SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
รายงาน
             วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
                   เรื่ อง อินเทอร์เน็ต
                           จัดทาโดย

            นายธนกาญจน์ สังข์สุวรรณ             เลขที่ 4

            นางสาวทิพย์อกษร โตแก้ว
                        ั                       เลขที่ 18

            นางสาวประภัสสร บุญเงิน              เลขที่ 21

            นางสาวอินทุกร ป้ อมหิ น             เลขที่ 25

            นางสาวสโรชา มากระนิตย์              เลขที่ 33

            นางสาวจุฑารัตน์ ลิ้มทอง             เลขที่ 34

                     ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2

                              เสนอ

                  อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม


โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
คานา
      กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทารายงานเรื่ อง อินเทอร์ เน็ต ขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้า
รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องอินเทอร์ เน็ตเพิ่มเติมจากความรู ้ในห้องเรี ยน และ
ความรู ้พ้ืนฐานที่มีอยู่ เนื้ อหาก็จะเกี่ยวกับประวัติของอินเทอร์ เน็ต บริ การ
                                               ่
ต่างๆจากอินเทอร์ เน็ต และรายละเอียดอีกมากมาย กลุมของข้าพเจ้าหวังว่า
                                              ่ ้
รายงานเรื่ องอินเทอร์ เน็ตเล่มนี้จะมีประโยชน์ตอผูที่เปิ ดดู และเปิ ดอ่านไม่มาก
ก็นอย
   ้
            หากผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
                                                  ้




                                                                     คณะผูจดทา
                                                                          ้ั
สารบัญ
           เรื่ อง                         หน้า
- ความหมายของอินเทอร์ เน็ต                      1
- ประวัติและความเป็ นมา                      2
- เว็บเบราว์เซอร์                            2
- ประโยชน์ของเบราว์เซอร์                     3
- บริ การต่าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต            3-5
- การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์         5
- ข้อดีของอินเทอร์ เน็ต                      6
- ข้อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต                  7
- อินเทอร์ เน็ตทาอะไรได้บาง
                         ้                  7-8
- อนาคตของอินเตอร์ เน็ต                     8
- เหตุผลสาคัญของอินเทอร์ เน็ต               9
- ปัจจัยหลักของอินเทอร์ เน็ต               9-10
- คาถาม                                    11-12
- เฉลย                                      13
- Mind map                                  14
- แหล่งอ้างอิง                              15
อินเทอร์เน็ต




                อินเทอร์ เน็ต

           คือ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็ นจานวนมากครอบคลุมไปทัวโลก โดยอาศัยโครงสร้าง
                                                                                ่
ระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็ นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล มีการประยุกต์ใช้งานหลากหลายรู ปแบบ
อินเทอร์เน็ตเป็ นทั้งเครื อข่ายของคอมพิวเตอร์ และเครื อข่ายของเครื อข่าย เพราะอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยเครื อข่าย
ย่อยเป็ นจานวนมากต่อเชื่อมเข้าด้วยกัน ภายใต้มาตรฐานเดียวกันจนเป็ นสังคมเครื อข่ายขนาดใหญ่ อินเทอร์เน็ตเป็ น
เครื อข่ายสาธารณะที่ไม่มีผใดเป็ นเจ้าของ ทาให้การเข้าสู่เครื อข่ายเป็ นไปได้อย่างเสรี ภายใต้กฎเกณฑ์บางประการที่
                              ู้
                 ่                              ่
กาหนดขึ้น เพือไม่ให้เกิดความสับสนและวุนวายจากการเชื่อมต่อจากเครื อข่ายทัวโลก อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้าย
                                                                                  ่
กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการทางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN
เป็ นเครื อข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรื อกลุ่มองค์กร เพือวัตถุประสงค์ดานใดด้านหนึ่ง และมีผดูแลระบบที่
                                                              ่              ้                    ู้
รับผิดชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็ นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นบล้านๆ เครื่ องแบบไม่ถาวรขึ้นอยู่
                                                                                    ั
กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึงทาให้ระบบอินเทอร์เน็ต
ไม่มีผใดรับผิดชอบหรื อดูแลทั้งระบบ
       ู้
ประวัติและความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต
        เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตถือกาเนิดในยุคของสงครามเย็นระหว่างประเทศมหาอานาจ (สหรัฐอเมริ กา) กับรัสเซีย
เนื่องจากกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริ กาในขณะนั้นได้เกิดแนวคิดที่ตองการทาให้ระบบคอมพิวเตอร์
                                                                      ้
สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยคอมพิวเตอร์สามารถสังการและทางานได้ดวยตัวเอง โดยไม่จาเป็ นต้องมีผคอย
                                               ่               ้                            ู้
ควบคุมดูแล หากมีการโจมตีดวยระเบิดปรมาณูหรื อขีปนาวุธนิ วเคลียร์ เข้ามาถล่มจุดยุทธศาสตร์ท่ีเมืองใดเมืองหนึ่ง
                         ้
อาจทาให้ระบบคอมพิวเตอร์บางส่วนถูกทาลายไปแต่ส่วนที่เหลือจะต้องสามารถปฏิบตงานได้ ซึ่งเป้ าหมายนี้เองจึง
                                                                       ัิ
ได้เกิดโครงการวิจยและพัฒนาระบบ เครื อข่ายดังกล่าวขึ้น เรี ยกว่า ARPA (Advanced Research Projects Agency)
                 ั
และได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว จนในที่สุดได้กลายมาเป็ นเครื อข่ายที่มีชื่อว่า “อินเทอร์เน็ต” (Internet) ในปั จจุบน
                                                                                                               ั




