SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 1

                           ความสาคัญและความจาเป็ นในการพัฒนา

                  แนวการจัดการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ยึดหลักว่า
นักเรี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้ ควรส่ งเสริ มให้เขาพัฒนาตามธรรมชาติและ
เต็มตามศักยภาพ การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ครู ควรจัดให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และ
ความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยน โดยยึดหลักนักเรี ยนมีความสาคัญที่สุด เพื่อมุ่งพัฒนานักเรี ยน
มุ่งเน้นด้านความรู ้และคุณธรรม มีการบูรณาการความรู ้ในด้านต่างๆ ส่ งเสริ มให้มีการค้นคว้าจาก
แหล่งเรี ยนรู ้ ได้เรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง เน้นให้นกเรี ยนมีส่วนร่ วมในการปฏิบติจริ ง สถานศึกษา
                                                         ั                        ั
และครู ผสอนจะต้องดาเนินการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่ทาให้นกเรี ยนได้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ดี
          ู้                                                    ั
ปฏิบติได้ แก้ปัญหาได้ โดยเฉพาะกระบวนการเรี ยนการสอนใหม่ๆ ตามพระราชบัญญัติการศึกษา
       ั
แห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 ที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสาคัญ ระบบการศึกษาต้องเน้นการศึกษาตามอัธยาศัย
ให้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงในโลกยุคโลกาภิวตน์ โลกของการสื่ อสารอย่างไร้พรมแดน ซึ่ งเกิด
                                ่                   ั
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ดังนั้นการจัด
การศึกษาจาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
                  หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็ นหลักสู ตรแกนกลางของประเทศ
มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพของนักเรี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวตที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิง การเพิ่ม
                                                                        ิ                   ่
ศักยภาพของนักเรี ยนให้สูงขึ้น สามารถดารงชีวิตได้อย่างมีความสุ ขบนพื้นฐานของความเป็ นไทยและ
ความเป็ นสากล มีความสามารถในการประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล
ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้พฒนาและเรี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างต่อเนื่ องตลอดชีวต โดยถือว่านักเรี ยนสาคัญ
                ั            ั               ้                            ิ
ที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยมีมาตรฐานการเรี ยนรู ้เป็ นข้อกาหนด
คุณภาพของนักเรี ยน ทั้งด้านความรู ้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยม โดยสาระ
การเรี ยนรู้เป็ นตัวกาหนดองค์ความรู ้ที่เป็ นเนื้ อหาสาระครอบคลุมการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้ง 12 ปี เพื่อให้
สถานศึกษา ครู ผูสอน และผูที่เกี่ยวข้องสามารถจัดทาหลักสู ตรได้ตามความเหมาะสมกับนักเรี ยน
                     ้            ้
และเป็ นไปตามจุดหมายของหลักสู ตร
2



                        กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (กรมวิชาการ. 2547 : 1-2) เป็ นสาระ
การเรี ยนรู ้ท่ีมุ่งพัฒนานักเรี ยนให้มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน อาชีพ และเทคโนโลยี มีทกษะ
                                                                                             ั
การทางาน ทักษะการจัดการ สามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ใน
การทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม คุมค่า และมีคุณธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างและพัฒนา
                                               ้
ผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่ สามารถทางานเป็ นหมู่คณะ มีนิสัยรักการทางาน เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดี
ต่องาน ตลอดจนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่เป็ นพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด
และอดทน อันจะนาไปสู่ การให้นกเรี ยนสามารถช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้ตามพระราชดาริ แบบ
                                            ั
                                              ิ ่
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถดารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ร่ วมมือและแข่งขันระดับสากลใน
บริ บทของสังคมไทย เป็ นสาระที่เน้นกระบวนการทางานและการจัดการอย่างเป็ นระบบ พัฒนาความคิด
สร้างสรรค์ มีทกษะการออกแบบงานและการทางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีและ
                      ั
เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนนาเทคโนโลยีมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทางาน รวมทั้งการสร้าง
พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรื อวิธีการใหม่ เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและพลังงานอย่าง
ประหยัดและคุมค่า    ้
                        สาระที่เป็ นความรู ้ของกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี (กรมวิชาการ. 2547 : 4-5)
ประกอบด้วย 5 สาระ คือ สาระที่ 1 การดารงชีวตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3
                                                          ิ
การออกแบบและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการ
งานและอาชีพ สาหรับสาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นสาระมุ่งพัฒนานักเรี ยนแบบองค์รวม
เพื่อให้เป็ นคนดี มีความรู้ ความสามารถ โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทกษะในการทางานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน
                                                        ั
การติดต่อสื่ อสาร การค้นหาความรู ้ การสื บค้น การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหา หรื อ
                                                              ้
สร้างงาน ตระหนักถึงคุณค่า ความสาคัญ และผลกระทบของเทคโนโลยี มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์
ขยัน อดทน รักการทางาน ประหยัด อดออม ตรงต่อเวลา เอื้อเฟื้ อ เสี ยสละ และมีวนยในการทางาน
                                                                                    ิ ั
การอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และพลังงาน สาหรับในช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3
นักเรี ยนจะต้องมีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสาร
                                   ื
ข้อมูล และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ เข้าใจหลักการ
วิธีการแก้ปัญหา และหลักการทาโครงงานด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศค้นหาข้อมูล ความรู ้ ติดต่อสื่ อสาร นาเสนองาน สร้างชิ้นงานหรื อโครงงานจากจินตนาการ
หรื องานที่ทาในชีวิตประจาวันอย่างมีจิตสานึกและมีความรับผิดชอบ
3



