SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
รายงาน
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
จัดทาโดย
นายพิชญุตม์ ไหมชู
เลขที่ 2 ชั้นม. 4/3
เสนอ
อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้า
เกี่ยวกับเรื่อง อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบ
อินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลกให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย

จัดทาโดย
นายพิชญุตม์ ไหมชู
สารบัญ
เรื่อง

หน้า

ประวัติความเป็นมาอินเทอร์เน็ต

1

พัฒนาการของ Internet

3

บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต

5

มารยาทการในการใช้อินเทอร์เน็ต

10

อ้างอิง

11
อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมา
อินเทอร์เน็ต ( Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุม
ทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่กาหนดตายตัว
และไม่จาเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง
ดังรูป

อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ
ประเทศ สหรัฐอเมริกา คือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนี้เป็นการวิจัย
เครือข่ายเพื่อ การสื่อสารของการทหารในกองทัพอเมริกา หรืออาจเรียกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี ค.ศ.
1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของ
อเมริกา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่
ลอสแองเจลิส และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และหลังจากนั้นเป็นต้นมาก็มีการใช้
อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น
ประวัติอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย
สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตเริ่มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา
นครินทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้
มหาวิทยาลัยสามารถติต่อสื่อสารทาง อีเมล์กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ได้มีการติดตั้งระบบ
อีเมล์ขึ้นครั้งแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ว 2,400 บิต/วินาที
จนกระทั่งวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่งอีเมล์ฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทยกับ
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงเปรียบเสมือนประตูทางผ่าน ( Gateway) ของไทยที่
เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น
ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC) ได้เชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อว่า เครือข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic
and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อให้บริการ
อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัย
ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ขึ้น เพื่อให้บริการแก่ประชาชน และ
ภาคเอกชนต่างๆ ที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand)
เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เป็นบริษัทแรก เมื่อมีคนนิยมใช้อินเทอร์เน็ต
เพิ่มมากขึ้น บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตจึงได้ก่อตั้งเพิ่มขึ้นอีกมากมาย

ภาพจาก www.thaigoodview.com/.../16/2/internet/i01_2.htm
พัฒนาการของ Internet

ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหาที่
อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น ค..ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทางการทหารและความ
เป็นไปได้ในการถูกโจมตีด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์การถูกทาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์และระบบการ
สื่อสารข้อมูลอาจทาให้เกิดปัญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีหลากหลายมากมายหลาย
แบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและโปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความคิด ในการวิจัยระบบที่
สามารถเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ตลอดจนสามารถ
รับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างไม่ผิดพลาดแม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่อง หรือสายรับส่งสัญญาณเสียดาย
หรือถูกทาลายกระทรวงกลาโหมอเมริกัน ( DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA
(Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Lickliderได้ทาการทดลอง
ระบบเครือข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPANet (Advanced Research
Projects Agency Network) และต่อได้มาพัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุด
การเริ่มต้นของเครือข่ายนี้ เริ่มในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จานวน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่
 มหาวิทยาลัยยูทาห์
 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา
 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส
 สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
และขยายต่อไปเรื่อยๆ เป็น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็นหลายล้านแห่งทั่วโลกทีเดียวงานหลักของ
เครือข่ายนี้ คือการค้นคว้าและวิจัยทางทหารซึ่งอาศัยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลเดียวกันที่เรียกว่า Network
Control Protocol (NCP) ทาหน้าที่ควบคุมการรับส่งข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูลและ
ตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าด้วยกันและมาตรฐานนี้ก็มีจุดอ่อนในการขยายระบบ จนต้องมี
การพัฒนามาตรฐานใหม่
พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่ออกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol
(TCP/IP) อันเป็นก้าวสาคัญของอินเทอร์เน็ตเนื่องจากมาตรฐานนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันสามารถ
รับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้เปรียบเสมือนเป็นหัวใจของอินเทอร์เน็ตเลยก็ว่าได้

จากระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่มีอยู่ในยุคนั้นไม่สามารถตอบสนองการสื่อสารได้ บริษัทเบลล์
(Bell) ได้ให้ทุนการศึกษาแก่ห้องทดลองที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's Lab ให้ทดลอง
สร้างระบบปฏิบัติการแห่งอนาคต (ของคนในยุคนั้น) เดนนิสริสซีและ เคเน็ตทอมสันได้ออกแบบ และ
พัฒนาระบบที่มีชื่อว่า UNIX ขึ้นและแพร่หลายอย่างรวดเร็ว พร้อมๆกับการแพร่หลายของระบบ Internet
เนื่องจากความสามารถ ในการสื่อสารของ
UNIX และมีการนา TCP/IP มาเป็นส่วนหนึ่งของ
ระบบปฏิบัติการนี้ด้วย
พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาลัยศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา ( National Science Foundation - NSF) ได้
วางระบบเครือข่ายขึ้นมาอีกระบบหนึ่ง เรียกว่า NSFNetซึ่งประกอบด้วยซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 5 เครื่องใน 5
รัฐเชื่อมต่อเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และมีการใช้มาตรฐาน TCP/IP เป็น
มาตรฐานหลักในการรับส่งข้อมูลส่งผลให้การใช้งานเครือข่ายเป็นไปอย่างรวดเร็ว
หลังจากนั้นก็มีเครือข่ายอื่นๆ เกิดขึ้นมาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNetเป็นต้น และต่อมาได้
เชื่อมต่อกัน โดยมีNSFNetเป็นเครือข่ายหลักซึ่งเปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของเครือข่าย (Backbone)
ในปี พ.ศ. 2530 เครือข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมาเปลี่ยนไปใช้
บทบาทของ NSFNetแทนและเลิกระบบ ARPANET ในปีพ.ศ. 2534
ในปัจจุบัน Internet เป็นการต่อโยงทางตรรกะ ( Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่อง
และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆเช่น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรือ
แม้แต่เครือข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET, Compuserve Net และอื่น ๆภายใต้โปรโตคอล ที่มีชื่อว่า TCP/IP
โดยที่ขนาดของเครือข่ายครอบคลุมไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยและมีการขยายขอบเขตออกไปอย่างไม่
หยุดยั้ง

ระบบ Internet เป็นการนาเครือข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ที่มีการต่อเสมือนกับ ใยแมงมุมหรือ
World Wide Web หรือเรียกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศัพท์ว่า เครือข่ายใยพิภพ) ในระบบนี้เราสามารถ
เปรียบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ (Physical) นั้น
Internet เป็นเครือข่ายที่รับอิทธิพลจาก เครือข่ายโทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริกาบริษัทที่เป็นผู้ให้บริการ
Internet ก็เป็นบริษัทที่ทาธุรกิจ ทางโทรศัพท์เช่น MCI, AT&T, BELL เป็นต้น และอีกลักษณะหนึ่งที่เป็น
ความเด่นของระบบคือลักษณะทางตรรกะ หรือ LOGICAL CONNECTION ที่เป็นเสมือนใยแมงมุม
ครอบคลุมโลกไว้
บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภทเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้เหมาะสม
กับลักษณะงานซึ่งในที่นี้จะยกตัวอย่างบริการบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้
1.บริการด้านการสื่อสาร
1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์( electronic mail)หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าอีเมล์ (E-mail) ถือ
ได้ว่าเป็นกิจกรรมประจาวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตซึ่งการส่งและรับจดหมายหรือข้อความถึงกันได้
ทั่วโลกนี้จาเป็นจะต้องมีที่อยู่อีเมล์ ( e-mail address หรือ e-mail account) เพื่อใช้เป็นกล่องรับ
จดหมายที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือชื่อผู้ใช้ (User name) และชื่อ
โดเมน(Domain name) ซึ่งเป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผู้ใช้อีเมล์โดยชื่อผู้ใช้และชื่อ
โดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) เช่น Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมีผู้ใช้อีเมล์
ชื่อ Sripraiที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ sukhothaiของมหาวิทยาลัยสยาม( siamu) ซึ่งเป็น
สถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th)

ในการรับ-ส่งจดหมายโดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้
สาหรับอีเมล์อยู่หลายโปรแกรมเช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape
Mail เป็นต้นนอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่อีเมล์ได้ฟรีจากเว็บไซต์ที่ให้บริการ
ที่อยู่อีเมล์ฟรีเว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จักและนิยม
โดยทั่วไปแล้วส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่วนหัว ( header) และส่วน
ข้อความ (message)
1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา ( mailing lists) เป็นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มี
การติดต่อสื่อสารและการส่งข่าวสารให้กับสมาชิกตามรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิกที่มีอยู่ในรายการ
ซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่างกันตามความสนใจจานวนมากการเข้าไปมีส่วนร่วมใน
กลุ่มสนทนาประเภทนี้