                 เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser)

          เบราว์เซอร์หรื อโปรแกรมดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผใช้สามารถดูขอมูลและโต้ตอบกับข้อมูล
                                                                     ู้            ้
สารสนเทศที่จดเก็บในหน้าเว็บที่ สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (Html) ที่จดเก็บไว้ที่ระบบบริ การ
                 ั                                                                        ั
เว็บหรื อเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรี ยบเสมือนเครื่ องมือในการติดต่อกับ
เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรี ยกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ
ประโยชน์ของ Web Browser
       สามารถดูเอกสารภายในเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ได้ อย่างสวยงาม มีการแสดงข้อมูลในรู ปของ ข้อความ ภาพ และ
ระบบมัลติมีเดียต่างๆ ทาให้การดูเอกสารบนเว็บมีความน่าสนใจมากขึ้น ส่งผลให้อินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมเป็ น
อย่างมากเช่นในปั จจุบน
                     ั




                 บริ การต่าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต
                                                                       ั ้
      บริ การบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภท เพืออานวยความสะดวกให้กบผูใช้ได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
                                                ่
ลักษณะงาน ซึ่งในที่น้ ีจะยกตัวอย่างบริ การบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้


                      ์                               ่                             ่
         1.) ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์หรื อเรี ยกกันโดยทัวไปว่าอีเมล์ (E-mail) ถือได้วาเป็ นกิจกรรมประจาวันของผูใช้   ้
                                                                                          ่
อินเตอร์เน็ต ซึ่งการส่งและรับจดหมาย หรื อข้อความถึงกันได้ทวโลกนี้จาเป็ นจะต้องมีที่อยูอีเมล์ (e-mail address
                                                                ั่
                                                        ่
หรื อ e-mail account) เพือใช้เป็ นกล่องรับจดหมาย ที่อยูของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือ ชื่อ
                         ่
ผูใช้ (User name) และชื่อโดเมน (Domain name) ซึ่งเป็ นชื่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผูใช้อีเมล์ โดยชื่อผูใช้
  ้                                                                                           ้                  ้
และชื่อโดเมนจะคันด้วยเครื่ องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท)
                   ่


       2.) รายชื่อกลุ่มสนทนา เป็ นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มีการติดต่อสื่อสารและการส่ง
ข่าวสารให้กบสมาชิกตามรายชื่อและที่อยูของสมาชิกที่มีอยู่ ในรายการซึ่งในปั จจุบนมีกลุ่มที่แตกต่างกัน ตามความ
           ั                           ่                                     ั
สนใจจานวนมาก การเข้าไปมีส่วนร่ วมในกลุ่มสนทนาประเภทนี้ ผูใช้จะต้อง สมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความ
                                                             ้
ประสงค์และส่งชื่อและที่อยูเ่ พือการลงทะเบียน
                               ่
3.) กระดานข่าว (Usenet) เป็ นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรื อ newsgroup ซึ่งเป็ นกลุ่มผูสนใจที่ตองการจะ
                                                                                             ้        ้
ติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ newsgroup ในปั จจุบนมีมากกว่า 10,000
                                        ้                                                  ั
กลุ่มทีมีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่มผูสนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผูช่ืนชอบภาพยนตร์ เป็ น
        ่                                              ้                               ้
ต้น การส่งและรับแหล่งข่าวจาก Usenet จะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพือไปดึงชื่อของกลุ่มข่าวหรื อหัวข้อจาก
                                                                         ่
เครื่ อง คอมพิวเตอร์ ที่ผใช้เข้าไปขอใช้บริ การ เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพือใช้เป็ น
                         ู้                                                                               ่
แบบมาตรฐาน ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่มข่าว
ย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic)

        4.) การสนทนาออนไลน์ (On-line chat) เป็ นบริ การหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผใช้สามารถคุยโต้ตอบกับ
                                                                                      ู้
ผูใช้คน อื่น ๆ ได้ในเวลาเดียวกัน การสนทนาหรื อ chat ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ปั จจุบนการสนทนาระหว่าง
  ้                                                                                      ั
บุคคลหรื อ กลุ่มบุคคลสามารถใช้ภาพกราฟิ ก ภาพการ์ตูนหรื อภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผูสนทนาได้ นอกจาก
                                                                                           ้
การสนทนาแล้ว ผูใช้ยงสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย
                   ้ ั