                   สาหรับรายวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เป็ น
หลักสู ตรของสถานศึกษาที่ครู ผสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีของโรงเรี ยน
                                  ู้
เทพศิรินทร์ นนทบุรี ได้จดทาขึ้น โดยทาการวิเคราะห์สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามขอบข่ายสาระ
                             ั
การเรี ยนรู ้และมาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ งวิชานี้มีเนื้อหาที่ตองการให้นกเรี ยนได้เรี ยนรู้ใน
                                                                           ้        ั
                                                ่
1 ปี การศึกษา ประกอบด้วย (นฤชิต แววศรี ผอง และสิ ทธิ โชค ปาณะศรี . 2547) หน่วยที่ 1 ความรู ้
                                                                      ั
พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3
การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล หน่วยที่ 5 อินเทอร์ เน็ต และ
หน่วยที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการทางานและการแก้ปัญหา ด้วยหน่วยที่ 1 ความรู ้พ้ืนฐาน
                                                            ั
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3 การสื่ อสาร
ข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และหน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล เป็ นเนื้ อหาที่ใช้วธีการสอนส่ วนใหญ่
                                                                                          ิ
เป็ นวิธีการสอนแบบบรรยายและมีเนื้อหาส่ วนใหญ่เป็ นนามธรรม สื่ อที่ใช้ ได้แก่ ตาราเรี ยน ใบงาน
ใบความรู ้ การค้นหาทางอินเทอร์ เน็ต การดูจากจอโปรเจ็กเตอร์ และมีครู ผสอนเพียงหนึ่ งท่านต่อนักเรี ยน
                                                                                ู้
หนึ่งกลุ่ม ซึ่ งมีจานวน 45 ถึง 50 คน ทาให้ครู ผสอนไม่สามารถดูแลนักเรี ยนได้อย่างทัวถึง อีกทั้ง
                                                   ู้                                       ่
ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านร่ างกาย ความคิด และสติปัญญาของนักเรี ยนก็เป็ นปั จจัยสาคัญต่อ
การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน นักเรี ยนที่มีอตราการเรี ยนรู ้ชาจะประสบปั ญหาตามบทเรี ยนไม่ทน จึงทาให้
                                        ั                 ้                                   ั
นักเรี ยนเกิดความเบื่อหน่าย ไม่สนใจเรี ยน พูดคุยกันขณะเรี ยน ทาให้นกเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า
                                                                             ั
                   บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer – Assisted Instruction : CAI) โดยทัวไป         ่
ยึดหลัก 4Is (มนชัย เทียนทอง. 2544 : 78) ซึ่ งได้แก่
                     1. Information คือ ความเป็ นสารสนเทศ
                     2. Interactive คือ การมีปฏิสัมพันธ์
                     3. Individual คือ การเรี ยนการสอนด้วยตนเอง
                     4. Immediate Feedback การตอบสนองโดยทันที
                   ดังนั้นการสอนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer – Assisted Instruction :
CAI) จึงสอดคล้องกับการสอนแบบเอกัตบุคคลและสอดคล้องกับเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคล คือ
การสอนแบบโปรแกรมหรื อบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ตามแนวความคิดของสกินเนอร์ (Skinner) ซึ่ งจะช่วย
เสริ มประสิ ทธิ ภาพของการดาเนินการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการเรี ยนการสอนได้เป็ นอย่างดี
สกินเนอร์ (Skinner) กล่าวว่า “การศึกษาจะดาเนินการไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพไม่ได้ ถ้าเรายังไม่
สามารถแยกแยะในเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยนได้” ดังนั้นการเรี ยนแบบโปรแกรม
4



ตามแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) จึงถูกนามาใช้เพื่อให้นกเรี ยนสามารถเรี ยนด้วยตนเองได้ตาม
                                                                 ั
ความสามารถและความสนใจ ตลอดจนความถนัดของแต่ละบุคคล (ไชยยศ เรื องสุ วรรณ. 2526 : 147)
                    วิธีการสอนทุกวิธีจะมีขอดีขอเสี ยไม่เหมือนกัน (สุ วฒนา อุทยรัตน์. 2544 :41) จึงมีผล
                                            ้ ้                          ั   ั
                                                          ่
อย่างมากต่อบทบาทและภาระหน้าที่ของครู ซึ่ งถือได้วาเป็ นครู ยคปฏิรูปที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง
                                                                       ุ
ปรับปรุ ง และพัฒนาบทบาททั้งในด้านของเนื้ อหาสาระที่สอนและในด้านกระบวนการเรี ยนการสอน
(ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์. 2543 : ก) การปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
มาตรา 52 ที่มุ่งเน้นให้ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อจัด
เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของนักเรี ยน โดยคานึงถึงความ
แตกต่างระหว่างบุคคล (สานักงานนโยบายและแผนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. 2546 : 12-13)
การกระตุนและดึงดูดความสนใจของนักเรี ยนเป็ นการช่วยให้นกเรี ยนสามารถรับสิ่ งเร้าหรื อสิ่ งที่จะ
            ้                                                        ั
เรี ยนรู้ได้ดี (ทิศนา แขมณี . 2545 : 13) จากสภาพปั ญหาที่กล่าวมาข้างต้น แนวทางการแก้ปัญหาวิธีหนึ่ง
คือ การแก้ไขและปรับปรุ งวิธีการสอน โดยครู มีบทบาทเป็ นผูประสานงาน จัดกิจกรรมการเรี ยนเป็ น
                                                                   ้
รายบุคคล ซึ่งสามารถนาเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ประกอบการเรี ยนการสอนเพื่อให้นกเรี ยนมี       ั
ความรู้ ความเข้าใจ มีความสนุกสนานในการเรี ยน สามารถเรี ยนรู้ได้ดวยตนเองอย่างเป็ นอิสระ สื่ อ
                                                                           ้
การสอนที่ช่วยสนองความแตกต่างระหว่างนักเรี ยนได้อย่างหนึ่ง คือ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
(Computer – Assisted Instruction : CAI) ซึ่ งสอดคล้องกับ บุญชม ศรี สะอาด (2537 : 23) กล่าวว่า
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีขอดี คือ นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างอิสระก้าวหน้าไปตามอัตราการเรี ยนรู ้ของตน
                             ้
นักเรี ยนที่มีอตราการเรี ยนรู ้เร็ วก็ไม่ตองรอคนอื่นด้วยความเบื่อหน่ายน่าราคาญ ส่ วนนักเรี ยนที่มีอตรา
                  ั                       ้                                                        ั
การเรี ยนรู ้ชาก็จะไม่ประสบปั ญหาตามบทเรี ยนไม่ทน ไม่ตองวิตกต่อความรู ้สึกของคนอื่นๆ จึงมีความ
                ้                                       ั      ้
พอใจในการเรี ยน
                    จากแนวคิดเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านร่ างกาย ความคิดและสติปัญญา
การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะการศึกษารายบุคคล โดยใช้สื่อและรู ปแบบการเรี ยน
                                              ั
ชนิดต่างๆ จะช่วยอานวยความสะดวกให้กบนักเรี ยนได้เรี ยนตามความถนัดและความสามารถของตน
(กิดานันท์ มลิทอง. 2531 : 141) เนื่ องจากคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสามารถนาเสนอบทเรี ยนในรู ปแบบ
ต่างๆ ทั้งข้อความ รู ปภาพ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ ซึ่ งจะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรี ยนรู ้แก่
นักเรี ยน ทาให้นกเรี ยนสามารถเชื่อมต่อความคิดจากเนื้อหาหนึ่งไปยังเนื้ อหาที่เกี่ยวข้องกันได้โดยง่าย
                     ั
และสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลมากที่สุด ช่วยให้ผที่เรี ยนช้าเรี ยนได้ตามความสามารถของ
                                                            ู้
5



                                               ่
ตนเอง เพราะลักษณะของบทเรี ยนมีความยืดหยุนมากพอที่นกเรี ยนจะมีอิสระในการควบคุมการเรี ยน
                                                              ั
และสามารถเลือกรู ปแบบการเรี ยนที่เหมาะสม
                จากเหตุผลดังกล่าว ผูรายงานจึงสนใจที่จะนาโปรแกรมบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
                                    ้
มาสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111
                                                            ั
เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 จานวน 4 หน่วยการเรี ยนรู้ คือ หน่วยที่ 1 ความรู้
                                                                ั
พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3
การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และหน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่เรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8
ผลการพัฒนาครั้งนี้จะเป็ นแนวทางในการปรับปรุ งการจัดการเรี ยนรู ้วชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
                                                                      ิ
ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้มีโอกาสพัฒนาการเรี ยนรู้ตามศักยภาพของตน ตามความต้องการ ความสนใจ
              ั
และความถนัดของตนเอง เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสู งขึ้นต่อไป

วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา
                1. เพื่อสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                                                ั
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
                2. เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์
กับเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ให้มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ 80/80
                3. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 เรื่ อง
คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสู งกว่าก่อนเรี ยน
              ั
                4. เพื่อประเมินความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบ
                                                                                            ั
เทคโนโลยีสารสนเทศด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

ความสาคัญของการพัฒนา
               1. ได้สร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                                          ั
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
6



             2. ได้พฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์
                     ั
กับเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
             3. เป็ นแนวทางสาหรับครู ผสอนและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาได้นาไปใช้
                                      ู้
และพัฒนาการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับมัธยมศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น
                                                                                    ่

สมมุติฐานของการพัฒนา
               1. สร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                                       ั
สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
               2. การเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบ
                                                                                       ั
เทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ให้มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
               3. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบ
                                                                                             ั
เทคโนโลยีสารสนเทศ หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสู งกว่าก่อนเรี ยน
               4. นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อการเรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 เรื่ อง
  คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนอยูในระดับเห็นด้วยมาก
                ั                                                         ่

