SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
วิวัฒนาการของการศึกษาไทย  วิสัยทัศน์ และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
ตอนที่  1 ความเป็นมาของการศึกษาไทยโดยสังเขป ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ  พ . ศ . 1800-2411 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมัยกรุงศรีอยุธยา   (  ยุคทองของวรรณคดี  พระบรมไตรโลกนาถ - พระนารายณ์ พ . ศ .1893  –  2310) สภาวะประเทศ   –   มีความเจริญรุ่งเรือง สลับกับสงคราม สภาวะผู้นำ   –   ให้การสนับสนุน ด้านการศาสนาและด้านวรรณคดี การศึกษา สถานที่สอน   –   วัด ราชวัง สำนักราชบัณฑิต โรงเรียนสอนศาสนามิชันนารี ผู้สอน   –   พระ พวกมิชชันนารี ผู้เรียน   –   ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน   –   ตามแต่สมัครใจเรียน สื่อการสอนหนังสือจินดามณี  สอนแบบอ่านเขียน ท่องจำ การสอนเชิงปฏิบัติ เช่น การหล่อปืนใหญ่ การใช้ปืนไฟ การสร้างป้อมค่าย การทำขนมฝรั่ง วิชาที่สอน   –   ธรรมะ การแต่งโคลงกลอน คริสต์ศาสนา  การเรือน ภาษาไทย บาลี เขมร ฝรั่งเศส หลักฐานทางการศึกษา   –   พระไตรปิฎก มหาชาติคำหลวง  กำสรวลศรีปราชญ์  อนิรุทธ์คำฉันท์ เป็นต้น
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น   (  รัชกาลที่  1-4  พ . ศ . 2325-2411) สภาวะประเทศ   –   ยุคเริ่มฟื้นฟู สภาวะผู้นำ   –   ฟื้นฟูด้านการศาสนา วรรณคดี ศิลปวัฒนธรรม และการศึกษา การศึกษา สถานที่สอน   –   วัด ราชสำนัก สำนักราชบัณฑิต โรงเรียนชาย ผู้สอน   –   พระ ครูต่างประเทศ ผู้เรียน   –   ศิษย์วัด ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน   –   เรียนตามความสมัครใจ ยังไม่มีการแบ่งชั้นเรียนแน่นอนนอกจากแบ่งเป็นชั้น  1  เรียน ก ข นโม ประถม ก กา ชั้น  2  เรียน อ่าน แบบเรียนจินดามณี  ชั้น  3  เรียนเลขเบื้องต้น เริ่มใช้ กระดานชนวน ดินสอหิน ดินสอพอง ไม้บรรทัด ที่รองหนังสือ วิชาที่สอน   –   การอ่านหนังสือ เลข การกวี   หลักฐานทางการศึกษา   –   ศิลาจารึกสรรพวิทยาการต่างที่วัดพระเชตุพน ให้บุคคลทั่วไปได้เรียนด้วยตนเอง วรรณคดีที่สำคัญ   -   สามก๊ก ราชาธิราช สังข์ทอง พระอภัยมณี  อิเหนา  พระมะเหลเถไถ ฯลฯ
สรุปการศึกษาของไทยสมัยโบราณ 1 .  ยึดหลักปรัชญาจิตนิยม ที่ เน้นพัฒนาการด้านจิตใจ เน้นการเข้าใจชีวิตส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรม ศิลปะ ผลิตคนให้เป็นนักอักษรศาสตร์ และศิลปศาสตร์ เป็นผู้รอบรู้ 2.  สภาวะประเทศ เจริญรุ่งเรืองสลับกับช่วงขยายอาณานิคมมีการทำศึกสงคราม   3.  วัดและรัฐเป็นศูนย์กลางประชาคม เป็นสถานที่สอน และประกอบพิธีทางศาสนา 4.  ผู้นำของประเทศเน้นการทำนุบำรุงด้านการศาสนา และวรรณคดี มากกว่าด้านการศึกษา 5.  การจัดการเรียนการสอน เป็นไปด้วยความสมัครใจไม่มีการบังคับ ไม่มีค่าจ้างสำหรับผู้สอน ไม่มีการแบ่งชั้นเรียนที่ชัดเจน สอนแบบอ่าน ท่องจำ เล่าปากต่อปาก  มีเขียนบาง สื่อการสอนมี แบบเรียนจินดามณีเป็นหลัก วิชาที่สอน เน้นธรรมะ ศาสตร์ด้านอาวุธ การแต่งโคลงกลอน และการอ่านหนังสือ วิชาการปฏิบัติ เช่น วิชาช่างต่าง ๆ  การฝึกอาวุธ การหล่อปืนใหญ่ การสร้างป้อมปราการ เป็นต้น 6.  การศึกษาของสตรีไม่ได้รับการสนับสนุน นอกจากเรียนการเรือนที่บ้าน หรือในราชสำนัก
2.  การศึกษาไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา  (  พ . ศ . 2412-2474)   สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย  (  รัชกาลที่  5-7 ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมัยรัชกาลที่  6   ( พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ) สภาวะประเทศ   –  ยุคปฎิรูป สภาวะผู้นำ   –  เน้นพัฒนาด้านการศึกษา การศึกษา ปรับปรุงพัฒนาแผนการศึกษา   –  ประกาศใช้โครงการศึกษาเน้นสายวิชาชีพ  พ . ร . บ . ประถมศึกษา   ภาคบังคับ  1  กย .2464  พ . ร . บ .  โรงเรียนราษฎร์  2461  หน่วยงานด้านการศึกษาระดับสูง   –   จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยจัดตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  การจัดการเรียนการสอนและวิชาที่สอน  –  เช่นเดียวกับสมัยรัชกาลที่  5  แต่เพิ่มวิชาการช่างมากขึ้น