ผู้ใช้จะต้องสมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อการลง
ทะเบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์
(tourbus@listserv.aol.com)
1.3 กระดานข่าว ( usenet) เป็นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรือ newsgroup ซึ่งเป็นกลุ่ม
ผู้สนใจที่ต้องการจะติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ
newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกันเช่นกลุ่มผู้สนใจ
ศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ชื่นชอบภาพยนต์ เป็นต้น

การส่งและรับแหล่งข่าวจาก usenetจะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของกลุ่ม
ข่าวหรือหัวข้อจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้เข้าไปขอใช้บริการ
เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมาตรฐานซึ่งชื่อ
กลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลักๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่มข่าวย่อย
(subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่างเช่น
1.4 การสนทนาออนไลน์( On-line chat)เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ใช้
สามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกัน ( real-time) การสนทนาหรือ chat (Internet
Relay Chat หรือ IRC)ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องปัจจุบันการสนทนาระหว่างบุคคลหรือ กลุ่ม
บุคคลสามารถใช้
ภาพกราฟิก ภาพการ์ตูนหรือภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผู้สนทนาได้นอกจากการ
สนทนาแล้ว ผู้ใช้ยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย
การใช้งาน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ ( IRC server) ที่มี
การแบ่งห้องสนทนาเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่า แชนแนล ( channel) โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้
สาหรับการสนทนา (ซึ่งสามารถดาวน์โหลดฟรีจากอินเทอร์เน็ต)เมื่อผู้ใช้ติดต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์
ได้แล้วก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรือหัวข้อสนทนาที่สนใจ และเริ่มสนทนาได้ตามความต้องการ
ตัวอย่างโปรแกรมสนทนาออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek You) และ mIRC
การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในปัจจุบันผู้ใช้สามารถใช้
สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสียงพูดและภาพเคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น
ไมโครโฟน ลาโพง กล้องวีดีโอและอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกและเพื่อประสิทธิภาพของการ
สนทนาให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรมได้มีการพัฒนาโปรแกรมเพื่อการสนทนาออนไลน์ที่มี
คุณภาพเช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากันไปพร้อมๆกับมองเห็นภาพ
ของคู่สนทนาได้ด้วย
1.5 เทลเน็ต ( telnet)เป็นบริการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่
ระยะไกลโดยจะใช้การจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ให้เป็นจอภาพ ของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่องนั้นการทางานในลักษณะนี้จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายใน
กรณีที่ต้องเดินทางไปใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล

การใช้งานเทลเน็ตจะเป็นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไปใช้
บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกลจาเป็นต้องมีรายชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านแต่ก็มีบางหน่วยงานที่
อนุญาติให้เข้าใช้บริการโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่านเพื่อเป็นการให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้าทั่วๆ ไป
2.บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ
2.1 การขนถ่ายไฟล์( file transfer protocol)หรือที่เรียกสั้น ๆว่า เอฟทีพี ( FTP) เป็นบริการที่
ใช้สาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ตเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
ให้บริการไฟล์จะเรียกว่าเอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site)
ข้อมูลที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะมีลักษณะหลายรูปแบบได้แก่ข้อมูลสถิติ งานวิจัย บทความ
เพลง ข่าวสารทั่วไป หรือโปรแกรมฟรีแวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี
ในบางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะให้บริการเฉพาะบุคคลที่มีบัญชี
รายชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จานวนมาก
อนุญาตให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้าไปใช้บริการถึงแม้ว่าในบางครั้งจะไม่อนุญาตให้ขนถ่ายไฟล์ทั้งหมดก็
ตาม