          5.) การขนถ่ายไฟล์(file transfer protocol) หรื อที่เรี ยกสั้น ๆว่า เอฟทีพี (FTP) เป็ นบริ การที่ใช้สาหรับการ
แลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ต เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การไฟล์จะเรี ยกว่า เอฟทีพี
เซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรื อ FTP site) ข้อมูลที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จะมีลกษณะหลายรู ปแบบ ได้แก่ขอมูลสถิติ
                                                                              ั                             ้
งานวิจย บทความ เพลง ข่าวสารทัวไป หรื อโปรแกรมฟรี แวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี
        ั                           ่
ในบางครั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ท่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จะให้บริ การ เฉพาะบุคคลที่มีบญชีรายชื่ออยูในเครื่ อง
                                  ี                                                      ั             ่
คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ก็มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จานวนมากอนุญาตให้ผใช้ ทัวไปได้เข้าไปใช้
                                                                                                   ู้ ่
                ่
บริ การ ถึงแม้วาในบางครั้งจะไม่อนุญาต ให้ขนถ่ายไฟล์ท้งหมดก็ตาม
                                                             ั

          6.) การเรี ยกค้นข้อมูลข่าวสาร ปั จจุบนมีฐานข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่ง
                                                 ั
เก็บข้อมูลในรู ปสิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ผใช้สามารถเรี ยกอ่านหรื อนามาพิมพ์ ลักษณะการเรี ยกคืนนี้จึงมีลกษณะ
                                              ู้                                                          ั
                                      ่
เหมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่ อยูภายในเครื อข่ายที่สามารถค้นหาข้อมูลใดๆก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะ นี้เรี ยกว่า
“เครื อข่าย ใยแมงมุม ครอบคลุม ทัวโลก” (World Wide Web: WWW) ซึ่งเป็ นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยง กันทัวโลก
                                    ่                                                                 ่

          7.) การบริ การสถานีวทยุและโทรทัศน์บนเครื อข่าย เป็ นการประยุกต์ เพือให้เห็นว่าเป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นได้
                              ิ                                              ่
ปั จจุบนมีผต้งสถานีวทยุบนเครื อข่าย อินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผูใช้สามารถเลือกสถานีที่ตองการและได้ยนเสียง
       ั ู้ ั          ิ                                         ้                          ้                ิ
                                                                                                ่
เหมือนการเปิ ดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพ วิดีโอ บนเครื อข่ายด้วยแต่ปัญหายังอยูที่ความเร็ว ของ
เครื อข่ายที่ยงไม่สามารถรองรับการ ส่งข้อมูลจานวนมาก ทาให้คุณภาพของภาพวีดิโอยังไม่เห็นดีเท่าที่ควร
              ั
ั ่
        8.) เทลเน็ต (telnet) เป็ นบริ การที่ให้ผใช้สามารถใช้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ต้งอยูระยะไกล โดยจะใช้
                                                ู้
การจาลองเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ ให้เป็ นจอภาพ ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่ องนั้น การทางาน
ในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายในกรณี ที่ตองเดินทางไปใช้งาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ระยะไกล การ
                                                             ้
ใช้งานเทลเน็ตจะเป็ นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไปใช้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์
ระยะไกล จาเป็ นต้องมีรายชื่อผูใช้และรหัสผ่าน แต่ก็มีบางหน่วยงานที่อนุญาตให้เข้าใช้บริ การโดยไม่ตองระบุ
                                 ้                                                                    ้
รหัสผ่านเพือ เป็ นการให้บริ การข้อมูลแก่ลูกค้าทัว ๆ ไป
           ่                                       ่




                การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์
                                                                                            ่ ั่
        อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจายอยูทวโลก การค้นหาข้อมูล
                                        ่
จากแหล่งต่างๆ ถ้าผูใช้ไม่ทราบที่อยูของเว็บไซต์ ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริ การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้
                     ้
กล่าวมาแล้ว ปั จจุบนการค้นหาข้อมูลที่ตองการเป็ นเรื่ องที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็ว การพัฒนาเว็บไซต์ที่ช่วย
                   ั                        ้
สืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรี ยกว่า เครื่ องค้นหา (search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งในรู ปของข้อความและกราฟิ ก กระทา
ได้โดยง่าย
ข้อดีของอินเทอร์ เน็ต

       1. ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น งานวิจย บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทางกาแพทย์ ฯลฯ ได้
                                                ั
จากแหล่งข้อมูลทัวโลก เช่น ห้องสมุด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจย โดยไม่ตองเสียค่าใช้จ่ายและ เสียเวลาใน
                 ่                                            ั         ้
การเดินทางและสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา 24 ชัวโมง
                                             ่

      2. ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ทัวโลกได้อย่างรวดเร็ วจากการรายงานข่าวของสานักข่าวต่างๆ อยู่ รวมทั้ง
                                        ่
อ่านบทความเรื่ องราวที่ลงในนิตยสารหรื อวารสารต่างๆ ได้ฟรี โดยมีท้งข้อความและภาพประกอบด้วย
                                                                 ั