สมัยรัชกาลที่  7  (  พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  ) สภาวะประเทศ   –  รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกหลังสงครามโลกครั้งที่  1 สภาวะผู้นำ   –  แก้วิกฤตภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ลดงบประมาณในการพัฒนาทุกด้าน  การศึกษา ปรับปรุงพัฒนาแผนการศึกษา   –  แบ่งหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายออกเป็น  แผนกกลาง แผนกภาษา และแผนกวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน   –  ไม่มีการพัฒนาเท่าที่ควร ต้องยุบโรงเรียนจำนวนมากเพื่อตัดปัญหาด้านงบประมาณ
สรุปการศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา 1.  เป็นการวางรากฐานของการจัดการศึกษาที่ครบถ้วน เริ่มตั้งแต่การสร้างโรงเรียน การประกาศใช้โครงการศึกษาแบ่งเป็นระดับประถม มัธยม และอาชีวศึกษา การสร้างหลักสูตรและแบบเรียน  การประเมินผล การนิเทศโรงเรียน 2.  มีการบังคับการรู้หนังสือ โดยประกาศใช้ พ . ร . บ . ประถมศึกษาภาคบังคับ ปี  2464  เพื่อให้เด็กอายุถึงเกณฑ์  7  ปีบริบูรณ์ต้องเข้าโรงเรียน ถือเป็นการพัฒนาบุคคลและสร้างโอกาสให้คนได้เรียนรู้ 3.  สร้างความเท่าเทียมกันในการศึกษาของหญิงและชาย โดยการจัดตั้งโรงเรียนสตรีขึ้น 4.  เป็นจุดเริ่มต้นของการขยายการศึกษาสู่มวลชนเพื่อความเท่าเทียมกันในด้านการศึกษา
5.  ด้านการจัดการเรียนการสอนมีหลากหลายวิชามากขึ้น แบ่งเป็นระดับชั้นต่าง เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของตนเอง แม้ว่าบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ยังเป็นแบบครูเป็นศูนย์ ใช้วิธีการบรรยายให้จดตามคำบอก เน้นเนื้อหาวิชามากกว่าการปฏิบัติ   6.  ขยายโอกาสในระดับอุดมศึกษา โดยการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคลากรด้านการศึกษา   7.  มีการปลูกฝังค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระโดยการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาซึ่งถือเป็นก้าวแห่งการพัฒนาในการเปลี่ยนแปลงค่านิยมของอาชีพการรับราชการ แม้ว่าจะไม่ได้ผลเท่าที่ควรก็ตาม 8 .  การประกาศใช้ พ . ร . บ . โรงเรียนราษฎร์ซึ่งส่วนมากเป็นโรงเรียนคริสต์เพื่อควบคุมโรงเรียนเอกชนเหล่านี้มิให้อบรมแนวคิดที่รัฐไม่ต้องการให้เกิดแก่เยาวชน แต่ควบคุมให้สอนการอ่าน เขียน พูด ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งปลูกฝังค่านิยมความรักในความเป็นไทย ซึ่งเป็นผลดีอย่างมหาศาล ต่อประเทศไทย เพราะไม่เกิดปัญหาด้านการถูกกลืนชาติ
3 . การศึกษาไทยสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง (  พ . ศ .  2475-2502   ) สภาวะประเทศ   –  เปลี่ยนแปลงจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบอบ ประชาธิปไตย และผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำสมัยสงครามโลก ครั้งที่  2 สภาวะผู้นำ   –  คณะราษฎร์พัฒนาระบบการศึกษาเร่งด่วน  การจัดระบบการศึกษา ประกาศแผนการศึกษาชาติ  ประถมเป็น  6  ชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นและ ปลาย สายอาชีวศึกษาประกาศใช้พ . ร . บ .  ประถมศึกษา พ . ศ . 2478 เพื่อ ขยายโอกาส จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นหลายแห่ง   จัดตั้งศูนย์อบรมการศึกษา ผู้ใหญ่ กระทรวงศึกษาธิการร่วมมือกับองค์การยูเนสโกเพื่อปรับปรุง การศึกษาไทย  มีโครงการฝึกหัดครูชนบทและจัดตั้งกรมสามัญศึกษา
ปัญหา 1 . การขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพทำให้อัตราส่วนระหว่างครูและนักเรียนไม่ได้มาตราฐาน มีผลทำให้คุณภาพผู้เรียนและด้านการเรียนการสอนลดลงอย่างมาก   2 . การสอนเป็นแบบลองผิดลองถูกเนื่องจากครูผู้สอนไม่มีประสบการณ์เพราะครูผู้สอนจบแค่ระดับมัธยมต้นและต้องออกไปสอนโรงเรียนประชาบาลทันทีโดยมิได้ผ่านการฝึกหัดครู ดังนั้นรัฐจึงได้ตั้งกรมฝึกหัดครูขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพของครูให้สูงขึ้น
