SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  82
Télécharger pour lire hors ligne
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นสงครามครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด ใน
ยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันออก
และมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุม
ทุกทวีปเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1939 -1945)
คู่สงคราม แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย
1. ฝ่ายอักษะ (Axis Powers) เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น
2. ฝ่ายสัมพันธมิตรประกอบไปด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส
สหภาพโซเวียต จีน และ สหรัฐอเมริกา
ความสูญเสีย
เกิดความสูญเสียครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก
ฝ่ายสัมพันธมิตร ทหารเสียชีวิต 17,000,000 นาย พลเรือน
เสียชีวิต 33,000,000 คน เสียชีวิตทั้งหมด 50,000,000 คน
ฝ่ายอักษะ (Axis Powers) ทหารเสียชีวิต 8,000,000 นาย
พลเรือนเสียชีวิต4,000,000คน เสียชีวิตทั้งหมด12,000,000 คน
สาเหตุของสงคราม
1.ความไม่ ยุตธรรมของสนธิสัญญาแวร์ ซายส์
ิ
เงื่อนไขของสนธิสัญญาแวร์ ซายส์
• เยอรมนีต้องสูญเสียดินแดนของตนคือ อัลซาสลอเรนให้ แก่ ฝรั่ งเศส ต้ องยอม
ยกดินแดนภาคตะวันออกให้ โปแลนด์ ไปหลายแห่ ง
• ต้ องยอมให้ สันนิบาตชาติเข้ าดูแลแคว้ นซาร์ เป็ นเวลา 10 ปี
• เกิดฉนวนโปแลนด์ POLISH CORRIDOR ผ่ านดินแดนภาคตะวันออก
ของเยอรมนีเพื่อให้ โปแลนด์ มีทางออกไปสู่ทะเลบอลติกที่เมืองดานซิก
• ต้ องสูญเสียอาณานิคมทังหมดของตนให้ แก่ องค์ การสันนิบาตชาติดูแล
้
• ต้ องยอมจํากัดอาวุธ และทหารประจําการลงอย่ างมาก
• ต้ องชดใช้ ค่าเสียหายเป็ นจํานวนมหาศาลให้ แก่ ประเทศที่ชนะสงคราม
2. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบ
ประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ
3. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
4. ลัทธินิยมทางทหาร
5. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษ
6. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ
เนื่องจากไม่มีกองทัพขององค์การ ทาให้ขาดอานาจในการปฏิบัติการ
และอเมริกาไม่ได้เป็นสมาชิก ความอ่อนแอของ องค์การสันนิบาตชาติ ที่ไม่
สามารถบังคับประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ปฏิบัติตามสัตยาบันได้
7. บทบาทของสหรัฐอเมริกา
8. สภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก
• เกิดฉนวนโปแลนด์ POLISH CORRIDOR ผ่านดินแดนภาค
ตะวันออกของเยอรมนีเพื่อให้ โปแลนด์มีทางออกไปสูทะเลบอลติกที่
่
เมืองดานซิก
ภาพขณะทีคณะผูแทนจากนานาประเทศ
่
้
กาลังลงนามสนธิสญญาแวร์ซาย ในห้องแห่งกระจก
ั
ชาวเยอรมันมารวมตัวกันหน้ ารัฐสภาไรซ์ ตาร์ ก
เพือต่ อต้ านการลงนามในสนธิสัญญาแวร์ ซาย
่
ประเทศเยอรมนี
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
ดินแดนทีผนวกเข้ ากับประเทศเพือนบ้ าน
่
่
และดินแดนทีอยู่ใต้ อานาจของสั นนิบาตชาติ
่
สาเหตุของสงคราม (ต่ อ)
2.ความขัดแย้ งทางด้ านอุดมการณ์ ทางการเมือง ระหว่ างระบอบ
ประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ เช่ น หลายประเทศหันไปใช้ ระบอบเผด็จ
การเพื่อแก้ ปัญหาภายใน เช่ น เยอรมนีและอิตาลี
3. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น เช่ น ลัทธิฟาสซิสม์
4. ลัทธินิยมทางทหาร
5. นโยบายต่ างประเทศที่ไม่ แน่ นอนของอังกฤษ
6. ความอ่ อนแอขององค์ การสันนิบาตชาติ
7. บทบาทของสหรั ฐอเมริกา
8. สภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก

สมรภูมรบในทวีปยุโรป
ิ
ฮิตเลอร์กบมุสโสลินประกาศอักษะต่อ
ั
ี
กัน ค.ศ. 1935
เหตุการณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 2
• เยอรมนีโจมตีโปแลนด์ เมื่อ 1 กันยายน 1939
• วันที่ 3 กันยายน 1939 อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศ
สงครามกับเยอรมนี
• เยอรมนีทาการรบแบบสายฟ้าแลบ ได้ดินแดนโปแลนด์
เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม เดนมาร์ก และฝรั่งเศส โจมตี
อังกฤษ รัสเซีย ทางอากาศ สงครามในระยะแรก
สัมพันธมิตรแพ้ทุกสนามรบ
การบุกครองโปแลนด์โดยเยอรมันและโซเวียต
(1 กันยายน - 6 ตุลาคม ค.ศ. 1939)

การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึนเมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเยอรมนี
้
และสหภาพโซเวียตแบ่ งแยกและผนวกโปแลนด์ ทังประเทศ ซึ่งเป็ นการเปิ ด
้
ฉากสงครามโลกครั งที่ 2 จากการประกาศสงครามต่ อเยอรมนีของฝรั่ งเศส
้
และประเทศส่ วนใหญ่ ในจักรวรรดิอังกฤษและเครื อจักรภพ

การบุกโปแลนด์

ประชาชนโปแลนด์ ถูกสังหาร
ยุทธการบริเตน(กรกฎาคม พ.ศ. 2483 - พฤษภาคม พ.ศ. 2484)
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นาเยอรมันวางแผนที่จะบุกเกาะอังกฤษ โดยมุ่งบุกไป
ทางตอนใต้ของเกาะ ภายใต้ชื่อยุทธการสิงโตทะเล (Sealion) โดย
กองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe)หรือ ลุฟวาฟเฟ
การโจมตีเดินทางมาถึงช่วงสูงสุดในเดือนสิงหาคม โดยเฉพาะในวันที่ 15
สิงหาคม กองทัพอากาศเยอรมัน เข้าโจมตีครั้งสาคัญ ภายใต้รหัส แอดเลอร์
(Adler = Eagle) หรือ นกอินทรี เพื่อกวาดล้างกองทัพอากาศอังกฤษ แต่ผลกลับ
ออกมาในทางตรงกันข้าม ฝ่ายเยอรมันต้องสูญเสียเครื่องบินไปถึง 72เครื่องใน
การรบเพียงวันเดียว จนมีการขนานนามวันนี้ว่า วันพฤหัสทมิฬ หรือ the black
Thursday
กองทัพอากาศเยอรมัน(ลุฟวาฟเฟ่ )
D-Daysศึก
วันเผด็จ
ความหมายของ D-Day