2.2 โกเฟอร์ (gopher)เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริการข้อมูลในลักษณะของการค้นหา
จากเมนู(menu-based search) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการข้อมูลโปรแกรมโกเฟอร์พัฒนาโดย
มหาวิทยาลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการฐานข้อมูลจะเป็นลักษณะ
ของเมนูลาดับชั้น (hierarchy) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆที่กระจายกันอยู่หลายแหล่งได้
2.3 อาร์ซี (archie) เป็นการเข้าใช้บริการค้นหาข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายที่เป็นอาร์ซีเซิร์ฟเวอร์
(archiesever )ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาสถานที่ของข้อมูลจากนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจาก
สถานที่นั้นต่อไป
2.4 WAIS (Wide Area Information Severs)เป็นบริการค้นหาข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลที่อยู่บน
อินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสาหรับสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆเพื่ออานวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสามารถเข้าไปยังข้อมูลที่ต้องการและสามารถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล WAIS อื่นๆ
ได้ด้วย
2.5 veronicaย่อมาจาก very easy rodent-oriented net-wide index to computerized archives เป็น
บริการที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
2.6 การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยง
แหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลกการค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆถ้าผู้ใช้ไม่ทราบที่อยู่ของเว็บไซต์ก็
สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริการค้นหาข้อมูลต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว
ปัจจุบันการค้นหาข้อมูลที่ต้องการเป็นเรื่องที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็วการพัฒนาเว็บไซต์ที่
ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เครื่องค้นหา (search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งในรูปของ ข้อความและ
กราฟิกกระทาได้โดยง่าย
มารยาทการในการใช้อินเทอร์เน็ต
1. ไม่ควรใช้ Login ของผู้อื่น ยกเว้นเมื่อได้รับอนุญาต
2. ควรลบข้อมูลหรือ E-mail ที่ไม่ใช้ทิ้งไปหรือสารองไว้ที่สื่ออื่นเพื่อไม่ให้เปลืองเนื้อที่ใน Server
ที่มีการใช้งานร่วมกัน
3. ไม่ควรเปิดอ่าน E-mail ของผู้อื่นอ่าน
4. ควรหลีกเลี่ยงการส่งข่าวสารต้นฉบับกลับ หรือคัดลอกสาเนาทั้งเอกสาร เพราะจะทาให้ข้อมูลมี
ขนาดใหญ่
5. ห้ามใช้คาหยาบหรือคาไม่สุภาพลงในสื่อต่างๆ และส่งผ่านทาง E-mail
6. ควรหลีกเลี่ยงการพิมพ์ข้อความที่เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด (ยกเว้นคาย่อ) เนื่องจากการพิมพ์ข้อความที่
เป็นตัวใหญ่ในระบบอินเทอร์เน็ตจะถือว่าเป็นการตะโกนใส่กัน จึงเป็นการไม่สุภาพ
อ้างอิง
http://kururat-01.blogspot.com/.
http://www.learners.in.th/blogs/posts/330030.
[http://202.143.137.109/araya/int.html
.

Contenu connexe

Tendances

ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานPannathat Champakul
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการน๊อต เอกลักษณ์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์NATTAWANKONGBURAN
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตHaprem HAprem
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์paveenada
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 

Tendances (20)

ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการบทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 

Similaire à รายงานอินเทอร์เน็ต

เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตTeerayut43
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีKunnawut Rueangsom
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1SupachaiPenjan
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมkaakvc
 

Similaire à รายงานอินเทอร์เน็ต (20)

เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
0
00
0
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
บทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มี
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ศุภชัย
ศุภชัยศุภชัย
ศุภชัย
 

