อระบบการขนส่งสาธารณะ ระบบโทรคมนาคม หรื อ โครงสร้ างพื ้นฐานอันเป็ นประโยชน์สาธารณะ เช่น วางระเบิด ทางรถไฟ เผาสถานีเครื อข่ายการสื่อสาร เป็ นต้ น 141
  • 142. •(3) กระทาการใดๆ อันก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ ทรัพย์สินของรัฐ หรื อบุคคลหรื อต่อสิ่งแวดล้ อม อัน ก่อให้ เกิดหรื อน่าจะเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ อย่างร้ ายแรง เช่น วางเพลิงเผาป่ าไม้ หรื อระเบิด คลังนามันหรื อคลังอาวุธ ก่อให้ เกิดมลพิษทาง อากาศอย่างร้ ายแรง 142
  • 143. •ม. 135/2 ขู่วาจะก่อการร้ าย ่ •(1) ขู่เข็ญ ว่าจะทาการก่อการร้ าย •โดยมีพฤติการณ์อนควรเชื่อว่าจะกระทาการตามที่ขู่ ั เข็ญจริง •เช่น ขู่วาจะวางระเบิดสนามบินสุวรรณภูมิหรื อ ่ สนามบินเชียงใหม่ ในช่วงเวลาของงานราชพฤกษ 143
  • 144. •(2) สะสมกาลังพล หรื ออาวุธ จัดหาหรื อ รวบรวม ทรัพย์สิน •เช่น สะสมอาวุธสงครามหรื อซื ้อจากต่างประเทศ หรื อรวบรวมผู้คนฝึ กอาวุธ เป็ นต้ น •(3) ให้ หรื อรับการฝึ กการก่อการร้ าย •ตระเตรี ยมการอื่นใด หรื อสมคบกันเพื่อก่อการร้ าย 144
  • 145. •หรื อกระทาการความผิดอันเป็ นส่วนหนึงของ ่ แผนการก่อการร้ าย •หรื อยุยงประชาชนให้ เข้ ามามีสวนก่อการร้ าย ่ •หรื อรู้วามีการก่อการร้ าย แล้ วช่วยปกปิ ด ่ •เจตนา 145
  • 146. • สนับสนุน ตาม ม. 135/1 หรื อ ม. 135/2 รับผิดเท่ากับตัวการ ม. 135/3 • เป็ นสมาชิก คณะบุคคล ที่มีมติของหรื อประกาศ ภายใต้ มนตรี ความมันคงแห่งสหประชาชาติ กาหนดให้ เป็ นคณะบุคคลที่มี ่ การก่อการร้ ายและรัฐบาลไทยได้ ประกาศรับรองมติหรื อ ประกาศดังกล่าวแล้ ว • เจตนา • ผิด ม. 135/4 146
  • 148. ลักษณะของความผิดในหมวดเจ้าพนักงาน • เป็ นความผิดที่รัฐต้ องการคุ้มครองความเด็ดขาดของ อานาจรัฐโดยการคุ้มครองสองประการ • ประการแรก คุ้มครองการทางานของเจ้ าพนักงานให้ มีประสิทธิภาพ • ประการที่สอง ปองกันมิให้ เจ้ าพนักงานใช้ อานาจโดย ้ มิชอบหรื อทุจริ ต 148
  • 149. • โดยหลักแล้ ว รัฐจะเป็ นผู้เสียหาย • การกระทาความผิดโดยหลักต้ องกระทาโดยเจตนา และมี เจตนาพิเศษเพื่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผ้ อื่น หรื อทุจริ ต ู ในกรณีที่เป็ นเจ้ าพนักงานกระทาความผิดต่อตาแหน่ง หน้ าที่ • ส่วนการกระทาที่ประชาชนกระทาต่อรัฐหรื อเจ้ าพนักงาน ของรัฐ เป็ นการกระทาโดยเจตนาและมีผลทาให้ รัฐ เสียหายหรื อไม่อาจบังคับใช้ กฎหมายได้ 149
  • 151. •ประเภทของเจ้ าพนักงาน •เจ้ าพนักงานปกครอง •เจ้ าพนักงานในกระบวนการยุติธรรม รวมถึงศาลด้ วย 151
  • 152. ความผิดต่อเจ้าพนักงาน •1. ดูหมิ่นเจ้ าพนักงาน ม. 136 เทียบ ม. 326 มาตรา 393 •ดูหมิ่น หมิ่นประมาท ต่ างกันอย่ างไร •2. แจ้ งความเท็จต่ อเจ้ าพนักงาน เทียบ ม. 172 ม. 173 และมาตรา 267 152
