SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
Programming & Algorithm
                                                                                  by P'Bank & P'Ball



การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programming)
       การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programming) หรือเรียกให้สั้นลงว่า การเขียน
โปรแกรม (Programming) หรือ การเขียนโค้ด (Coding) เป็นขั้นตอนการเขียน ทดสอบ และดูแลซอร์
สโค้ดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งซอร์สโค้ดนั้นจะเขียนด้วยภาษาโปรแกรม ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ต้องการความรู้ในหลายด้านด้วยกัน เกี่ยวกับโปรแกรมที่ต้องการจะเขียน และอัลกอริทึมที่จะใช้

ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
      ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมหรือพัฒนาโปรแกรม มีขั้นตอนโดยสังเขปดังนี้
       วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ (Problem Analysis and Requirement Analysis)
       การออกแบบ (Design)
       การโค้ด (Coding)
       การทดสอบ (Testing)
       การจัดทาเอกสาร (Documentation)
       การบารุงรักษา (Maintenance)

ภาษาในการเขียนโปรแกรม
       ภาษาในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มี 3 ระดับ คือ
  1. ภาษาเครื่อง (Machine Language)
          เป็นภาษาที่สามารถสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางาน ได้ทันที โดยเขียนอยู่ในรูปของ รหัสของ
  ระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ที่นามาเขียนติดต่อกัน เช่น 10110000 00000101
  2. ภาษาระดับต่่า (Low-level Language)
          เป็นภาษาที่มีการปรับปรุงมาจากภาษาเครื่อง ให้สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น มีการใช้ตัวอักษรแทน
  ตัวเลขฐานสอง เช่น ADD A,B เป็นต้น ตัวอย่าง ภาษาระดับต่า เช่นภาษาแอสเซมบลี (Assembly
  Language)
  3. ภาษาระดับสูง (High-level Language)
          เป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกในการ เขียนโปรแกรม เพราะลักษณะของคาสั่งจะ
  คล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษทาให้สามารถเข้าใจ โปรแกรมได้ง่ายขึ้น เช่น Pascal, C, C++, Java
  เป็นต้น

                                                                                          2
Programming & Algorithm
                                                                                 by P'Bank & P'Ball



โปรแกรมแปลภาษา
         โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมแปลคาสั่งต่างๆ ที่เราเขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์
เข้าใจและนาไปประมวลผลได้
    1. แอสเซมเบลอร์ (Assembler)
           เป็นโปรแกรมแปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
    2. คอมไพเลอร์ (compiler)
           ทาหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับ (source program) โดยแปลคราวเดียวทั้งโปรแกรมให้เป็น
    ภาษาเครื่องและสร้างเป็น Object program เมื่อมีการเรียกใช้โปรแกรม จะเรียก Object program มา
    ใช้งานได้ทันที
    3. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
           ทาหน้าที่แปลโปรแกรมในภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องครั้งละ 1 คาสั่ง ในแต่ละคาสั่งจะ
    ถูกแปลและปฏิบัติตามคาสั่ง หากมีคาสั่งผิด จะหยุดให้แก้ไขจนกว่าจะถูกต้อง จึงจะแปลคาสั่งต่อไป

ซูโดโค้ด (Pseudo Code)
          ซูโดโค้ดเป็นคาอธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรมโดยใช้ถ้อยคาผสมระหว่างภาษาอังกฤษ
และภาษาการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง หรืออาจใช้ภาษาไทยก็ได้ แต่ควรเขียนเป็นภาษาอังกฤษ โดย
ให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถพัฒนาขั้นตอนต่างๆ ให้กับโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ซูโดโค้ดที่ดีจะต้องมีความ
ชัดเจน สั้น และได้ใจความ ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้จะถูกเขียนอยู่ในรูปแบบของตัวแปร ซูโดโค้ดนี้บางครั้งจะ
เรียกว่า อัลกอริทึม รูปแบบคาสั่งทั่วไปจะเป็นดังนี้
       การค่านวณ                                          แสดงผลข้อมูล
           Compute                                           Print
           Calculate                                         Display
       การรับข้อมูล                                           Show
           Read                                              Output
           Get
           Input




                                                                                         3
Programming & Algorithm
                                                                     by P'Bank & P'Ball


การตัดสินใจ
    สองทางเลือก                             มากกว่าสองทางเลือก
          o If เงื่อนไข Then                     o Case ตัวแปร Of
                   …………                               ค่าตัวแปร : …………
            Else                                      ค่าตัวแปร : …………
                   …………                               ค่าตัวแปร : …………
            End If                                           …
                                                    End Case