        3. รับส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ทวโลกได้อย่างรวดเร็ วโดยไม่ตองเสียเงินค่าตราไปรษณี ยยากร ถึงแม้จะ
                         ์              ั่                         ้                        ์
เป็ นการส่งข้อความไปต่างประเทศก็ไม่ตองเสียเงินเพิมขึ้นเหมือนการส่งจดหมาย การส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์น้ ี
                                      ้          ่                                        ์
นอกจากจะส่งข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่งแฟ้ มภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง
พร้อมกันไปได้ดวย ้

        4. สนทนากับผูอื่นทีอยูห่างไกลได้ท้งในลักษณะการพิมพ์ขอความและเสียง
                     ้ ่ ่                ั                 ้

        5. ร่ วมกลุ่มอภิปรายหรื อกลุ่มข่าวเพือแสดงความคิดเห็น หรื อพูดคุยถกปั ญหากับผูที่สนใจในเรื่ องเดียวกัน
                                             ่                                        ้
เป็ นการขยายวิสัยทัศน์ในเรื่ องที่สนใจนั้นๆ

        6. ถ่ายโอนแฟ้ มข้อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่นๆ รวมทั้งโปรแกรมต่างๆ ได้จากแหล่งที่มีผให้บริ การ
                                                                                            ู้

        7. ตรวจดูราคาสินค้าและสังซื้อสินค้ารวมทั้งบริ การต่างๆ ได้โดยไม่ตองเสียเวลาเดินทางไปห้างสรรพสินค้า
                                ่                                        ้

       8. ให้ความบันเทิงหลายรู ปแบบ เช่น การฟังเพลง รายการวิทยุ การชมรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมไป
ถึงการแข่งขันเกมกับผูอื่นได้ทวโลก
                     ้       ั่

        9. ติดประกาศข้อความที่ตองการให้ผอื่นทราบได้อย่างทัวถึง
                               ้        ู้                ่

        10. ให้เสรี ภาพในการสื่อสารทุกรู ปแบบแก่บุคคลทุกคน
ข้อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต

         1. อินเทอร์เน็ตเป็ นข่ายงานขนาดใหญ่ที่ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ ทุกคนจึงสามารถสร้างเว็บไซด์หรื อติดประกาศ
ข้อความได้ทุกเรื่ อง บางครั้งข้อความนั้นอาจจะเป็ นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรื อไม่ได้รับการรับรอง เช่น ข้อมูลด้าน
การแพทย์หรื อผลการทดลองต่างๆ จึงเป็ นวิจารณญาณของผูอ่านที่จะต้องไตร่ ตรองข้อความทีอ่านนั้นด้วยว่าควรจะ
                                                            ้                               ่
เชื่อถือได้หรื อไม่

       2. นักเรี ยนและเยาวชนอาจติดต่อเข้าไปในเว็บไซด์ที่ไม่เป็ นประโยชน์หรื ออาจยัวยุอารมณ์ ทาให้เป็ น
                                                                                  ่
อันตรายตัวตัวเองและสังคม




                อินเตอร์ เน็ตทาอะไรได้บาง
                                       ้

        1. การค้นหาข้อมูล เราสามารถค้นหาข้อมูลและสิ่งที่ตองการอยากรู ้ได้ โดยการค้นหาจากเว็บไซด์ต่าง ๆ บน
                                                         ้
อินเทอร์เน็ต World Wide Web หรื อ WWW. เป็ นบริ หารข้อมูลแบบต่าง ๆ ซึ่งมีการ เชื่อมโยงถึงกันได้ ตัวอย่างเช่น
การค้นหาข้อมูลด้วย Google จาก www.google.co.th

           2. เพือการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพือการศึกษา ปั จจุบนมีเว็บที่บริ การเรี ยนออนไลน์มากมายหลากหลาย
                 ่                              ่                ั
วิชา มีท้งแบบข้อความเพืออ่าน ภาพประกอบ เสียงบรรยาย หรื อวีดีโอสอนก็มี
         ั                 ่
3. เพือความบันเทิงและข่าวสาร นอกจากทีกล่าวมาเรายังสามารถดูหนัง ฟังเพลง หรื ออ่านหนังสือพิมพ์
              ่                                      ่
นิตยาสาร เพือให้มีความรู ้เพิมเติมได้ ดังตัวอย่างนี้
            ่                ่

         4. เพือการสนทนาหรื อจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ เราสามารถติดต่อกันได้โดยการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น
               ่
การสนทนาด้วยการพิมพ์ขอความโต้ตอบ หรื อการสนทนาผ่านระบบเสียงการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์และ อื่น ๆ
                        ้
ดังตัวอย่างนี้