  • 153. •3. ฐานต่ อสู้ขัดขวาง เจ้ าพนักงาน หรือผู้ต้อง ช่ วยเจ้ าพนักงานตามกฎหมาย ม. 138 •ถ้ าใช้ กาลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญว่ าจะใช้ กาลัง ประทุษร้ าย มีโทษสูง •ถ้ ามีหรือใช้ อาวุธ หรือโดยร่ วมกระทาความผิด ด้ วยกันตังแต่ สามคนขึนไป มีโทษสูงตามมาตรา ้ ้ 140 วรรคแรก 153
  • 154. •อ้ างอานาจอังยี่หรือซ่ องโจร มีโทษสูงตาม ้ มาตรา 140 วรรคสอง •โดยมีหรือใช้ อาวุธปื นหรือวัตถุระเบิด รับโทษ หนัก •ความหมายของคาว่ า “ต่ อสู้” หมายถึง การใช้ กาลังเข้ าต่ อสู้กับเจ้ าพนักงาน •ส่ วน “การขัดขวาง” หมายถึง การกระทาให้ การ ปฏิบัตงานของเจ้ าพนักงานเป็ นอุปสรรค ิ 154
  • 155. •การนิ่ ง การนั่งเฉย การนอน การวิ่งหนี เป็ นการ ขัดขวางหรือไม่ •4. ฐานข่ มขืนใจเจ้ าพนักงานให้ กระทาการอันมิ ชอบด้ วยหน้ าที่หรือละเว้ นการปฏิบตการตาม ั ิ หน้ าที่ • ม. 139 เทียบ ม. 309 ข่ มขืนใจหรือผู้อ่ ืนกระทา การหรือละเว้ นการกระทาการ 155
  • 156. •5. ฐานทาให้ เสียเสียหาย หรือทาลาย ตราหรือ เครื่องหมาย ที่เจ้ าพนักงานประทับเพื่อปฏิบัติ ตามกฎหมายเพื่อเป็ นหลักฐานในการยึด ม. 141 •แต่ ถ้าเป็ นการทาลายทรั พย์ ที่ถกยึดหรื อ ู อายัด ผิดตามมาตรา 142 156
  • 157. • 6. ฐานเป็ นคนกลางในการติดต่ อกับเจ้ าพนักงานเพื่อกระทา การอันมิชอบด้ วยหน้ าที่ ม. 143 • การกระทาคือ • 1.เรี ยก รั บ ยอมจะรั บ ทรั พย์ สินหรื อประโยชน์ อ่ ืนใด สาหรั บตนเองหรื อผู้อ่ ืน • เพื่อเป็ นการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรื อได้ จูงใจ เจ้ าพนักงาน สส. สว. สจ. สท. โดยวิธีอันทุจริต หรื อ ผิดกฎหมายหรื อโดยอิทธิพลของตนเอง • ให้ กระทาการหรื อไม่ กระทาการอันเป็ นคุณหรื อเป็ น โทษแก่ บุคคลใด • 2. เจตนา 157
  • 158. •7. ติดสินบนเจ้ าพนักงาน ม. 144 เทียบ 167 •1.ให้ ขอให้ หรือรับว่ าจะให้ ทรัพย์ สินหรือ ประโยชน์ อ่ นใด แก่ เจ้ าพนักงาน สส. สว. สจ. ื สท. •เพื่ อจูงใจให้ กระทาการ ไม่ กระทาการ หรือ ประวิงการกระทาอันมิชอบด้ วยหน้ าที่ •2.เจตนา เจตนาพิเศษ เพื่อจูงใจฯ 158
  • 159. •8. แสดงตนเป็ นเจ้ าพนักงานและกระทาการ เป็ นเจ้ าพนักงาน ม. 145 •1.ผู้ ใด (ราษฎร เจ้ าพนักงานอื่น หรือเจ้ า พนักงานที่ถูกพักงาน) •2.แสดงตนว่ าเป็ นเจ้ าพนักงาน และ กระทาการ เป็ นเจ้ าพนักงาน โดยตนเองไม่ ได้ เป็ นเจ้ า พนักงาน 159 •3.โดยเจตนา
  • 160. •9. แต่ งกายหรือใช้ เครื่องหมายของเจ้ าพนักงาน หรือเครื่องราชฯ ม. 146 •1.ผู้ ใด ไม่ มีสิทธิสวมเครื่องแบบหรือ เครื่องหมาย หรือเครื่องราชฯ หรือสิ่งที่ หมายถึงเครื่องราชฯ •2.สวมเครื่ องแบบ ติดเครื่องหมาย หรือเครื่อง ราชฯ 160 •3.โดยเจตนา
  • 161. ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ ม. 147-157 • ความผิดที่เจ้ าพนักงานปฏิบัตหรือละเว้ น ิ การปฏิบัตหน้ าที่ โดยทุจริต ม. 147-157 ิ • ความผิดที่เจ้ าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้ น การปฏิบัตหน้ าที่โดยมิชอบเพื่อให้ เกิด ิ ความเสียหายแก่ ผ้ ูอ่ ืน ม.157-166 161