การกระท่าวนซ้่า
    ทาจนกว่าจะเป็นจริง                      ทาจนกว่าจะเป็นเท็จ
        o Repeat                                  o Do
              Statement 1                               Statement 1
              Statement 2                               Statement 2
                   …                                         …
                   …                                         …
          Until (Condition)                          While (Condition)


    ทางานตามจานวนรอบที่แน่นอน
        o For ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น To ค่าสุดท้าย Do
              Statement 1
              Statement 2
                   …
                   …
              Statement n
           End For


                                                                             4
Programming & Algorithm
                                                                                 by P'Bank & P'Ball



ผังงาน (Flow Chart)
       ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน
คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้
เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า
      สัญลักษณ์โดยทั่วไปของ Flow Chart มีดังนี้
              สัญลักษณ์                                    ความหมาย

                                 เริ่มต้น และสิ้นสุดการทางาน

                                 การประมวลผล หรือการคานวณ

                                 ตรวจสอบเงื่อนไข

                                 การรับ หรือแสดงข้อมูลโดยไม่ระบุชนิดอุปกรณ์

                                 แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ

                                 แสดงผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์

                                 รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด

                                 จุดเชื่อมต่อผังงาน

                                 จุดเชื่อมต่อระหว่างหน้า

                                 แสดงทิศทางการทางาน




                                                                                         5
Programming & Algorithm
                                                                                by P'Bank & P'Ball




โครงสร้างการท่างานของโปรแกรม
        1. การท่างานแบบตามล่าดับ (Sequence)
รู ป แบบการเขี ย นโปรแกรมที่ ง่ า ยที่ สุ ด คื อ เขี ย นให้
ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาที
ละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด



       2. การเลือกกระท่าตามเงื่ อนไข (Decision
or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ
                                                              Yes                   No
เขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมี
เหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะ
กระทากระบวนการหนึ่ ง และเป็ น เท็ จ จะกระทาอี ก
กระบวนการหนึ่ง


        3. การท่าซ้่า(Repeation or Loop) การทา
กระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม
หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยาก
กว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขี ยนโปรแกรมแต่ล ะ                              Yes

ภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผัง
                                                                    No
งาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง




                                                                                         6
Programming

Contenu connexe

Tendances

ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
bpatra
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
Por Kung
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
Pannathat Champakul
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
bpatra
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เทวัญ ภูพานทอง
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
Theruangsit
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
waradakhantee
 

Tendances (20)

การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
 
1
11
1
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
3 instruction design
3 instruction design3 instruction design
3 instruction design
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 
12
1212
12
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
Programmer1
Programmer1Programmer1
Programmer1
 
1122
11221122
1122
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 

En vedette (10)

Database
DatabaseDatabase
Database
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
Base
BaseBase
Base
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
Mi sch9
Mi sch9Mi sch9
Mi sch9
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Kam
KamKam
Kam
 

Similaire à Programming

ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Onrutai Intanin
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
supatra178
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
mansuang1978
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
Ko Kung
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
Kroopop Su
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
winewic199
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Nattapon
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
winewic199
 

Similaire à Programming (20)

3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
สอนภาษาc
สอนภาษาcสอนภาษาc
สอนภาษาc
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
C lu
C luC lu
C lu
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
11
1111
11
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Flowchart credit :
Flowchart credit : Flowchart credit :
Flowchart credit :
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
Chapter02
Chapter02Chapter02
Chapter02
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 