D-Day คือการย่อมาจากคาว่า Deliverance day ที่แปลว่า วันแห่ง
ารปลดปล่อย โดยภายในวันนี้ ตรงกับวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ.1944 ในปฎิบัติ
ารที่ชื่อว่าโอเวอร์ลอร์ด ณ หาดนอร์มังดี
• วันที่ 6 มิถนายน 1944 ถือว่าเป็ น วันดี เดย์ เป็ นวันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรทุมกาลัง
ุ
่
ยกพลขึ ้นบก โจมตีปอมปราการยุโรปของฮิตเลอร์ (Fortress Europe)
้
ด้ วยกาลังมหาศาลเท่าที่เคยมีมา เพื่อเปิ ดสงครามด้ านที่สองของเยอรมัน ซึง
่
กาลังเผชิญกับรัสเซียทางด้ านตะวันออก
ปฎิบติการโอเวอร์ลอร์ด ที่อ่าวนอร์มงดี
ั
ั
ความล้มเหลวของฝ่ ายอักษะ(นาซีเยอรมัน)
ในสงครามหาดนอร์มงดี
ั
แผนการของนายพลเออร์วิน รอมเมล คือต้องการสร้างเครื่องกีดขวาง
และเครื่องป้องกันหาดต่างๆบนหาดให้ได้มากที่สุด เพราะเมื่อหาดถูก
บุก หาดจะถูกป้องกันพวกพันธมิตร จะต้องตายคาหาด แต่ฮิตเลอร์ไม่
เห็นด้วย ท่านเห็นว่าการตั้งรับควรจะอยู่หลังแนวหาดมากกว่า คือถ้า
หาดถูกบุก ควรจะปล่อยให้พวกพันธมิตรเข้ามาในแผ่นดินยุโรบก่อน
แล้วค่อยจัดการบนบกหลังแนวดีกว่า
ด้วยความคิดของฮิตเลอร์นี้เอง นอร์มังดีจึงแตก
•

จอมพลเออร์วิน รอมเมล ของนาซีเยอรมัน เชื่อว่าการยกพลขึนบกจะ
้
เกิดขึ้นในบริเวณอื่น จึงสร้างป้อมและบังเกอร์ขึ้นเรียงรายตามแนวชายฝั่ง
ฝรั่งเศส เพิ่มจานวนรังปืนกล เครื่องยิงลูกระเบิดหรือปืนครก บนหาดก็มีการ
สร้างสิ่งกีดขวางสาหรับเรือยกพลขึ้นบก ที่เรียกว่า เม่นทะเลและงาแซง
บวกกับการติดทุ่นระเบิดและกับระเบิดจานวนมากเข้าไป แนวตั้งรับนี้มีชื่อ
เรียกว่า กาแพงแอตแลนติค (Atlantic Wall) แต่ฮิตเลอร์มองว่า หากการ
ยกพลขึ้นบกเกิดขึ้นจริง การรบขั้นแตกหักจะอยู่บนฝั่ง คือปล่อยให้พนธมิตร
ั
ขึ้นฝั่งแล้วใช้กาลังเข้าบดขยี้
• ด้วยความเห็นที่แตกต่างกันนี้เอง หน่วยยานเกราะ (Panzer) เกือบ
ทั้งหมดไปอยู่ส่วนหลัง เหลือเพียงกองพลยานเกราะที่ 21 (21st Panzer
Division) ให้รอมเมลบังคับบัญชาเพียงกองพลยานเกราะเดียว
สงครามมหาเอเชียบูรพา และแปซิฟิก
• ญี่ปุ่นบุกแมนจูเรีย(จีน)ในปี ค.ศ.1931 และเสนอ
แผนการที่จะสถาปนา “วงไพบูลย์แห่งมหาเอเชียบูรพา”
• ญี่ปุ่นโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่ อ่าวเพิร์ล ฮาร์
เบอร์ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 สหรัฐจึงเข้าสู่
สงครามโลกครั้งที่สอง
• ญี่ปุ่นเปิดสงครามในตะวันออกเฉียงใต้หรือเรียกว่า
“สงครามมหาเอเชียบูรพา”
การรบที่ อ่ าวเพิ ร์ ลฮาร์ เบอร์
การโจมตีเพิร์ลฮาร์ เบอร์ เป็ นการโจมตีฉับพลันของจักรวรรดิญี่ปุ่นต่ อฝ่ ายกองทัพ

อเมริกา โดยการโจมตีเกิดขึนที่ อ่าวเพิร์ลฮาร์ เบอร์ รัฐฮาวาย ในสหรัฐอเมริกา
้
วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ในการโจมตีนีสร้ างความเสี ยหาย
้

แก่ ฝ่ายกองทัพสหรัฐอเมริกามาก โดยเรือสงครามสู ญเสี ย 12 ลา เครื่องบิน 188 ลา
ทหารอเมริกนเสี ยชีวต 2,403 คน และ ประชาชน 68 คน
ั
ิ
สาเหตุ ข องการโจมตี
สหรัฐฯประกาศยุติการส่ งออกสิ นค้ าไปยังญีปุ่น เช่ น นามัน เหล็ก
่
้
เป็ นต้ น ทาให้ ญปุ่นขาดปัจจัยในการบารุงกองทัพโดยเฉพาะนามัน
ี่
้

ทาให้ การบุกเข้ ายึดจีนต่ อไปต้ องหยุดชะงักลง จักรวรรดิญปุ่น
ี่
ญีปุ่นจึงได้ ส่งทูตไปเจรจากับแต่ ว่าการเจรจาก็ล้มเหลวทาให้ ญปุ่น
่
ี่
ไม่ พอใจเป็ นอย่ างมาก จึงตัดสิ นใจโจมตีทอ่าวเพิร์ลฮาร์ เบอร์
ี่
Atomic Bomb
สหรัฐอเมริกา อังกฤษและแคนาดา ได้ ร่วมมือกันตั้งโครงการ เพือออกแบบ
่
และพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ ลูกแรก ภายใต้ โครงการทีเ่ รียกว่ า "โครงการแมน
ฮัตทัน" ภายใต้ การค้ นคว้ าวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ และนักฟิ สิ กส์ อเมริกน
ั
นาม เจ โรเบิร์ต,
ระเบิดปรมาณูทใช้ ถล่มเมืองฮิโระชิมะ ของญีปุ่น ทีชื่อ "ลิตเติลบอย"
ี่
่
่
ใช้ ยูเรเนียม - 235, เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 1945
ระเบิดที่ใช้ ถล่ ม นะงะซะกิ ชื่อ แฟตแมน
ใช้ พลูโตเนียม - 239 วันที่ 9 สิงหาคม 1945
ผลจากการทิ้งระเบิดปรมาณู
• การระเบิดทาให้มีผูเสียชีวิตที่ฮิโรชิมา 140,000 คนและที่
้
นางาซากิ 80,000 คน โดยนับถึงปลายปี พ.ศ. 2488
• ในระยะต่อมาก็ยงมี ผูเสียชีวิตด้วยการบาดเจ็บหรือจากการรับ
ั ้
กัมมันตภาพรังสีที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากการระเบิดอีก นับหมื่นคน
• หลังการทิ้งระเบิดลูกที่สองเป็ นเวลา 6 วัน ญี่ปุ่นประกาศตกลงยอม
แพ้สงครามต่อฝ่ ายพันธมิตรเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488

