SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  726
 ส่งหัวข้อ พฤหัสที่ 9 กันยายน 2557 
 หัวข้อใดตามความสนใจ เกี่ยวกับ 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
 อย่างน้อย 15 แผ่น กระดาษฟุลสแก๊ปหรือ 
กระดาษรายงาน 
 สง่วันสอบ Final
 ปัญหาโรฮิงญา 
 สงครามเวียดนาม 
 ญี่ปุ่นกับการขยายอาณานิคมในเอเชียตะวัน 
ออกเฉียงใต้ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 
 ปัญหาเชอื้ชาติในมาเลเซีย ก่อนการนำาไปสู่ 
การแยกตัวของประเทศสิงคโปร์ 
 อองซาน ซูจี กับการต่อสทู้างการเมืองและการ 
พัฒนาประชาธิปไตยในพม่า
 อิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียในศิลปะเขมร 
 ปัญหาชนกลุ่มน้อยในพม่า 
 การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของเขมรแดง
 สมัยก่อนพระนคร 
 ศิลปะถาลาปริวัต (Thala Bariwatt) 
 ศิลปะพนมดา (Phnom Da) 
 ศิลปะสมโบร์ไพรกุก (Sambor Prei Kuk) 
 ศิลปะไพรกเมง (Prei Kmeng) 
 ศิลปะกำาปงพระ (Kompong Preah) 
 ยุคหัวเลี้ยวหัวต่อ (Transition Period) 
 ศิลปะกุเลน (Kulen)
 สมัยพระนคร 
 ศิลปะพระโค (Preah Kō) 
 ศิลปะบาแค็ง (Bakheng) 
 ศิลปะเกาะแกร์ (Koh Ker) 
 ศิลปะแปรรูป 
 ศิลปะบันทายศรี (Banteay Srey) 
 ศิลปะเคลียง 
 ศิลปะบาปวน (Bapuan) 
 ศิลปะนครวัด (Angkor Wat) 
 ศิลปะบายน (Bayon)
 ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน 
ลาว 
 ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน 
กัมพูชา 
 ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน 
ฟิลิปปินส์ 
 ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน 
เวียดนาม 
 ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน 
อินโดนีเซีย 
 ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน 
มาเลเซีย
 กลุ่มละ 5 คน 
 อธิบายหัวข้อรายงานตามความเข้าใจ กรุณา 
อย่ามายืนอ่านตามโพย
 ได้รับเอกราช 4 มกราคม 2491 
 เมืองหลวง เนปยีดอ (Nay Pyi Taw) 
 สกุลเงิน จ๊าด (Kyat) 
 การปกครอง สังคมนิยมมีประธานาธิบดี 
เป็นประมุข 
 ผนู้ำาปัจจุบัน พลเอก เต็ง เส่ง 
 ภาษาราชการ พม่า 
 ประชากร ประมาณ 56 ล้านคน
 1. พระเจ้าอโนรธามังช่อ ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ 
พุกาม 
 2. พระเจ้าบุเรงนอง ฉายา "พระเจ้าชนะสิบทิศ" 
ราชวงศ์ตองอู 
 3. พระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์อลอง 
พญา
 ได้รับเอกราช 19 กรกฎาคม 2492 
 เมืองหลวง เวียงจันทร์ 
 สกุลเงิน กีบ (Kip) 
 การปกครอง สงัคมนิยมคอมมิวนิสต์ 
ประธานาธิบดีเป็น ประมุข 
และมีนายกรัฐมนตรีบริหารประเทศ 
ภายใต้การชี้นำาของพรรคประชาชนปฎิวัติ 
ลาว 
 ผนู้ำาปัจจุบัน พลโทจูมมะลี ชัยยะสอน 
ประธานประเทศ 
 ภาษาราชการ ลาว, เวียดนาม 
 ประชากร ประมาณ 6.8 ล้านคน
 ได้รับเอกราช 31 สิงหาคม 2506 
 9 สงิหาคม 2508 
แยกตัวออกจากมาเลเซีย 
 เมืองหลวง สิงคโปร์ 
 สกุลเงิน สิงคโปร์ดอลลาห์ 
 การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย มี 
ประธานาธิบดีเป็นประมุข นายกรับมนตรีทำา 
หน้าที่บริหารประเทศ 
 ผนู้ำาปัจจุบัน โทนี ตัน เค็ง ยัม 
 ภาษาราชการ อังกฤษ, จีนกลาง, มลายู, 
ทมิฬ 
 ประชากร ประมาณ 5.3 ล้านคน
 ได้รับเอกราช 31 สิงหาคม 2500 
 เมืองหลวง กัวลาลัมเปอร์ 
 สกุลเงิน ริงกิต 
 การปกครอง สหพันธรัฐราชาธิปไตย 
ภายใต้รัฐธรรมนูญ 
 ผู้นำาปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธิบดี 
สุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม 
มูอัซซอม ชาห์ นายกรัฐมนตรีชอื่ นายนาจิบ 
ราซะก์ 
 ภาษาราชการ มาเลย์ 
 ประชากร ประมาณ 29 ล้านคน
 ได้รับเอกราช 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 
 เมืองหลวง มะนิลา 
 สกุลเงิน เปโซฟิลิปปินส์ 
 การปกครอง สาธารณรัฐเดี่ยวระบบ 
ประธานาธิบดี 
 ผนู้ำาปัจจุบัน เบนิกโน อากีโนที่ 3 
 ภาษาราชการ ภาษาฟิลิปีโน, อังกฤษ 
 ประชากร ประมาณ 103 ล้านคน
 ได้รับเอกราช 1 มกราคม พ.ศ. 2527 
 เมืองหลวง บันดาร์เสรีเบกาวัน 
 สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน 
 การปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์ 
 ผนู้ำาปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธบิดีฮจัญี 
ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัด 
เดาเลาะห์ 
 ภาษาราชการ มาเลย์ 
 ประชากร ประมาณ 4.2 แสนคน
 ได้รับเอกราช 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 
 เมืองหลวง จาร์กาต้า 
 สกุลเงิน รูเปียห์ 
 การปกครอง ประชาธิปไตย 
ประธานาธิบดีเป็นประมุข 
 ผนู้ำาปัจจุบัน ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน 
 ภาษาราชการ บาฮาซ่าร์ 
 ประชากร ประมาณ 248 ล้านคน
 ได้รับเอกราช 9 พฤศจิกายน 2496 
 เมืองหลวง พนมเปญ 
 สกุลเงิน เรียล 
 การปกครอง ราชาธิปไตยภายใต้ 
รัฐธรรมนูญ 
 ผนู้ำาปัจจุบัน สมเด็จฮุนเซน 
 ภาษาราชการ เขมร 
 ประชากร ประมาณ 15 ล้านคน
 ได้รับเอกราช 2 กันยายน พ.ศ. 2488 
 เมืองหลวง ฮานอย 
 สกุลเงิน ด่อง 
 การปกครอง คอมมิวนิสต์ 
 ผนู้ำาปัจจุบัน เจือง เติ๊น ซาง 
 ภาษาราชการ เวียดนาม 
 ประชากร ประมาณ 90 ล้านคน
 ได้รับเอกราช 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 
2518 
 เมืองหลวง ดิลี 
 สกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐ 
 การปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดี 
เป็นประมุข นายกรัฐมนตรี 
บริหารประเทศ 
 ผนู้ำาปัจจุบัน ตาอูร์ มาตัน รูอัก เป็น 
ประธานาธิบดี ชานานา กุฌ 
เมา เป็นนายรัฐมนตรี 
 ภาษาราชการ ภาษาเตตุมและภาษา 
โปรตุเกส 
 ประชากร ประมาณ 1.1 ล้านคน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
หมายถึง อะไร ???
 เอเชยีตะวนัออกเฉียงใต้ หรือ เอเชยี 
อาคเนย์ เป็นศัพทท์างภูมิศาสตร์ หมาย 
ถงึดินแดน อันประกอบด้วยประเทศ 
ตา่งๆ ดังนี้ คอื พม่า ไทย ลาว กมัพชูา 
เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ 
อินโดนีเซีย ฟิลิปปนิส์ และ บรูไน

 เอเชียกลาง 
 เอเชียใต้ 
 เอเชียตะวันออก
 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปน็ดินแดนที่มี 
ลักษณะทางภูมิศาสตร์เฉพาะตัว 
 ในอดีตเป็นดินแดนที่อยู่ระหว่างโลก 
อารยธรรมที่เจริญแล้ว
 เป็นดินแดนที่อยู่ระหว่างอู่อารยธรรม 
สำาคญั 2 แหล่งคือ จีนและอินเดีย
 ในอดีต จีน เรียกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
ว่า นานยาง 南洋 
 ญี่ปนุ่ เรียกว่า นามโป 
 แปลว่า ดินแดนแห่งทะเลใต้
 อินเดีย เรียก ดินแดนแห่งนี้ว่าสวุรรณภูมิ (ตาม 
ที่กล่าวไว้ในรามเกียรติ) 
, ยวภูมิ, ยวทวีป
 ในยุคล่าอาณานิคม ชาติตะวันตก เรียก 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไว้หลายชื่อ เช่น 
 อินเดียไกล (Further India) เนื่องจาก 
ดินแดนนี้อยู่ไกลจากอินเดียออกไปเล็ก 
น้อย และได้รับวัฒนธรรมอินเดีย 
 อินเดียไพศาล (Greater India) 
 จีนน้อย (Little China) เนื่องจากอยทู่าง 
ตอนใต้ของจีนและมีอิทธิพลจากวัฒนธรรม 
จีน 
 เอเชีย – มรสุม
 ศาสตราจารย์ ดีจีอี ฮอลล์ กล่าวว่า เราควรหลีก 
เลี่ยงในการเรียกดินแดนนี้ว่า อินเดียน้อย, จีน 
น้อย, อินเดียไพศาล 
 คำาเหล่านี้ มีความหมายไปในทางลบ โดย 
เฉพาะจากการตีความหมายชื่อโดยนัก 
ประวัติศาสตร์ในสมัยอาณานิคมและนัก 
ประวัติศาสตร์ชาตินิยมอินเดีย 
 อินเดียน้อย, จีนน้อย, อินเดียไพศาล = คำาใน 
แง่ลบ 
 แสดงถึงการที่ดินแดนนี้เป็นส่วนหนึ่งของ 
อินเดีย, จีน
 ในช่วงยุคล่าอาณานิคม (ประมาณ C16) 
ดินแดนนี้เป็นทางผ่านของชาติในยุโรป 
และอเมริกาที่ต้องการแสวงหาผลประโยชน์ 
ทางการคา้จากอินเดีย, จีน, ญี่ปนุ่ 
 จากการแวะพักเรือที่เอเชียตะวันออกเฉียง 
ใต้ หรือ จากการคา้ขายกับจีน, อินเดีย, 
ญี่ปนุ่ 
 ทำาให้ชาวตะวันตกทราบว่า ดินแดนนี้มี 
ทรัพยากรและสินค้าที่ตนเองต้องการ
 ชาวตะวันตกเรียกดินแดนนี่ว่า หมู่เกาะ 
เครื่องเทศ (Spice Island) หรือหมู่เกาะ 
โมลุกกะ
 คำาว่า เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถูกใช้ครั้งแรก 
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 
 ในช่วงนั้น ระหว่างปี ค.ศ 1941 -1945 
กองทัพญี่ปนุ่ได้เข้ามารุกรานและยึดครอง 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งขณะนั้นเป็น 
อาณานิคมของชาติตะวันตก อาทิ 
- ชวา เป็นอาณานิคมของ เนเธอร์แลนด์ 
- ฟิลิปปินส์ ของสหรัฐอเมริกา 
- อินโดจีน ของฝรั่งเศส 
- มาเลเซีย, พม่า เป็นของอังกฤษ
 ฝ่ายสัมพันธมติร ตั้งกองบัญชาการเพื่อ 
ต่อสู้กับกองทัพญปีุ่่น ที่เกาะลังกา (ศรี 
ลังกา) มชีื่อว่า 
“ South – East 
Asia Command” 
- มีลอร์ดหลุยซ์ เมาท์ แบทเทิน เป็นผู้ 
บญัชาการ
 พอสิ้นสดุสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่างๆ 
ทยอยกันได้รับเอกราช 
 ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้าสู่ สงคราม 
เย็น 
 อเมริกา เชื่อใน ทฤษฎีโดมิโน และต้องการหยุด 
ยั้งอิทธพิลของโซเวียต, จีน ในการเผยแพร่ 
ลัทธิคอมมวินิสต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
 USA เข้ามาตั้งฐานทัพ ให้ความช่วยเหลือทาง 
เศรษฐกิจ
 ความสนใจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึง 
ทวีขึ้น 
 สหรัฐอเมริกา ทุ่มความสนใจให้กับเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้อย่างมาก 
 อาทิ การเปิดหลักสตูรสอนวิชาเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้ ในมหาวิทยาลัย 
คอแนลล์, เยล, อิลลินอยส์, โอไฮโอ และ 
ฮาวาย เปน็ต้น
 ด้านภูมิศาสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มี 
พื้นที่แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 
1. ส่วนพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่ (Main land) 
2. พื้นที่ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ (Island) 
ความหลากหลายของสภาพทางภูมิศาสตร์ 
และความแตกต่างกันของพื้นที่ ส่งผลให้มีการตั้ง 
ถิ่นฐานที่แตกต่างกันของมนุษย์ สง่ผลให้เรา 
สามารถพบวัฒนธรรมที่หลากหลายของชนเผ่า 
หลายเผ่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เช่น ชาวทุ่งราบ, ชาวเขา, ชาวเล ชนเผ่าบางพวก 
หรือชนชื้นเมืองบางพวกยังคงรักษาไว้ซึ่ง 
วัฒนธรรมของตนเอง เช่น ชาวตองเหลือง, เงาะ 
ป่า
ในพมา่มีชาติพันธุ์มากมาย เช่น พม่า, มอญ, กะ 
เหรียง, ยะไข่, โรฮงิญา เป็นต้น
ส่วนพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่ (Main land) 
มักมีทิวเขาทอดยาว ประกอบด้วย 3 เทือก 
เขาคือ 
1. เทือกเขาอาระกัน (เริ่มจากตอนใต้ของจีน – 
เบงกอล) 
2. เทือกเขาตะนาวศรี(กั้นพรมแดนไทย – 
พม่า) 
3. เทือกเขาอันนัม (กั้นเวียดนามออกจากลาว 
ไทย และกัมพูชา) 
เทือกเขา เป็นต้นกำาเนิดของแม่นำ้าที่สำาคัญ 
หลายสาย เช่น แม่นำ้าอิระวดี, แม่นำ้าสาละวิน, 
แม่นำ้าเจ้าพระยา และแม่นำ้าแดง ซึ่งเป็นต้น 
กำาเนิดของการตั้งถิ่นฐานของชาวพื้นเมืองใน