ขอบเขตของการพัฒนา
              การดาเนิ นงานครั้งนี้ ผูรายงานได้กาหนดขอบเขตของการดาเนินงานดังนี้
                                      ้

              1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
                 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
อาเภอบางกรวย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 จานวน
13 ห้อง จานวนนักเรี ยน 620 คน
                1.2 กลุ่มตัวอย่ าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
อาเภอบางกรวย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 ที่ผรายงาน ู้
เป็ นผูสอน จานวน 6 ห้อง จานวนนักเรี ยน 303 คน
       ้
7




             2. ระยะเวลาในการทดลอง
                ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง คือ ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 ใช้เวลาทดลองสอน
รวม 18 คาบ คาบละ 50 นาที ระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม 2550 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2550

            3. เนือหาทีใช้ ทดลอง
                   ้      ่
                                                          ั
               เนื้อหาที่ใช้ทดลอง คือ เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111
เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
จานวน 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ คือ
                หน่วยที่ 1 ความรู ้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                            ั
                หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ
                หน่วยที่ 3 การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
                หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล

               4. ตัวแปรทีใช้ ศึกษา
                          ่
                  ตัวแปรต้น ได้แก่ การเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง
             ั
คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
                  ตัวแปรตาม ได้แก่ 1) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยี
                                                                                  ั
สารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 หลังเรี ยนด้วย
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
                                    2) ความคิดเห็นที่มีต่อการเรี ยนเรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยี
                                                                                       ั
สารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 หลังเรี ยนด้วย
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
8



นิยามศัพท์
                     คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หมายถึง เครื่ องมือช่วยสอนที่นกเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ดวย
                                                                            ั                    ้
ตนเอง โดยอาศัยความสามารถของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นสื่ อในการจัดประสบการณ์และกิจกรรมต่างๆ
ที่นกเรี ยนจะต้องปฏิบติตามกิจกรรมที่ส่งมาตามจอภาพของนักเรี ยน โดยนักเรี ยนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กบ
      ั                    ั                                                                        ั
เครื่ องทางแป้ นพิมพ์หรื อเมาส์ ซึ่งแสดงออกมาทางจอภาพ มีท้ งรู ปภาพ เสี ยง และกราฟฟิ ก
                                                                  ั
                     บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หมายถึง สื่ อการสอนคอมพิวเตอร์ที่นกเรี ยนเรี ยนรู้
                                                                                      ั
                                    ั
ด้วยตนเอง เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 2 จานวน 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ คือ
                           หน่วยที่ 1 ความรู ้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                     ั
                           หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ
                           หน่วยที่ 3 การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
                           หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล
                     ประสิ ทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หมายถึง คุณภาพของบทเรี ยน
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่ผรายงานสร้างขึ้น เมื่อนาไปทดลองใช้กบนักเรี ยนทาให้นกเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์
                             ู้                                     ั           ั
ทางการเรี ยนตามเกณฑ์ 80/80
                     80 ตัวแรก หมายถึง ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ (Process) หาได้จากการนา
คะแนนที่ได้จากการตอบคาถามในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างระหว่างเรี ยน
ด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน รวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80
                     80 ตัวหลัง หมายถึง ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ (Product) หาได้จากการนาคะแนน
จากผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ย
เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80
                     ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการเรี ยนรู้ในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์
                                 ั
ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ของนักเรี ยน
ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ งประเมินได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ผรายงานสร้างขึ้น
                                                                                   ู้
จานวน 40 ข้อ ทั้งก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
9



                    แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง เครื่ องมือวัดความรู้ความสามารถ
ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่ผรายงานสร้างขึ้น เป็ นข้อสอบปรนัยชนิ ด
                                                           ู้
เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ
                    แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน หมายถึง เครื่ องมือวัดความคิดเห็นของ
                                                     ั
นักเรี ยนหลังเรี ยน จานวน 10 ข้อ เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน เป็ นแบบสอบถามความคิดเห็นชนิด Rating scale 5 ระดับ

ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ
          ี่
               1. ประโยชน์ กบครู ผ้ ูสอน
                             ั
                  1.1 เป็ นแนวทางในการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประกอบเนื้อหาในเรื่ อง
อื่นๆ เพื่อนาไปใช้ในการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
                  1.2 ผูสอนมีสื่อการสอนที่สามารถสอนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                        ้
                  1.3 เป็ นแนวทางแก่ครู ผสอนในการเลือกกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับ
                                         ู้
ความสามารถของนักเรี ยน
               2. ประโยชน์ แก่ นักเรียน
                  2.1 ช่วยให้นกเรี ยนมีความรู้และเข้าใจเนื้ อหามากขึ้น
                               ั
                  2.2 ตอบสนองต่อการเรี ยนรายบุคคล เพราะเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ศึกษาตามเวลา
                                                                           ั
ตามโอกาส และตามความสามารถของตนเอง โดยไม่ตองรอ หรื อเร่ งตามเพื่อน
                                                     ้
                  2.3 บรรยากาศในการเรี ยนการสอนดีข้ ึน นักเรี ยนมีความสุ ข มีความกระตือรื อร้น
และสนใจการเรี ยนมากขึ้น
               3. ประโยชน์ ต่อวงการวิชาการ
                  3.1 มีรายงานการพัฒนาสื่ อสาหรับใช้เป็ นเอกสารอ้างอิง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา
การศึกษา
                  3.2 ผลการดาเนินงานจะเป็ นการเผยแพร่ ให้มีการสร้างสื่ อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนประกอบการเรี ยนรู้เกี่ยวกับวิชาเทคโนโลยีในเรื่ องอื่นๆ และสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ รวมทั้งเป็ น
แนวทางในการดาเนินงานแก้ไขปั ญหาด้านการเรี ยนการสอนเรื่ องอื่นๆ ต่อไป