รายงานอินเทอร์เน็ต

  • 1. รายงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต จัดทาโดย นายพิชญุตม์ ไหมชู เลขที่ 2 ชั้นม. 4/3 เสนอ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับเรื่อง อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบ อินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลกให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย จัดทาโดย นายพิชญุตม์ ไหมชู
  • 4. อินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมา อินเทอร์เน็ต ( Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุม ทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่กาหนดตายตัว และไม่จาเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรูป อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ ประเทศ สหรัฐอเมริกา คือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนี้เป็นการวิจัย เครือข่ายเพื่อ การสื่อสารของการทหารในกองทัพอเมริกา หรืออาจเรียกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของ อเมริกา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ ลอสแองเจลิส และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และหลังจากนั้นเป็นต้นมาก็มีการใช้ อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น
  • 5. ประวัติอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตเริ่มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา นครินทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้ มหาวิทยาลัยสามารถติต่อสื่อสารทาง อีเมล์กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ได้มีการติดตั้งระบบ อีเมล์ขึ้นครั้งแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ว 2,400 บิต/วินาที จนกระทั่งวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่งอีเมล์ฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทยกับ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงเปรียบเสมือนประตูทางผ่าน ( Gateway) ของไทยที่ เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC) ได้เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อว่า เครือข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อให้บริการ อินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัย ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ขึ้น เพื่อให้บริการแก่ประชาชน และ ภาคเอกชนต่างๆ ที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เป็นบริษัทแรก เมื่อมีคนนิยมใช้อินเทอร์เน็ต เพิ่มมากขึ้น บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตจึงได้ก่อตั้งเพิ่มขึ้นอีกมากมาย ภาพจาก www.thaigoodview.com/.../16/2/internet/i01_2.htm
  • 6. พัฒนาการของ Internet ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหาที่ อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น ค..ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทางการทหารและความ เป็นไปได้ในการถูกโจมตีด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์การถูกทาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์และระบบการ สื่อสารข้อมูลอาจทาให้เกิดปัญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีหลากหลายมากมายหลาย แบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและโปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความคิด ในการวิจัยระบบที่ สามารถเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ตลอดจนสามารถ รับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างไม่ผิดพลาดแม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่อง หรือสายรับส่งสัญญาณเสียดาย หรือถูกทาลายกระทรวงกลาโหมอเมริกัน ( DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Lickliderได้ทาการทดลอง ระบบเครือข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) และต่อได้มาพัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุด การเริ่มต้นของเครือข่ายนี้ เริ่มในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จานวน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่  มหาวิทยาลัยยูทาห์  มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา  มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส  สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และขยายต่อไปเรื่อยๆ เป็น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็นหลายล้านแห่งทั่วโลกทีเดียวงานหลักของ เครือข่ายนี้ คือการค้นคว้าและวิจัยทางทหารซึ่งอาศัยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลเดียวกันที่เรียกว่า Network Control Protocol (NCP) ทาหน้าที่ควบคุมการรับส่งข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูลและ ตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าด้วยกันและมาตรฐานนี้ก็มีจุดอ่อนในการขยายระบบ จนต้องมี การพัฒนามาตรฐานใหม่
  • 7. พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่ออกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol (TCP/IP) อันเป็นก้าวสาคัญของอินเทอร์เน็ตเนื่องจากมาตรฐานนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันสามารถ รับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้เปรียบเสมือนเป็นหัวใจของอินเทอร์เน็ตเลยก็ว่าได้ จากระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่มีอยู่ในยุคนั้นไม่สามารถตอบสนองการสื่อสารได้ บริษัทเบลล์ (Bell) ได้ให้ทุนการศึกษาแก่ห้องทดลองที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's Lab ให้ทดลอง สร้างระบบปฏิบัติการแห่งอนาคต (ของคนในยุคนั้น) เดนนิสริสซีและ เคเน็ตทอมสันได้ออกแบบ และ พัฒนาระบบที่มีชื่อว่า UNIX ขึ้นและแพร่หลายอย่างรวดเร็ว พร้อมๆกับการแพร่หลายของระบบ Internet เนื่องจากความสามารถ ในการสื่อสารของ UNIX และมีการนา TCP/IP มาเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบปฏิบัติการนี้ด้วย พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาลัยศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา ( National Science Foundation - NSF) ได้ วางระบบเครือข่ายขึ้นมาอีกระบบหนึ่ง เรียกว่า NSFNetซึ่งประกอบด้วยซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 5 เครื่องใน 5 รัฐเชื่อมต่อเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และมีการใช้มาตรฐาน TCP/IP เป็น มาตรฐานหลักในการรับส่งข้อมูลส่งผลให้การใช้งานเครือข่ายเป็นไปอย่างรวดเร็ว หลังจากนั้นก็มีเครือข่ายอื่นๆ เกิดขึ้นมาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNetเป็นต้น และต่อมาได้ เชื่อมต่อกัน โดยมีNSFNetเป็นเครือข่ายหลักซึ่งเปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของเครือข่าย (Backbone) ในปี พ.