 นอกจากนี้ พื้นที่บนแผ่นดินใหญ่ (Main land) 
ยังประกอบด้วย เขตที่ราบ 4 เขต 
1. ที่ราบทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ บริเวณด้าน 
ตะวันตกของพม่า มีหุบเขาอัสสัมทอดอยู่ และมี 
แม่นำ้าพรมบุตรไหลผ่าน ติดกับอินเดีย สง่ผลให้ 
ดินแดนแถบนี้สามารถรับอิทธิพลอินเดียได้ 
โดยตรง มีผู้อพยพจากอินเดียเข้ามาในพม่ามาก 
ในเขตนี้ 
2. ที่ราบบริเวณตอนกลางของพม่า มีแม่นำ้าสาละ 
วินและแม่นำ้าอิระวดีไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์เหมาะ 
แก่การเพาะปลูก ส่งผลให้อาณาจักรสำาคัญของ 
พม่ามีความเจริญรุ่งเรืองในบริเวณนี้ อาทิ
3. ที่ราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา มีขนาดกว้างใหญ่ 
ที่สดุ แม่นำ้าเจ้าพระยาไหลผ่าน รวมถึงแม่นำ้าโขง 
ซึ่งกั้นพรมแดนระหว่างไทย ลาว กัมพูชา 
4. ที่ราบแม่นำ้าแดง อยู่ในเขตเวียดนามเหนือ ทาง 
ตะวันออกของเทือกเขาอันนัม ติดกับตอนใต้ของ 
จีน ส่งผลให้วัฒนธรรมจีนปรากฏเห็นอย่างเด่น 
ชัดในเวียดนาม
ได้แก่ บริเวณที่เป็นคาบสมุทร, ประเทศ 
อินโดนีเซีย มีหมู่เกาะมากที่สดุถึง 13667 เกาะ 
ส่วนฟิลิปปินส์ประกอบด้วย 7100 เกาะ และมัก 
จะประกอบด้วยช่องแคบหลายแห่ง อาทิ 
ช่องแคบลอมบอก 
ช่องแคบซุนดา 
ช่องแคบมะละกา
 แอนโทนี รีด กล่าวว่า ภูมิภาคนี้ติดต่อกันได้ 
ทุกหนแห่งโดยทางนำ้า 
 และเป็นดินแดนที่ไม่เคยปิดกั้นพ่อค้า นักผจญ 
ภัย ที่เดินทางเข้ามาทางทะเล 
 ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (บริเวณ 
คาบสมุทรมลายูจนถึงหมู่เกาะอินโดนีเซีย) มี 
คลื่นลมที่ไม่รุนแรงมาก 
 เปรียบได้กับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
 หน้ามรสุมคือ พฤษภาคม – สิงหาคม และ 
ธันวาคม - มีนาคม
 ทำาให้ชาวอาหรับ อินเดีย เปอร์เซีย เรียกเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้ว่า ดินแดนใต้ลม เพราะลม 
มรสุมตามฤดูกาลสามารถช่วยให้เรือจาก 
มหาสมุทรอินเดียเดินทางเข้ามาได้
เป็นเส้นทางลัดในการเดินเรือ เป็นการ 
ประหยัดเวลาในการเดินทางไปมาระหว่าง 
มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก 
ส่งผลให้พ่อค้าอินเดียสามารถเดินทางมา 
ค้าขายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้สะดวก 
และเป็นการทำาให้วัฒนธรรมอินเดีย รวมถึง 
วัฒนธรรมอิสลามสามารถเข้ามาเผยแพร่ใน 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
ในช่วงที่มีการล่าอาณานิคม ชาวตะวันตก 
ใช้เส้นทางดังกล่าวในการเดินทางมาที่เอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้ และตั้งสถานีการค้าขึ้น เช่นที่ 
เมืองมะละกา, สิงคโปร์, ยะโฮห์, อาเจะห์
 ในช่วงล่าอาณานิคม ประเทศในยุโรปสว่นใหญ่ 
มักจะมีเมืองท่าและอาณานิคมของตนในอินเดีย 
อาทิ 
 อังกฤษ มีเมืองท่าที่ กัลกัตตา (Kolkata), 
บอมเบย์ (Bombay) และมัทราส(Madras) 
 โปรตุเกส มีเมืองท่าที่กัวร์ (Goa) 
 ฝรั่งเศสมีเมืองท่าที่ ปอนดิเชอร์นี่ 
(Pondicherry)
 นักประวัติศาสตร์บางท่านเรียก “ เส้นทาง 
สายไหมทางท้องทะเล” 
 เป็นดินแดนที่ติดต่อและเข้าถึงได้ยากในทาง 
บก 
 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความอุดมสมบูรณ์มา 
ตั้งแต่อดีต และเป็นแหล่งระบายสินค้า รวมถึง 
แหล่งวัตถุดิบที่สำาคัญของการค้าทางทะเลมานับ 
ตั้งแต่สมัยโบราณ 
 สงัเกตได้จาก การเติบโตของรัฐชายฝั่ง หรือรัฐ 
คาบสมุทร ซึ่งสามารถพัฒนาจากเมืองท่าเล็กๆ 
กลายเป็นอาณาจักรที่มั่นคงและรำ่ารวยได้ เช่น 
เมืองออกแก้ว ในกัมพูชา, อาณาจักรศรีวิชัย,
 พิจารณาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ ภูมิภาคนี้อยู่ 
ในเขตศูนย์สูตร มีฝนตกชุก และมีแม่นำ้าสำาคัญ 
หลายสายเหมาะแก่การเพาะปลูก 
 ส่งผลให้เป็นแหล่งผลิตพืชผลเขตร้อนที่สำาคัญ 
ของโลก 
 ชาวตะวันตกในช่วงค้นพบเอเชียตะวันออก 
เฉียงใต้ เรียกภูมิภาคนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ 
หรือ เสน้ทางเครื่องเทศ
 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (บริเวณหมู่เกาะ 
อินโดนีเซีย) มีชื่อเสียงในเรื่องเครื่องเทศมานาน 
แล้ว ก่อนการเข้ามาของชาวตะวันตก 
 หมู่เกาะโมลุกกะ สนันิษฐานว่า มาจากภาษา 
อาหรับ 
 แปลว่า ดินแดนที่มีกษัตริย์หลายพระองค์ 
 เกาะที่สำาคัญ อาทิ 
- เกาะเตอร์นาตี (Ternate) 
- เกาะอัมบน (Ambon)
 เครื่องเทศเป็นปัจจัยสำาคัญที่ชาวตะวันตกเดิน 
ทางเข้ามาใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
 เครื่องเทศ หมายถึง ส่วนต่างๆของพืช เช่น 
เมล็ด, เปลือก, ราก, ผล, ใบ, ลำาต้น ที่นำามาตาก 
แห้งแล้วสามารถใช้เป็นเครื่องปรุงในอาหารเพื่อ 
เพิ่มรสชาติ, กลิ่น, สีสัน 
 อาทิ ดีปลี, ยี่หร่า, ลูกจันทร์, กระวาน, กานพลู, 
หญ้าฝรั่น, พริกไท, งา, อบเชย, มะกรูด, พริก
 ข้าวเป็น 1 ในสินค้าสง่ออกหลักของภูมิภาคนี้ 
และเป็นที่ต้องการของเศรษฐกิจโลก บริเวณที่ 
ปลูกข้าวกันมากในภูมิภาคนี้ ได้แก่ 
1. บริเวณที่ราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา 
2. บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่นำ้าแดงในประเทศ 
เวียดนาม 
3. ที่ราบลุ่มแม่นำ้าอิระวดีตอนกลางและปาก 
แม่นำ้าสาละวินในพม่า 
4. บริเวณทะเลสาบเขมรและชายฝั่งแม่นำ้าโขง 
5. บางส่วนของพื้นที่ราบลาดเขาบนเกาะ 
ลูซอนของฟิลิปปินส์
 นอกจากนี้ยังมี ยางดิบ มะพร้าว ไม้เนอื้เข็ง 
 ไม้ต้น ไม้ปาล์ม และไม่ไผ่ เป็นวัสดุนิยมที่ใช้ใน 
การก่อสร้าง 
 แอนโทนี รีด กล่าวว่า เป็นทรัพยากรที่ใช้ไม่มี 
วันหมด 
 ต่างชาติต้องการมาก
 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นตลาดของป่า 
แทนที่ยุโรปและจีน ในช่วง C 16 เนื่องจาก 
ปริมาณป่าไม้ในยุโรปและจีนลดน้อยลง 
 อีกทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีฝนตกชุก 
ตลอดปี จึงมีป่าดงดิบที่หนาแน่น 
 การเก็บของป่าขายเป็นอาชีพดั้งเดิมของคนใน 
ดินแดนนี้ควบคู่กับการทำาไร่เรื่อยรอย เป็น 
สาเหตุสำาคัญที่ทำาให้อาณาจักรโบราณพยายาม 
ผูกขาดการขายของป่าให้กับชาวตะวันตก
 ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังเป็นแหล่งแร่ 
ธาตุที่สำาคัญที่สดุในภูมิภาคนี้ และเป็นที่ต้องการ 
ของประเทศอุตสาหกรรม 
 อาทิ แร่ดีบุกและวุลแฟรม 
 มาเลเซียผลิตได้ 1 ใน 3 ของปริมาณการผลิต 
ทั่วโลก รองลงมาคือ อินโดนีเซีย
 เป็นแหล่งผลิตนำ้ามันปิโตรเลียม พบมากใน 
ประเทศอินโดนีเซียที่เกาะสมุาตรา ชวา และ 
บอร์เนียว และในบรูไน 
 พบบ้างในประเทศพม่า, มาเลเซีย และอ่าวไทย
 เป็นแหล่งประมงที่สำาคัญ เพราะแทบทุกประเทศ 
มีอาณาเขตติดทะเล ยกเว้นประเทศลาว 
 ข้าวและปลาเป็นอาหารหลัก 
 บริเวณชั้นหินใต้นำ้าซุนดา (ช่วงทะเลนำ้าตื้น 
ตั้งแต่อ่าวไทยจนถึงทะเลชวา) เป็นแหล่งจบสัตว์ 
นำ้าที่อุดมสมบูรณ์มากที่สุดในโลก 
 แอนโทนี รีด กล่าวว่า ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงแต่ง 
ข้าวที่สำาคัญ
 เป็นแหล่งยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะบริเวณ 
ช่องแคบมะละกา 
 ชาวตะวันตกต้องการมีอำานาจเหนือดินแดน 
บริเวณดังกล่าว 
 เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ตะวันตกแย่งชิงกัน อาทิ 
สงครามระหว่างฮอลันดากับโปรตุเกส ในช่วงต้น 
ศตวรรษที่ 18 บริเวณช่องแคบมะละกาและเกาะ 
ชวา 
 การเผยแพร่อิทธิพลของจีน สมัยราชวงศ์หยวน 
(มองโกล)และราชวงศ์ หมิง เพื่อให้อาณาจักร 
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยอมรับอำานาจของ 
จีน
 ราชวงศ์หยวน (C13) พยายามให้อาณาจักรใน 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยอมรับอำานาจ เช่น 
 1278 AD พระเจ้า เว้ อินทราวรมันแห่ง 
อาณาจักรจามปา ต้องยอมรับอำานาจของ 
ราชวงศ์หยวน 
 1288 AD อาณาจักรไดเวียต ต้องยอมรับ 
อำานาจราชวงศ์หยวน 
 สโุขทัยและรัฐเชียงใหม่ ยอมรับอำานาจราชวงศ์ 
หยวนโดยมีการส่งทูตไปมอบบรรณาการหลาย 
ครั้ง 
 ยกเว้นอาณาจักรเขมร
 สมัยล่าอาณานิคม เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น 
แหล่งยุทธศาสตร์ที่สำาคัญของการแข่งขันและ 
แย่งชิงกัน 
 พอฝรั่งเศสรบแพ้อังกฤษในอินเดีย จึงเริ่มหันมา 
สนใจอินโดจีน โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่นำ้าโขง 
และแม่นำ้าแดง เพื่อใช้เป็นเส้นทางขึ้นไปค้าขาย 
กับจีนที่ยูนนาน 
 อเมริกาต้องการใช้ฟิลิปปินส์เป็นที่ตั้งฐานทัพ 
และฐานผลิตถ่านหินในการเดินเรือเป็นเพื่อไป 
ค้าขายในจีนและฮ่องกง 
 ฮอลันดาต้องการควบคุมช่องแคบในบริเวณ 
คาบสมุทรเพื่อผูกขนาดตลาดค้าเครื่องเทศ
 อังกฤษต้องการฐานทัพ และตั้งสถานีการค้าใน 
การระบายสินค้าระหว่างจีนและอินเดีย สงิคโปร์ 
มีความสำาคัญมากสำาหรับอังกฤษ โดยเฉพาะเมื่อ 
คลองสุเอชถูกเปิดใช้ในปี ค.ศ. 1859 
 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นมองว่า 
ภูมิภาคนี้เป็นแหล่งยุทธศาสตร์และแหล่งเสบียง 
+ นำ้ามันที่สำาคัญในการทำาสงครามและขยาย 
อาณาเขตของตน จึงยึดครองอาณานิคมของ 
ชาติตะวันตกทั้งหมด 
 ไทยแลพม่าเป็นจุดยุทธศาสตร์สำาคัญในการ
 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภูมิภาคนี้เป็น 
ยุทธศาสตร์สำาคัญในการเผยแพร่ลัทธิการเมืองที่ 
สำาคัญ 2 ลัทธิ คือ 
1. เสรีนิยม 
2. คอมมิวนิสต์ 
- เป็นการช่วงชิงกันระหว่างค่ายโลกเสรีและ 
คอมมิวนิสต์ 
- มีสงครามตัวแทนเกิดขึ้นและกินเวลานาน คือ 
สงครามอินโดจีน 
- เพื่อเป็นการซื้อใจประเทศในเอเชียตะวันออก
 แผนการโคลัมโบ (Colombo Plan) เพื่อความ 
ร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจในเอเชียใต้และ 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เสนอครั้งแรกในปี 
ค.ศ.1950 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ 
ประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวัน 
ออกเฉียงใต้ (SEATO)
 ประเทศสมาชิกได้แก่ USA, ปากีสถาน, ไทย, 
ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, ฟิลิปปินส์, อังกฤษ, 
ฝรั่งเศส 
 ก่อตั้งที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ 
 คล้าย นาโต้ ในยุโรป 
 ให้ความร่วมมือด้านกองกำาลังทหาร เพื่อป้องกัน 
การขยายอำานาจของลัทธิคอมมิวนิสต์
 ช่วง WWII โซเวียต ช่วยสัมพันธมิตรปลดปล่อย 
ประเทศในยุโรปตะวันออก แต่พอสงครามสงบ 
ไม่ยอมถอนทัพออก 
 โซเวียต เปลี่ยนประเทศเหล่านนั้เป็นประเทศ 
คอมมิวนิสต์ 
 ดินแดนนั้นถูกเรียกว่า ม่านเหล็กของโซเวียต 
 หลัง WWII มีการแบ่งเยอรมนีออกเป็น 4 ส่วนๆ 
ที่ใหญ่ที่สุดเป็นของโซเวียต 
 จนกระทั่งเยอรมนีเหลือแค่ 2 สว่นในเวลาต่อมา 
คือเยอรมันตะวันออกและเยอรมันตะวันตก
 ในทวีปเอเชีย โซเวียตได้หมู่เกาะครูริล ทาง 
ตอนเหนือของญี่ปนุ่ 
 1949 AD พรรคคอมมิวนิสต์จีน นำาโดยเหมา 
เจอ ตุง สามารถขับไล่พรรคก๊กมินตั๋ง ของ เจียง 
ไคเช็ก ให้ไปตั้งรัฐบาลใหม่ที่เกาะใต้หวัน
 1950 เกิดสงครามเกาหลี ซึ่งเกาหลีเหนือได้รับ 
การสนับสนุนจากจีนและสหภาพโซเวียต
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มอีักษรเริ่มใช้เมื่อไร ??? 
 ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพัฒนาการ 
ทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน 
 ยุคประวัติศาสตร์ เริ่มต้นตั้งแต่ มนุษย์รู้จัก 
บันทึก หรือ คิดค้นตัวอักษรเป็นของตนเองได้ 
 นักวิชาการหลายท่าน เห็นตรงกันว่า อักษร 
โบราณของภูมิภาคนี้ได้รับอิทธิพลจากอักษรปัล 
ลวะ จากอินเดียใต้ 
 อักษรดังกล่าวเป็นต้นแบบของ อักษรขอมและ 
อักษรมอญโบราณ
 อักษรปัลลวะ ถูกเผยแพร่เข้ามาในดินแดน 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 
11 
 นักโบราณคดี สันนิษฐานว่า อาณาจักรศรีวิชัย 
อาณาจักรทวารวดีรับไปใช้ประมาณ 200 ปี 
ก่อนที่จะคิดค้นอักษรของตนเองได้
 การแบ่งยุคในการศึกษาประวัติศาสตร์เอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้ เป็น ธรรมเนียมที่เราได้มา 
จากนักวิชาการต่างประเทศ 
 โดยเฉพาะนักวิชาการในสมัยอาณานิคม 
 ในทางทฤษฎีแล้ว การแบ่งยุคทาง 
ประวัติศาสตร์ กระทำาขึ้นเพื่อให้เราเข้าใจถึงจุด 
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ที่สำาคัญของเรื่องราว 
ที่เราศึกษาอยู่ 
 นักวิชาการจึงนิยมแบ่งยุคประวัติศาสตร์ ตาม 
“การเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญ”
 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
- ยุคหิน 
- ยุคหินใหม่ 
- ยุคสำาริด 
- ยุคเหล็ก
 สมัยประวัติศาสตร์ 
- ยุคต้น Early Period 
- ยุคกลาง Medieval Period 
- ยุคปลาย (สมยัใหม)่ Modern 
Period
 มิลตัน ออสบอร์น (Milton Osborne) 
แบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ของเอเชียตะวัน 
ออกเฉียงใต้ ออกเปน็ 4 ยุค 
1. สมัยคลาสสิก 
2. สมัยจารีต 
3. สมัยอาณานิคม 
4. สมัยใหม่
 แฮรี่ เจ เบ็นดา แบง่ประวัติศาสตร์เอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้ออกเปน็ 6 ยุค คือ 
1. ยุคคลาสสกิ 
2. ยุคหลังคลาสสิก 
3. ยุคการเริ่มเข้ามาของชาวยุโรป 
4. ยุคอาณานิคมสมัยใหม่ 
5. ยุคญี่ปุ่นยึดครอง 
6. ยุคเอกราช
- แฮรี่ เจ เบ็นด้า และ มินตัน ออสบอร์น กล่าวว่า 
ยุคคลาสสิก คือ 
“สมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก 
เฉียงใต้ที่กำาหนดเห็นได้โดยสัมฤทธิผลทาง 
ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และพัฒนาการของรัฐ 
เหมือนกับประวัติศาสตร์กรีกและโรมันก่อนจะถึง 
ยุคเสื่อมใน C15 และเป็นยุคที่ชี้ให้เห็นความ 
สำาคัญของประเพณี วัฒนธรรมของชาวเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้”
 สัมฤทธผิลทางวัฒนธรรม หมายถึงอะไร
 เป็นยุคที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจริญ เหมือน 
กับ ยุคคลาสสิกในยุโรป 
 ยุคคลาสสิค ในยุโรป หมายถึงกรีกและโรมัน 
ไม่ใช่อังกฤษ, ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นมหาอำานาจของ 
ยุโรปในช่วงล่าอาณานิคม 
 ช่วงยุคคลาสสิคของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
เมืองใหญ่ๆที่มีชอื่เสยีง มีมนต์เสน่ห์ในปัจจุบัน 
อย่างลอนดอน, ปารีส ไม่ได้เจริญมากนัก 
 ลอนดอน, ปารีส ในสมัยยุคคลาสสิคของยุโรป 
มีฐานะเป็นแค่เมืองอาณานิคมเล็กๆ ของ 
อาณาจักรโรมัน (หมู่บ้านเล็กๆ) 
 ลอนดอน = ลอนดินิอุม 
 ปารีส = ลูเตเทีย
 มินตัน ออสบอร์น วิเคราะห์ว่า เอเชียตะวันออก 
เฉียงใต้ในช่วงเวลาดังกล่าวเจริญมาก ในขณะ 
ที่ เมืองลอนดอนของอังกฤษ ยังเป็นแค่เมือง 
เล็กๆ และมปีระชากร ไม่กี่พันคน เท่านั้น 
 ลอนดอนในช่วง C9 มีประชากรไม่เกิน 
35000 คนสภาพไร้ระเบียบและสกปรก 
 กัมพูชา ใน C9 มีประชากรกว่า 1 ล้านคน 
สามารถทำานาหล่อเลี้ยงเมืองหลวงได้ 
 กัมพูชามีระบบชลประทานที่ซับซ้อน, เพาะปลูก 
และเก็บเกี่ยวข้าวได้ถึง 3 ครั้งต่อปี (ฤดูแล้งใน 
กัมพูชา กินเวลา 6 เดือน) 
 กัมพูชา ในช่วง C9 มีจารึกจำานวนมาก ที่แสดง 
ให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต
สัมฤทธิผลของกรีก 
ด้านศิลปกรรม รูปปนั้เทพเจ้า, รูปปั้น 
มนุษย์แบบ realistic 
ด้านการปกครอง การปกครองแบบ 
ประชาธิปไตยกรีก 
สถาปัตยกรรม วิหารพาเธนอน 
สัมฤทธิผลของโรมัน 
ด้านการปกครอง ปกครองแบบสาธารณรัฐ, 
กฎหมายสิบสองโต๊ะ, 
กฎหมายจัสตีเนียน
 สมัฤทธิผลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิ 
- ด้านสถาปัตยกรรม ปราสาทหินนครวัด, เจ 
ดีย์ชเวดากอง, ปุโรพุธโธ 
- ด้านวรรณกรรม มหากาพย์ เช่น 
รามเกียรติ, ตำาราพิชัยสงคราม 
- ด้านการปกครอง แนวคิดสมมติเทพ, เทว 
ราชา 
- ศิลปกรรม รูปปั้น, รูปสลัก, พระพุทธ 
รูป
 Michael Aung-Thwin วิเคราะห์ว่า ยุค 
คลาสสกิในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มักจะ 
ครอบคลุมตั้งแต่ C 9 – C 14 ซึ่งเป็นช่วงเวลา 
ที่รับโบราณยุคแรก อาทิ พะโค, สุโขทัย, นคร 
วัด, ได เวียต, ศรีวิชัย ถือกำาเนิดขึ้นและพัฒนา 
ไปเป็นประเทศชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออก 
เฉียงใต้ในปัจจุบัน
ยุคคลาสสิก เป็นยุคที่แสดงให้เห็นเขตวัฒนธรรม 
3 เขต คือ 
1.เขตวัฒนธรรมอินเดีย 
2. เขตวัฒนธรรมจีน 
3. เขตวัฒนธรรมฟิลิปปินส์
 สรุป คำาว่าคลาสสคิ ที่ถูกใช้เรียกเป็นชอื่ยุคๆ 
หนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงให้เห็น 
ว่า 
 นักวิชาการตะวันตก ยอมรับว่าครั้งหนงึ่เอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้มีความยิ่งใหญ่เทียบได้กับยุค 
คลาสสคิของยุโรป คือ กรีก, โรมนั
 เริ่มตั้งแต่ C14 – C16 
 รัฐโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่ 
โดยเฉพาะรัฐชายฝั่งทะเลได้รับอิทธิพลจาก 
ศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะบนเกาะชวา 
 ศาสนาพุทธในเกาะชวา หมดความสำาคัญลง รัฐ 
ชายฝั่งทะเลาเริ่มใช้ตำาแหน่งสุลต่านเป็นประมุข 
 ถึงไม่มีการสร้างพุทธศาสนาสถาน อย่าง บุโร 
พุทโธ อีก 
 พวกอูลามะ (Ulama) มีอำานาจมากในราช 
สำานัก บางครั้งขัดแย้งกับสุลต่านหรือกษัตริย์ 
ท้องถิ่น
 อูลามะ = ชนชั้นของชาวมุสลิมที่มีการศึกษา, 
ปราชญ์, ราชบัณฑิต มักมีอำานาจในการเป็นที่ 
ปรึกษาราชการแผ่นดินแก่สุลต่าน, เป็นผู้ 
พิพากษา, เทศนาสอนศาสนา
 ในเขตวัฒนธรรมอินเดีย ลัทธิพราหมณ์ฮนิดู 
และศาสนาพุทธมหายานถูกแทนที่ด้วย พุทธ 
นิกายหินยาน และศาสนาอิสลาม 
 หินยาน ปฏิเสธ แนวคิดที่ว่า กษัตริย์เป็นสมมติ 
เทพ อำานาจรัฐไม่ได้อยุ่ที่ตัวกษัตริย์ แต่ยังไม่ 
ปฏิเสธเรื่องบุญบารมี 
 ในสมัยนี้จึงมีสงคราม การแย่งชิงอำานาจกันเป็น 
กษัตริย์บ่อยครั้ง เพราะสามัญชนก็สามารถเป็น 
กษัตริย์ได้ หากบุญบารมีถึง 
 ศาสนาพุทธนิกายหินยานได้นำาหลักการ 3 
ประการเข้ามาคือ
 รัฐโบราณในเขตอิทธิพลอินเดีย มีลักษณะเป็น 
จักรวรรดิมากขึ้น เช่น กรุงศรีอยุธยา, หงสาวดี 
 เริ่มทำาสงครามขยายอำานาจ 
 แนวคิดเรื่องจักรพรรดิราช (ราชาเหนือราชา) 
มีอิทธิพลในสังคม
 ยุคคลาสสิก + หลังคลาสสกิ = ยุคจารีต 
 ยุคจารีต หมายถึง ระยะเวลาที่โครงสร้าง 
ด้านต่างๆของสังคมพื้นเมืองได้รับการวาง 
รากฐาน ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สงัคม 
และวัฒนธรรม อาทิ 
- การปกครอง แบบสมมติเทพ, มีศูนย์กลาง 
ของอำานาจและมีการ ขยายตัวของ 
หัวเมือง 
- สังคม การแบ่งชนชั้น มีการกำาหนด 
หน้าที่ของคนในสงัคม อย่างชัดเจน
 เริ่มช่วง C17 – 18 
 ชาวตะวันตกเริ่มเข้ามาอิทธิพลโดยเฉพาะในดิน 
แดนคาบสมุทร เช่น มลายู, อินโดนีเซีย 
 คริสต์ศาสนา เริ่มเข้ามาแทนที่ศาสนาอิสลาม 
บริเวณเกาะชวา และมลายู 
 อังกฤษบนคาบสมุทรมลายูสนใจการค้ามากกว่า 
เผยแพร่ศาสนา ฉะนั้นอิทธิพลอิสลามที่มลายูจึง 
ได้รับผลกระทบน้อย 
 ตรงกันข้ามกับโปรตุเกสและฮอลันดา ที่เน้นการ 
เผยแพร่ศาสนาควบคู่กับการค้า
 ช่วงกลาง C 19 
 ช่วงล่าอาณานิคมเต็มตัวของชาติตะวันตก 
 เริ่มเกิดขบวนการชาตินิยม อันเป็นผลมาจาก 
การกดขี่และการได้รับการศึกษาจากตะวันตก
 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 
 ชาติตะวันตกสุญเสียอาณานิคมของตนเองใน 
ภูมิภาคนี้ให้แก่ญี่ปุ่น
 ตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 
 มีการให้เอกราชกับประเทศในภูมิภาคนี้โดย 
ประเทศเจ้าอาณานิคม
 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เคยเป็นที่ตั้งของรัฐ 
ต่างๆ โดยมีวิธกีารก่อตั้งมีความเจริญรุ่งเรืองตาม 
แบบฉบับของตนเอง เช่น รัฐฟูนัน, เจนละ, ศรี 
วิชัย, พุกาม, พยู, มะทะรัม, ศรีวิชัย, มะละกา 
 รัฐดังกล่าวข้างต้น พัฒนาจนกระทั้งถึง C14 จึง 
เสื่อมลง และมีอาณาจักรใหม่เข้ามาแทนที่ 
 ยกเว้น ฟิลิปปินส์ ที่ไม่พบหลักฐานพัฒนาการ 
ของรัฐโบราณเลย 
 ฟิลิปปินส์ ไม่เคยผ่านยุคคลาสสิก หรือยุคจารีต 
 เขตฟิลิปปินส์ จึงมีสภาพเป็นการรวมตัวของหมู่ 
บ้านเล็กๆ ที่เรียกว่า บาลังไกส์ (Barangays) 
เป็นหน่วยปกครองเล็กๆ มี ดาตู (Datu) เป็น
܀ รัฐต่างๆ มิได้กำาเนิดขึ้นพร้อมกันหรือมีการ 
พัฒนาการแบบเดียวกันทั่วทั้งภูมิภาค 
܀ กระบวนการเกิดรัฐขึ้นอยู่กับปัจจัยภายใน / 
ภายนอก
มีความเจริญขั้นพื้นฐานในระดับชุมชนเมืองที่ 
พร้อมจะปรับระดับสังคมของตนให้สูงขึ้นหรือเจริญ 
กม้าีทวำาหเนลท้าตตี่่องั้ไทปเี่หมาะสมอยู่ในเส้นทางคมนาคม 
ค้าขาย ใกล้ชายฝั่งทะเล สามารถเป็นแหล่งที่พักเรือ 
สินค้า เมืองท่า หรือชุมชนที่อยู่บริเวณลุ่มแม่นำ้าที่มี 
ทางออกติดต่อทะเลยภายนอกได้ ทำาให้สะดวกต่อ 
การติดต่อค้าขายกับชุมชนโพ้นทะเลที่มีความเจริญ 
และอารยธรรมสูงกว่าได้ 
มีการสั่งสมความรู้จากการที่ได้รับทราบความเจริญ 
ก้าวหน้าของชุมชนโพ้นทะเล โดยเฉพาะจากอินเดีย 
ซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมระดับสูง ที่มีแนวคิดแบบแผน 
ที่เป็นระบบ สามารถอธิบายได้ ไม่ว่าจะเป็นหลัก 
ศาสนา ระบบกษัตริย์ กฎหมาย ภาษาวรรณคดี 
ตลอดจนศิลปวิทยาการต่างๆ เท่าที่มีโอกาสได้รับรู้
ในฐานะเป็นอุดมการพื้นฐานที่ตอบสนอง 
วัตถุประสงค์หรือเอื้อประโยชน์ในทางใด 
ทางหนึ่งแก่ชุมชน บ้านเมือง
แนวคิดเชิงวิวัฒนาการ 
แนวคิดเชิงโครงสร้าง 
แนวคิดเชิงวัฒนธรรม
เบนเนธ บรอนสัน เสนอว่า เป็นเพราะความ 
ต้องการที่จะปรับสังคมบ้านเมืองของตนให้เจริญ 
ก้าวหน้าขึ้นอีกระดับหนึ่ง เนื่องจากบ้านเมืองขยาย 
ตัวจากการเพิ่มขึ้นของประชาการ หรือบ้านเมืองมี 
เศรษฐกิจการเกษตร – การค้าขยายตัวมากขึ้น จึง 
จำาเป็นต้องจัดระเบียบสังคมการเมืองเสียใหม่ด้วย 
การหยิบยืมแนวคิดวัฒนธรรมอินเดียที่สูงกว่าเข้า 
ไว้และเกิดพัฒนาการขึ้นเป็นรัฐในที่สุด
พอล วิตลี่ เห็นว่า กระบวนการพัฒนาไปสู่ความ 
เป็นรัฐ เป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทสี่่วนต่างๆ 
ของสังคมมีความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนมากขึ้น ทงั้ 
ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวิถีชีวิต อันเนื่องมา 
จาก ความเติบโตและการขยายตัวทางเศรษฐกิจการ 
ค้า – การเกษตรและจำานวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น 
นำาไปสู่ความจำาเป็นทตี่้องใช้อำานาจเข้าไปจัดการ เช่น 
การที่ต้องใช้อำานาจรัฐเข้าไปจัดการระบบนำ้าให้มี 
ประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตใหม้ากขึ้น และเออื้ต่อ 
การให้อำานาจส่วนกลางเข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ 
ได้มากขึ้นในรูปของส่วน / บรรณาการ ทำาใหเ้กิด 
บูรณาการเชิงโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจและ
โดยกระบวนการเปลี่ยนแปลงอาจเริ่มจาก 
ผนู้ำาพื้นเมือง (ซึ่งอยู่ในระดับบนของโครงสร้าง 
ของสังคม) ต้องการยกสถานภาพความเป็นผู้นำา 
พื้นเมืองของตนขึ้นเป็นราชา / กษัตริย์ ที่มาก 
ด้วยอำานาจ / บุญบารมี เพื่อให้เกิดความชอบ 
ธรรมและการยอมรับจากกลุ่มชนต่างๆ โดยการ 
เลียนแบบความยิ่งใหญ่และความศักดิ์สิทธิ์ของ 
ราชสำานักแบบอินเดียมาใช้ เพื่อความยิ่งใหญ่ใน 
อำานาจแห่งตนและใช้อำานาจในการจัดการบ้าน 
เมืองให้เกิดประสิทธิภาพ และเพื่อประโยชน์ทาง 
เศรษฐกิจในรูปของส่วย / บรรณาการ
เคนเนธ ฮอล ได้สนับสนุนแนวคิดนี้ โดยยก 
ตัวอย่างกรณีการเกิดรัฐฟูนันว่า เกิดจากการรวมตัว 
ของชุมชนค้าขายแถบชายฝั่งทะเลกับชุมชนภายในที่ 
เป็นแหล่งเกษตรกรรม อาศัยการขยายตัวของการค้า 
กระตนุ้ใหเ้กิดการรวมตัวเป็นรัฐ โดยผนู้ำาพื้นเมืองได้ 
สร้างอำานาจรัฐขึ้น ยกสถานภาพตนเองเข้าสู่ระบบ 
กษัตริย์ เพื่อแสวงหาความชอบธรรมและการยอมรับ 
จากดินแดนภายใน การปรับเปลี่ยนเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจ – 
การเมืองนี้เอง ได้พัฒนาไปสู่กำาเนิดรัฐ โดยการหยิบ 
ยืมแนวคิดทางการเมืองแบบอินเดียมาจัดระบบรัฐของ 
ตน และนำาไปสู่พัฒนาการด้านอนื่ๆ ต่อไป
รศ.ศรีศักร วัลลิโภคม เสนอว่า กระบวนการเกิด 
รัฐ อาจเพื่อการบูรณาการทางวัฒนธรรมและการเมือง 
เนื่องจากสภาพของท้องถิ่นในภูมิภาคที่มีความหลาก 
หลายของกลุ่มชน วัฒนธรรม ภาษา กระจายกันอยู่เป็น 
กลมุ่ๆ อย่างอิสระ แม้จะมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ 
การค้าและสังคมระหว่างกันอยู่บ้าง แต่ก็ไม่อาจรวมกัน 
เป็นกลมุ่ชนใหญท่เี่ป็นเอกภาพ ฉะนั้น จึงต้องอาศัย 
วัฒนธรรมอินเดียเข้ามาเป็นบรรทัดฐานร่วมกันของ 
สังคม ปลูกฝงัความคิดความเชื่อ ความจงรักภักดี 
ประเพณีให้เป็นแบบอย่างเดียวกัน ซึ่งจะทำาได้ก็โดย 
การยกระดับผู้นำาท้องถิ่นของตนให้สูงขึ้นเป็นศูนย์รวม 
แห่งอำานาจและศูนย์กลางการบริหาร โดยสถาปนา 
ระบบกษัตริย์และพิธีกรรมราชสำานักขึ้นเป็นฐานรองรับ
๐ กำาเนิดรัฐ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สัมพันธ์ 
โดยตรงกับการหยิบยืมแนวคิด รูปแบบ วัฒนธรรม 
อินเดียที่สูงกว่าไว้ในฐานะเป็น อุดมการพื้นฐานที่ 
เพถื่อูกยนกรำาะมดาับใชค้วดา้วมยเสจารเิญหตกุป้าวัจหจนยัต้า่ขางอๆง บก้าันนเมือง 
เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นในการ 
พัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ 
เพื่อสร้างเอกภาพของกลุ่มชนภายใต้ 