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนนnoputa3366
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นschool
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 

Tendances (16)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
1
11
1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนน
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 

Similaire à รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 

Similaire à รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (20)

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 

รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

  • 1. บทที่ 1 ความสาคัญและความจาเป็ นในการพัฒนา แนวการจัดการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ยึดหลักว่า นักเรี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้ ควรส่ งเสริ มให้เขาพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ครู ควรจัดให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และ ความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยน โดยยึดหลักนักเรี ยนมีความสาคัญที่สุด เพื่อมุ่งพัฒนานักเรี ยน มุ่งเน้นด้านความรู ้และคุณธรรม มีการบูรณาการความรู ้ในด้านต่างๆ ส่ งเสริ มให้มีการค้นคว้าจาก แหล่งเรี ยนรู ้ ได้เรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง เน้นให้นกเรี ยนมีส่วนร่ วมในการปฏิบติจริ ง สถานศึกษา ั ั และครู ผสอนจะต้องดาเนินการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่ทาให้นกเรี ยนได้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ดี ู้ ั ปฏิบติได้ แก้ปัญหาได้ โดยเฉพาะกระบวนการเรี ยนการสอนใหม่ๆ ตามพระราชบัญญัติการศึกษา ั แห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 ที่เน้นนักเรี ยนเป็ นสาคัญ ระบบการศึกษาต้องเน้นการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงในโลกยุคโลกาภิวตน์ โลกของการสื่ อสารอย่างไร้พรมแดน ซึ่ งเกิด ่ ั การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ดังนั้นการจัด การศึกษาจาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็ นหลักสู ตรแกนกลางของประเทศ มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพของนักเรี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวตที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิง การเพิ่ม ิ ่ ศักยภาพของนักเรี ยนให้สูงขึ้น สามารถดารงชีวิตได้อย่างมีความสุ ขบนพื้นฐานของความเป็ นไทยและ ความเป็ นสากล มีความสามารถในการประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้พฒนาและเรี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างต่อเนื่ องตลอดชีวต โดยถือว่านักเรี ยนสาคัญ ั ั ้ ิ ที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยมีมาตรฐานการเรี ยนรู ้เป็ นข้อกาหนด คุณภาพของนักเรี ยน ทั้งด้านความรู ้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยม โดยสาระ การเรี ยนรู้เป็ นตัวกาหนดองค์ความรู ้ที่เป็ นเนื้ อหาสาระครอบคลุมการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้ง 12 ปี เพื่อให้ สถานศึกษา ครู ผูสอน และผูที่เกี่ยวข้องสามารถจัดทาหลักสู ตรได้ตามความเหมาะสมกับนักเรี ยน ้ ้ และเป็ นไปตามจุดหมายของหลักสู ตร
  • 2. 2 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (กรมวิชาการ. 2547 : 1-2) เป็ นสาระ การเรี ยนรู ้ท่ีมุ่งพัฒนานักเรี ยนให้มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน อาชีพ และเทคโนโลยี มีทกษะ ั การทางาน ทักษะการจัดการ สามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ใน การทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม คุมค่า และมีคุณธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างและพัฒนา ้ ผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่ สามารถทางานเป็ นหมู่คณะ มีนิสัยรักการทางาน เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดี ต่องาน ตลอดจนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่เป็ นพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด และอดทน อันจะนาไปสู่ การให้นกเรี ยนสามารถช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้ตามพระราชดาริ แบบ ั ิ ่ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถดารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ร่ วมมือและแข่งขันระดับสากลใน บริ บทของสังคมไทย เป็ นสาระที่เน้นกระบวนการทางานและการจัดการอย่างเป็ นระบบ พัฒนาความคิด สร้างสรรค์ มีทกษะการออกแบบงานและการทางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีและ ั เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนนาเทคโนโลยีมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทางาน รวมทั้งการสร้าง พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรื อวิธีการใหม่ เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและพลังงานอย่าง ประหยัดและคุมค่า ้ สาระที่เป็ นความรู ้ของกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี (กรมวิชาการ. 