• ลงนามในตราสารประกาศยอมแพ้สงครามมหาสมุทรแปซิฟิกที่
นับเป็ นการยุติสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเป็ นทางการในวันที่ 2
กันยายน พ.ศ. 2488
• การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกดังกล่าวมีส่วนทาให้ประเทศญี่ปุ่นต้องยอมรับ
หลักการ 3 ข้อว่าด้วยการห้ามมีอาวุธนิวเคลียร์
ญี่ปุ่นยอมจํานนและเป็ นจุดสินสุดของสงครามโลกครังที่สองเมื่อ
้
้
วันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 การยอมจํานนอย่ างเป็ นทางการ
เกิดขึนบนเรือรบยูเอสเอส มิสซูรี ที่ทอดสมอในอ่ าวโตเกียวเมื่อวันที่
้
2 กันยายน ค.ศ. 1945
ตํานานพับนกที่โลกรํ่าไห้ …ซาดาโกะ
ซาดาโกะ ซาซากิ เด็กหญิงชาวญี่ปุ่น เสียชีวิตด้ วย
โรคมะเร็งเม็ดเลือด ขณะอายุได้ 11 ปี เนื่องจาก
ได้ รับสารกัมมันตภาพรังสีจากระเบิดปรมาณูท่ ี
สหรัฐฯ ทิงถล่ มฮิโรชิมา เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม
้
ค.ศ.1945 (พ.ศ.2488) ในสงครามโลกครังที่ 2 ก่ อน
้
เสียชีวิต ซาดาโกะพยายามพับนกกะเรียนกระดาษ
ด้ วยมือที่บวมเป่ งและเจ็บปวดมาก ด้ วยความเชื่อ
ว่ าหากพับนกได้ ครบหนึ่งพันตัว เธอจะหายจาก
โรคภัย แต่ เธอก็จบชีวิตลงเมื่อพับนกกะเรียนได้
เพียง 644 ตัวเท่ านัน ร่ างของซาดาโกะถูกฝั่ งพร้ อม
้
กับนกกระดาษ 1,000 ตัว ที่เพื่อน ๆ ช่ วยกันพับนก
กระดาษจนครบ
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2
เข้าสู่สงคราม
สงครามโลกครั้งที่สองเกิดขึ้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2482 ใน
รัชสมัยของรัชกาลที่ 8 หลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อเริ่ม
สงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.
2484 ญี่ปุ่นนาเรือรบบุกขึ้น ชายทะเลภาคใต้ของไทยโดยไม่ทันรู้ตัว
รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน ทาพิธีเคารพเอกราชกันและกัน
การขึ ้นบกของกองทัพญี่ปน
ุ่
• เมื่อไทยประกาศสงครามอย่างเต็มตัวกับฝ่ายสัมพันธมิตร ทาง
สหรัฐอเมริกาได้ส่งเครื่องบิน บี 24 และ บี 29 อันเป็น เครื่องบินขนาด
ใหญ่มาทิ้งระเบิดอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ ทั่วพระนคร ประชาชนได้รับ
คาสั่งให้ทาการ พรางไฟ คือการใช้ผ้าขนหนูหรือผ้าขาวม้าปิดบังแสงไฟ
ในบ้าน ให้เหลือเพียงแสงสลัว ๆ เพื่อป้องกันมิให้เครื่องบินของฝ่ายข้าศึก
มาทิ้งระเบิด
ในเวลาเดียวกัน ก็เกิดขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นโดยคนไทยด้วยกันเอง เรียกว่า
ขบวนการไทยถีบ ขบวนการนี้ทาหน้าที่ดักปล้น ของเล็กของน้อย ยุทธปัจจัย
ต่าง ๆ ของกองทัพญี่ปุ่น นอกจากนี้มีการปล้นทหารญี่ปุ่นกันอย่างหนัก ซึ่ง
มีทั้งใช้การปล้นสะดมด้วยการรมยาให้หลับ เรียกว่า การลักหลับ หลัง
สงคราม ตารวจต้องระดมกาลังปราบปราม บรรดาโจรผู้ร้ายซึ่งมีอาวุธที่ชิง
มาจากทหารญี่ปุ่น และ บรรดาเสือร้ายต่างๆ โดยใช้เวลาหลายปี
ต่อมาวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2485 ไทยได้ประกาศสงคราม
กับอังกฤษและอเมริกา แต่ทูตไทยในสหรัฐอเมริกา คือ หม่อมราชวงศ์
เสนีย์ ปราโมช และ หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์ สวัสดิวัฒน์ ผู้แทนไทยใน
อังกฤษไม่ยอมรับทราบในการกระทาของรัฐบาล จึงได้ร่วมมือกันตั้งเสรี
ไทยขึ้นติดต่อกับนายปรีดี พนมยงค์ ในเมืองไทย
ญี่ ปุ่ น แพ้ ส งครามเมื่ อ วั น ที่ 14 สิ ง หาคม พ.ศ.2488 ไทย
ประกาศสงครามเป็นโมฆะ เพราะขัดต่อรัฐธรรมนูญและความประสงค์
ของประชาชนชาวไทย ซึ่งสหรัฐอเมริการับรอง ต่อมาไทยได้เจรจาเลิก
สถานะสงครามกับอังกฤษ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2489 และกับ
ฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489
ประวัติสะพานข้ามแม่น้ าแคว
• เป็ นสะพานที่สาคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัย
สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ ายสัมพันธมิตร
ั
ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริ กน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์
ประมาณ 61,700 คน สมทบด้วยกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย
พม่า (เมียนมาร์) และ อินเดีย อีกจานวนมาก มาก่อสร้างทางรถไฟสาย
ยุทธศาสตร์
• ทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เส้นทางเริ่ มต้นจากสถานีหนองปลาดุก อ.
บ้านโป่ ง จ. ราชบุรี ผ่านสถานีต่าง ๆ ใน จ. กาญจนบุรี เพื่อลาเลียงยุทธ
ปัจจัยและกาลังทหารไปยังพม่า เส้นทางเมื่อข้ามสะพานข้ามแม่น้ าแคว
ไปแล้วจะเลียบไปตามลาน้ าแควน้อย ผ่านโตรกผาบริ เวณที่เรี ยกว่าถ้ า
กระแซ ซึ่งเป็ นทางโค้งเลียบหน้าผา ด้านหนึ่งเป็ นแม่น้ าที่เชี่ยวกราก บาง
ช่วงต้องขุดเจาะระเบิดภูเขาเป็ นช่องให้รถไฟผ่านไป
• ถ้ ากระแซ
ผลของสงครามโลกต่อไทย
1.ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญีปนรบ
่ ุ่
2.ได้ดนแดนเชียงตุง และสีจังหวัดภาคใต้ทต้องเสียแก่องกฤษกลับมา แต่
ิ
่
ี่
ั
ต้องคืนให้เจ้าของเมื่อสงครามสงบลง
3.เกิดขบวนการเสรีไทย ซึ่งให้พ้นจากการยึดครอง
4.ไทยได้รบเกียรติเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
ั
5. ประเทศไทยถูกโจมตีทางอากาศจากฝ่ายสัมพันธมิตร มีผู้เสียชีวต
ิ
ประมาณ 1,900 คน บาดเจ็บประมาณ 3,000 คน ทรัพย์สนเสียหาย
ิ
ประมาณ 79 ล้านบาท
6. ไทยต้องคืนดินแดนของอังกฤษทีได้มาระหว่างสงคราม
่
ให้ข้าวสารแก่อังกฤษถึง 1.5 ล้านตัน และต้องชดใช้คาเสียหายต่าง ๆ
่
7. เศรษฐกิจตกต่า