บรรทัดฐานเดียวกันทางวัฒนธรรม – ความเชื่อ 
หรือเพื่อตอบสนองความต้องการในหลายๆ 
ด้านพร้อมกัน
๐ การรับวฒันธรรมอินเดียจงึถือว่า เป็นความ 
จำาเป็นของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ 
น่าจะเป็นการริเริ่มโดยชาวพื้นเมืองมากกว่า 
๐ การรับวัฒนธรรมอินเดียอาจเกิดขึ้นโดยผู้นำาท้อง 
ถิ่นเชื้อเชิญพราหมณ์ นักปราชญ์ จากอินเดียเข้ามา 
เพื่อสถาปนาระบบกษัตริย์ใหแ้ก่ตน โดยการทำาพิธี 
บรมราชาภิเษกให้ รวมทั้งพิธีกรรมต่างๆ เพื่อรองรับ 
อำานาจและความชอบธรรมแก่ตน ทงั้ยังใหพ้ราหมณ์ 
เข้ามาเป็นทปี่รึกษา ราชการแผน่ดินตลอดจนรับ 
ราชการอยู่ในราชสำานัก จนหลอมรวมเป็นกลมุ่เดียว 
กับชนชั้นปกครองร่วมกับกษัตริย์ ขุนนาง ที่เป็น 
ศูนย์กลางอำานาจตามระบบอำานาจรัฐแบบใหม่ พัฒนา 
ไปสู่ความเป็นรัฐในที่สุด
܀ รัฐโบราณ หมายถึง ศูนย์รวมของชุมชนหนึ่งๆ ทมีี่ 
ศูนย์กลางอำานาจเพียงแหง่เดียว ครอบคลุม 
ปริมณฑลที่มีอาณาบริเวณพอสมควร และมี 
โครงสร้างรัฐทแี่ตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับรัฐชาติ 
(ไNมa่มtีขioอnบ เSขtตatอeำา)นา จ / เ ส ใ้นนแปบัจ่งจเขุบตันแ ดเพนรทาาะง 
ภูมิศาสตร์ที่ชัดเจนแน่นอน ตายตัว แต่มี 
-ไแมบ่มบีศแูนผยน์ก ล/า งกอาำารนจาัดจกทาชี่รรัดะเบจบนรแัฐนแ่นบอบนจตาารยีตตัว 
- ประชากรรัฐมเพีคียวงาแมหส่งำาเคดัญียวอย่างยิ่งและถูก 
ควบคุมโดยรัฐ
มีองค์ประกอบที่สำาคัญ คือ 
1. มีการจัดผังเมืองและระบบรัฐตาม 
แผนภูมิคติ เรื่องโลก - จักรวาล 
2. มีการจัดองค์กรทางการปกครอง 
3. มีองค์กรทางศาสนา 
4. มีชนชั้นที่เด่นชัดทางสังคม 
5. มีระบบเศรษฐกิจพื้นฐาน
๐ ให้ความสำาคัญแก่ “ราชธานี” ในฐานะเป็นแกน 
กลางของอำานาจรัฐ เทยีบเคียง “เขาพระสุเมรุ” ที่ 
๐ ราชธานีถเปือ็นเปศ็นูนศยูน์กยล์กาลงจาักงอรำาวนาลาจ (Ring of 
Power) และเป็นเครื่องหมายแห่งรัฐ 
๐ ราชธานีถือเป็นศูนย์กลางอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่ตงั้ 
ของเทวสถานที่ประทับของเทพเจ้าที่กษัตริย์ทรง 
นับถือ / เป็นทตี่งั้ของพระราชวังแหง่สมมติเทพ (ใน 
พิธีบรมราชาภิเษก กษัตริย์ จะต้องทำาพิธีเสด็จเลียบ 
๐ มีการจัดลำาดับควพารมะสนำาคครัญด้วขยองเมืองลูกหลวง หวั 
เมือง เมืองบริวาร / ประเทศราช รายรอบราชธานีที่ 
เป็นศูนย์กลาง
๐ ราชธานีถือเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม เป็นต้น 
แบบของวัฒนธรรมที่เรียกว่า วัฒนธรรมหลวง 
๐ รายรอบศูนย์กลางราชธานี จะมีเมืองลูกหลวง 
เมืองบริวาร เมืองประเทศราช เรียงรายตาม 
ลำาดับความสำาคัญและความสัมพันธ์ ที่มีต่อ 
ศูนย์กลางราชธานี
๐ มีสถาบันกษัตริย์ (Kingship) เป็นศูนย์กลางเช่น 
เขาพระสุเมรุ ในฐานะผู้มีอำานาจสูงสุด / เป็นเจา้ 
แผน่ดิน มีสถานภาพกึ่งเทพหรือสมมติเทพ แวดล้อม 
ด้วยพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชสำานัก ได้แก่ 
ขุนนาง ข้าราชการ ทคีั่ดเลือกมาจาก กำาเนิดใน 
ตระกูลทมีี่เชื้อสายหรืออยู่ใกล้ชิดแวดล้อมกษัตริย์ 
มากกว่าการพิจารณาคัดเลือกจากเหตุผลทาง 
คุณวุฒิ ความสามารถ (ยกเว้นรัฐเวียดนามทมีี่ระบบ 
๐ บรรดาข้าราชการจะมีลำาดับชั้นตาม ตำาแหน่ง / 
บทบาคัท ด/ เลืหอน้าก ที่ / ควาข้ามสำาราคัชญ กาในรแบฐาบนจบนีริ) 
วารที่ 
แวดล้อมสถาบันกษัตริย์ที่เป็นศูนย์กลาง
๐ เป็นสื่อกลางประสานให้เกิดความคิดความเชื่อ 
ร่วมกันและ เป็นไปในแนวทางเดียวกันของ 
๐ แม้ในบางรัฐ ผู้ปสกังคครมองกับประชาชนมิได้ 
นับถือศาสนาเดียวกัน เช่น เขมรสมัยพระนคร 
แต่ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดูก็ส่งเสริมสนับสนุนต่อ 
อำานาจของกษัตริย์เทวราชาจนเกิดการยอมรับใน 
มชีนชั้นที่เด่นชัด ซึ่งเกิดจหามกู่ปกราะรชแาบช่งนหน้าที่กันทำางาน 
มรีะบบเศรษฐกิจพนื้ฐาน ที่ขึ้นกับการเกษตรกรรม 
เพาะปลูกข้าว และการค้าขายกับชุมชนโพ้นทะเล / 
ชุมชนใกล้เคียง
รัฐแรกเริ่ม 
รัฐจักรวรรดิ
๐ อำานาจรัฐมีอยู่เฉพาะบริเวณที่เป็น 
ศูนย์กลางราชธานีและอาณาบริเวณโดยรอบ 
๐ กษัตริย์มีอเมำาือนงาหจลคว่องนเทข่า้านงจั้นำากัด เฉพาะ 
ราชธานีและอาณาบริเวณโดยรอบ 
๐ สภาพการเมืองในระยะแรกของเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้จึงประกอบไปด้วย 
ศูนย์กลางอำานาจหลากหลาย (Multiplicity 
of Centers) ในลักษณะนครรัฐ / แว่น 
แคว้น
๐ รัฐและอำานาจรัฐที่ขยายออกไปนอก 
บริเวณศูนย์กลาง ราชธานีไปยังดินแดน 
ชายขอบและ / หรืออาจขยายออกไป 
ครอบคลุมเหนือศูนย์กลางอำานาจอื่นที่เล็ก 
กว่า หรือที่อยู่ข้างเคียงได้ และผนวกรวมดิน 
แดนเหล่านั้นให้กลายสภาพเป็นหัวเมืองหรือ 
เมืองลูกหลวงของตน 
๐ ขยายอำานาจออกไปยังบ้านเมือง / ศูนย์ 
อำานาจอื่นที่ไกลออกไปให้ตกอยู่ในฐานะ 
ประเทศราชที่ต้องยอมสวามิภักดิ์หรือส่ง 
บรรณาการให้ หรือยอมเป็นพันธมิตรด้วย
๐ ผนู้ำาต้องการเป็นใหญ่สงูสดุเพียงองค์เดียว ใน 
ฐานะจักรวรติน (กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ 
ทั้งหลาย) ทำาให้ ผู้นำา / กษัตริย์ ต้องขยาย 
อำานาจออกไปนอกเหนือดินแดนแห่งอำานาจของ 
ตน
๐ ต้องการขยายอำานาจออกไปให้กว้างไกลที่สุดจนมี 
ขอบเขตจรดท้องทะเล มหาสมุทร ซึ่งสามารถตอบ 
สนองความต้องการตามอุดมคติและความเป็นจริงได้ 
อย•่า ตงาลมงตอุัดว มคติ สอดคล้องกับคติโลก - จักรวาล ที่ 
ถือว่า ทะเล มหาสมุทร เป็นจุดสิ้นสุดของ 
•จ กัใรนวคาวลามเป็นจริง เป็นทยี่อมรับว่า ฝั่งทะเล 
มหาสมุทร มักเป็นทตี่งั้ของเมืองท่าค้าขาย เป็น 
แหล่งเศรษฐกิจที่สำาคัญและเป็นศูนย์รวมวิทยาการ 
ความรู้จากอินเดีย ซึ่งจะยังประโยชน์แก่ผไู้ด้ไว้ใน 
ครอบครอง อันหมายถึง อำานาจสูงสุด โภคทรัพย์ 
ค วดา้วมยเเจหรติญุนขี้ กอางบรข้านยาเมยือองำาในนาเจวรลัฐาจเดรียดวทกอั้นงทะเล 
มหาสมุทร ได้กลายเป็นประเพณีทถีู่กกล่าวไว้ใน 
จารึกของวีรกษัตริย์ทั้งหลายในเอเชียตะวันออก 
เฉียงใต้
๐ การขยายอำานาจเพื่อสร้างรัฐจักรวรรดิ์ที่ 
ยิ่งใหญ่กระทำาได้หลายวิธี อาทิ การใช้ 
สงครามขยายอำานาจ / ใช้ศาสนาเป็นเครื่อง 
มือเพื่อสร้างการยอมรับอย่าสันติ / สร้าง 
ความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับศูนย์อำานาจ 
อื่น / การแลกเปลี่ยนประโยชน์ / การให้ 
ความคุ้มครองเมื่อมีภัย
๐ ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิ์ที่สามารถหลอม 
รวม / ผนวกดินแดนต่างๆ ไว้ในอำานาจของตน 
มิได้ดำารงอยู่อย่างถาวรยั่งยืนตลอดยุคสมัยแห่ง 
๐สถานภาพของรัฐรจัฐักจรักวรวรรดริเปดิ์็นเช่นไร 
O.W.Wolter กล่าวถึงรัฐจักรวรรดิ ว่า “มี 
ขอบเขต/ปริมณฑลอำานาจรัฐ ในลักษณะแกว่ง 
ไกว หรือมีสถานภาพยืดและหดได้ คล้ายหีบเพลง 
โบราณ ขึ้นอยู่กับอำานาจบารมี ของผู้นำาแต่ละรัฐ 
ว่ามีมากน้อยเพียงใดต่อหัวเมือง/ประเทศราช ที่ 
จะทำาให้เกิดการยอมรับนับถือ/ยอมสวามิภักดิ์/ส่ง 
บรรณาการให้และให้การสนับสนุนยามสงคราม”
๐ ผทูี้่มีความโดดเด่นเป็นพิเศษจนเป็นที่ยอมรับ / 
ยอมสวามิภักดิ์ / ยอมเป็นพันธมิตรด้วย ซึ่งจะต้อง 
แสดงพระองค์ให้เป็นทปี่ระจักษ์ในทางใดทางหนึ่ง 
หรือ•ห มลีคาวยาดม้าโนดพดรเด้อ่นมกเปัน็น เพชิเ่นศษในการรบ การสงคราม 
จนเป็นที่เกรงกลัว 
นกษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรม / ศรัทธา / อุปถัมภ์ศาสนาอย่างจริงจัเป็นกษัตริย์นักปราชญ์ / รอบรู้ / ทรงภูมิปัญญา 
จงึจะเป็นที่ยอมรับ / ยอมอยู่ใต้อำานาจจากบรรดา 
รัฐ๐ /อำาศนูนายจ์อบำาานรามจีนอี้เื่นองๆก่อให้เกิดเครือข่ายความจงรัก 
ภักดีและการเป็นพันธมิตร (Network of Royalty) 
จนกษัตริย์ผู้มากด้วยอำานาจบารมี ทรงมีพระราช 
อำานาจแผไ่พศาลในฐานะ “จักรวรรดิ” และ รัฐของ 
พระองค์ก็กลายเป็นรัฐจักรวรรดิทิ่ยิ่งใหญ่
ในลักษณะเช่นนี้ O.W.Wolter เหน็ว่า รัฐ 
จักรวรรดิน่าจะมีสถานภาพใกล้เคียงกับมลฑล 
(Manเdพaรlaาะ) วข่าอ กงอาิรนดเดำาีรยงมอายกู่ขกอวง่ารัฐจักรวรรดิมิได้ 
เป็นสถานภาพทอี่ยู่คงทนถาวร แต่ขึ้นอยู่กับอำานาจ 
บารมีของกษัตริย์ที่ศูนย์กลางแห่งรัฐจักรวรรดิ์ที่มี 
ไปถึง อำาหรืนาอมีจเหบานืรอมีหันี้วอาเมือจง รว/ มเมืถึงอคงวาประมสัเทมศพัรานธ์ชส่นั้วน 
ๆ 
ตัว /การสร้างความสัมพันธ์เครือญาติระหว่างกัน / 
การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์จากการได้รับความ 
คุ้มครแอตงป่เมลื่ออผดนู้ภำาัยที่มากด้วยอำานาจบารมีสิ้นชีพลง 
เครือข่ายความสัมพันธ์ / จงรักภักดีก็อาจสิ้นสุดลง 
ผลทตี่ามมาก็คือ การหดตัวของขอบเขต 
อำานาจรัฐจักรวรรดิที่ครั้งหนึ่งเคยมีในชั่วชีวิตของ 
ผู้นำาที่เข้มแข็ง
O.W.Wolter กล่าวว่า อำานาจรัฐอยู่ใน 
ลักษณะของการเป็นมณฑลมากกว่า เพราะ 
ขอบเขตของปริมณฑลแห่งอำานาจของกษัตริย์ 
จะมีอยู่เข้มข้นเฉพาะที่ศูนย์กลางราชธานี 
เท่านั้น ไกลออกไปจากนั้น อำานาจที่ศูนย์กลาง 
มีอยู่ค่อนข้างคลุมเครือไม่ชัดเจน
Milton Osbon ก็มีแนวคิดที่สอดคล้องกัน ได้ 
เสนอตัวแบบ (Model) อำานาจรัฐจักรวรรดิไว้โดยใช้ 
วงกลมเป็นสัญลักษณ์แทนขวอ่าบ เขตและอำานาจรัฐเป็น 
เช่นวงกลมรวมศูนย์ขนาด 
ใหญ่แต่เฉพาะที่ 
วงกลมศูนย์กลางของวงกลม 
ใหญ่เท่านั้นที่กษัตริย์ทรงมี 
อำานาจอย่างแท้จริง ไกล 
ออกไปจากวงกลม 
ศูนย์กลางอำานาจของ 
กษัตริย์จะลดลงอย่างเป็น 
สัดส่วนกับระยะทางที่ห่าง 
ไกลออกไปคล้ายดังแสง 
เทียน
“มีระบบโครงสร้างทอี่่อนแอและเปราะบาง” 
นั่นคือ แม้รัฐจักรวรรดิ์จะมีขอบเขต 
ปริมณฑลอำานาจทกี่ว้างใหญ่ แต่ก็ไม่มีเอกภาพ 
เพราะขอบเขตอำานาจทขี่ยายใหญนั่้นประกอบด้วย 
บ้านเมืองทเี่ป็นรัฐบรรณาการเล็กๆ ที่พร้อมจะเป็น 
อิสระ เมื่อผนู้ำาหรือกษัตริย์ทศีู่นย์กลางราชธานี 
อ่อนแอหรือด้อยอำานาจบารมีลง และเมื่อใดทรีั่ฐ 
บรรณาการมีกษัตริย์ที่เข้มแข็งก็จะพยายามปฏิเสธ 
สถานภาพที่ตนต้องตกเป็นบริวารและพยายามแยก 
ตนเป็นอิสระ สร้างเครือข่ายพันธมิตรของตนขึ้นมา 
เมื่อมีโอกาส และย่อมหมายถึง ความเสื่อมสลาย 
ของรัฐจักรวรรดิเดิม
สภาพเช่นนี้ ทำาใหก้ารเมืองในอดีตของ 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยโบราณเต็มไปด้วย 
สงคราม / มีศูนย์อำานาจทงั้ใหญแ่ละเล็กอยู่ 
มากมาย / มีศูนย์กลางอำานาจที่เปลี่ยนแปลงไป 
มา โดยศูนย์อำานาจทเี่กิดขึ้นใหม่อาจขยาย 
ขอบเขตออกไปเหลื่อมลำ้า / ทบัซ้อนขอบเขต 
ศูนย์อำานาจเดิมก็ได้
܀ เป็นองค์ประกอบสำาคัญของรัฐที่กษัตริย์ต้องการ 
ควบคุมไว้ยิ่งกว่าดินแดน 
܀ ประชากรเป็นแรงงานทงั้ในภาคเศรษฐกิจ การ 
ทำามาหากิน / การสงคราม /การก่อสร้างงาน 
ศ܀ิล ปประะ /ช สาถการปมัตีอิยสกระรใรนมกตา่ารงๆอ พยพโยกย้ายถิ่นทอี่ยู่ได้ 
เสมอ เพื่อคุณภาพชีวิตทดีี่กว่าหรือหนีภัยสงคราม
܀ แต่ละรัฐจึงหามาตรการ เพื่อควบคุมและเพิ่ม 
จำานวนประชากร ด้วยวิธีการต่างๆ อาทิ 
๐ ชักชวน ใหเ้ข้ามาตงั้หลักแหล่งเป็นพลเมือง 
๐ ควบคุม ออกมาตรการควบคุมภายใต้ระบบ 
การเกณฑ์แรงงาน / ระบบไพร่ 
๐ กวาดต้อน - จากรัฐทแี่พ้สงคราม 
(เทครัว) 
๐ กวาดจับ - ส่งกองทัพไปไปกวาดจับชาวป่า 
ชาวดงมาเป็นแรงงาน หรือทาสรับใช้
܀ เป็นข้าของแผ่นดิน 
܀ ต้องยอมถูกเกณฑ์ 
แ܀ร ตงง้อางนเป็นทหารยาม 
ส܀ง คต้รอางมเสียภาษี
1. เขตวัฒนธรรมอินเดีย 
2. เขตวัฒนธรรมจีน 
3. เขตวัฒนธรรมฟิลิปปินส์
 มี 2 รูปแบบ 
1. รัฐชลประทานภายในแผ่นดิน 
2. รัฐชายฝั่งทะเล
 อยู่ในเขตแผ่นดินใหญ่ อาทิ นครวัด, มะทะรัม, 
พุกาม, สโุขทัย, อยุธยา เป็นต้น 
 การดำารงอยู่ของรัฐขึ้นอยู่กับการทำาการเกษตร 
และการทำาชลประทาน 
 ประชากรไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน, ตามทฤษฎี 
เป็นของกษัตริย์ 
 ผลผลิตที่ได้จากการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ต้อง 
ส่งให้รัฐในรูปแบบบรรณาการ 
 เป็นสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น, ความเหลี่ยมลำ้า 
ทางชนชนั้สงู 
 การเมืองการปกครอง ซับซ้อน, ปกครองโดย 
กษัตริย์
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia
History of south east asia

Contenu connexe

Similaire à History of south east asia

ม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptx
ม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptxม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptx
ม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptxNualmorakot Taweethong
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นpeter dontoom
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
ธนพนธ์ สีชารี
ธนพนธ์ สีชารีธนพนธ์ สีชารี
ธนพนธ์ สีชารีssusere2c976
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นายวัชรวิทย์ คำพร
นายวัชรวิทย์ คำพรนายวัชรวิทย์ คำพร
นายวัชรวิทย์ คำพรWatcharawittKhamporn
 

Similaire à History of south east asia (20)

ม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptx
ม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptxม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptx
ม.2 เรื่องที่ 2 ตอนที่ 3.pptx
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
เวียดนาม
เวียดนามเวียดนาม
เวียดนาม
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
พม่า
พม่าพม่า
พม่า
 
ประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ไทย
ประวัติศาสตร์ไทย
 
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
 
ธนพนธ์ สีชารี
ธนพนธ์ สีชารีธนพนธ์ สีชารี
ธนพนธ์ สีชารี
 
BDC412 Philippines
BDC412 PhilippinesBDC412 Philippines
BDC412 Philippines
 
Bdc 412 กัมพูชา
Bdc 412 กัมพูชาBdc 412 กัมพูชา
Bdc 412 กัมพูชา
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
355
355355
355
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
นายวัชรวิทย์ คำพร
นายวัชรวิทย์ คำพรนายวัชรวิทย์ คำพร
นายวัชรวิทย์ คำพร
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 

History of south east asia

  • 1.