1. การศึกษาของไทยสมัยพัฒนาการศึกษา  พ . ศ . 2503 - ปัจจุบัน สภาวะประเทศ   –  ยุคก้าวหน้าแห่งการสื่อสารสารสนเทศและเทคโนโลยี สภาวะผู้นำ   –  พัฒนาแผนการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การพัฒนาด้านการศึกษา 1 .   ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2503  เน้นจริยศึกษา พลศึกษา พุทธิศึกษา และหัตถศึกษา   2 .   ประกาศใช้หลักสูตรประถมศึกษา และ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น มีการประกาศใช้แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ตั้งแต่ฉบับที่  1  –  8   3 .   ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2535  เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กอย่างน้อย  1 ปี ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา
4 .   ส่งเสริมการศึกษาของบุคคลากรด้านศาสนา   5 .   เน้นการจัดเครือข่ายการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร  สารสนเทศ และสื่อมวลชนทุกประเภท ในการให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน   6 .   ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542  จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเน้นหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ทุกระดับช่วงชั้นให้มีคุณภาพ มีความรู้ และดำรงตนอย่างมีความสุขในสังคม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตอนที่  2 แผนการพัฒนาการศึกษาไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .  2503   ประกอบด้วยแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ  1 – 3 มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมและบุคคลเป็นหลัก เพื่อมุ่งพัฒนาคนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .  2520   ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ  4-6 มีการปฏิรูปการศึกษาโดยการจัดการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของพลเมือง ให้สามารถดำเนินชีวิตและทำประโยชน์แก่สังคม และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .  2535 ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ  7-8 เน้นพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพชีวิต สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยมีการพัฒนาบุคคล  4   ด้านคือ ด้านปัญญา ด้านจิตใจ ด้านร่างกายและด้านสังคม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .  2542   มีนโยบายปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตอนที่  3 วิสัยทัศน์ ,[object Object],[object Object]
ลักษณะสังคมไทย จาก สังคมเกษตร สู่ สังคมอุตสาหกรรม   และกำลังจะวิวัฒนาการไปสู่ สังคมสารนิเทศ   ซึ่งระดับการพัฒนาที่แตกต่าง เป็นปัญหาต่อการจัดการศึกษา
วิสัยทัศน์ของสังคมไทย ในอนาคตในภาพรวม ระบบการศึกษาและการจัดระบบการเรียนรู้ในสังคม มีความสำคัญในการปรับค่านิยมวัฒนธรรม  แนวคิดและอุดมการณ์ของชาวไทย ให้สามารถผสมผสานกลมกลืนได้ท่ามกลาง ความหลากหลายของแนวคิด ให้มีความเป็นเอกภาพท่ามกลางความแตกต่างและความขัดแย้ง
สังคมไทยในอนาคต น่าจะเป็นสังคมที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืน  มีความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาทางจิตใจ  เป็นสังคมที่ตระหนักในคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม คุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ  และสิ่งแวดล้อมสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตอนที่  4 การปฏิรูปการศึกษาไทย ความจำเป็นของการปฏิรูปการศึกษา 1 .   ความเจริญในด้านเทคโนโลยี 2 .   ความเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 3 .   หลักสูตร 4 .   การกระจายอำนาจ
แนวคิดในการปฏิรูปการศึกษา 1 .   การยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลาง 2 .   โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการผลิต 3 .   การมีส่วนร่วมและร่วมคิดร่วมทำ 4 .   การกระจายอำนาจ 5 .   ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผลที่เกิดขึ้นหลังการปฏิรูปการศึกษา 1. วัฒนธรรมการทำงาน 2. ระบบการศึกษา 3. หลักสูตร 4. การเรียนรู้