2547 : 4-5) ประกอบด้วย 5 สาระ คือ สาระที่ 1 การดารงชีวตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3 ิ การออกแบบและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการ งานและอาชีพ สาหรับสาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นสาระมุ่งพัฒนานักเรี ยนแบบองค์รวม เพื่อให้เป็ นคนดี มีความรู้ ความสามารถ โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทกษะในการทางานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน ั การติดต่อสื่ อสาร การค้นหาความรู ้ การสื บค้น การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหา หรื อ ้ สร้างงาน ตระหนักถึงคุณค่า ความสาคัญ และผลกระทบของเทคโนโลยี มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน รักการทางาน ประหยัด อดออม ตรงต่อเวลา เอื้อเฟื้ อ เสี ยสละ และมีวนยในการทางาน ิ ั การอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และพลังงาน สาหรับในช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 นักเรี ยนจะต้องมีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสาร ื ข้อมูล และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ เข้าใจหลักการ วิธีการแก้ปัญหา และหลักการทาโครงงานด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศค้นหาข้อมูล ความรู ้ ติดต่อสื่ อสาร นาเสนองาน สร้างชิ้นงานหรื อโครงงานจากจินตนาการ หรื องานที่ทาในชีวิตประจาวันอย่างมีจิตสานึกและมีความรับผิดชอบ
  • 3. 3 สาหรับรายวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เป็ น หลักสู ตรของสถานศึกษาที่ครู ผสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีของโรงเรี ยน ู้ เทพศิรินทร์ นนทบุรี ได้จดทาขึ้น โดยทาการวิเคราะห์สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามขอบข่ายสาระ ั การเรี ยนรู ้และมาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ งวิชานี้มีเนื้อหาที่ตองการให้นกเรี ยนได้เรี ยนรู้ใน ้ ั ่ 1 ปี การศึกษา ประกอบด้วย (นฤชิต แววศรี ผอง และสิ ทธิ โชค ปาณะศรี . 2547) หน่วยที่ 1 ความรู ้ ั พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3 การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล หน่วยที่ 5 อินเทอร์ เน็ต และ หน่วยที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการทางานและการแก้ปัญหา ด้วยหน่วยที่ 1 ความรู ้พ้ืนฐาน ั ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3 การสื่ อสาร ข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และหน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล เป็ นเนื้ อหาที่ใช้วธีการสอนส่ วนใหญ่ ิ เป็ นวิธีการสอนแบบบรรยายและมีเนื้อหาส่ วนใหญ่เป็ นนามธรรม สื่ อที่ใช้ ได้แก่ ตาราเรี ยน ใบงาน ใบความรู ้ การค้นหาทางอินเทอร์ เน็ต การดูจากจอโปรเจ็กเตอร์ และมีครู ผสอนเพียงหนึ่ งท่านต่อนักเรี ยน ู้ หนึ่งกลุ่ม ซึ่ งมีจานวน 45 ถึง 50 คน ทาให้ครู ผสอนไม่สามารถดูแลนักเรี ยนได้อย่างทัวถึง อีกทั้ง ู้ ่ ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านร่ างกาย ความคิด และสติปัญญาของนักเรี ยนก็เป็ นปั จจัยสาคัญต่อ การเรี ยนรู้ของนักเรี ยน นักเรี ยนที่มีอตราการเรี ยนรู ้ชาจะประสบปั ญหาตามบทเรี ยนไม่ทน จึงทาให้ ั ้ ั นักเรี ยนเกิดความเบื่อหน่าย ไม่สนใจเรี ยน พูดคุยกันขณะเรี ยน ทาให้นกเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า ั บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer – Assisted Instruction : CAI) โดยทัวไป ่ ยึดหลัก 4Is (มนชัย เทียนทอง. 2544 : 78) ซึ่ งได้แก่ 1. Information คือ ความเป็ นสารสนเทศ 2. Interactive คือ การมีปฏิสัมพันธ์ 3. Individual คือ การเรี ยนการสอนด้วยตนเอง 4. Immediate Feedback การตอบสนองโดยทันที ดังนั้นการสอนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer – Assisted Instruction : CAI) จึงสอดคล้องกับการสอนแบบเอกัตบุคคลและสอดคล้องกับเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคล คือ การสอนแบบโปรแกรมหรื อบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ตามแนวความคิดของสกินเนอร์ (Skinner) ซึ่ งจะช่วย เสริ มประสิ ทธิ ภาพของการดาเนินการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการเรี ยนการสอนได้เป็ นอย่างดี สกินเนอร์ (Skinner) กล่าวว่า “การศึกษาจะดาเนินการไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพไม่ได้ ถ้าเรายังไม่ สามารถแยกแยะในเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยนได้” ดังนั้นการเรี ยนแบบโปรแกรม
  • 4. 4 ตามแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) จึงถูกนามาใช้เพื่อให้นกเรี ยนสามารถเรี ยนด้วยตนเองได้ตาม ั ความสามารถและความสนใจ ตลอดจนความถนัดของแต่ละบุคคล (ไชยยศ เรื องสุ วรรณ. 2526 : 147) วิธีการสอนทุกวิธีจะมีขอดีขอเสี ยไม่เหมือนกัน (สุ วฒนา อุทยรัตน์. 2544 :41) จึงมีผล ้ ้ ั ั ่ อย่างมากต่อบทบาทและภาระหน้าที่ของครู ซึ่ งถือได้วาเป็ นครู ยคปฏิรูปที่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ุ ปรับปรุ ง และพัฒนาบทบาททั้งในด้านของเนื้ อหาสาระที่สอนและในด้านกระบวนการเรี ยนการสอน (ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์. 2543 : ก) การปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 52 ที่มุ่งเน้นให้ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อจัด เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของนักเรี ยน โดยคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล (สานักงานนโยบายและแผนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. 2546 : 12-13) การกระตุนและดึงดูดความสนใจของนักเรี ยนเป็ นการช่วยให้นกเรี ยนสามารถรับสิ่ งเร้าหรื อสิ่ งที่จะ ้ ั เรี ยนรู้ได้ดี (ทิศนา แขมณี . 