  • 2.  ส่งหัวข้อ พฤหัสที่ 9 กันยายน 2557  หัวข้อใดตามความสนใจ เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  อย่างน้อย 15 แผ่น กระดาษฟุลสแก๊ปหรือ กระดาษรายงาน  สง่วันสอบ Final
  • 3.  ปัญหาโรฮิงญา  สงครามเวียดนาม  ญี่ปุ่นกับการขยายอาณานิคมในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2  ปัญหาเชอื้ชาติในมาเลเซีย ก่อนการนำาไปสู่ การแยกตัวของประเทศสิงคโปร์  อองซาน ซูจี กับการต่อสทู้างการเมืองและการ พัฒนาประชาธิปไตยในพม่า
  • 4.  อิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียในศิลปะเขมร  ปัญหาชนกลุ่มน้อยในพม่า  การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของเขมรแดง
  • 5.  สมัยก่อนพระนคร  ศิลปะถาลาปริวัต (Thala Bariwatt)  ศิลปะพนมดา (Phnom Da)  ศิลปะสมโบร์ไพรกุก (Sambor Prei Kuk)  ศิลปะไพรกเมง (Prei Kmeng)  ศิลปะกำาปงพระ (Kompong Preah)  ยุคหัวเลี้ยวหัวต่อ (Transition Period)  ศิลปะกุเลน (Kulen)
  • 6.  สมัยพระนคร  ศิลปะพระโค (Preah Kō)  ศิลปะบาแค็ง (Bakheng)  ศิลปะเกาะแกร์ (Koh Ker)  ศิลปะแปรรูป  ศิลปะบันทายศรี (Banteay Srey)  ศิลปะเคลียง  ศิลปะบาปวน (Bapuan)  ศิลปะนครวัด (Angkor Wat)  ศิลปะบายน (Bayon)
  • 7.  ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน ลาว  ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน กัมพูชา  ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน ฟิลิปปินส์  ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน เวียดนาม  ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน อินโดนีเซีย  ขบวนการชาตินิยมและการเรียกร้องเอกราชใน มาเลเซีย
  • 8.  กลุ่มละ 5 คน  อธิบายหัวข้อรายงานตามความเข้าใจ กรุณา อย่ามายืนอ่านตามโพย
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.  ได้รับเอกราช 4 มกราคม 2491  เมืองหลวง เนปยีดอ (Nay Pyi Taw)  สกุลเงิน จ๊าด (Kyat)  การปกครอง สังคมนิยมมีประธานาธิบดี เป็นประมุข  ผนู้ำาปัจจุบัน พลเอก เต็ง เส่ง  ภาษาราชการ พม่า  ประชากร ประมาณ 56 ล้านคน
  • 16.
  • 17.  1. พระเจ้าอโนรธามังช่อ ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ พุกาม  2. พระเจ้าบุเรงนอง ฉายา "พระเจ้าชนะสิบทิศ" ราชวงศ์ตองอู  3. พระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์อลอง พญา
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.  ได้รับเอกราช 19 กรกฎาคม 2492  เมืองหลวง เวียงจันทร์  สกุลเงิน กีบ (Kip)  การปกครอง สงัคมนิยมคอมมิวนิสต์ ประธานาธิบดีเป็น ประมุข และมีนายกรัฐมนตรีบริหารประเทศ ภายใต้การชี้นำาของพรรคประชาชนปฎิวัติ ลาว  ผนู้ำาปัจจุบัน พลโทจูมมะลี ชัยยะสอน ประธานประเทศ  ภาษาราชการ ลาว, เวียดนาม  ประชากร ประมาณ 6.8 ล้านคน
  • 22.
  • 23.
  • 24.  ได้รับเอกราช 31 สิงหาคม 2506  9 สงิหาคม 2508 แยกตัวออกจากมาเลเซีย  เมืองหลวง สิงคโปร์  สกุลเงิน สิงคโปร์ดอลลาห์  การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย มี ประธานาธิบดีเป็นประมุข นายกรับมนตรีทำา หน้าที่บริหารประเทศ  ผนู้ำาปัจจุบัน โทนี ตัน เค็ง ยัม  ภาษาราชการ อังกฤษ, จีนกลาง, มลายู, ทมิฬ  ประชากร ประมาณ 5.3 ล้านคน
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.  ได้รับเอกราช 31 สิงหาคม 2500  เมืองหลวง กัวลาลัมเปอร์  สกุลเงิน ริงกิต  การปกครอง สหพันธรัฐราชาธิปไตย ภายใต้รัฐธรรมนูญ  ผู้นำาปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธิบดี สุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซอม ชาห์ นายกรัฐมนตรีชอื่ นายนาจิบ ราซะก์  ภาษาราชการ มาเลย์  ประชากร ประมาณ 29 ล้านคน
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.  ได้รับเอกราช 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2489  เมืองหลวง มะนิลา  สกุลเงิน เปโซฟิลิปปินส์  การปกครอง สาธารณรัฐเดี่ยวระบบ ประธานาธิบดี  ผนู้ำาปัจจุบัน เบนิกโน อากีโนที่ 3  ภาษาราชการ ภาษาฟิลิปีโน, อังกฤษ  ประชากร ประมาณ 103 ล้านคน
  • 35.
  • 36.  ได้รับเอกราช 1 มกราคม พ.ศ. 2527  เมืองหลวง บันดาร์เสรีเบกาวัน  สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน  การปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์  ผนู้ำาปัจจุบัน สมเด็จพระราชาธบิดีฮจัญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัด เดาเลาะห์  ภาษาราชการ มาเลย์  ประชากร ประมาณ 4.2 แสนคน
  • 37.
  • 38.  ได้รับเอกราช 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488  เมืองหลวง จาร์กาต้า  สกุลเงิน รูเปียห์  การปกครอง ประชาธิปไตย ประธานาธิบดีเป็นประมุข  ผนู้ำาปัจจุบัน ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน  ภาษาราชการ บาฮาซ่าร์  ประชากร ประมาณ 248 ล้านคน
  • 39.
  • 40.
  • 41.  ได้รับเอกราช 9 พฤศจิกายน 2496  เมืองหลวง พนมเปญ  สกุลเงิน เรียล  การปกครอง ราชาธิปไตยภายใต้ รัฐธรรมนูญ  ผนู้ำาปัจจุบัน สมเด็จฮุนเซน  ภาษาราชการ เขมร  ประชากร ประมาณ 15 ล้านคน
  • 42.
  • 43.  ได้รับเอกราช 2 กันยายน พ.ศ. 2488  เมืองหลวง ฮานอย  สกุลเงิน ด่อง  การปกครอง คอมมิวนิสต์  ผนู้ำาปัจจุบัน เจือง เติ๊น ซาง  ภาษาราชการ เวียดนาม  ประชากร ประมาณ 90 ล้านคน
  • 44.
  • 45.
  • 46.  ได้รับเอกราช 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518  เมืองหลวง ดิลี  สกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐ  การปกครอง สาธารณรัฐ ประธานาธิบดี เป็นประมุข นายกรัฐมนตรี บริหารประเทศ  ผนู้ำาปัจจุบัน ตาอูร์ มาตัน รูอัก เป็น ประธานาธิบดี ชานานา กุฌ เมา เป็นนายรัฐมนตรี  ภาษาราชการ ภาษาเตตุมและภาษา โปรตุเกส  ประชากร ประมาณ 1.1 ล้านคน
  • 48.  เอเชยีตะวนัออกเฉียงใต้ หรือ เอเชยี อาคเนย์ เป็นศัพทท์างภูมิศาสตร์ หมาย ถงึดินแดน อันประกอบด้วยประเทศ ตา่งๆ ดังนี้ คอื พม่า ไทย ลาว กมัพชูา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปนิส์ และ บรูไน
  • 49.
  • 50.  เอเชียกลาง  เอเชียใต้  เอเชียตะวันออก
  • 51.  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปน็ดินแดนที่มี ลักษณะทางภูมิศาสตร์เฉพาะตัว  ในอดีตเป็นดินแดนที่อยู่ระหว่างโลก อารยธรรมที่เจริญแล้ว
  • 53.
  • 54.  ในอดีต จีน เรียกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ว่า นานยาง 南洋  ญี่ปนุ่ เรียกว่า นามโป  แปลว่า ดินแดนแห่งทะเลใต้
  • 55.  อินเดีย เรียก ดินแดนแห่งนี้ว่าสวุรรณภูมิ (ตาม ที่กล่าวไว้ในรามเกียรติ) , ยวภูมิ, ยวทวีป
  • 56.  ในยุคล่าอาณานิคม ชาติตะวันตก เรียก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไว้หลายชื่อ เช่น  อินเดียไกล (Further India) เนื่องจาก ดินแดนนี้อยู่ไกลจากอินเดียออกไปเล็ก น้อย และได้รับวัฒนธรรมอินเดีย  อินเดียไพศาล (Greater India)  จีนน้อย (Little China) เนื่องจากอยทู่าง ตอนใต้ของจีนและมีอิทธิพลจากวัฒนธรรม จีน  เอเชีย – มรสุม
  • 57.  ศาสตราจารย์ ดีจีอี ฮอลล์ กล่าวว่า เราควรหลีก เลี่ยงในการเรียกดินแดนนี้ว่า อินเดียน้อย, จีน น้อย, อินเดียไพศาล  คำาเหล่านี้ มีความหมายไปในทางลบ โดย เฉพาะจากการตีความหมายชื่อโดยนัก ประวัติศาสตร์ในสมัยอาณานิคมและนัก ประวัติศาสตร์ชาตินิยมอินเดีย  อินเดียน้อย, จีนน้อย, อินเดียไพศาล = คำาใน แง่ลบ  แสดงถึงการที่ดินแดนนี้เป็นส่วนหนึ่งของ อินเดีย, จีน
  • 58.
  • 59.  ในช่วงยุคล่าอาณานิคม (ประมาณ C16) ดินแดนนี้เป็นทางผ่านของชาติในยุโรป และอเมริกาที่ต้องการแสวงหาผลประโยชน์ ทางการคา้จากอินเดีย, จีน, ญี่ปนุ่  จากการแวะพักเรือที่เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ หรือ จากการคา้ขายกับจีน, อินเดีย, ญี่ปนุ่  ทำาให้ชาวตะวันตกทราบว่า ดินแดนนี้มี ทรัพยากรและสินค้าที่ตนเองต้องการ
  • 60.  ชาวตะวันตกเรียกดินแดนนี่ว่า หมู่เกาะ เครื่องเทศ (Spice Island) หรือหมู่เกาะ โมลุกกะ
  • 61.
  • 62.  คำาว่า เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถูกใช้ครั้งแรก ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2  ในช่วงนั้น ระหว่างปี ค.ศ 1941 -1945 กองทัพญี่ปนุ่ได้เข้ามารุกรานและยึดครอง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งขณะนั้นเป็น อาณานิคมของชาติตะวันตก อาทิ - ชวา เป็นอาณานิคมของ เนเธอร์แลนด์ - ฟิลิปปินส์ ของสหรัฐอเมริกา - อินโดจีน ของฝรั่งเศส - มาเลเซีย, พม่า เป็นของอังกฤษ
  • 63.  ฝ่ายสัมพันธมติร ตั้งกองบัญชาการเพื่อ ต่อสู้กับกองทัพญปีุ่่น ที่เกาะลังกา (ศรี ลังกา) มชีื่อว่า “ South – East Asia Command” - มีลอร์ดหลุยซ์ เมาท์ แบทเทิน เป็นผู้ บญัชาการ
  • 64.
  • 65.  พอสิ้นสดุสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่างๆ ทยอยกันได้รับเอกราช  ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้าสู่ สงคราม เย็น  อเมริกา เชื่อใน ทฤษฎีโดมิโน และต้องการหยุด ยั้งอิทธพิลของโซเวียต, จีน ในการเผยแพร่ ลัทธิคอมมวินิสต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  USA เข้ามาตั้งฐานทัพ ให้ความช่วยเหลือทาง เศรษฐกิจ
  • 66.  ความสนใจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึง ทวีขึ้น  สหรัฐอเมริกา ทุ่มความสนใจให้กับเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้อย่างมาก  อาทิ การเปิดหลักสตูรสอนวิชาเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในมหาวิทยาลัย คอแนลล์, เยล, อิลลินอยส์, โอไฮโอ และ ฮาวาย เปน็ต้น
  • 67.  ด้านภูมิศาสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มี พื้นที่แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1. ส่วนพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่ (Main land) 2. พื้นที่ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ (Island) ความหลากหลายของสภาพทางภูมิศาสตร์ และความแตกต่างกันของพื้นที่ ส่งผลให้มีการตั้ง ถิ่นฐานที่แตกต่างกันของมนุษย์ สง่ผลให้เรา สามารถพบวัฒนธรรมที่หลากหลายของชนเผ่า หลายเผ่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 68. เช่น ชาวทุ่งราบ, ชาวเขา, ชาวเล ชนเผ่าบางพวก หรือชนชื้นเมืองบางพวกยังคงรักษาไว้ซึ่ง วัฒนธรรมของตนเอง เช่น ชาวตองเหลือง, เงาะ ป่า
  • 69. ในพมา่มีชาติพันธุ์มากมาย เช่น พม่า, มอญ, กะ เหรียง, ยะไข่, โรฮงิญา เป็นต้น
  • 70. ส่วนพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่ (Main land) มักมีทิวเขาทอดยาว ประกอบด้วย 3 เทือก เขาคือ 1. เทือกเขาอาระกัน (เริ่มจากตอนใต้ของจีน – เบงกอล) 2. เทือกเขาตะนาวศรี(กั้นพรมแดนไทย – พม่า) 3. เทือกเขาอันนัม (กั้นเวียดนามออกจากลาว ไทย และกัมพูชา) เทือกเขา เป็นต้นกำาเนิดของแม่นำ้าที่สำาคัญ หลายสาย เช่น แม่นำ้าอิระวดี, แม่นำ้าสาละวิน, แม่นำ้าเจ้าพระยา และแม่นำ้าแดง ซึ่งเป็นต้น กำาเนิดของการตั้งถิ่นฐานของชาวพื้นเมืองใน
  • 71.  นอกจากนี้ พื้นที่บนแผ่นดินใหญ่ (Main land) ยังประกอบด้วย เขตที่ราบ 4 เขต 1. ที่ราบทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ บริเวณด้าน ตะวันตกของพม่า มีหุบเขาอัสสัมทอดอยู่ และมี แม่นำ้าพรมบุตรไหลผ่าน ติดกับอินเดีย สง่ผลให้ ดินแดนแถบนี้สามารถรับอิทธิพลอินเดียได้ โดยตรง มีผู้อพยพจากอินเดียเข้ามาในพม่ามาก ในเขตนี้ 2. ที่ราบบริเวณตอนกลางของพม่า มีแม่นำ้าสาละ วินและแม่นำ้าอิระวดีไหลผ่าน อุดมสมบูรณ์เหมาะ แก่การเพาะปลูก ส่งผลให้อาณาจักรสำาคัญของ พม่ามีความเจริญรุ่งเรืองในบริเวณนี้ อาทิ
  • 72. 3. ที่ราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา มีขนาดกว้างใหญ่ ที่สดุ แม่นำ้าเจ้าพระยาไหลผ่าน รวมถึงแม่นำ้าโขง ซึ่งกั้นพรมแดนระหว่างไทย ลาว กัมพูชา 4. ที่ราบแม่นำ้าแดง อยู่ในเขตเวียดนามเหนือ ทาง ตะวันออกของเทือกเขาอันนัม ติดกับตอนใต้ของ จีน ส่งผลให้วัฒนธรรมจีนปรากฏเห็นอย่างเด่น ชัดในเวียดนาม
  • 73. ได้แก่ บริเวณที่เป็นคาบสมุทร, ประเทศ อินโดนีเซีย มีหมู่เกาะมากที่สดุถึง 13667 เกาะ ส่วนฟิลิปปินส์ประกอบด้วย 7100 เกาะ และมัก จะประกอบด้วยช่องแคบหลายแห่ง อาทิ ช่องแคบลอมบอก ช่องแคบซุนดา ช่องแคบมะละกา
  • 74.  แอนโทนี รีด กล่าวว่า ภูมิภาคนี้ติดต่อกันได้ ทุกหนแห่งโดยทางนำ้า  และเป็นดินแดนที่ไม่เคยปิดกั้นพ่อค้า นักผจญ ภัย ที่เดินทางเข้ามาทางทะเล  ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (บริเวณ คาบสมุทรมลายูจนถึงหมู่เกาะอินโดนีเซีย) มี คลื่นลมที่ไม่รุนแรงมาก  เปรียบได้กับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน  หน้ามรสุมคือ พฤษภาคม – สิงหาคม และ ธันวาคม - มีนาคม
  • 75.  ทำาให้ชาวอาหรับ อินเดีย เปอร์เซีย เรียกเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ว่า ดินแดนใต้ลม เพราะลม มรสุมตามฤดูกาลสามารถช่วยให้เรือจาก มหาสมุทรอินเดียเดินทางเข้ามาได้
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82.