      5. เพืองานธุรกิจ นอกจากทีได้กล่าวมา เรายังสามารถใช้อินเทอร์เน็ตเพืองานธุรกิจได้ เช่น ซื้อขายสินค้า
            ่                   ่                                       ่
ออนไลน์ การทางานเกี่ยวกับการเงิน เช่น โอนเงินระหว่างธนาคารและอื่น ๆ อีกมากมาย




                 อนาคตของอินเตอร์ เน็ต

        ในต่างประเทศ อินเตอร์ เน็ตกลายเป็ นโลกใหม่ของบุคคลในศตวรรษใหม่น้ ีเสียแล้วถึงขนาดที่กล่าวกันว่า
การที่สหรัฐอเมริ กายังคงมีเศรษฐกิจที่ร่ ารวยอยูจนถึงทุกวันนี้ ไม่ตกต่าอย่างบ้านเราก็เพราะธุรกิจที่เกี่ยวกับ
                                               ่
เทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ต หรื อที่เรี ยกกันว่าเศรษฐกิจโลกใหม่ (New Economy) นี่เอง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผานมา
                                                                                                    ่
อินเทอร์เน็ตถูกใช้ในฐานะของสื่ออย่างหนึ่ง ช่วยให้คนซึ่งอยูคนละซีกโลกสามารถแรกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ง่าย ๆ แต่
                                                          ่
ตอนนี้อินเตอร์เน็ตกลับกลายเป็ นลู่ทางการค้าที่สาคัญ เนื่องจากอินเตอร์เน็ตทาให้ตนทุนการผลิตต่าช่วยส่งเสริ มให้
                                                                               ้
เกิดการค้าข่ายในอินเตอร์เน็ตหลายพันล้านดอลลาร์ต่อปี ทาให้บริ ษทยักษ์ใหญ่และเล็กแทบทั้งหมด กระโดยเข้ามา
                                                              ั
ลงทุนในอินเตอร์เน็ต จึงไม่น่าแปลกทีอินเตอร์เน็ตจะมีสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ทั้งนี้เพราะเงินทุนที่
                                   ่
ไหลเข้ามาสู่โลกอินเตอร์เน็ตมากมายนี่เอง ในฐานะผูใช้งานธรรมดาเรายังสามารถมันใจได้วา หากศึกษาอินเตอร์เน็ต
                                                ้                         ่      ่
                                                                                                   ่
ในวันนี้จะมีประโยชน์อย่างมากอย่างแน่นอน เนื่องจากอินเตอร์เน็ตก้าวเข้ามามีบทบาทกับผูใช้อย่างมาก ไม่วาจะเป็ น
                                                                                   ้
เรื่ องข่าวสารแทนหนังสือพิมพ์ การส่งจดหมาย การโทรศัพท์ฟรี การส่งแฟกซ์ หรื อ แม้แต่การคบเพือนทาง
                                                                                          ่
อินเตอร์เน็ต แต่ถึงแม้วาผูใช้งานจะได้ประโยชน์ แต่ในมุมของผูมองของผูที่อยากทาธุรกิจเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตก็
                       ่ ้                                 ้       ้
                  ่
อาจจะยังพูดไม่ได้วาจะสาเร็จหรื อไม่ เพราะใคร ๆ ต่างก็วงเข้าไปลงทุนกับธุรกิจในอินเตอร์เน็ต จนอาจจะมาก
                                                      ิ่
เกินไปแล้วก็ได้ คงมีบางส่วนที่ตองขาดทุนในไม่ชา ดังนั้นหากมีใครชวนคุณไปลงทุนทากิจการเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
                               ้             ้
                 ่
ก็ตองช่างใจให้ดีวาน่าลงทุนหรื อไม่
   ้
เหตุผลสาคัญที่ทาให้อินเตอร์ เน็ตได้รับความนิยมแพร่ หลายคือ

     1. การสื่อสารบนอินเตอร์เน็ตไม่จากัดระบบปฏิบติการของเครื่ องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ต่าง
                                                ั
ระบบปฏิบติการกันก็สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
        ั

                                                          ่     ่
       2. อินเตอร์เน็ตไม่มีขอจากัดในเรื่ องของระยะทาง ไม่วาจะอยูภายในอาคารเดียวกันห่างกันคนละทวีป ข้อมูล
                            ้
ก็สามารถส่งผ่านถึงกันได้

      3. อินเตอร์ เน็ตไม่จากัดรู ปแบบของข้อมูล ซึ่งมีได้ท้งข้อมูลที่เป็ นข้อความอย่างเดียว หรื ออาจมี
                                                          ั
ภาพประกอบ รวมไปถึงข้อมูลชนิดมัลติมีเดีย คือมีท้งภาพเคลื่อนไหวและมีเสียงประกอบด้วยได้
                                               ั




                ปัจจัยหลักที่ทาให้อินเทอร์ เน็ตเป็ นปรากฏการณ์ของยุคสมัยประกอบด้วย

        1. อินเทอร์เน็ตเป็ นเทคโนโลยีเครื อข่ายที่ใช้ง่าย ทาให้กลายเป็ นบริ การที่ประชาชนทัวไปใช้ได้อย่าง
                                                                                           ่
สะดวก โดยไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ดานโปรแกรมคอมพิวเตอร์
                                  ้
2. อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายแห่ งเครื อข่าย (Network of Networks) ทาให้เกิดการเชื่อมโยงกันอย่างเสรี โดย
ไม่มีการปิ ดกั้น