ศ. 2530 เครือข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมาเปลี่ยนไปใช้ บทบาทของ NSFNetแทนและเลิกระบบ ARPANET ในปีพ.ศ. 2534 ในปัจจุบัน Internet เป็นการต่อโยงทางตรรกะ ( Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่อง และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆเช่น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรือ แม้แต่เครือข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET, Compuserve Net และอื่น ๆภายใต้โปรโตคอล ที่มีชื่อว่า TCP/IP
  • 8. โดยที่ขนาดของเครือข่ายครอบคลุมไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยและมีการขยายขอบเขตออกไปอย่างไม่ หยุดยั้ง ระบบ Internet เป็นการนาเครือข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ที่มีการต่อเสมือนกับ ใยแมงมุมหรือ World Wide Web หรือเรียกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศัพท์ว่า เครือข่ายใยพิภพ) ในระบบนี้เราสามารถ เปรียบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ (Physical) นั้น Internet เป็นเครือข่ายที่รับอิทธิพลจาก เครือข่ายโทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริกาบริษัทที่เป็นผู้ให้บริการ Internet ก็เป็นบริษัทที่ทาธุรกิจ ทางโทรศัพท์เช่น MCI, AT&T, BELL เป็นต้น และอีกลักษณะหนึ่งที่เป็น ความเด่นของระบบคือลักษณะทางตรรกะ หรือ LOGICAL CONNECTION ที่เป็นเสมือนใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้ บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภทเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้เหมาะสม กับลักษณะงานซึ่งในที่นี้จะยกตัวอย่างบริการบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้ 1.บริการด้านการสื่อสาร 1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์( electronic mail)หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าอีเมล์ (E-mail) ถือ ได้ว่าเป็นกิจกรรมประจาวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตซึ่งการส่งและรับจดหมายหรือข้อความถึงกันได้ ทั่วโลกนี้จาเป็นจะต้องมีที่อยู่อีเมล์ ( e-mail address หรือ e-mail account) เพื่อใช้เป็นกล่องรับ จดหมายที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือชื่อผู้ใช้ (User name) และชื่อ โดเมน(Domain name) ซึ่งเป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผู้ใช้อีเมล์โดยชื่อผู้ใช้และชื่อ
  • 9. โดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) เช่น Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมีผู้ใช้อีเมล์ ชื่อ Sripraiที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ sukhothaiของมหาวิทยาลัยสยาม( siamu) ซึ่งเป็น สถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th) ในการรับ-ส่งจดหมายโดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ สาหรับอีเมล์อยู่หลายโปรแกรมเช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape Mail เป็นต้นนอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่อีเมล์ได้ฟรีจากเว็บไซต์ที่ให้บริการ ที่อยู่อีเมล์ฟรีเว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จักและนิยม โดยทั่วไปแล้วส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่วนหัว ( header) และส่วน ข้อความ (message) 1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา ( mailing lists) เป็นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มี การติดต่อสื่อสารและการส่งข่าวสารให้กับสมาชิกตามรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิกที่มีอยู่ในรายการ ซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่างกันตามความสนใจจานวนมากการเข้าไปมีส่วนร่วมใน กลุ่มสนทนาประเภทนี้ ผู้ใช้จะต้องสมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อการลง ทะเบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์ (tourbus@listserv.aol.com)
  • 10. 1.3 กระดานข่าว ( usenet) เป็นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรือ newsgroup ซึ่งเป็นกลุ่ม ผู้สนใจที่ต้องการจะติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกันเช่นกลุ่มผู้สนใจ ศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ชื่นชอบภาพยนต์ เป็นต้น การส่งและรับแหล่งข่าวจาก usenetจะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของกลุ่ม ข่าวหรือหัวข้อจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้เข้าไปขอใช้บริการ เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมาตรฐานซึ่งชื่อ กลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลักๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่มข่าวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่างเช่น 1.4 การสนทนาออนไลน์( On-line chat)เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ใช้ สามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกัน ( real-time) การสนทนาหรือ chat (Internet Relay Chat หรือ IRC)ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องปัจจุบันการสนทนาระหว่างบุคคลหรือ กลุ่ม บุคคลสามารถใช้ ภาพกราฟิก ภาพการ์ตูนหรือภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผู้สนทนาได้นอกจากการ สนทนาแล้ว ผู้ใช้ยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย การใช้งาน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ ( IRC server) ที่มี การแบ่งห้องสนทนาเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่า แชนแนล ( channel) โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรมเพื่อใช้ สาหรับการสนทนา (ซึ่งสามารถดาวน์โหลดฟรีจากอินเทอร์เน็ต)เมื่อผู้ใช้ติดต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ได้แล้วก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรือหัวข้อสนทนาที่สนใจ และเริ่มสนทนาได้ตามความต้องการ ตัวอย่างโปรแกรมสนทนาออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek You) และ mIRC