  • 83.
  • 84. เป็นเส้นทางลัดในการเดินเรือ เป็นการ ประหยัดเวลาในการเดินทางไปมาระหว่าง มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ส่งผลให้พ่อค้าอินเดียสามารถเดินทางมา ค้าขายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้สะดวก และเป็นการทำาให้วัฒนธรรมอินเดีย รวมถึง วัฒนธรรมอิสลามสามารถเข้ามาเผยแพร่ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงที่มีการล่าอาณานิคม ชาวตะวันตก ใช้เส้นทางดังกล่าวในการเดินทางมาที่เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และตั้งสถานีการค้าขึ้น เช่นที่ เมืองมะละกา, สิงคโปร์, ยะโฮห์, อาเจะห์
  • 85.  ในช่วงล่าอาณานิคม ประเทศในยุโรปสว่นใหญ่ มักจะมีเมืองท่าและอาณานิคมของตนในอินเดีย อาทิ  อังกฤษ มีเมืองท่าที่ กัลกัตตา (Kolkata), บอมเบย์ (Bombay) และมัทราส(Madras)  โปรตุเกส มีเมืองท่าที่กัวร์ (Goa)  ฝรั่งเศสมีเมืองท่าที่ ปอนดิเชอร์นี่ (Pondicherry)
  • 86.
  • 87.  นักประวัติศาสตร์บางท่านเรียก “ เส้นทาง สายไหมทางท้องทะเล”  เป็นดินแดนที่ติดต่อและเข้าถึงได้ยากในทาง บก  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความอุดมสมบูรณ์มา ตั้งแต่อดีต และเป็นแหล่งระบายสินค้า รวมถึง แหล่งวัตถุดิบที่สำาคัญของการค้าทางทะเลมานับ ตั้งแต่สมัยโบราณ  สงัเกตได้จาก การเติบโตของรัฐชายฝั่ง หรือรัฐ คาบสมุทร ซึ่งสามารถพัฒนาจากเมืองท่าเล็กๆ กลายเป็นอาณาจักรที่มั่นคงและรำ่ารวยได้ เช่น เมืองออกแก้ว ในกัมพูชา, อาณาจักรศรีวิชัย,
  • 88.
  • 89.
  • 90.  พิจารณาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ ภูมิภาคนี้อยู่ ในเขตศูนย์สูตร มีฝนตกชุก และมีแม่นำ้าสำาคัญ หลายสายเหมาะแก่การเพาะปลูก  ส่งผลให้เป็นแหล่งผลิตพืชผลเขตร้อนที่สำาคัญ ของโลก  ชาวตะวันตกในช่วงค้นพบเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เรียกภูมิภาคนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ หรือ เสน้ทางเครื่องเทศ
  • 91.  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (บริเวณหมู่เกาะ อินโดนีเซีย) มีชื่อเสียงในเรื่องเครื่องเทศมานาน แล้ว ก่อนการเข้ามาของชาวตะวันตก  หมู่เกาะโมลุกกะ สนันิษฐานว่า มาจากภาษา อาหรับ  แปลว่า ดินแดนที่มีกษัตริย์หลายพระองค์  เกาะที่สำาคัญ อาทิ - เกาะเตอร์นาตี (Ternate) - เกาะอัมบน (Ambon)
  • 92.
  • 93.  เครื่องเทศเป็นปัจจัยสำาคัญที่ชาวตะวันตกเดิน ทางเข้ามาใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  เครื่องเทศ หมายถึง ส่วนต่างๆของพืช เช่น เมล็ด, เปลือก, ราก, ผล, ใบ, ลำาต้น ที่นำามาตาก แห้งแล้วสามารถใช้เป็นเครื่องปรุงในอาหารเพื่อ เพิ่มรสชาติ, กลิ่น, สีสัน  อาทิ ดีปลี, ยี่หร่า, ลูกจันทร์, กระวาน, กานพลู, หญ้าฝรั่น, พริกไท, งา, อบเชย, มะกรูด, พริก
  • 94.  ข้าวเป็น 1 ในสินค้าสง่ออกหลักของภูมิภาคนี้ และเป็นที่ต้องการของเศรษฐกิจโลก บริเวณที่ ปลูกข้าวกันมากในภูมิภาคนี้ ได้แก่ 1. บริเวณที่ราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา 2. บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่นำ้าแดงในประเทศ เวียดนาม 3. ที่ราบลุ่มแม่นำ้าอิระวดีตอนกลางและปาก แม่นำ้าสาละวินในพม่า 4. บริเวณทะเลสาบเขมรและชายฝั่งแม่นำ้าโขง 5. บางส่วนของพื้นที่ราบลาดเขาบนเกาะ ลูซอนของฟิลิปปินส์
  • 95.  นอกจากนี้ยังมี ยางดิบ มะพร้าว ไม้เนอื้เข็ง  ไม้ต้น ไม้ปาล์ม และไม่ไผ่ เป็นวัสดุนิยมที่ใช้ใน การก่อสร้าง  แอนโทนี รีด กล่าวว่า เป็นทรัพยากรที่ใช้ไม่มี วันหมด  ต่างชาติต้องการมาก
  • 96.  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นตลาดของป่า แทนที่ยุโรปและจีน ในช่วง C 16 เนื่องจาก ปริมาณป่าไม้ในยุโรปและจีนลดน้อยลง  อีกทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีฝนตกชุก ตลอดปี จึงมีป่าดงดิบที่หนาแน่น  การเก็บของป่าขายเป็นอาชีพดั้งเดิมของคนใน ดินแดนนี้ควบคู่กับการทำาไร่เรื่อยรอย เป็น สาเหตุสำาคัญที่ทำาให้อาณาจักรโบราณพยายาม ผูกขาดการขายของป่าให้กับชาวตะวันตก
  • 97.  ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังเป็นแหล่งแร่ ธาตุที่สำาคัญที่สดุในภูมิภาคนี้ และเป็นที่ต้องการ ของประเทศอุตสาหกรรม  อาทิ แร่ดีบุกและวุลแฟรม  มาเลเซียผลิตได้ 1 ใน 3 ของปริมาณการผลิต ทั่วโลก รองลงมาคือ อินโดนีเซีย
  • 98.  เป็นแหล่งผลิตนำ้ามันปิโตรเลียม พบมากใน ประเทศอินโดนีเซียที่เกาะสมุาตรา ชวา และ บอร์เนียว และในบรูไน  พบบ้างในประเทศพม่า, มาเลเซีย และอ่าวไทย
  • 99.  เป็นแหล่งประมงที่สำาคัญ เพราะแทบทุกประเทศ มีอาณาเขตติดทะเล ยกเว้นประเทศลาว  ข้าวและปลาเป็นอาหารหลัก  บริเวณชั้นหินใต้นำ้าซุนดา (ช่วงทะเลนำ้าตื้น ตั้งแต่อ่าวไทยจนถึงทะเลชวา) เป็นแหล่งจบสัตว์ นำ้าที่อุดมสมบูรณ์มากที่สุดในโลก  แอนโทนี รีด กล่าวว่า ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงแต่ง ข้าวที่สำาคัญ
  • 100.  เป็นแหล่งยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะบริเวณ ช่องแคบมะละกา  ชาวตะวันตกต้องการมีอำานาจเหนือดินแดน บริเวณดังกล่าว  เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ตะวันตกแย่งชิงกัน อาทิ สงครามระหว่างฮอลันดากับโปรตุเกส ในช่วงต้น ศตวรรษที่ 18 บริเวณช่องแคบมะละกาและเกาะ ชวา  การเผยแพร่อิทธิพลของจีน สมัยราชวงศ์หยวน (มองโกล)และราชวงศ์ หมิง เพื่อให้อาณาจักร ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยอมรับอำานาจของ จีน
  • 101.  ราชวงศ์หยวน (C13) พยายามให้อาณาจักรใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยอมรับอำานาจ เช่น  1278 AD พระเจ้า เว้ อินทราวรมันแห่ง อาณาจักรจามปา ต้องยอมรับอำานาจของ ราชวงศ์หยวน  1288 AD อาณาจักรไดเวียต ต้องยอมรับ อำานาจราชวงศ์หยวน  สโุขทัยและรัฐเชียงใหม่ ยอมรับอำานาจราชวงศ์ หยวนโดยมีการส่งทูตไปมอบบรรณาการหลาย ครั้ง  ยกเว้นอาณาจักรเขมร
  • 102.
  • 103.
  • 104.
  • 105.
  • 106.  สมัยล่าอาณานิคม เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น แหล่งยุทธศาสตร์ที่สำาคัญของการแข่งขันและ แย่งชิงกัน  พอฝรั่งเศสรบแพ้อังกฤษในอินเดีย จึงเริ่มหันมา สนใจอินโดจีน โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่นำ้าโขง และแม่นำ้าแดง เพื่อใช้เป็นเส้นทางขึ้นไปค้าขาย กับจีนที่ยูนนาน  อเมริกาต้องการใช้ฟิลิปปินส์เป็นที่ตั้งฐานทัพ และฐานผลิตถ่านหินในการเดินเรือเป็นเพื่อไป ค้าขายในจีนและฮ่องกง  ฮอลันดาต้องการควบคุมช่องแคบในบริเวณ คาบสมุทรเพื่อผูกขนาดตลาดค้าเครื่องเทศ
  • 107.  อังกฤษต้องการฐานทัพ และตั้งสถานีการค้าใน การระบายสินค้าระหว่างจีนและอินเดีย สงิคโปร์ มีความสำาคัญมากสำาหรับอังกฤษ โดยเฉพาะเมื่อ คลองสุเอชถูกเปิดใช้ในปี ค.ศ. 1859  ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นมองว่า ภูมิภาคนี้เป็นแหล่งยุทธศาสตร์และแหล่งเสบียง + นำ้ามันที่สำาคัญในการทำาสงครามและขยาย อาณาเขตของตน จึงยึดครองอาณานิคมของ ชาติตะวันตกทั้งหมด  ไทยแลพม่าเป็นจุดยุทธศาสตร์สำาคัญในการ
  • 108.  หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภูมิภาคนี้เป็น ยุทธศาสตร์สำาคัญในการเผยแพร่ลัทธิการเมืองที่ สำาคัญ 2 ลัทธิ คือ 1. เสรีนิยม 2. คอมมิวนิสต์ - เป็นการช่วงชิงกันระหว่างค่ายโลกเสรีและ คอมมิวนิสต์ - มีสงครามตัวแทนเกิดขึ้นและกินเวลานาน คือ สงครามอินโดจีน - เพื่อเป็นการซื้อใจประเทศในเอเชียตะวันออก
  • 109.  แผนการโคลัมโบ (Colombo Plan) เพื่อความ ร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจในเอเชียใต้และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เสนอครั้งแรกในปี ค.ศ.1950 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 111.  ประเทศสมาชิกได้แก่ USA, ปากีสถาน, ไทย, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, ฟิลิปปินส์, อังกฤษ, ฝรั่งเศส  ก่อตั้งที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์  คล้าย นาโต้ ในยุโรป  ให้ความร่วมมือด้านกองกำาลังทหาร เพื่อป้องกัน การขยายอำานาจของลัทธิคอมมิวนิสต์
  • 112.  ช่วง WWII โซเวียต ช่วยสัมพันธมิตรปลดปล่อย ประเทศในยุโรปตะวันออก แต่พอสงครามสงบ ไม่ยอมถอนทัพออก  โซเวียต เปลี่ยนประเทศเหล่านนั้เป็นประเทศ คอมมิวนิสต์  ดินแดนนั้นถูกเรียกว่า ม่านเหล็กของโซเวียต  หลัง WWII มีการแบ่งเยอรมนีออกเป็น 4 ส่วนๆ ที่ใหญ่ที่สุดเป็นของโซเวียต  จนกระทั่งเยอรมนีเหลือแค่ 2 สว่นในเวลาต่อมา คือเยอรมันตะวันออกและเยอรมันตะวันตก
  • 113.
  • 114.
  • 115.  ในทวีปเอเชีย โซเวียตได้หมู่เกาะครูริล ทาง ตอนเหนือของญี่ปนุ่  1949 AD พรรคคอมมิวนิสต์จีน นำาโดยเหมา เจอ ตุง สามารถขับไล่พรรคก๊กมินตั๋ง ของ เจียง ไคเช็ก ให้ไปตั้งรัฐบาลใหม่ที่เกาะใต้หวัน
  • 116.  1950 เกิดสงครามเกาหลี ซึ่งเกาหลีเหนือได้รับ การสนับสนุนจากจีนและสหภาพโซเวียต
  • 117.
  • 118. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มอีักษรเริ่มใช้เมื่อไร ???  ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน  ยุคประวัติศาสตร์ เริ่มต้นตั้งแต่ มนุษย์รู้จัก บันทึก หรือ คิดค้นตัวอักษรเป็นของตนเองได้  นักวิชาการหลายท่าน เห็นตรงกันว่า อักษร โบราณของภูมิภาคนี้ได้รับอิทธิพลจากอักษรปัล ลวะ จากอินเดียใต้  อักษรดังกล่าวเป็นต้นแบบของ อักษรขอมและ อักษรมอญโบราณ
  • 119.  อักษรปัลลวะ ถูกเผยแพร่เข้ามาในดินแดน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11  นักโบราณคดี สันนิษฐานว่า อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรทวารวดีรับไปใช้ประมาณ 200 ปี ก่อนที่จะคิดค้นอักษรของตนเองได้
  • 120.
  • 121.  การแบ่งยุคในการศึกษาประวัติศาสตร์เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เป็น ธรรมเนียมที่เราได้มา จากนักวิชาการต่างประเทศ  โดยเฉพาะนักวิชาการในสมัยอาณานิคม  ในทางทฤษฎีแล้ว การแบ่งยุคทาง ประวัติศาสตร์ กระทำาขึ้นเพื่อให้เราเข้าใจถึงจุด เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ที่สำาคัญของเรื่องราว ที่เราศึกษาอยู่  นักวิชาการจึงนิยมแบ่งยุคประวัติศาสตร์ ตาม “การเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญ”
  • 122.  สมัยก่อนประวัติศาสตร์ - ยุคหิน - ยุคหินใหม่ - ยุคสำาริด - ยุคเหล็ก
  • 123.  สมัยประวัติศาสตร์ - ยุคต้น Early Period - ยุคกลาง Medieval Period - ยุคปลาย (สมยัใหม)่ Modern Period
  • 124.  มิลตัน ออสบอร์น (Milton Osborne) แบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ของเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ออกเปน็ 4 ยุค 1. สมัยคลาสสิก 2. สมัยจารีต 3. สมัยอาณานิคม 4. สมัยใหม่
  • 125.  แฮรี่ เจ เบ็นดา แบง่ประวัติศาสตร์เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ออกเปน็ 6 ยุค คือ 1. ยุคคลาสสกิ 2. ยุคหลังคลาสสิก 3. ยุคการเริ่มเข้ามาของชาวยุโรป 4. ยุคอาณานิคมสมัยใหม่ 5. ยุคญี่ปุ่นยึดครอง 6. ยุคเอกราช
  • 126. - แฮรี่ เจ เบ็นด้า และ มินตัน ออสบอร์น กล่าวว่า ยุคคลาสสิก คือ “สมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ที่กำาหนดเห็นได้โดยสัมฤทธิผลทาง ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และพัฒนาการของรัฐ เหมือนกับประวัติศาสตร์กรีกและโรมันก่อนจะถึง ยุคเสื่อมใน C15 และเป็นยุคที่ชี้ให้เห็นความ สำาคัญของประเพณี วัฒนธรรมของชาวเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้”
  • 128.  เป็นยุคที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจริญ เหมือน กับ ยุคคลาสสิกในยุโรป  ยุคคลาสสิค ในยุโรป หมายถึงกรีกและโรมัน ไม่ใช่อังกฤษ, ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นมหาอำานาจของ ยุโรปในช่วงล่าอาณานิคม  ช่วงยุคคลาสสิคของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมืองใหญ่ๆที่มีชอื่เสยีง มีมนต์เสน่ห์ในปัจจุบัน อย่างลอนดอน, ปารีส ไม่ได้เจริญมากนัก  ลอนดอน, ปารีส ในสมัยยุคคลาสสิคของยุโรป มีฐานะเป็นแค่เมืองอาณานิคมเล็กๆ ของ อาณาจักรโรมัน (หมู่บ้านเล็กๆ)  ลอนดอน = ลอนดินิอุม  ปารีส = ลูเตเทีย
  • 129.  มินตัน ออสบอร์น วิเคราะห์ว่า เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ในช่วงเวลาดังกล่าวเจริญมาก ในขณะ ที่ เมืองลอนดอนของอังกฤษ ยังเป็นแค่เมือง เล็กๆ และมปีระชากร ไม่กี่พันคน เท่านั้น  ลอนดอนในช่วง C9 มีประชากรไม่เกิน 35000 คนสภาพไร้ระเบียบและสกปรก  กัมพูชา ใน C9 มีประชากรกว่า 1 ล้านคน สามารถทำานาหล่อเลี้ยงเมืองหลวงได้  กัมพูชามีระบบชลประทานที่ซับซ้อน, เพาะปลูก และเก็บเกี่ยวข้าวได้ถึง 3 ครั้งต่อปี (ฤดูแล้งใน กัมพูชา กินเวลา 6 เดือน)  กัมพูชา ในช่วง C9 มีจารึกจำานวนมาก ที่แสดง ให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต
  • 130. สัมฤทธิผลของกรีก ด้านศิลปกรรม รูปปนั้เทพเจ้า, รูปปั้น มนุษย์แบบ realistic ด้านการปกครอง การปกครองแบบ ประชาธิปไตยกรีก สถาปัตยกรรม วิหารพาเธนอน สัมฤทธิผลของโรมัน ด้านการปกครอง ปกครองแบบสาธารณรัฐ, กฎหมายสิบสองโต๊ะ, กฎหมายจัสตีเนียน
  • 131.