          3. สามารถเผยแพร่ ขอมูลของตนเองสู่สงคมโลกได้ง่าย
                            ้               ั

          4. การสื่อสารผ่านระบบไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เป็ นการปฏิวติระบบการสื่อสารทัวโลกด้วย
                                       ์                                   ั                 ่
ความเร็ว และแม่นยา

                                             ่
          5. สามารถแลกเปลี่ยนสาระความรู ้ผานระบบ Bulletin Board และ Discussion Groups ต่างๆ ทาให้เกิดการ
                   ั
แลกเปลี่ยนความรู ้กนได้อย่างกว้างขวาง และทัวถึงมากขึ้น
                                           ่

         6. มีเทคโนโลยีของการรับส่งข้อมูลผ่านระบบ File Transfer Protocol (FTP) ทาให้การรับส่งข้อมูลตั้งแต่
เอกสาร 1 หน้า ไปจนถึงหนังสือทั้งเล่มเป็ นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ ว และประหยัด

                          ่
          7. มีการพัฒนาอยูตลอดเวลา เช่น การใช้ Internet Phone, Voice e-mail, Chat, การประชุมทางไกลผ่าน
อินเทอร์เน็ต

           8. อินเทอร์เน็ตเป็ นการปฏิวติอุตสาหกรรม ในรู ปแบบของ "วาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์"
                                      ั
(Electronic Commerce)

          9. มีรูปแบบของการสืบค้นข้อมูลของภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ซึ่งนอกจากจะสะดวก
และง่ายต่อการใช้แล้ว ยังเป็ นสภาพแวดล้อมที่อาจมีผลทางจิตวิทยา ให้ผูใช้คนหาข้อมูลลึกลงไปเป็ นชั้น ๆ ด้วย
                                                                   ้ ้
คุณสมบัติของ Web Browser ในอินเทอร์เน็ต
คาถาม เรื่ องอินเทอร์ เน็ต
1. เทลเน็ตเป็ นการแสดงอะไร

       ก.แสดงข้อมูล            ข.แสดงรู ปภาพ          ค.แสดงข้อความตัวอักษร           ง.แสดงผล

2. อินเทอร์ เน็ตถือกาเนิดขึ้นในประเทศอะไร

       ก.จีน                    ข.ญี่ปน
                                      ุ่             ค.สหรัฐอเมริ กา                  ง.รัสเซี ย

3. ประโยชน์ของเว็บเบราวเซอร์ ขอใดถูกต้อง
                              ้

       ก.สามารถดูเอกสารในเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ ได้         ข.สามารถอัพโหลดเว็บต่างๆได้

       ค.สามารถส่ งข้อมูลได้                           ง.สามารถย้ายข้อมูลได้

4. อินเทอร์ เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบใด

       ก.ระบบ WAN              ข.ระบบ ARPA            ค.ระบบ HTML             ง.ระบบ CHAT

5. โครงงานวิจยและพัฒนาระบบ เรี ยกว่าอะไร
             ั

       ก.ARAP                  ข.ARPA                 ค.ADPA                  ง.PDAR

6. ข้อใดไม่ใช่เหตุสาคัญที่ทาให้อินเทอร์ เน็ตได้รับความนิยมแพร่ หลาย

       ก.การสื่ อสารไม่จากัดระบบปฏิบติการของคอมพิวเตอร์
                                    ั                                   ข.ไม่จากัดรู ปแบบของข้อมูล

       ค.ไม่มีขอจากัดในเรื่ องของระยะทาง
               ้                                                        ง.ดูเว็บอนาจาร ลามก

7. การพัฒนาเว็บไซต์ที่ช่วยสื บค้นแหล่งข้อมูลที่เรี ยกว่า

       ก.เครื่ องข้อมูล        ข.เครื่ องพัฒนา        ค.เครื่ องค้นหา         ง.เครื่ องวิจย
                                                                                           ั
8. ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์มีส่วนประกอบสาคัญกี่ส่วน
           ์

       ก.1ส่ วน       ข.2ส่ วน          ค.3ส่ วน    ง.4ส่ วน

9. เว็บเบราว์เซอร์ ทาหน้าที่อะไร

       ก.เผยแพร่ ความรู ้เป็ นขั้นตอน               ข.สร้างภาษา

       ค.มีระบบตอบข้อซักถาม                         ง.มีการบริ หารจัดการ

10. FTP เป็ นบริ การเกี่ยวกับอะไร

       ก.การสนทนาออนไลน์                ข.เทลเน็ต   ค.กระดาษข่าว           ง.การขนถ่ายไฟล์
เฉลย
1.>ค.

2.>ค.

3.>ก.

4.>ก.