วันที่ 8 พฤษภาคม 1945 (พ.ศ. 2488) สงครามโลกครั้งที่สอง ในทวีปยุโรป
ยุติลงอย่างเป็นทางการ (Victory in Europe Day : V-E Day or VE Day)
หลังจากนาซีเยอรมันประกาศยอมแพ้ แต่สงครามในเอเชียยังคงดาเนิน
ต่อไปจนกระทั่งญี่ปุ่นยอมจานนในวันที่ ๑๕ ส.ค. 1945
1. มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ(UN : United Nations)
เพื่อดาเนินงานแทนองค์การสันนิบาตชาติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษา
สันติภาพของโลกและให้กลุ่มสมาชิกร่ วมมือช่วยเหลือกัน และสนับสนุน
สันติภาพของโลก รวมทั้งการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่งนับว่ามีความ
เข้มแข็งกว่าเดิม เพราะสหรัฐอเมริ กาเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกผูก่อตั้งและมีกอง
้
ทหารของสหประชาชาติ
2.ทาให้เกิดสงครามเย็น(Cold War)ตั้ งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็ นต้น
ประเทศสหภาพโซเวียต(USSR) ปกครองโดยสมัยสตาร์ ลินมีนโยบายขยายลัทธิ
คอมมิวนิสต์ไปสู่ ยุโรปตะวันออก และเยอรมนีตะวันออก ซึ่ งมีทหารรัสเซี ยเข้า
ปลดปล่อยดินแดนเหล่านี้จากอานาจฮิตเลอร์ ในสงครามโลกครั้งที่สอง ขณะที่สหรัฐ
ต้องการสกัดกั้นการขยายตัวดังกล่าว และเผยแผ่การปกครองแบบเสรี ประชาธิ ปไตย
ในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะดินแดนอาณานิคมที่ประกาศเอกราช เป็ นประเทศใหม่
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จนเกิดสภาวการณ์ที่เรี ยกว่า สงครามเย็น( Cold War )
3.ฝ่ ายสัมพันธมิตรชนะ มีการนาอาวุธที่ทนสมัยและระเบิดปรมาณูมา
ั
ใช้ทาให้เกิดความเสี ยหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1
4. การเกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ ประเทศที่เคยตกเป็ นอาณานิคมของชาติ
ตะวันตกต่ างประกาศเอกราชของตนเอง ทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเชีย และ แอฟริกา
และบางประเทศถูกแบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน เช่ น เยอรมนี เกาหลี เวียดนาม
5. สภาพเศรษฐกิจตกตาทัวโลก
่ ่
6. ความสู ญเสี ยทางด้ านสั งคมและทางจิตวิทยา
7. เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริ กา และ สหภาพโซ
เวียตในค่ายคอมมิวนิสต์ ทั้งยังเป็ นแกนนาในการเผยแพร่ อุดมการณ์
การเมืองแบบสังคมนิยมออกไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทัวโลก
่
8. เกิดการแบ่งขั้วอย่างชัดเจนของสองมหาอานาจจนนาไปสู่ เกิดสงครามเย็น
และการแบ่งกลุ่มประเทศระหว่างโลกเสรี ประชาธิ ปไตยกับโลกคอมมิวนิสต์
สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ ายอุดมการณ์ฟาสซิ สต์ท้ งใน
ั
ยุโรปและเอเซี ย และได้เกิดอุดมการณ์ใหม่ข้ ึนเมื่อมีการเผชิญหน้ากันระหว่าง
สหรัฐ อเมริ กาและสหภาพโซเวียต โลกถูกแบ่งแยกออกเป็ นสองค่าย กล่าวคือ
สหรัฐอเมริ กาเป็ นผูนาค่ายประชาธิ ปไตย ส่ วนสหภาพโซเวียตเป็ นผูนาค่าย
้
้
คอมมิวนิสต์ ต่างฝ่ ายต่างพยายามนาเสนอระบบการเมืองที่ตนยึดมัน เพื่อให้
่
ประเทศอื่น ๆ รับไปใช้เป็ นแม่แบบการปกครอง และพยายามแข่งขันกันเผยแพร่
อุดมการณ์ทางลัทธิ การเมืองของตนในกลุ่มประเทศที่เกิดใหม่หลังสงคราม
เงื่อนไขนี้เองจึงก่อให้เกิดการแข่งขัน ขัดแย้งทางอุดมการณ์การเมืองการปกครอง
่
และค่อย ๆ ลุกลาม รุ นแรงจนอยูในสภาพที่เรี ยกว่า “สงครามเย็น” (Cold War)
9. สหรัฐฯได้เข้าปกครองญี่ปุ่นเป็ นเวลานานถึง 6 ปี โดยเข้าร่ วมฝ่ าย
พันธมิตรหลังจากการโจมตีเพิร์ลฮาเบอร์ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ใน
แถลงการณ์ของสหประชาชาติ เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1942 มีประเทศต่างๆ เข้า
ร่ วมฝ่ ายพันธมิตรอย่างเป็ นทางการจานวน 26 ประเทศ (แถลงการณ์น้ ีเป็ น
พื้นฐานของการก่อตั้งสหประชาชาติในภายหลัง)

Contenu connexe

Tendances

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21pareboon
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)noeiinoii
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]imeveve
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 