  • 132.
  • 133.
  • 134.  สมัฤทธิผลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิ - ด้านสถาปัตยกรรม ปราสาทหินนครวัด, เจ ดีย์ชเวดากอง, ปุโรพุธโธ - ด้านวรรณกรรม มหากาพย์ เช่น รามเกียรติ, ตำาราพิชัยสงคราม - ด้านการปกครอง แนวคิดสมมติเทพ, เทว ราชา - ศิลปกรรม รูปปั้น, รูปสลัก, พระพุทธ รูป
  • 135.
  • 136.
  • 137.
  • 138.
  • 139.
  • 140.  Michael Aung-Thwin วิเคราะห์ว่า ยุค คลาสสกิในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มักจะ ครอบคลุมตั้งแต่ C 9 – C 14 ซึ่งเป็นช่วงเวลา ที่รับโบราณยุคแรก อาทิ พะโค, สุโขทัย, นคร วัด, ได เวียต, ศรีวิชัย ถือกำาเนิดขึ้นและพัฒนา ไปเป็นประเทศชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ในปัจจุบัน
  • 141. ยุคคลาสสิก เป็นยุคที่แสดงให้เห็นเขตวัฒนธรรม 3 เขต คือ 1.เขตวัฒนธรรมอินเดีย 2. เขตวัฒนธรรมจีน 3. เขตวัฒนธรรมฟิลิปปินส์
  • 142.  สรุป คำาว่าคลาสสคิ ที่ถูกใช้เรียกเป็นชอื่ยุคๆ หนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงให้เห็น ว่า  นักวิชาการตะวันตก ยอมรับว่าครั้งหนงึ่เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มีความยิ่งใหญ่เทียบได้กับยุค คลาสสคิของยุโรป คือ กรีก, โรมนั
  • 143.  เริ่มตั้งแต่ C14 – C16  รัฐโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะรัฐชายฝั่งทะเลได้รับอิทธิพลจาก ศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะบนเกาะชวา  ศาสนาพุทธในเกาะชวา หมดความสำาคัญลง รัฐ ชายฝั่งทะเลาเริ่มใช้ตำาแหน่งสุลต่านเป็นประมุข  ถึงไม่มีการสร้างพุทธศาสนาสถาน อย่าง บุโร พุทโธ อีก  พวกอูลามะ (Ulama) มีอำานาจมากในราช สำานัก บางครั้งขัดแย้งกับสุลต่านหรือกษัตริย์ ท้องถิ่น
  • 144.  อูลามะ = ชนชั้นของชาวมุสลิมที่มีการศึกษา, ปราชญ์, ราชบัณฑิต มักมีอำานาจในการเป็นที่ ปรึกษาราชการแผ่นดินแก่สุลต่าน, เป็นผู้ พิพากษา, เทศนาสอนศาสนา
  • 145.  ในเขตวัฒนธรรมอินเดีย ลัทธิพราหมณ์ฮนิดู และศาสนาพุทธมหายานถูกแทนที่ด้วย พุทธ นิกายหินยาน และศาสนาอิสลาม  หินยาน ปฏิเสธ แนวคิดที่ว่า กษัตริย์เป็นสมมติ เทพ อำานาจรัฐไม่ได้อยุ่ที่ตัวกษัตริย์ แต่ยังไม่ ปฏิเสธเรื่องบุญบารมี  ในสมัยนี้จึงมีสงคราม การแย่งชิงอำานาจกันเป็น กษัตริย์บ่อยครั้ง เพราะสามัญชนก็สามารถเป็น กษัตริย์ได้ หากบุญบารมีถึง  ศาสนาพุทธนิกายหินยานได้นำาหลักการ 3 ประการเข้ามาคือ
  • 146.  รัฐโบราณในเขตอิทธิพลอินเดีย มีลักษณะเป็น จักรวรรดิมากขึ้น เช่น กรุงศรีอยุธยา, หงสาวดี  เริ่มทำาสงครามขยายอำานาจ  แนวคิดเรื่องจักรพรรดิราช (ราชาเหนือราชา) มีอิทธิพลในสังคม
  • 147.  ยุคคลาสสิก + หลังคลาสสกิ = ยุคจารีต  ยุคจารีต หมายถึง ระยะเวลาที่โครงสร้าง ด้านต่างๆของสังคมพื้นเมืองได้รับการวาง รากฐาน ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สงัคม และวัฒนธรรม อาทิ - การปกครอง แบบสมมติเทพ, มีศูนย์กลาง ของอำานาจและมีการ ขยายตัวของ หัวเมือง - สังคม การแบ่งชนชั้น มีการกำาหนด หน้าที่ของคนในสงัคม อย่างชัดเจน
  • 148.  เริ่มช่วง C17 – 18  ชาวตะวันตกเริ่มเข้ามาอิทธิพลโดยเฉพาะในดิน แดนคาบสมุทร เช่น มลายู, อินโดนีเซีย  คริสต์ศาสนา เริ่มเข้ามาแทนที่ศาสนาอิสลาม บริเวณเกาะชวา และมลายู  อังกฤษบนคาบสมุทรมลายูสนใจการค้ามากกว่า เผยแพร่ศาสนา ฉะนั้นอิทธิพลอิสลามที่มลายูจึง ได้รับผลกระทบน้อย  ตรงกันข้ามกับโปรตุเกสและฮอลันดา ที่เน้นการ เผยแพร่ศาสนาควบคู่กับการค้า
  • 149.  ช่วงกลาง C 19  ช่วงล่าอาณานิคมเต็มตัวของชาติตะวันตก  เริ่มเกิดขบวนการชาตินิยม อันเป็นผลมาจาก การกดขี่และการได้รับการศึกษาจากตะวันตก
  • 150.  ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2  ชาติตะวันตกสุญเสียอาณานิคมของตนเองใน ภูมิภาคนี้ให้แก่ญี่ปุ่น
  • 151.  ตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2  มีการให้เอกราชกับประเทศในภูมิภาคนี้โดย ประเทศเจ้าอาณานิคม
  • 152.  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เคยเป็นที่ตั้งของรัฐ ต่างๆ โดยมีวิธกีารก่อตั้งมีความเจริญรุ่งเรืองตาม แบบฉบับของตนเอง เช่น รัฐฟูนัน, เจนละ, ศรี วิชัย, พุกาม, พยู, มะทะรัม, ศรีวิชัย, มะละกา  รัฐดังกล่าวข้างต้น พัฒนาจนกระทั้งถึง C14 จึง เสื่อมลง และมีอาณาจักรใหม่เข้ามาแทนที่  ยกเว้น ฟิลิปปินส์ ที่ไม่พบหลักฐานพัฒนาการ ของรัฐโบราณเลย  ฟิลิปปินส์ ไม่เคยผ่านยุคคลาสสิก หรือยุคจารีต  เขตฟิลิปปินส์ จึงมีสภาพเป็นการรวมตัวของหมู่ บ้านเล็กๆ ที่เรียกว่า บาลังไกส์ (Barangays) เป็นหน่วยปกครองเล็กๆ มี ดาตู (Datu) เป็น
  • 153. ܀ รัฐต่างๆ มิได้กำาเนิดขึ้นพร้อมกันหรือมีการ พัฒนาการแบบเดียวกันทั่วทั้งภูมิภาค ܀ กระบวนการเกิดรัฐขึ้นอยู่กับปัจจัยภายใน / ภายนอก
  • 154. มีความเจริญขั้นพื้นฐานในระดับชุมชนเมืองที่ พร้อมจะปรับระดับสังคมของตนให้สูงขึ้นหรือเจริญ กม้าีทวำาหเนลท้าตตี่่องั้ไทปเี่หมาะสมอยู่ในเส้นทางคมนาคม ค้าขาย ใกล้ชายฝั่งทะเล สามารถเป็นแหล่งที่พักเรือ สินค้า เมืองท่า หรือชุมชนที่อยู่บริเวณลุ่มแม่นำ้าที่มี ทางออกติดต่อทะเลยภายนอกได้ ทำาให้สะดวกต่อ การติดต่อค้าขายกับชุมชนโพ้นทะเลที่มีความเจริญ และอารยธรรมสูงกว่าได้ มีการสั่งสมความรู้จากการที่ได้รับทราบความเจริญ ก้าวหน้าของชุมชนโพ้นทะเล โดยเฉพาะจากอินเดีย ซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมระดับสูง ที่มีแนวคิดแบบแผน ที่เป็นระบบ สามารถอธิบายได้ ไม่ว่าจะเป็นหลัก ศาสนา ระบบกษัตริย์ กฎหมาย ภาษาวรรณคดี ตลอดจนศิลปวิทยาการต่างๆ เท่าที่มีโอกาสได้รับรู้
  • 157. เบนเนธ บรอนสัน เสนอว่า เป็นเพราะความ ต้องการที่จะปรับสังคมบ้านเมืองของตนให้เจริญ ก้าวหน้าขึ้นอีกระดับหนึ่ง เนื่องจากบ้านเมืองขยาย ตัวจากการเพิ่มขึ้นของประชาการ หรือบ้านเมืองมี เศรษฐกิจการเกษตร – การค้าขยายตัวมากขึ้น จึง จำาเป็นต้องจัดระเบียบสังคมการเมืองเสียใหม่ด้วย การหยิบยืมแนวคิดวัฒนธรรมอินเดียที่สูงกว่าเข้า ไว้และเกิดพัฒนาการขึ้นเป็นรัฐในที่สุด
  • 158. พอล วิตลี่ เห็นว่า กระบวนการพัฒนาไปสู่ความ เป็นรัฐ เป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทสี่่วนต่างๆ ของสังคมมีความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนมากขึ้น ทงั้ ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวิถีชีวิต อันเนื่องมา จาก ความเติบโตและการขยายตัวทางเศรษฐกิจการ ค้า – การเกษตรและจำานวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น นำาไปสู่ความจำาเป็นทตี่้องใช้อำานาจเข้าไปจัดการ เช่น การที่ต้องใช้อำานาจรัฐเข้าไปจัดการระบบนำ้าให้มี ประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตใหม้ากขึ้น และเออื้ต่อ การให้อำานาจส่วนกลางเข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ ได้มากขึ้นในรูปของส่วน / บรรณาการ ทำาใหเ้กิด บูรณาการเชิงโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจและ
  • 159. โดยกระบวนการเปลี่ยนแปลงอาจเริ่มจาก ผนู้ำาพื้นเมือง (ซึ่งอยู่ในระดับบนของโครงสร้าง ของสังคม) ต้องการยกสถานภาพความเป็นผู้นำา พื้นเมืองของตนขึ้นเป็นราชา / กษัตริย์ ที่มาก ด้วยอำานาจ / บุญบารมี เพื่อให้เกิดความชอบ ธรรมและการยอมรับจากกลุ่มชนต่างๆ โดยการ เลียนแบบความยิ่งใหญ่และความศักดิ์สิทธิ์ของ ราชสำานักแบบอินเดียมาใช้ เพื่อความยิ่งใหญ่ใน อำานาจแห่งตนและใช้อำานาจในการจัดการบ้าน เมืองให้เกิดประสิทธิภาพ และเพื่อประโยชน์ทาง เศรษฐกิจในรูปของส่วย / บรรณาการ
  • 160. เคนเนธ ฮอล ได้สนับสนุนแนวคิดนี้ โดยยก ตัวอย่างกรณีการเกิดรัฐฟูนันว่า เกิดจากการรวมตัว ของชุมชนค้าขายแถบชายฝั่งทะเลกับชุมชนภายในที่ เป็นแหล่งเกษตรกรรม อาศัยการขยายตัวของการค้า กระตนุ้ใหเ้กิดการรวมตัวเป็นรัฐ โดยผนู้ำาพื้นเมืองได้ สร้างอำานาจรัฐขึ้น ยกสถานภาพตนเองเข้าสู่ระบบ กษัตริย์ เพื่อแสวงหาความชอบธรรมและการยอมรับ จากดินแดนภายใน การปรับเปลี่ยนเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจ – การเมืองนี้เอง ได้พัฒนาไปสู่กำาเนิดรัฐ โดยการหยิบ ยืมแนวคิดทางการเมืองแบบอินเดียมาจัดระบบรัฐของ ตน และนำาไปสู่พัฒนาการด้านอนื่ๆ ต่อไป
  • 161. รศ.ศรีศักร วัลลิโภคม เสนอว่า กระบวนการเกิด รัฐ อาจเพื่อการบูรณาการทางวัฒนธรรมและการเมือง เนื่องจากสภาพของท้องถิ่นในภูมิภาคที่มีความหลาก หลายของกลุ่มชน วัฒนธรรม ภาษา กระจายกันอยู่เป็น กลมุ่ๆ อย่างอิสระ แม้จะมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การค้าและสังคมระหว่างกันอยู่บ้าง แต่ก็ไม่อาจรวมกัน เป็นกลมุ่ชนใหญท่เี่ป็นเอกภาพ ฉะนั้น จึงต้องอาศัย วัฒนธรรมอินเดียเข้ามาเป็นบรรทัดฐานร่วมกันของ สังคม ปลูกฝงัความคิดความเชื่อ ความจงรักภักดี ประเพณีให้เป็นแบบอย่างเดียวกัน ซึ่งจะทำาได้ก็โดย การยกระดับผู้นำาท้องถิ่นของตนให้สูงขึ้นเป็นศูนย์รวม แห่งอำานาจและศูนย์กลางการบริหาร โดยสถาปนา ระบบกษัตริย์และพิธีกรรมราชสำานักขึ้นเป็นฐานรองรับ
  • 162. ๐ กำาเนิดรัฐ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สัมพันธ์ โดยตรงกับการหยิบยืมแนวคิด รูปแบบ วัฒนธรรม อินเดียที่สูงกว่าไว้ในฐานะเป็น อุดมการพื้นฐานที่ เพถื่อูกยนกรำาะมดาับใชค้วดา้วมยเสจารเิญหตกุป้าวัจหจนยัต้า่ขางอๆง บก้าันนเมือง เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นในการ พัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ เพื่อสร้างเอกภาพของกลุ่มชนภายใต้ บรรทัดฐานเดียวกันทางวัฒนธรรม – ความเชื่อ หรือเพื่อตอบสนองความต้องการในหลายๆ ด้านพร้อมกัน
  • 163. ๐ การรับวฒันธรรมอินเดียจงึถือว่า เป็นความ จำาเป็นของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ น่าจะเป็นการริเริ่มโดยชาวพื้นเมืองมากกว่า ๐ การรับวัฒนธรรมอินเดียอาจเกิดขึ้นโดยผู้นำาท้อง ถิ่นเชื้อเชิญพราหมณ์ นักปราชญ์ จากอินเดียเข้ามา เพื่อสถาปนาระบบกษัตริย์ใหแ้ก่ตน โดยการทำาพิธี บรมราชาภิเษกให้ รวมทั้งพิธีกรรมต่างๆ เพื่อรองรับ อำานาจและความชอบธรรมแก่ตน ทงั้ยังใหพ้ราหมณ์ เข้ามาเป็นทปี่รึกษา ราชการแผน่ดินตลอดจนรับ ราชการอยู่ในราชสำานัก จนหลอมรวมเป็นกลมุ่เดียว กับชนชั้นปกครองร่วมกับกษัตริย์ ขุนนาง ที่เป็น ศูนย์กลางอำานาจตามระบบอำานาจรัฐแบบใหม่ พัฒนา ไปสู่ความเป็นรัฐในที่สุด
  • 164. ܀ รัฐโบราณ หมายถึง ศูนย์รวมของชุมชนหนึ่งๆ ทมีี่ ศูนย์กลางอำานาจเพียงแหง่เดียว ครอบคลุม ปริมณฑลที่มีอาณาบริเวณพอสมควร และมี โครงสร้างรัฐทแี่ตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับรัฐชาติ (ไNมa่มtีขioอnบ เSขtตatอeำา)นา จ / เ ส ใ้นนแปบัจ่งจเขุบตันแ ดเพนรทาาะง ภูมิศาสตร์ที่ชัดเจนแน่นอน ตายตัว แต่มี -ไแมบ่มบีศแูนผยน์ก ล/า งกอาำารนจาัดจกทาชี่รรัดะเบจบนรแัฐนแ่นบอบนจตาารยีตตัว - ประชากรรัฐมเพีคียวงาแมหส่งำาเคดัญียวอย่างยิ่งและถูก ควบคุมโดยรัฐ
  • 165. มีองค์ประกอบที่สำาคัญ คือ 1. มีการจัดผังเมืองและระบบรัฐตาม แผนภูมิคติ เรื่องโลก - จักรวาล 2. มีการจัดองค์กรทางการปกครอง 3. มีองค์กรทางศาสนา 4. มีชนชั้นที่เด่นชัดทางสังคม 5. มีระบบเศรษฐกิจพื้นฐาน
  • 166. ๐ ให้ความสำาคัญแก่ “ราชธานี” ในฐานะเป็นแกน กลางของอำานาจรัฐ เทยีบเคียง “เขาพระสุเมรุ” ที่ ๐ ราชธานีถเปือ็นเปศ็นูนศยูน์กยล์กาลงจาักงอรำาวนาลาจ (Ring of Power) และเป็นเครื่องหมายแห่งรัฐ ๐ ราชธานีถือเป็นศูนย์กลางอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่ตงั้ ของเทวสถานที่ประทับของเทพเจ้าที่กษัตริย์ทรง นับถือ / เป็นทตี่งั้ของพระราชวังแหง่สมมติเทพ (ใน พิธีบรมราชาภิเษก กษัตริย์ จะต้องทำาพิธีเสด็จเลียบ ๐ มีการจัดลำาดับควพารมะสนำาคครัญด้วขยองเมืองลูกหลวง หวั เมือง เมืองบริวาร / ประเทศราช รายรอบราชธานีที่ เป็นศูนย์กลาง
  • 167.