Contenu connexe

Tendances

พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1school
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์Kittayaporn Changpan
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 

Tendances (20)

พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 

Similaire à วิวัฒนาการการศึกษาไทย

Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculamZTu Zii ICe
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษาสรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษาPasit Suwanichkul
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1Esarnee
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 

Similaire à วิวัฒนาการการศึกษาไทย (20)

Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculam
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
History
HistoryHistory
History
 
i
ii
i
 
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษาสรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
สรุปเข้มฯ#7 สังคมศึกษา
 
Sk7 so
Sk7 soSk7 so
Sk7 so
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่
 
นโยบาย 4ใหม่
 นโยบาย 4ใหม่ นโยบาย 4ใหม่
นโยบาย 4ใหม่
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
26 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+18826 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+188
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

วิวัฒนาการการศึกษาไทย

  • 1. วิวัฒนาการของการศึกษาไทย วิสัยทัศน์ และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
  • 2.
  • 3.
  • 4. สมัยกรุงศรีอยุธยา ( ยุคทองของวรรณคดี พระบรมไตรโลกนาถ - พระนารายณ์ พ . ศ .1893 – 2310) สภาวะประเทศ – มีความเจริญรุ่งเรือง สลับกับสงคราม สภาวะผู้นำ – ให้การสนับสนุน ด้านการศาสนาและด้านวรรณคดี การศึกษา สถานที่สอน – วัด ราชวัง สำนักราชบัณฑิต โรงเรียนสอนศาสนามิชันนารี ผู้สอน – พระ พวกมิชชันนารี ผู้เรียน – ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน – ตามแต่สมัครใจเรียน สื่อการสอนหนังสือจินดามณี สอนแบบอ่านเขียน ท่องจำ การสอนเชิงปฏิบัติ เช่น การหล่อปืนใหญ่ การใช้ปืนไฟ การสร้างป้อมค่าย การทำขนมฝรั่ง วิชาที่สอน – ธรรมะ การแต่งโคลงกลอน คริสต์ศาสนา การเรือน ภาษาไทย บาลี เขมร ฝรั่งเศส หลักฐานทางการศึกษา – พระไตรปิฎก มหาชาติคำหลวง กำสรวลศรีปราชญ์ อนิรุทธ์คำฉันท์ เป็นต้น
  • 5.
  • 6. สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ( รัชกาลที่ 1-4 พ . ศ . 2325-2411) สภาวะประเทศ – ยุคเริ่มฟื้นฟู สภาวะผู้นำ – ฟื้นฟูด้านการศาสนา วรรณคดี ศิลปวัฒนธรรม และการศึกษา การศึกษา สถานที่สอน – วัด ราชสำนัก สำนักราชบัณฑิต โรงเรียนชาย ผู้สอน – พระ ครูต่างประเทศ ผู้เรียน – ศิษย์วัด ประชาชนทั่วไป บุตรหลานขุนนาง ข้าราชการ การจัดการเรียนการสอน – เรียนตามความสมัครใจ ยังไม่มีการแบ่งชั้นเรียนแน่นอนนอกจากแบ่งเป็นชั้น 1 เรียน ก ข นโม ประถม ก กา ชั้น 2 เรียน อ่าน แบบเรียนจินดามณี ชั้น 3 เรียนเลขเบื้องต้น เริ่มใช้ กระดานชนวน ดินสอหิน ดินสอพอง ไม้บรรทัด ที่รองหนังสือ วิชาที่สอน – การอ่านหนังสือ เลข การกวี หลักฐานทางการศึกษา – ศิลาจารึกสรรพวิทยาการต่างที่วัดพระเชตุพน ให้บุคคลทั่วไปได้เรียนด้วยตนเอง วรรณคดีที่สำคัญ - สามก๊ก ราชาธิราช สังข์ทอง พระอภัยมณี อิเหนา พระมะเหลเถไถ ฯลฯ