Tendances (20)

สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
Aunmuay
AunmuayAunmuay
Aunmuay
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในศตวรรษที่ 21
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 

Similaire à สงครามโลกครั้งที่ 2

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจknwframe1
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfสงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfKunnai- เบ้
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Napis Inkham
 

Similaire à สงครามโลกครั้งที่ 2 (15)

สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdfสงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2-pdf
 
สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]สงครามโลก..[1]
สงครามโลก..[1]
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับ
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 

Plus de New Nan

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1New Nan
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยNew Nan
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+finalNew Nan
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาNew Nan
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตNew Nan
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่New Nan
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นNew Nan
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน New Nan
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์New Nan
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7New Nan
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถาNew Nan
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)New Nan
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ New Nan
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ New Nan
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +New Nan
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !New Nan
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงNew Nan
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวยNew Nan
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอีNew Nan
 

Plus de New Nan (20)

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+final
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยา
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถา
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริง
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวย
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอี
 

สงครามโลกครั้งที่ 2

  • 2. สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นสงครามครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด ใน ยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุม ทุกทวีปเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1939 -1945)
  • 3. คู่สงคราม แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย 1. ฝ่ายอักษะ (Axis Powers) เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น
  • 4. 2. ฝ่ายสัมพันธมิตรประกอบไปด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต จีน และ สหรัฐอเมริกา
  • 5.
  • 6. ความสูญเสีย เกิดความสูญเสียครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ฝ่ายสัมพันธมิตร ทหารเสียชีวิต 17,000,000 นาย พลเรือน เสียชีวิต 33,000,000 คน เสียชีวิตทั้งหมด 50,000,000 คน ฝ่ายอักษะ (Axis Powers) ทหารเสียชีวิต 8,000,000 นาย พลเรือนเสียชีวิต4,000,000คน เสียชีวิตทั้งหมด12,000,000 คน
  • 7. สาเหตุของสงคราม 1.ความไม่ ยุตธรรมของสนธิสัญญาแวร์ ซายส์ ิ เงื่อนไขของสนธิสัญญาแวร์ ซายส์ • เยอรมนีต้องสูญเสียดินแดนของตนคือ อัลซาสลอเรนให้ แก่ ฝรั่ งเศส ต้ องยอม ยกดินแดนภาคตะวันออกให้ โปแลนด์ ไปหลายแห่ ง • ต้ องยอมให้ สันนิบาตชาติเข้ าดูแลแคว้ นซาร์ เป็ นเวลา 10 ปี • เกิดฉนวนโปแลนด์ POLISH CORRIDOR ผ่ านดินแดนภาคตะวันออก ของเยอรมนีเพื่อให้ โปแลนด์ มีทางออกไปสู่ทะเลบอลติกที่เมืองดานซิก • ต้ องสูญเสียอาณานิคมทังหมดของตนให้ แก่ องค์ การสันนิบาตชาติดูแล ้ • ต้ องยอมจํากัดอาวุธ และทหารประจําการลงอย่ างมาก • ต้ องชดใช้ ค่าเสียหายเป็ นจํานวนมหาศาลให้ แก่ ประเทศที่ชนะสงคราม
  • 8. 2. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบ ประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ 3. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น 4. ลัทธินิยมทางทหาร 5. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษ 6. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เนื่องจากไม่มีกองทัพขององค์การ ทาให้ขาดอานาจในการปฏิบัติการ และอเมริกาไม่ได้เป็นสมาชิก ความอ่อนแอของ องค์การสันนิบาตชาติ ที่ไม่ สามารถบังคับประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ปฏิบัติตามสัตยาบันได้ 7. บทบาทของสหรัฐอเมริกา 8. สภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก
  • 9. • เกิดฉนวนโปแลนด์ POLISH CORRIDOR ผ่านดินแดนภาค ตะวันออกของเยอรมนีเพื่อให้ โปแลนด์มีทางออกไปสูทะเลบอลติกที่ ่ เมืองดานซิก