5.>ข.

6.>ง.

7.>ค.

8.>ข.

9.>ข.

10.>ง.
Mind map
แหล่งอ้างอิง
-   http://school.obec.go.th/mrPaisan/e-learning/information/content/internet1.htm
-   http://school.obec.go.th/kudhuachang/les01.htm
-   http://tc.mengrai.ac.th/paisan/e-learning/internet/page21.htm
-   http://www.mindphp.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/66-
    server-hosting/1849-web-browser-
    %E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B8%AD%
    E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3-web-browser-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD.html

-   http://pirun.ku.ac.th/~b5011172/Page_5.html
-   http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g18m2fri/internet_goodbad.htm
-   http://school.obec.go.th/kudhuachang/les02.htm
-   http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-5955.html

Contenu connexe

Tendances

คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟnarumon intawong
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 

Tendances (20)

โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษีโครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟ
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 

Similaire à รายงานอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตSamart Phetdee
 

Similaire à รายงานอินเทอร์เน็ต (20)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
้html
้html้html
้html
 

Plus de Sarocha Makranit

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีงาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีSarocha Makranit
 
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dApple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dSarocha Makranit
 
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำกลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำSarocha Makranit
 
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอSarocha Makranit
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาSarocha Makranit
 
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013Sarocha Makranit
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาSarocha Makranit
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่Sarocha Makranit
 
คีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงคีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงSarocha Makranit
 
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์Sarocha Makranit
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์Sarocha Makranit
 

Plus de Sarocha Makranit (20)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีงาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
 
It news
It newsIt news
It news
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dApple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
 
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำกลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
 
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่
 
คีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงคีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสง
 