  • 11. การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในปัจจุบันผู้ใช้สามารถใช้ สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสียงพูดและภาพเคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลาโพง กล้องวีดีโอและอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกและเพื่อประสิทธิภาพของการ สนทนาให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรมได้มีการพัฒนาโปรแกรมเพื่อการสนทนาออนไลน์ที่มี คุณภาพเช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากันไปพร้อมๆกับมองเห็นภาพ ของคู่สนทนาได้ด้วย 1.5 เทลเน็ต ( telnet)เป็นบริการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ ระยะไกลโดยจะใช้การจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ให้เป็นจอภาพ ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่องนั้นการทางานในลักษณะนี้จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายใน กรณีที่ต้องเดินทางไปใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล การใช้งานเทลเน็ตจะเป็นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไปใช้ บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกลจาเป็นต้องมีรายชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านแต่ก็มีบางหน่วยงานที่ อนุญาติให้เข้าใช้บริการโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่านเพื่อเป็นการให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้าทั่วๆ ไป 2.บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ 2.1 การขนถ่ายไฟล์( file transfer protocol)หรือที่เรียกสั้น ๆว่า เอฟทีพี ( FTP) เป็นบริการที่ ใช้สาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ตเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ให้บริการไฟล์จะเรียกว่าเอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site)
  • 12. ข้อมูลที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะมีลักษณะหลายรูปแบบได้แก่ข้อมูลสถิติ งานวิจัย บทความ เพลง ข่าวสารทั่วไป หรือโปรแกรมฟรีแวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี ในบางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะให้บริการเฉพาะบุคคลที่มีบัญชี รายชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จานวนมาก อนุญาตให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้าไปใช้บริการถึงแม้ว่าในบางครั้งจะไม่อนุญาตให้ขนถ่ายไฟล์ทั้งหมดก็ ตาม 2.2 โกเฟอร์ (gopher)เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริการข้อมูลในลักษณะของการค้นหา จากเมนู(menu-based search) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการข้อมูลโปรแกรมโกเฟอร์พัฒนาโดย มหาวิทยาลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการฐานข้อมูลจะเป็นลักษณะ ของเมนูลาดับชั้น (hierarchy) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆที่กระจายกันอยู่หลายแหล่งได้ 2.3 อาร์ซี (archie) เป็นการเข้าใช้บริการค้นหาข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายที่เป็นอาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (archiesever )ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาสถานที่ของข้อมูลจากนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจาก สถานที่นั้นต่อไป 2.4 WAIS (Wide Area Information Severs)เป็นบริการค้นหาข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลที่อยู่บน อินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสาหรับสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆเพื่ออานวยความ สะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสามารถเข้าไปยังข้อมูลที่ต้องการและสามารถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล WAIS อื่นๆ ได้ด้วย 2.5 veronicaย่อมาจาก very easy rodent-oriented net-wide index to computerized archives เป็น บริการที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว 2.6 การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยง แหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลกการค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆถ้าผู้ใช้ไม่ทราบที่อยู่ของเว็บไซต์ก็ สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริการค้นหาข้อมูลต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว
  • 13. ปัจจุบันการค้นหาข้อมูลที่ต้องการเป็นเรื่องที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็วการพัฒนาเว็บไซต์ที่ ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เครื่องค้นหา (search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งในรูปของ ข้อความและ กราฟิกกระทาได้โดยง่าย มารยาทการในการใช้อินเทอร์เน็ต 1. ไม่ควรใช้ Login ของผู้อื่น ยกเว้นเมื่อได้รับอนุญาต 2. ควรลบข้อมูลหรือ E-mail ที่ไม่ใช้ทิ้งไปหรือสารองไว้ที่สื่ออื่นเพื่อไม่ให้เปลืองเนื้อที่ใน Server ที่มีการใช้งานร่วมกัน 3. ไม่ควรเปิดอ่าน E-mail ของผู้อื่นอ่าน 4. ควรหลีกเลี่ยงการส่งข่าวสารต้นฉบับกลับ หรือคัดลอกสาเนาทั้งเอกสาร เพราะจะทาให้ข้อมูลมี ขนาดใหญ่ 5. ห้ามใช้คาหยาบหรือคาไม่สุภาพลงในสื่อต่างๆ และส่งผ่านทาง E-mail 6. ควรหลีกเลี่ยงการพิมพ์ข้อความที่เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด (ยกเว้นคาย่อ) เนื่องจากการพิมพ์ข้อความที่ เป็นตัวใหญ่ในระบบอินเทอร์เน็ตจะถือว่าเป็นการตะโกนใส่กัน จึงเป็นการไม่สุภาพ