  • 11.
  • 12. ชาวเยอรมันมารวมตัวกันหน้ ารัฐสภาไรซ์ ตาร์ ก เพือต่ อต้ านการลงนามในสนธิสัญญาแวร์ ซาย ่
  • 14. สาเหตุของสงคราม (ต่ อ) 2.ความขัดแย้ งทางด้ านอุดมการณ์ ทางการเมือง ระหว่ างระบอบ ประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ เช่ น หลายประเทศหันไปใช้ ระบอบเผด็จ การเพื่อแก้ ปัญหาภายใน เช่ น เยอรมนีและอิตาลี 3. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น เช่ น ลัทธิฟาสซิสม์ 4. ลัทธินิยมทางทหาร 5. นโยบายต่ างประเทศที่ไม่ แน่ นอนของอังกฤษ 6. ความอ่ อนแอขององค์ การสันนิบาตชาติ 7. บทบาทของสหรั ฐอเมริกา 8. สภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก สมรภูมรบในทวีปยุโรป ิ
  • 16. เหตุการณ์ของสงครามโลกครั้งที่ 2 • เยอรมนีโจมตีโปแลนด์ เมื่อ 1 กันยายน 1939 • วันที่ 3 กันยายน 1939 อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศ สงครามกับเยอรมนี • เยอรมนีทาการรบแบบสายฟ้าแลบ ได้ดินแดนโปแลนด์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม เดนมาร์ก และฝรั่งเศส โจมตี อังกฤษ รัสเซีย ทางอากาศ สงครามในระยะแรก สัมพันธมิตรแพ้ทุกสนามรบ
  • 17. การบุกครองโปแลนด์โดยเยอรมันและโซเวียต (1 กันยายน - 6 ตุลาคม ค.ศ. 1939) การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึนเมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเยอรมนี ้ และสหภาพโซเวียตแบ่ งแยกและผนวกโปแลนด์ ทังประเทศ ซึ่งเป็ นการเปิ ด ้ ฉากสงครามโลกครั งที่ 2 จากการประกาศสงครามต่ อเยอรมนีของฝรั่ งเศส ้ และประเทศส่ วนใหญ่ ในจักรวรรดิอังกฤษและเครื อจักรภพ การบุกโปแลนด์ ประชาชนโปแลนด์ ถูกสังหาร
  • 18. ยุทธการบริเตน(กรกฎาคม พ.ศ. 2483 - พฤษภาคม พ.ศ. 2484) อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นาเยอรมันวางแผนที่จะบุกเกาะอังกฤษ โดยมุ่งบุกไป ทางตอนใต้ของเกาะ ภายใต้ชื่อยุทธการสิงโตทะเล (Sealion) โดย กองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe)หรือ ลุฟวาฟเฟ การโจมตีเดินทางมาถึงช่วงสูงสุดในเดือนสิงหาคม โดยเฉพาะในวันที่ 15 สิงหาคม กองทัพอากาศเยอรมัน เข้าโจมตีครั้งสาคัญ ภายใต้รหัส แอดเลอร์ (Adler = Eagle) หรือ นกอินทรี เพื่อกวาดล้างกองทัพอากาศอังกฤษ แต่ผลกลับ ออกมาในทางตรงกันข้าม ฝ่ายเยอรมันต้องสูญเสียเครื่องบินไปถึง 72เครื่องใน การรบเพียงวันเดียว จนมีการขนานนามวันนี้ว่า วันพฤหัสทมิฬ หรือ the black Thursday
  • 21. ความหมายของ D-Day D-Day คือการย่อมาจากคาว่า Deliverance day ที่แปลว่า วันแห่ง ารปลดปล่อย โดยภายในวันนี้ ตรงกับวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ.1944 ในปฎิบัติ ารที่ชื่อว่าโอเวอร์ลอร์ด ณ หาดนอร์มังดี
  • 22. • วันที่ 6 มิถนายน 1944 ถือว่าเป็ น วันดี เดย์ เป็ นวันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรทุมกาลัง ุ ่ ยกพลขึ ้นบก โจมตีปอมปราการยุโรปของฮิตเลอร์ (Fortress Europe) ้ ด้ วยกาลังมหาศาลเท่าที่เคยมีมา เพื่อเปิ ดสงครามด้ านที่สองของเยอรมัน ซึง ่ กาลังเผชิญกับรัสเซียทางด้ านตะวันออก
  • 24. ความล้มเหลวของฝ่ ายอักษะ(นาซีเยอรมัน) ในสงครามหาดนอร์มงดี ั แผนการของนายพลเออร์วิน รอมเมล คือต้องการสร้างเครื่องกีดขวาง และเครื่องป้องกันหาดต่างๆบนหาดให้ได้มากที่สุด เพราะเมื่อหาดถูก บุก หาดจะถูกป้องกันพวกพันธมิตร จะต้องตายคาหาด แต่ฮิตเลอร์ไม่ เห็นด้วย ท่านเห็นว่าการตั้งรับควรจะอยู่หลังแนวหาดมากกว่า คือถ้า หาดถูกบุก ควรจะปล่อยให้พวกพันธมิตรเข้ามาในแผ่นดินยุโรบก่อน แล้วค่อยจัดการบนบกหลังแนวดีกว่า ด้วยความคิดของฮิตเลอร์นี้เอง นอร์มังดีจึงแตก
  • 25. • จอมพลเออร์วิน รอมเมล ของนาซีเยอรมัน เชื่อว่าการยกพลขึนบกจะ ้ เกิดขึ้นในบริเวณอื่น จึงสร้างป้อมและบังเกอร์ขึ้นเรียงรายตามแนวชายฝั่ง ฝรั่งเศส เพิ่มจานวนรังปืนกล เครื่องยิงลูกระเบิดหรือปืนครก บนหาดก็มีการ สร้างสิ่งกีดขวางสาหรับเรือยกพลขึ้นบก ที่เรียกว่า เม่นทะเลและงาแซง บวกกับการติดทุ่นระเบิดและกับระเบิดจานวนมากเข้าไป แนวตั้งรับนี้มีชื่อ เรียกว่า กาแพงแอตแลนติค (Atlantic Wall) แต่ฮิตเลอร์มองว่า หากการ ยกพลขึ้นบกเกิดขึ้นจริง การรบขั้นแตกหักจะอยู่บนฝั่ง คือปล่อยให้พนธมิตร ั ขึ้นฝั่งแล้วใช้กาลังเข้าบดขยี้
  • 26.
  • 27. • ด้วยความเห็นที่แตกต่างกันนี้เอง หน่วยยานเกราะ (Panzer) เกือบ ทั้งหมดไปอยู่ส่วนหลัง เหลือเพียงกองพลยานเกราะที่ 21 (21st Panzer Division) ให้รอมเมลบังคับบัญชาเพียงกองพลยานเกราะเดียว
  • 28.
  • 29.
  • 30. สงครามมหาเอเชียบูรพา และแปซิฟิก • ญี่ปุ่นบุกแมนจูเรีย(จีน)ในปี ค.ศ.1931 และเสนอ แผนการที่จะสถาปนา “วงไพบูลย์แห่งมหาเอเชียบูรพา” • ญี่ปุ่นโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่ อ่าวเพิร์ล ฮาร์ เบอร์ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 สหรัฐจึงเข้าสู่ สงครามโลกครั้งที่สอง • ญี่ปุ่นเปิดสงครามในตะวันออกเฉียงใต้หรือเรียกว่า “สงครามมหาเอเชียบูรพา”
  • 31.
  • 32. การรบที่ อ่ าวเพิ ร์ ลฮาร์ เบอร์ การโจมตีเพิร์ลฮาร์ เบอร์ เป็ นการโจมตีฉับพลันของจักรวรรดิญี่ปุ่นต่ อฝ่ ายกองทัพ อเมริกา โดยการโจมตีเกิดขึนที่ อ่าวเพิร์ลฮาร์ เบอร์ รัฐฮาวาย ในสหรัฐอเมริกา ้ วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ในการโจมตีนีสร้ างความเสี ยหาย ้ แก่ ฝ่ายกองทัพสหรัฐอเมริกามาก โดยเรือสงครามสู ญเสี ย 12 ลา เครื่องบิน 188 ลา ทหารอเมริกนเสี ยชีวต 2,403 คน และ ประชาชน 68 คน ั ิ