Programming

  • 1.
  • 2. Programming & Algorithm by P'Bank & P'Ball การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programming) การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programming) หรือเรียกให้สั้นลงว่า การเขียน โปรแกรม (Programming) หรือ การเขียนโค้ด (Coding) เป็นขั้นตอนการเขียน ทดสอบ และดูแลซอร์ สโค้ดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งซอร์สโค้ดนั้นจะเขียนด้วยภาษาโปรแกรม ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ต้องการความรู้ในหลายด้านด้วยกัน เกี่ยวกับโปรแกรมที่ต้องการจะเขียน และอัลกอริทึมที่จะใช้ ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมหรือพัฒนาโปรแกรม มีขั้นตอนโดยสังเขปดังนี้  วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ (Problem Analysis and Requirement Analysis)  การออกแบบ (Design)  การโค้ด (Coding)  การทดสอบ (Testing)  การจัดทาเอกสาร (Documentation)  การบารุงรักษา (Maintenance) ภาษาในการเขียนโปรแกรม ภาษาในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มี 3 ระดับ คือ 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่สามารถสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางาน ได้ทันที โดยเขียนอยู่ในรูปของ รหัสของ ระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ที่นามาเขียนติดต่อกัน เช่น 10110000 00000101 2. ภาษาระดับต่่า (Low-level Language) เป็นภาษาที่มีการปรับปรุงมาจากภาษาเครื่อง ให้สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น มีการใช้ตัวอักษรแทน ตัวเลขฐานสอง เช่น ADD A,B เป็นต้น ตัวอย่าง ภาษาระดับต่า เช่นภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) 3. ภาษาระดับสูง (High-level Language) เป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกในการ เขียนโปรแกรม เพราะลักษณะของคาสั่งจะ คล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษทาให้สามารถเข้าใจ โปรแกรมได้ง่ายขึ้น เช่น Pascal, C, C++, Java เป็นต้น 2
  • 3. Programming & Algorithm by P'Bank & P'Ball โปรแกรมแปลภาษา โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมแปลคาสั่งต่างๆ ที่เราเขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ เข้าใจและนาไปประมวลผลได้ 1. แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็นโปรแกรมแปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง 2. คอมไพเลอร์ (compiler) ทาหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับ (source program) โดยแปลคราวเดียวทั้งโปรแกรมให้เป็น ภาษาเครื่องและสร้างเป็น Object program เมื่อมีการเรียกใช้โปรแกรม จะเรียก Object program มา ใช้งานได้ทันที 3. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ทาหน้าที่แปลโปรแกรมในภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องครั้งละ 1 คาสั่ง ในแต่ละคาสั่งจะ ถูกแปลและปฏิบัติตามคาสั่ง หากมีคาสั่งผิด จะหยุดให้แก้ไขจนกว่าจะถูกต้อง จึงจะแปลคาสั่งต่อไป ซูโดโค้ด (Pseudo Code) ซูโดโค้ดเป็นคาอธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรมโดยใช้ถ้อยคาผสมระหว่างภาษาอังกฤษ และภาษาการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง หรืออาจใช้ภาษาไทยก็ได้ แต่ควรเขียนเป็นภาษาอังกฤษ โดย ให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถพัฒนาขั้นตอนต่างๆ ให้กับโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ซูโดโค้ดที่ดีจะต้องมีความ ชัดเจน สั้น และได้ใจความ ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้จะถูกเขียนอยู่ในรูปแบบของตัวแปร ซูโดโค้ดนี้บางครั้งจะ เรียกว่า อัลกอริทึม รูปแบบคาสั่งทั่วไปจะเป็นดังนี้ การค่านวณ แสดงผลข้อมูล  Compute  Print  Calculate  Display การรับข้อมูล  Show  Read  Output  Get  Input 3
  • 4. Programming & Algorithm by P'Bank & P'Ball การตัดสินใจ  สองทางเลือก  มากกว่าสองทางเลือก o If เงื่อนไข Then o Case ตัวแปร Of ………… ค่าตัวแปร : ………… Else ค่าตัวแปร : ………… ………… ค่าตัวแปร : ………… End If … End Case การกระท่าวนซ้่า  ทาจนกว่าจะเป็นจริง  ทาจนกว่าจะเป็นเท็จ o Repeat o Do Statement 1 Statement 1 Statement 2 Statement 2 … … … … Until (Condition) While (Condition)  ทางานตามจานวนรอบที่แน่นอน o For ตัวแปร := ค่าเริ่มต้น To ค่าสุดท้าย Do Statement 1 Statement 2 … … Statement n End For 4
  • 5. Programming & Algorithm by P'Bank & P'Ball ผังงาน (Flow Chart) ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้ เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า สัญลักษณ์โดยทั่วไปของ Flow Chart มีดังนี้ สัญลักษณ์ ความหมาย เริ่มต้น และสิ้นสุดการทางาน การประมวลผล หรือการคานวณ ตรวจสอบเงื่อนไข การรับ หรือแสดงข้อมูลโดยไม่ระบุชนิดอุปกรณ์ แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ แสดงผลลัพธ์ทางเครื่องพิมพ์ รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด จุดเชื่อมต่อผังงาน จุดเชื่อมต่อระหว่างหน้า แสดงทิศทางการทางาน 5
  • 6. Programming & Algorithm by P'Bank & P'Ball โครงสร้างการท่างานของโปรแกรม 1. การท่างานแบบตามล่าดับ (Sequence) รู ป แบบการเขี ย นโปรแกรมที่ ง่ า ยที่ สุ ด คื อ เขี ย นให้ ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาที ละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด 2. การเลือกกระท่าตามเงื่ อนไข (Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ Yes No เขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมี เหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะ กระทากระบวนการหนึ่ ง และเป็ น เท็ จ จะกระทาอี ก กระบวนการหนึ่ง 3. การท่าซ้่า(Repeation or Loop) การทา กระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยาก กว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขี ยนโปรแกรมแต่ล ะ Yes ภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผัง No งาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง 6