  • 7. สรุปการศึกษาของไทยสมัยโบราณ 1 . ยึดหลักปรัชญาจิตนิยม ที่ เน้นพัฒนาการด้านจิตใจ เน้นการเข้าใจชีวิตส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรม ศิลปะ ผลิตคนให้เป็นนักอักษรศาสตร์ และศิลปศาสตร์ เป็นผู้รอบรู้ 2. สภาวะประเทศ เจริญรุ่งเรืองสลับกับช่วงขยายอาณานิคมมีการทำศึกสงคราม 3. วัดและรัฐเป็นศูนย์กลางประชาคม เป็นสถานที่สอน และประกอบพิธีทางศาสนา 4. ผู้นำของประเทศเน้นการทำนุบำรุงด้านการศาสนา และวรรณคดี มากกว่าด้านการศึกษา 5. การจัดการเรียนการสอน เป็นไปด้วยความสมัครใจไม่มีการบังคับ ไม่มีค่าจ้างสำหรับผู้สอน ไม่มีการแบ่งชั้นเรียนที่ชัดเจน สอนแบบอ่าน ท่องจำ เล่าปากต่อปาก มีเขียนบาง สื่อการสอนมี แบบเรียนจินดามณีเป็นหลัก วิชาที่สอน เน้นธรรมะ ศาสตร์ด้านอาวุธ การแต่งโคลงกลอน และการอ่านหนังสือ วิชาการปฏิบัติ เช่น วิชาช่างต่าง ๆ การฝึกอาวุธ การหล่อปืนใหญ่ การสร้างป้อมปราการ เป็นต้น 6. การศึกษาของสตรีไม่ได้รับการสนับสนุน นอกจากเรียนการเรือนที่บ้าน หรือในราชสำนัก
  • 8.
  • 9. สมัยรัชกาลที่ 6 ( พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ) สภาวะประเทศ – ยุคปฎิรูป สภาวะผู้นำ – เน้นพัฒนาด้านการศึกษา การศึกษา ปรับปรุงพัฒนาแผนการศึกษา – ประกาศใช้โครงการศึกษาเน้นสายวิชาชีพ พ . ร . บ . ประถมศึกษา ภาคบังคับ 1 กย .2464 พ . ร . บ . โรงเรียนราษฎร์ 2461 หน่วยงานด้านการศึกษาระดับสูง – จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยจัดตั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอนและวิชาที่สอน – เช่นเดียวกับสมัยรัชกาลที่ 5 แต่เพิ่มวิชาการช่างมากขึ้น
  • 10. สมัยรัชกาลที่ 7 ( พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ) สภาวะประเทศ – รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สภาวะผู้นำ – แก้วิกฤตภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ลดงบประมาณในการพัฒนาทุกด้าน การศึกษา ปรับปรุงพัฒนาแผนการศึกษา – แบ่งหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายออกเป็น แผนกกลาง แผนกภาษา และแผนกวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน – ไม่มีการพัฒนาเท่าที่ควร ต้องยุบโรงเรียนจำนวนมากเพื่อตัดปัญหาด้านงบประมาณ
  • 11. สรุปการศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา 1. เป็นการวางรากฐานของการจัดการศึกษาที่ครบถ้วน เริ่มตั้งแต่การสร้างโรงเรียน การประกาศใช้โครงการศึกษาแบ่งเป็นระดับประถม มัธยม และอาชีวศึกษา การสร้างหลักสูตรและแบบเรียน การประเมินผล การนิเทศโรงเรียน 2. มีการบังคับการรู้หนังสือ โดยประกาศใช้ พ . ร . บ . ประถมศึกษาภาคบังคับ ปี 2464 เพื่อให้เด็กอายุถึงเกณฑ์ 7 ปีบริบูรณ์ต้องเข้าโรงเรียน ถือเป็นการพัฒนาบุคคลและสร้างโอกาสให้คนได้เรียนรู้ 3. สร้างความเท่าเทียมกันในการศึกษาของหญิงและชาย โดยการจัดตั้งโรงเรียนสตรีขึ้น 4. เป็นจุดเริ่มต้นของการขยายการศึกษาสู่มวลชนเพื่อความเท่าเทียมกันในด้านการศึกษา