2545 : 13) จากสภาพปั ญหาที่กล่าวมาข้างต้น แนวทางการแก้ปัญหาวิธีหนึ่ง คือ การแก้ไขและปรับปรุ งวิธีการสอน โดยครู มีบทบาทเป็ นผูประสานงาน จัดกิจกรรมการเรี ยนเป็ น ้ รายบุคคล ซึ่งสามารถนาเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ประกอบการเรี ยนการสอนเพื่อให้นกเรี ยนมี ั ความรู้ ความเข้าใจ มีความสนุกสนานในการเรี ยน สามารถเรี ยนรู้ได้ดวยตนเองอย่างเป็ นอิสระ สื่ อ ้ การสอนที่ช่วยสนองความแตกต่างระหว่างนักเรี ยนได้อย่างหนึ่ง คือ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer – Assisted Instruction : CAI) ซึ่ งสอดคล้องกับ บุญชม ศรี สะอาด (2537 : 23) กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีขอดี คือ นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างอิสระก้าวหน้าไปตามอัตราการเรี ยนรู ้ของตน ้ นักเรี ยนที่มีอตราการเรี ยนรู ้เร็ วก็ไม่ตองรอคนอื่นด้วยความเบื่อหน่ายน่าราคาญ ส่ วนนักเรี ยนที่มีอตรา ั ้ ั การเรี ยนรู ้ชาก็จะไม่ประสบปั ญหาตามบทเรี ยนไม่ทน ไม่ตองวิตกต่อความรู ้สึกของคนอื่นๆ จึงมีความ ้ ั ้ พอใจในการเรี ยน จากแนวคิดเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านร่ างกาย ความคิดและสติปัญญา การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะการศึกษารายบุคคล โดยใช้สื่อและรู ปแบบการเรี ยน ั ชนิดต่างๆ จะช่วยอานวยความสะดวกให้กบนักเรี ยนได้เรี ยนตามความถนัดและความสามารถของตน (กิดานันท์ มลิทอง. 2531 : 141) เนื่ องจากคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสามารถนาเสนอบทเรี ยนในรู ปแบบ ต่างๆ ทั้งข้อความ รู ปภาพ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ ซึ่ งจะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรี ยนรู ้แก่ นักเรี ยน ทาให้นกเรี ยนสามารถเชื่อมต่อความคิดจากเนื้อหาหนึ่งไปยังเนื้ อหาที่เกี่ยวข้องกันได้โดยง่าย ั และสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลมากที่สุด ช่วยให้ผที่เรี ยนช้าเรี ยนได้ตามความสามารถของ ู้
  • 5. 5 ่ ตนเอง เพราะลักษณะของบทเรี ยนมีความยืดหยุนมากพอที่นกเรี ยนจะมีอิสระในการควบคุมการเรี ยน ั และสามารถเลือกรู ปแบบการเรี ยนที่เหมาะสม จากเหตุผลดังกล่าว ผูรายงานจึงสนใจที่จะนาโปรแกรมบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ้ มาสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 ั เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 จานวน 4 หน่วยการเรี ยนรู้ คือ หน่วยที่ 1 ความรู้ ั พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3 การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และหน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่เรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ผลการพัฒนาครั้งนี้จะเป็ นแนวทางในการปรับปรุ งการจัดการเรี ยนรู ้วชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ิ ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้มีโอกาสพัฒนาการเรี ยนรู้ตามศักยภาพของตน ตามความต้องการ ความสนใจ ั และความถนัดของตนเอง เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสู งขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา 1. เพื่อสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ ั สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2. เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กับเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ให้มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ 80/80 3. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 เรื่ อง คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสู งกว่าก่อนเรี ยน ั 4. เพื่อประเมินความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบ ั เทคโนโลยีสารสนเทศด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ความสาคัญของการพัฒนา 1. ได้สร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ ั สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
  • 6. 6 2. ได้พฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ ั กับเทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 3. เป็ นแนวทางสาหรับครู ผสอนและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาได้นาไปใช้ ู้ และพัฒนาการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับมัธยมศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ่ สมมุติฐานของการพัฒนา 1. สร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ ั สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2. การเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบ ั เทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ให้มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบ ั เทคโนโลยีสารสนเทศ หลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนสู งกว่าก่อนเรี ยน 4. นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อการเรี ยนวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 เรื่ อง คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนอยูในระดับเห็นด้วยมาก ั ่ ขอบเขตของการพัฒนา การดาเนิ นงานครั้งนี้ ผูรายงานได้กาหนดขอบเขตของการดาเนินงานดังนี้ ้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ นนทบุรี อาเภอบางกรวย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 จานวน 13 ห้อง จานวนนักเรี ยน 620 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่ าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ นนทบุรี อาเภอบางกรวย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 ที่ผรายงาน ู้ เป็ นผูสอน จานวน 6 ห้อง จานวนนักเรี ยน 303 คน ้