  • 33. สาเหตุ ข องการโจมตี สหรัฐฯประกาศยุติการส่ งออกสิ นค้ าไปยังญีปุ่น เช่ น นามัน เหล็ก ่ ้ เป็ นต้ น ทาให้ ญปุ่นขาดปัจจัยในการบารุงกองทัพโดยเฉพาะนามัน ี่ ้ ทาให้ การบุกเข้ ายึดจีนต่ อไปต้ องหยุดชะงักลง จักรวรรดิญปุ่น ี่ ญีปุ่นจึงได้ ส่งทูตไปเจรจากับแต่ ว่าการเจรจาก็ล้มเหลวทาให้ ญปุ่น ่ ี่ ไม่ พอใจเป็ นอย่ างมาก จึงตัดสิ นใจโจมตีทอ่าวเพิร์ลฮาร์ เบอร์ ี่
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 42. สหรัฐอเมริกา อังกฤษและแคนาดา ได้ ร่วมมือกันตั้งโครงการ เพือออกแบบ ่ และพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ ลูกแรก ภายใต้ โครงการทีเ่ รียกว่ า "โครงการแมน ฮัตทัน" ภายใต้ การค้ นคว้ าวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ และนักฟิ สิ กส์ อเมริกน ั นาม เจ โรเบิร์ต,
  • 43. ระเบิดปรมาณูทใช้ ถล่มเมืองฮิโระชิมะ ของญีปุ่น ทีชื่อ "ลิตเติลบอย" ี่ ่ ่ ใช้ ยูเรเนียม - 235, เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 1945
  • 44. ระเบิดที่ใช้ ถล่ ม นะงะซะกิ ชื่อ แฟตแมน ใช้ พลูโตเนียม - 239 วันที่ 9 สิงหาคม 1945
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52. ผลจากการทิ้งระเบิดปรมาณู • การระเบิดทาให้มีผูเสียชีวิตที่ฮิโรชิมา 140,000 คนและที่ ้ นางาซากิ 80,000 คน โดยนับถึงปลายปี พ.ศ. 2488 • ในระยะต่อมาก็ยงมี ผูเสียชีวิตด้วยการบาดเจ็บหรือจากการรับ ั ้ กัมมันตภาพรังสีที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากการระเบิดอีก นับหมื่นคน
  • 53. • หลังการทิ้งระเบิดลูกที่สองเป็ นเวลา 6 วัน ญี่ปุ่นประกาศตกลงยอม แพ้สงครามต่อฝ่ ายพันธมิตรเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 • ลงนามในตราสารประกาศยอมแพ้สงครามมหาสมุทรแปซิฟิกที่ นับเป็ นการยุติสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเป็ นทางการในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488 • การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกดังกล่าวมีส่วนทาให้ประเทศญี่ปุ่นต้องยอมรับ หลักการ 3 ข้อว่าด้วยการห้ามมีอาวุธนิวเคลียร์
  • 54. ญี่ปุ่นยอมจํานนและเป็ นจุดสินสุดของสงครามโลกครังที่สองเมื่อ ้ ้ วันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 การยอมจํานนอย่ างเป็ นทางการ เกิดขึนบนเรือรบยูเอสเอส มิสซูรี ที่ทอดสมอในอ่ าวโตเกียวเมื่อวันที่ ้ 2 กันยายน ค.ศ. 1945
  • 55. ตํานานพับนกที่โลกรํ่าไห้ …ซาดาโกะ ซาดาโกะ ซาซากิ เด็กหญิงชาวญี่ปุ่น เสียชีวิตด้ วย โรคมะเร็งเม็ดเลือด ขณะอายุได้ 11 ปี เนื่องจาก ได้ รับสารกัมมันตภาพรังสีจากระเบิดปรมาณูท่ ี สหรัฐฯ ทิงถล่ มฮิโรชิมา เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ้ ค.ศ.1945 (พ.ศ.2488) ในสงครามโลกครังที่ 2 ก่ อน ้ เสียชีวิต ซาดาโกะพยายามพับนกกะเรียนกระดาษ ด้ วยมือที่บวมเป่ งและเจ็บปวดมาก ด้ วยความเชื่อ ว่ าหากพับนกได้ ครบหนึ่งพันตัว เธอจะหายจาก โรคภัย แต่ เธอก็จบชีวิตลงเมื่อพับนกกะเรียนได้ เพียง 644 ตัวเท่ านัน ร่ างของซาดาโกะถูกฝั่ งพร้ อม ้ กับนกกระดาษ 1,000 ตัว ที่เพื่อน ๆ ช่ วยกันพับนก กระดาษจนครบ
  • 56.
  • 57.
  • 59. เข้าสู่สงคราม สงครามโลกครั้งที่สองเกิดขึ้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2482 ใน รัชสมัยของรัชกาลที่ 8 หลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อเริ่ม สงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ญี่ปุ่นนาเรือรบบุกขึ้น ชายทะเลภาคใต้ของไทยโดยไม่ทันรู้ตัว รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน ทาพิธีเคารพเอกราชกันและกัน
  • 61. • เมื่อไทยประกาศสงครามอย่างเต็มตัวกับฝ่ายสัมพันธมิตร ทาง สหรัฐอเมริกาได้ส่งเครื่องบิน บี 24 และ บี 29 อันเป็น เครื่องบินขนาด ใหญ่มาทิ้งระเบิดอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ ทั่วพระนคร ประชาชนได้รับ คาสั่งให้ทาการ พรางไฟ คือการใช้ผ้าขนหนูหรือผ้าขาวม้าปิดบังแสงไฟ ในบ้าน ให้เหลือเพียงแสงสลัว ๆ เพื่อป้องกันมิให้เครื่องบินของฝ่ายข้าศึก มาทิ้งระเบิด ในเวลาเดียวกัน ก็เกิดขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นโดยคนไทยด้วยกันเอง เรียกว่า ขบวนการไทยถีบ ขบวนการนี้ทาหน้าที่ดักปล้น ของเล็กของน้อย ยุทธปัจจัย ต่าง ๆ ของกองทัพญี่ปุ่น นอกจากนี้มีการปล้นทหารญี่ปุ่นกันอย่างหนัก ซึ่ง มีทั้งใช้การปล้นสะดมด้วยการรมยาให้หลับ เรียกว่า การลักหลับ หลัง สงคราม ตารวจต้องระดมกาลังปราบปราม บรรดาโจรผู้ร้ายซึ่งมีอาวุธที่ชิง มาจากทหารญี่ปุ่น และ บรรดาเสือร้ายต่างๆ โดยใช้เวลาหลายปี
  • 62. ต่อมาวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2485 ไทยได้ประกาศสงคราม กับอังกฤษและอเมริกา แต่ทูตไทยในสหรัฐอเมริกา คือ หม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช และ หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์ สวัสดิวัฒน์ ผู้แทนไทยใน อังกฤษไม่ยอมรับทราบในการกระทาของรัฐบาล จึงได้ร่วมมือกันตั้งเสรี ไทยขึ้นติดต่อกับนายปรีดี พนมยงค์ ในเมืองไทย ญี่ ปุ่ น แพ้ ส งครามเมื่ อ วั น ที่ 14 สิ ง หาคม พ.ศ.2488 ไทย ประกาศสงครามเป็นโมฆะ เพราะขัดต่อรัฐธรรมนูญและความประสงค์ ของประชาชนชาวไทย ซึ่งสหรัฐอเมริการับรอง ต่อมาไทยได้เจรจาเลิก สถานะสงครามกับอังกฤษ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2489 และกับ ฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489
  • 63.