  • 12. 5. ด้านการจัดการเรียนการสอนมีหลากหลายวิชามากขึ้น แบ่งเป็นระดับชั้นต่าง เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของตนเอง แม้ว่าบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ยังเป็นแบบครูเป็นศูนย์ ใช้วิธีการบรรยายให้จดตามคำบอก เน้นเนื้อหาวิชามากกว่าการปฏิบัติ 6. ขยายโอกาสในระดับอุดมศึกษา โดยการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคลากรด้านการศึกษา 7. มีการปลูกฝังค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระโดยการจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาซึ่งถือเป็นก้าวแห่งการพัฒนาในการเปลี่ยนแปลงค่านิยมของอาชีพการรับราชการ แม้ว่าจะไม่ได้ผลเท่าที่ควรก็ตาม 8 . การประกาศใช้ พ . ร . บ . โรงเรียนราษฎร์ซึ่งส่วนมากเป็นโรงเรียนคริสต์เพื่อควบคุมโรงเรียนเอกชนเหล่านี้มิให้อบรมแนวคิดที่รัฐไม่ต้องการให้เกิดแก่เยาวชน แต่ควบคุมให้สอนการอ่าน เขียน พูด ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งปลูกฝังค่านิยมความรักในความเป็นไทย ซึ่งเป็นผลดีอย่างมหาศาล ต่อประเทศไทย เพราะไม่เกิดปัญหาด้านการถูกกลืนชาติ
  • 13. 3 . การศึกษาไทยสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง ( พ . ศ . 2475-2502 ) สภาวะประเทศ – เปลี่ยนแปลงจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบอบ ประชาธิปไตย และผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 สภาวะผู้นำ – คณะราษฎร์พัฒนาระบบการศึกษาเร่งด่วน การจัดระบบการศึกษา ประกาศแผนการศึกษาชาติ ประถมเป็น 6 ชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นและ ปลาย สายอาชีวศึกษาประกาศใช้พ . ร . บ . ประถมศึกษา พ . ศ . 2478 เพื่อ ขยายโอกาส จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นหลายแห่ง จัดตั้งศูนย์อบรมการศึกษา ผู้ใหญ่ กระทรวงศึกษาธิการร่วมมือกับองค์การยูเนสโกเพื่อปรับปรุง การศึกษาไทย มีโครงการฝึกหัดครูชนบทและจัดตั้งกรมสามัญศึกษา
  • 14. ปัญหา 1 . การขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพทำให้อัตราส่วนระหว่างครูและนักเรียนไม่ได้มาตราฐาน มีผลทำให้คุณภาพผู้เรียนและด้านการเรียนการสอนลดลงอย่างมาก 2 . การสอนเป็นแบบลองผิดลองถูกเนื่องจากครูผู้สอนไม่มีประสบการณ์เพราะครูผู้สอนจบแค่ระดับมัธยมต้นและต้องออกไปสอนโรงเรียนประชาบาลทันทีโดยมิได้ผ่านการฝึกหัดครู ดังนั้นรัฐจึงได้ตั้งกรมฝึกหัดครูขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพของครูให้สูงขึ้น
  • 15. 1. การศึกษาของไทยสมัยพัฒนาการศึกษา พ . ศ . 2503 - ปัจจุบัน สภาวะประเทศ – ยุคก้าวหน้าแห่งการสื่อสารสารสนเทศและเทคโนโลยี สภาวะผู้นำ – พัฒนาแผนการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การพัฒนาด้านการศึกษา 1 . ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2503 เน้นจริยศึกษา พลศึกษา พุทธิศึกษา และหัตถศึกษา 2 . ประกาศใช้หลักสูตรประถมศึกษา และ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น มีการประกาศใช้แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ตั้งแต่ฉบับที่ 1 – 8 3 . ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2535 เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กอย่างน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา
  • 16. 4 . ส่งเสริมการศึกษาของบุคคลากรด้านศาสนา 5 . เน้นการจัดเครือข่ายการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร สารสนเทศ และสื่อมวลชนทุกประเภท ในการให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน 6 . ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ .2542 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเน้นหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน ทุกระดับช่วงชั้นให้มีคุณภาพ มีความรู้ และดำรงตนอย่างมีความสุขในสังคม
  • 17.
  • 18.
  • 19. ตอนที่ 2 แผนการพัฒนาการศึกษาไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2503 ประกอบด้วยแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 1 – 3 มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมและบุคคลเป็นหลัก เพื่อมุ่งพัฒนาคนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
  • 20. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2520 ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 4-6 มีการปฏิรูปการศึกษาโดยการจัดการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของพลเมือง ให้สามารถดำเนินชีวิตและทำประโยชน์แก่สังคม และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
  • 21. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2535 ประกอบด้วยแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ 7-8 เน้นพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพชีวิต สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยมีการพัฒนาบุคคล 4 ด้านคือ ด้านปัญญา ด้านจิตใจ ด้านร่างกายและด้านสังคม
  • 22. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542 มีนโยบายปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 23.
  • 24. ลักษณะสังคมไทย จาก สังคมเกษตร สู่ สังคมอุตสาหกรรม และกำลังจะวิวัฒนาการไปสู่ สังคมสารนิเทศ ซึ่งระดับการพัฒนาที่แตกต่าง เป็นปัญหาต่อการจัดการศึกษา
  • 25. วิสัยทัศน์ของสังคมไทย ในอนาคตในภาพรวม ระบบการศึกษาและการจัดระบบการเรียนรู้ในสังคม มีความสำคัญในการปรับค่านิยมวัฒนธรรม แนวคิดและอุดมการณ์ของชาวไทย ให้สามารถผสมผสานกลมกลืนได้ท่ามกลาง ความหลากหลายของแนวคิด ให้มีความเป็นเอกภาพท่ามกลางความแตกต่างและความขัดแย้ง
  • 26. สังคมไทยในอนาคต น่าจะเป็นสังคมที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาทางจิตใจ เป็นสังคมที่ตระหนักในคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม คุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
  • 27.
  • 28. ตอนที่ 4 การปฏิรูปการศึกษาไทย ความจำเป็นของการปฏิรูปการศึกษา 1 . ความเจริญในด้านเทคโนโลยี 2 . ความเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 3 . หลักสูตร 4 . การกระจายอำนาจ
  • 29. แนวคิดในการปฏิรูปการศึกษา 1 . การยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลาง 2 . โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการผลิต 3 . การมีส่วนร่วมและร่วมคิดร่วมทำ 4 . การกระจายอำนาจ 5 . ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
  • 30.
  • 31. ผลที่เกิดขึ้นหลังการปฏิรูปการศึกษา 1. วัฒนธรรมการทำงาน 2. ระบบการศึกษา 3. หลักสูตร 4. การเรียนรู้