  • 7. 7 2. ระยะเวลาในการทดลอง ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง คือ ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 ใช้เวลาทดลองสอน รวม 18 คาบ คาบละ 50 นาที ระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม 2550 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2550 3. เนือหาทีใช้ ทดลอง ้ ่ ั เนื้อหาที่ใช้ทดลอง คือ เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 จานวน 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ คือ หน่วยที่ 1 ความรู ้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ั หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3 การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล 4. ตัวแปรทีใช้ ศึกษา ่ ตัวแปรต้น ได้แก่ การเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง ั คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 1) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยี ั สารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 หลังเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 2) ความคิดเห็นที่มีต่อการเรี ยนเรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยี ั สารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 หลังเรี ยนด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
  • 8. 8 นิยามศัพท์ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หมายถึง เครื่ องมือช่วยสอนที่นกเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ดวย ั ้ ตนเอง โดยอาศัยความสามารถของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นสื่ อในการจัดประสบการณ์และกิจกรรมต่างๆ ที่นกเรี ยนจะต้องปฏิบติตามกิจกรรมที่ส่งมาตามจอภาพของนักเรี ยน โดยนักเรี ยนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กบ ั ั ั เครื่ องทางแป้ นพิมพ์หรื อเมาส์ ซึ่งแสดงออกมาทางจอภาพ มีท้ งรู ปภาพ เสี ยง และกราฟฟิ ก ั บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หมายถึง สื่ อการสอนคอมพิวเตอร์ที่นกเรี ยนเรี ยนรู้ ั ั ด้วยตนเอง เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2 จานวน 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ คือ หน่วยที่ 1 ความรู ้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ั หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ หน่วยที่ 3 การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูล ประสิ ทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หมายถึง คุณภาพของบทเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่ผรายงานสร้างขึ้น เมื่อนาไปทดลองใช้กบนักเรี ยนทาให้นกเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ู้ ั ั ทางการเรี ยนตามเกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก หมายถึง ประสิ ทธิภาพของกระบวนการ (Process) หาได้จากการนา คะแนนที่ได้จากการตอบคาถามในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างระหว่างเรี ยน ด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน รวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 80 ตัวหลัง หมายถึง ประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ (Product) หาได้จากการนาคะแนน จากผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ย เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการเรี ยนรู้ในบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ั ช่วยสอน เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ของนักเรี ยน ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่าง ซึ่ งประเมินได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ผรายงานสร้างขึ้น ู้ จานวน 40 ข้อ ทั้งก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
  • 9. 9 แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง เครื่ องมือวัดความรู้ความสามารถ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่ผรายงานสร้างขึ้น เป็ นข้อสอบปรนัยชนิ ด ู้ เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน หมายถึง เครื่ องมือวัดความคิดเห็นของ ั นักเรี ยนหลังเรี ยน จานวน 10 ข้อ เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เป็ นแบบสอบถามความคิดเห็นชนิด Rating scale 5 ระดับ ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ ี่ 1. ประโยชน์ กบครู ผ้ ูสอน ั 1.1 เป็ นแนวทางในการสร้างบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประกอบเนื้อหาในเรื่ อง อื่นๆ เพื่อนาไปใช้ในการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.2 ผูสอนมีสื่อการสอนที่สามารถสอนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ้ 1.3 เป็ นแนวทางแก่ครู ผสอนในการเลือกกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับ ู้ ความสามารถของนักเรี ยน 2. ประโยชน์ แก่ นักเรียน 2.1 ช่วยให้นกเรี ยนมีความรู้และเข้าใจเนื้ อหามากขึ้น ั 2.2 ตอบสนองต่อการเรี ยนรายบุคคล เพราะเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ศึกษาตามเวลา ั ตามโอกาส และตามความสามารถของตนเอง โดยไม่ตองรอ หรื อเร่ งตามเพื่อน ้ 2.3 บรรยากาศในการเรี ยนการสอนดีข้ ึน นักเรี ยนมีความสุ ข มีความกระตือรื อร้น และสนใจการเรี ยนมากขึ้น 3. ประโยชน์ ต่อวงการวิชาการ 3.1 มีรายงานการพัฒนาสื่ อสาหรับใช้เป็ นเอกสารอ้างอิง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา การศึกษา 3.2 ผลการดาเนินงานจะเป็ นการเผยแพร่ ให้มีการสร้างสื่ อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนประกอบการเรี ยนรู้เกี่ยวกับวิชาเทคโนโลยีในเรื่ องอื่นๆ และสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ รวมทั้งเป็ น แนวทางในการดาเนินงานแก้ไขปั ญหาด้านการเรี ยนการสอนเรื่ องอื่นๆ ต่อไป