  • 64. ประวัติสะพานข้ามแม่น้ าแคว • เป็ นสะพานที่สาคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัย สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ ายสัมพันธมิตร ั ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริ กน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ ประมาณ 61,700 คน สมทบด้วยกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า (เมียนมาร์) และ อินเดีย อีกจานวนมาก มาก่อสร้างทางรถไฟสาย ยุทธศาสตร์
  • 65. • ทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เส้นทางเริ่ มต้นจากสถานีหนองปลาดุก อ. บ้านโป่ ง จ. ราชบุรี ผ่านสถานีต่าง ๆ ใน จ. กาญจนบุรี เพื่อลาเลียงยุทธ ปัจจัยและกาลังทหารไปยังพม่า เส้นทางเมื่อข้ามสะพานข้ามแม่น้ าแคว ไปแล้วจะเลียบไปตามลาน้ าแควน้อย ผ่านโตรกผาบริ เวณที่เรี ยกว่าถ้ า กระแซ ซึ่งเป็ นทางโค้งเลียบหน้าผา ด้านหนึ่งเป็ นแม่น้ าที่เชี่ยวกราก บาง ช่วงต้องขุดเจาะระเบิดภูเขาเป็ นช่องให้รถไฟผ่านไป
  • 66.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71. ผลของสงครามโลกต่อไทย 1.ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญีปนรบ ่ ุ่ 2.ได้ดนแดนเชียงตุง และสีจังหวัดภาคใต้ทต้องเสียแก่องกฤษกลับมา แต่ ิ ่ ี่ ั ต้องคืนให้เจ้าของเมื่อสงครามสงบลง 3.เกิดขบวนการเสรีไทย ซึ่งให้พ้นจากการยึดครอง 4.ไทยได้รบเกียรติเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ั 5. ประเทศไทยถูกโจมตีทางอากาศจากฝ่ายสัมพันธมิตร มีผู้เสียชีวต ิ ประมาณ 1,900 คน บาดเจ็บประมาณ 3,000 คน ทรัพย์สนเสียหาย ิ ประมาณ 79 ล้านบาท 6. ไทยต้องคืนดินแดนของอังกฤษทีได้มาระหว่างสงคราม ่ ให้ข้าวสารแก่อังกฤษถึง 1.5 ล้านตัน และต้องชดใช้คาเสียหายต่าง ๆ ่ 7. เศรษฐกิจตกต่า
  • 72.
  • 73.  วันที่ 8 พฤษภาคม 1945 (พ.ศ. 2488) สงครามโลกครั้งที่สอง ในทวีปยุโรป ยุติลงอย่างเป็นทางการ (Victory in Europe Day : V-E Day or VE Day) หลังจากนาซีเยอรมันประกาศยอมแพ้ แต่สงครามในเอเชียยังคงดาเนิน ต่อไปจนกระทั่งญี่ปุ่นยอมจานนในวันที่ ๑๕ ส.ค. 1945
  • 74. 1. มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ(UN : United Nations) เพื่อดาเนินงานแทนองค์การสันนิบาตชาติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษา สันติภาพของโลกและให้กลุ่มสมาชิกร่ วมมือช่วยเหลือกัน และสนับสนุน สันติภาพของโลก รวมทั้งการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ซึ่งนับว่ามีความ เข้มแข็งกว่าเดิม เพราะสหรัฐอเมริ กาเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกผูก่อตั้งและมีกอง ้ ทหารของสหประชาชาติ
  • 75. 2.ทาให้เกิดสงครามเย็น(Cold War)ตั้ งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็ นต้น ประเทศสหภาพโซเวียต(USSR) ปกครองโดยสมัยสตาร์ ลินมีนโยบายขยายลัทธิ คอมมิวนิสต์ไปสู่ ยุโรปตะวันออก และเยอรมนีตะวันออก ซึ่ งมีทหารรัสเซี ยเข้า ปลดปล่อยดินแดนเหล่านี้จากอานาจฮิตเลอร์ ในสงครามโลกครั้งที่สอง ขณะที่สหรัฐ ต้องการสกัดกั้นการขยายตัวดังกล่าว และเผยแผ่การปกครองแบบเสรี ประชาธิ ปไตย ในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะดินแดนอาณานิคมที่ประกาศเอกราช เป็ นประเทศใหม่ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จนเกิดสภาวการณ์ที่เรี ยกว่า สงครามเย็น( Cold War )
  • 77. 4. การเกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ ประเทศที่เคยตกเป็ นอาณานิคมของชาติ ตะวันตกต่ างประกาศเอกราชของตนเอง ทั่วโลก โดยเฉพาะในเอเชีย และ แอฟริกา และบางประเทศถูกแบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน เช่ น เยอรมนี เกาหลี เวียดนาม
  • 79. 6. ความสู ญเสี ยทางด้ านสั งคมและทางจิตวิทยา
  • 80. 7. เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริ กา และ สหภาพโซ เวียตในค่ายคอมมิวนิสต์ ทั้งยังเป็ นแกนนาในการเผยแพร่ อุดมการณ์ การเมืองแบบสังคมนิยมออกไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทัวโลก ่
  • 81. 8. เกิดการแบ่งขั้วอย่างชัดเจนของสองมหาอานาจจนนาไปสู่ เกิดสงครามเย็น และการแบ่งกลุ่มประเทศระหว่างโลกเสรี ประชาธิ ปไตยกับโลกคอมมิวนิสต์ สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลงด้วยความพ่ายแพ้ของฝ่ ายอุดมการณ์ฟาสซิ สต์ท้ งใน ั ยุโรปและเอเซี ย และได้เกิดอุดมการณ์ใหม่ข้ ึนเมื่อมีการเผชิญหน้ากันระหว่าง สหรัฐ อเมริ กาและสหภาพโซเวียต โลกถูกแบ่งแยกออกเป็ นสองค่าย กล่าวคือ สหรัฐอเมริ กาเป็ นผูนาค่ายประชาธิ ปไตย ส่ วนสหภาพโซเวียตเป็ นผูนาค่าย ้ ้ คอมมิวนิสต์ ต่างฝ่ ายต่างพยายามนาเสนอระบบการเมืองที่ตนยึดมัน เพื่อให้ ่ ประเทศอื่น ๆ รับไปใช้เป็ นแม่แบบการปกครอง และพยายามแข่งขันกันเผยแพร่ อุดมการณ์ทางลัทธิ การเมืองของตนในกลุ่มประเทศที่เกิดใหม่หลังสงคราม เงื่อนไขนี้เองจึงก่อให้เกิดการแข่งขัน ขัดแย้งทางอุดมการณ์การเมืองการปกครอง ่ และค่อย ๆ ลุกลาม รุ นแรงจนอยูในสภาพที่เรี ยกว่า “สงครามเย็น” (Cold War)
  • 82. 9. สหรัฐฯได้เข้าปกครองญี่ปุ่นเป็ นเวลานานถึง 6 ปี โดยเข้าร่ วมฝ่ าย พันธมิตรหลังจากการโจมตีเพิร์ลฮาเบอร์ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ใน แถลงการณ์ของสหประชาชาติ เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1942 มีประเทศต่างๆ เข้า ร่ วมฝ่ ายพันธมิตรอย่างเป็ นทางการจานวน 26 ประเทศ (แถลงการณ์น้ ีเป็ น พื้นฐานของการก่อตั้งสหประชาชาติในภายหลัง)