  • 168. ๐ ราชธานีถือเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม เป็นต้น แบบของวัฒนธรรมที่เรียกว่า วัฒนธรรมหลวง ๐ รายรอบศูนย์กลางราชธานี จะมีเมืองลูกหลวง เมืองบริวาร เมืองประเทศราช เรียงรายตาม ลำาดับความสำาคัญและความสัมพันธ์ ที่มีต่อ ศูนย์กลางราชธานี
  • 169. ๐ มีสถาบันกษัตริย์ (Kingship) เป็นศูนย์กลางเช่น เขาพระสุเมรุ ในฐานะผู้มีอำานาจสูงสุด / เป็นเจา้ แผน่ดิน มีสถานภาพกึ่งเทพหรือสมมติเทพ แวดล้อม ด้วยพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชสำานัก ได้แก่ ขุนนาง ข้าราชการ ทคีั่ดเลือกมาจาก กำาเนิดใน ตระกูลทมีี่เชื้อสายหรืออยู่ใกล้ชิดแวดล้อมกษัตริย์ มากกว่าการพิจารณาคัดเลือกจากเหตุผลทาง คุณวุฒิ ความสามารถ (ยกเว้นรัฐเวียดนามทมีี่ระบบ ๐ บรรดาข้าราชการจะมีลำาดับชั้นตาม ตำาแหน่ง / บทบาคัท ด/ เลืหอน้าก ที่ / ควาข้ามสำาราคัชญ กาในรแบฐาบนจบนีริ) วารที่ แวดล้อมสถาบันกษัตริย์ที่เป็นศูนย์กลาง
  • 170. ๐ เป็นสื่อกลางประสานให้เกิดความคิดความเชื่อ ร่วมกันและ เป็นไปในแนวทางเดียวกันของ ๐ แม้ในบางรัฐ ผู้ปสกังคครมองกับประชาชนมิได้ นับถือศาสนาเดียวกัน เช่น เขมรสมัยพระนคร แต่ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดูก็ส่งเสริมสนับสนุนต่อ อำานาจของกษัตริย์เทวราชาจนเกิดการยอมรับใน มชีนชั้นที่เด่นชัด ซึ่งเกิดจหามกู่ปกราะรชแาบช่งนหน้าที่กันทำางาน มรีะบบเศรษฐกิจพนื้ฐาน ที่ขึ้นกับการเกษตรกรรม เพาะปลูกข้าว และการค้าขายกับชุมชนโพ้นทะเล / ชุมชนใกล้เคียง
  • 172. ๐ อำานาจรัฐมีอยู่เฉพาะบริเวณที่เป็น ศูนย์กลางราชธานีและอาณาบริเวณโดยรอบ ๐ กษัตริย์มีอเมำาือนงาหจลคว่องนเทข่า้านงจั้นำากัด เฉพาะ ราชธานีและอาณาบริเวณโดยรอบ ๐ สภาพการเมืองในระยะแรกของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้จึงประกอบไปด้วย ศูนย์กลางอำานาจหลากหลาย (Multiplicity of Centers) ในลักษณะนครรัฐ / แว่น แคว้น
  • 173. ๐ รัฐและอำานาจรัฐที่ขยายออกไปนอก บริเวณศูนย์กลาง ราชธานีไปยังดินแดน ชายขอบและ / หรืออาจขยายออกไป ครอบคลุมเหนือศูนย์กลางอำานาจอื่นที่เล็ก กว่า หรือที่อยู่ข้างเคียงได้ และผนวกรวมดิน แดนเหล่านั้นให้กลายสภาพเป็นหัวเมืองหรือ เมืองลูกหลวงของตน ๐ ขยายอำานาจออกไปยังบ้านเมือง / ศูนย์ อำานาจอื่นที่ไกลออกไปให้ตกอยู่ในฐานะ ประเทศราชที่ต้องยอมสวามิภักดิ์หรือส่ง บรรณาการให้ หรือยอมเป็นพันธมิตรด้วย
  • 174. ๐ ผนู้ำาต้องการเป็นใหญ่สงูสดุเพียงองค์เดียว ใน ฐานะจักรวรติน (กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่เหนือกษัตริย์ ทั้งหลาย) ทำาให้ ผู้นำา / กษัตริย์ ต้องขยาย อำานาจออกไปนอกเหนือดินแดนแห่งอำานาจของ ตน
  • 175. ๐ ต้องการขยายอำานาจออกไปให้กว้างไกลที่สุดจนมี ขอบเขตจรดท้องทะเล มหาสมุทร ซึ่งสามารถตอบ สนองความต้องการตามอุดมคติและความเป็นจริงได้ อย•่า ตงาลมงตอุัดว มคติ สอดคล้องกับคติโลก - จักรวาล ที่ ถือว่า ทะเล มหาสมุทร เป็นจุดสิ้นสุดของ •จ กัใรนวคาวลามเป็นจริง เป็นทยี่อมรับว่า ฝั่งทะเล มหาสมุทร มักเป็นทตี่งั้ของเมืองท่าค้าขาย เป็น แหล่งเศรษฐกิจที่สำาคัญและเป็นศูนย์รวมวิทยาการ ความรู้จากอินเดีย ซึ่งจะยังประโยชน์แก่ผไู้ด้ไว้ใน ครอบครอง อันหมายถึง อำานาจสูงสุด โภคทรัพย์ ค วดา้วมยเเจหรติญุนขี้ กอางบรข้านยาเมยือองำาในนาเจวรลัฐาจเดรียดวทกอั้นงทะเล มหาสมุทร ได้กลายเป็นประเพณีทถีู่กกล่าวไว้ใน จารึกของวีรกษัตริย์ทั้งหลายในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
  • 176. ๐ การขยายอำานาจเพื่อสร้างรัฐจักรวรรดิ์ที่ ยิ่งใหญ่กระทำาได้หลายวิธี อาทิ การใช้ สงครามขยายอำานาจ / ใช้ศาสนาเป็นเครื่อง มือเพื่อสร้างการยอมรับอย่าสันติ / สร้าง ความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับศูนย์อำานาจ อื่น / การแลกเปลี่ยนประโยชน์ / การให้ ความคุ้มครองเมื่อมีภัย
  • 177. ๐ ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิ์ที่สามารถหลอม รวม / ผนวกดินแดนต่างๆ ไว้ในอำานาจของตน มิได้ดำารงอยู่อย่างถาวรยั่งยืนตลอดยุคสมัยแห่ง ๐สถานภาพของรัฐรจัฐักจรักวรวรรดริเปดิ์็นเช่นไร O.W.Wolter กล่าวถึงรัฐจักรวรรดิ ว่า “มี ขอบเขต/ปริมณฑลอำานาจรัฐ ในลักษณะแกว่ง ไกว หรือมีสถานภาพยืดและหดได้ คล้ายหีบเพลง โบราณ ขึ้นอยู่กับอำานาจบารมี ของผู้นำาแต่ละรัฐ ว่ามีมากน้อยเพียงใดต่อหัวเมือง/ประเทศราช ที่ จะทำาให้เกิดการยอมรับนับถือ/ยอมสวามิภักดิ์/ส่ง บรรณาการให้และให้การสนับสนุนยามสงคราม”
  • 178. ๐ ผทูี้่มีความโดดเด่นเป็นพิเศษจนเป็นที่ยอมรับ / ยอมสวามิภักดิ์ / ยอมเป็นพันธมิตรด้วย ซึ่งจะต้อง แสดงพระองค์ให้เป็นทปี่ระจักษ์ในทางใดทางหนึ่ง หรือ•ห มลีคาวยาดม้าโนดพดรเด้อ่นมกเปัน็น เพชิเ่นศษในการรบ การสงคราม จนเป็นที่เกรงกลัว นกษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรม / ศรัทธา / อุปถัมภ์ศาสนาอย่างจริงจัเป็นกษัตริย์นักปราชญ์ / รอบรู้ / ทรงภูมิปัญญา จงึจะเป็นที่ยอมรับ / ยอมอยู่ใต้อำานาจจากบรรดา รัฐ๐ /อำาศนูนายจ์อบำาานรามจีนอี้เื่นองๆก่อให้เกิดเครือข่ายความจงรัก ภักดีและการเป็นพันธมิตร (Network of Royalty) จนกษัตริย์ผู้มากด้วยอำานาจบารมี ทรงมีพระราช อำานาจแผไ่พศาลในฐานะ “จักรวรรดิ” และ รัฐของ พระองค์ก็กลายเป็นรัฐจักรวรรดิทิ่ยิ่งใหญ่
  • 179. ในลักษณะเช่นนี้ O.W.Wolter เหน็ว่า รัฐ จักรวรรดิน่าจะมีสถานภาพใกล้เคียงกับมลฑล (Manเdพaรlaาะ) วข่าอ กงอาิรนดเดำาีรยงมอายกู่ขกอวง่ารัฐจักรวรรดิมิได้ เป็นสถานภาพทอี่ยู่คงทนถาวร แต่ขึ้นอยู่กับอำานาจ บารมีของกษัตริย์ที่ศูนย์กลางแห่งรัฐจักรวรรดิ์ที่มี ไปถึง อำาหรืนาอมีจเหบานืรอมีหันี้วอาเมือจง รว/ มเมืถึงอคงวาประมสัเทมศพัรานธ์ชส่นั้วน ๆ ตัว /การสร้างความสัมพันธ์เครือญาติระหว่างกัน / การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์จากการได้รับความ คุ้มครแอตงป่เมลื่ออผดนู้ภำาัยที่มากด้วยอำานาจบารมีสิ้นชีพลง เครือข่ายความสัมพันธ์ / จงรักภักดีก็อาจสิ้นสุดลง ผลทตี่ามมาก็คือ การหดตัวของขอบเขต อำานาจรัฐจักรวรรดิที่ครั้งหนึ่งเคยมีในชั่วชีวิตของ ผู้นำาที่เข้มแข็ง
  • 180. O.W.Wolter กล่าวว่า อำานาจรัฐอยู่ใน ลักษณะของการเป็นมณฑลมากกว่า เพราะ ขอบเขตของปริมณฑลแห่งอำานาจของกษัตริย์ จะมีอยู่เข้มข้นเฉพาะที่ศูนย์กลางราชธานี เท่านั้น ไกลออกไปจากนั้น อำานาจที่ศูนย์กลาง มีอยู่ค่อนข้างคลุมเครือไม่ชัดเจน
  • 181. Milton Osbon ก็มีแนวคิดที่สอดคล้องกัน ได้ เสนอตัวแบบ (Model) อำานาจรัฐจักรวรรดิไว้โดยใช้ วงกลมเป็นสัญลักษณ์แทนขวอ่าบ เขตและอำานาจรัฐเป็น เช่นวงกลมรวมศูนย์ขนาด ใหญ่แต่เฉพาะที่ วงกลมศูนย์กลางของวงกลม ใหญ่เท่านั้นที่กษัตริย์ทรงมี อำานาจอย่างแท้จริง ไกล ออกไปจากวงกลม ศูนย์กลางอำานาจของ กษัตริย์จะลดลงอย่างเป็น สัดส่วนกับระยะทางที่ห่าง ไกลออกไปคล้ายดังแสง เทียน
  • 182. “มีระบบโครงสร้างทอี่่อนแอและเปราะบาง” นั่นคือ แม้รัฐจักรวรรดิ์จะมีขอบเขต ปริมณฑลอำานาจทกี่ว้างใหญ่ แต่ก็ไม่มีเอกภาพ เพราะขอบเขตอำานาจทขี่ยายใหญนั่้นประกอบด้วย บ้านเมืองทเี่ป็นรัฐบรรณาการเล็กๆ ที่พร้อมจะเป็น อิสระ เมื่อผนู้ำาหรือกษัตริย์ทศีู่นย์กลางราชธานี อ่อนแอหรือด้อยอำานาจบารมีลง และเมื่อใดทรีั่ฐ บรรณาการมีกษัตริย์ที่เข้มแข็งก็จะพยายามปฏิเสธ สถานภาพที่ตนต้องตกเป็นบริวารและพยายามแยก ตนเป็นอิสระ สร้างเครือข่ายพันธมิตรของตนขึ้นมา เมื่อมีโอกาส และย่อมหมายถึง ความเสื่อมสลาย ของรัฐจักรวรรดิเดิม
  • 183. สภาพเช่นนี้ ทำาใหก้ารเมืองในอดีตของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยโบราณเต็มไปด้วย สงคราม / มีศูนย์อำานาจทงั้ใหญแ่ละเล็กอยู่ มากมาย / มีศูนย์กลางอำานาจที่เปลี่ยนแปลงไป มา โดยศูนย์อำานาจทเี่กิดขึ้นใหม่อาจขยาย ขอบเขตออกไปเหลื่อมลำ้า / ทบัซ้อนขอบเขต ศูนย์อำานาจเดิมก็ได้
  • 184. ܀ เป็นองค์ประกอบสำาคัญของรัฐที่กษัตริย์ต้องการ ควบคุมไว้ยิ่งกว่าดินแดน ܀ ประชากรเป็นแรงงานทงั้ในภาคเศรษฐกิจ การ ทำามาหากิน / การสงคราม /การก่อสร้างงาน ศ܀ิล ปประะ /ช สาถการปมัตีอิยสกระรใรนมกตา่ารงๆอ พยพโยกย้ายถิ่นทอี่ยู่ได้ เสมอ เพื่อคุณภาพชีวิตทดีี่กว่าหรือหนีภัยสงคราม
  • 185. ܀ แต่ละรัฐจึงหามาตรการ เพื่อควบคุมและเพิ่ม จำานวนประชากร ด้วยวิธีการต่างๆ อาทิ ๐ ชักชวน ใหเ้ข้ามาตงั้หลักแหล่งเป็นพลเมือง ๐ ควบคุม ออกมาตรการควบคุมภายใต้ระบบ การเกณฑ์แรงงาน / ระบบไพร่ ๐ กวาดต้อน - จากรัฐทแี่พ้สงคราม (เทครัว) ๐ กวาดจับ - ส่งกองทัพไปไปกวาดจับชาวป่า ชาวดงมาเป็นแรงงาน หรือทาสรับใช้
  • 186. ܀ เป็นข้าของแผ่นดิน ܀ ต้องยอมถูกเกณฑ์ แ܀ร ตงง้อางนเป็นทหารยาม ส܀ง คต้รอางมเสียภาษี
  • 187. 1. เขตวัฒนธรรมอินเดีย 2. เขตวัฒนธรรมจีน 3. เขตวัฒนธรรมฟิลิปปินส์
  • 188.  มี 2 รูปแบบ 1. รัฐชลประทานภายในแผ่นดิน 2. รัฐชายฝั่งทะเล
  • 189.  อยู่ในเขตแผ่นดินใหญ่ อาทิ นครวัด, มะทะรัม, พุกาม, สโุขทัย, อยุธยา เป็นต้น  การดำารงอยู่ของรัฐขึ้นอยู่กับการทำาการเกษตร และการทำาชลประทาน  ประชากรไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน, ตามทฤษฎี เป็นของกษัตริย์  ผลผลิตที่ได้จากการใช้ประโยชน์จากที่ดิน ต้อง ส่งให้รัฐในรูปแบบบรรณาการ  เป็นสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น, ความเหลี่ยมลำ้า ทางชนชนั้สงู  การเมืองการปกครอง ซับซ้อน, ปกครองโดย กษัตริย์