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์
 
แท็บเล็ต
แท็บเล็ตแท็บเล็ต
แท็บเล็ต
 

รายงานอินเทอร์เน็ต

  • 1. รายงาน วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่ อง อินเทอร์เน็ต จัดทาโดย นายธนกาญจน์ สังข์สุวรรณ เลขที่ 4 นางสาวทิพย์อกษร โตแก้ว ั เลขที่ 18 นางสาวประภัสสร บุญเงิน เลขที่ 21 นางสาวอินทุกร ป้ อมหิ น เลขที่ 25 นางสาวสโรชา มากระนิตย์ เลขที่ 33 นางสาวจุฑารัตน์ ลิ้มทอง เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
  • 2. คานา กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทารายงานเรื่ อง อินเทอร์ เน็ต ขึ้นเพื่อศึกษาค้นคว้า รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องอินเทอร์ เน็ตเพิ่มเติมจากความรู ้ในห้องเรี ยน และ ความรู ้พ้ืนฐานที่มีอยู่ เนื้ อหาก็จะเกี่ยวกับประวัติของอินเทอร์ เน็ต บริ การ ่ ต่างๆจากอินเทอร์ เน็ต และรายละเอียดอีกมากมาย กลุมของข้าพเจ้าหวังว่า ่ ้ รายงานเรื่ องอินเทอร์ เน็ตเล่มนี้จะมีประโยชน์ตอผูที่เปิ ดดู และเปิ ดอ่านไม่มาก ก็นอย ้ หากผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ คณะผูจดทา ้ั
  • 3. สารบัญ เรื่ อง หน้า - ความหมายของอินเทอร์ เน็ต 1 - ประวัติและความเป็ นมา 2 - เว็บเบราว์เซอร์ 2 - ประโยชน์ของเบราว์เซอร์ 3 - บริ การต่าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต 3-5 - การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์ 5 - ข้อดีของอินเทอร์ เน็ต 6 - ข้อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต 7 - อินเทอร์ เน็ตทาอะไรได้บาง ้ 7-8 - อนาคตของอินเตอร์ เน็ต 8 - เหตุผลสาคัญของอินเทอร์ เน็ต 9 - ปัจจัยหลักของอินเทอร์ เน็ต 9-10 - คาถาม 11-12 - เฉลย 13 - Mind map 14 - แหล่งอ้างอิง 15
  • 4. อินเทอร์เน็ต อินเทอร์ เน็ต คือ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็ นจานวนมากครอบคลุมไปทัวโลก โดยอาศัยโครงสร้าง ่ ระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็ นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล มีการประยุกต์ใช้งานหลากหลายรู ปแบบ อินเทอร์เน็ตเป็ นทั้งเครื อข่ายของคอมพิวเตอร์ และเครื อข่ายของเครื อข่าย เพราะอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยเครื อข่าย ย่อยเป็ นจานวนมากต่อเชื่อมเข้าด้วยกัน ภายใต้มาตรฐานเดียวกันจนเป็ นสังคมเครื อข่ายขนาดใหญ่ อินเทอร์เน็ตเป็ น เครื อข่ายสาธารณะที่ไม่มีผใดเป็ นเจ้าของ ทาให้การเข้าสู่เครื อข่ายเป็ นไปได้อย่างเสรี ภายใต้กฎเกณฑ์บางประการที่ ู้ ่ ่ กาหนดขึ้น เพือไม่ให้เกิดความสับสนและวุนวายจากการเชื่อมต่อจากเครื อข่ายทัวโลก อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบคล้าย ่ กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการทางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN เป็ นเครื อข่ายที่ถูกสร้างโดยองค์กรๆ เดียวหรื อกลุ่มองค์กร เพือวัตถุประสงค์ดานใดด้านหนึ่ง และมีผดูแลระบบที่ ่ ้ ู้ รับผิดชอบแน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็ นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นบล้านๆ เครื่ องแบบไม่ถาวรขึ้นอยู่ ั กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึงทาให้ระบบอินเทอร์เน็ต ไม่มีผใดรับผิดชอบหรื อดูแลทั้งระบบ ู้
  • 5. ประวัติและความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตถือกาเนิดในยุคของสงครามเย็นระหว่างประเทศมหาอานาจ (สหรัฐอเมริ กา) กับรัสเซีย เนื่องจากกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริ กาในขณะนั้นได้เกิดแนวคิดที่ตองการทาให้ระบบคอมพิวเตอร์ ้ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยคอมพิวเตอร์สามารถสังการและทางานได้ดวยตัวเอง โดยไม่จาเป็ นต้องมีผคอย ่ ้ ู้ ควบคุมดูแล หากมีการโจมตีดวยระเบิดปรมาณูหรื อขีปนาวุธนิ วเคลียร์ เข้ามาถล่มจุดยุทธศาสตร์ท่ีเมืองใดเมืองหนึ่ง ้ อาจทาให้ระบบคอมพิวเตอร์บางส่วนถูกทาลายไปแต่ส่วนที่เหลือจะต้องสามารถปฏิบตงานได้ ซึ่งเป้ าหมายนี้เองจึง ัิ ได้เกิดโครงการวิจยและพัฒนาระบบ เครื อข่ายดังกล่าวขึ้น เรี ยกว่า ARPA (Advanced Research Projects Agency) ั และได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว จนในที่สุดได้กลายมาเป็ นเครื อข่ายที่มีชื่อว่า “อินเทอร์เน็ต” (Internet) ในปั จจุบน ั เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) เบราว์เซอร์หรื อโปรแกรมดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผใช้สามารถดูขอมูลและโต้ตอบกับข้อมูล ู้ ้ สารสนเทศที่จดเก็บในหน้าเว็บที่ สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (Html) ที่จดเก็บไว้ที่ระบบบริ การ ั ั เว็บหรื อเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรี ยบเสมือนเครื่ องมือในการติดต่อกับ เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรี ยกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ
  • 6. ประโยชน์ของ Web Browser สามารถดูเอกสารภายในเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ได้ อย่างสวยงาม มีการแสดงข้อมูลในรู ปของ ข้อความ ภาพ และ ระบบมัลติมีเดียต่างๆ ทาให้การดูเอกสารบนเว็บมีความน่าสนใจมากขึ้น ส่งผลให้อินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมเป็ น อย่างมากเช่นในปั จจุบน ั บริ การต่าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต ั ้ บริ การบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภท เพืออานวยความสะดวกให้กบผูใช้ได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับ ่ ลักษณะงาน ซึ่งในที่น้ ีจะยกตัวอย่างบริ การบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้ ์ ่ ่ 1.) ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์หรื อเรี ยกกันโดยทัวไปว่าอีเมล์ (E-mail) ถือได้วาเป็ นกิจกรรมประจาวันของผูใช้ ้ ่ อินเตอร์เน็ต ซึ่งการส่งและรับจดหมาย หรื อข้อความถึงกันได้ทวโลกนี้จาเป็ นจะต้องมีที่อยูอีเมล์ (e-mail address ั่ ่ หรื อ e-mail account) เพือใช้เป็ นกล่องรับจดหมาย ที่อยูของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือ ชื่อ ่ ผูใช้ (User name) และชื่อโดเมน (Domain name) ซึ่งเป็ นชื่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผูใช้อีเมล์ โดยชื่อผูใช้ ้ ้ ้ และชื่อโดเมนจะคันด้วยเครื่ องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) ่ 2.) รายชื่อกลุ่มสนทนา เป็ นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่มีการติดต่อสื่อสารและการส่ง ข่าวสารให้กบสมาชิกตามรายชื่อและที่อยูของสมาชิกที่มีอยู่ ในรายการซึ่งในปั จจุบนมีกลุ่มที่แตกต่างกัน ตามความ ั ่ ั สนใจจานวนมาก การเข้าไปมีส่วนร่ วมในกลุ่มสนทนาประเภทนี้ ผูใช้จะต้อง สมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความ ้ ประสงค์และส่งชื่อและที่อยูเ่ พือการลงทะเบียน ่
  • 7. 3.) กระดานข่าว (Usenet) เป็ นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรื อ newsgroup ซึ่งเป็ นกลุ่มผูสนใจที่ตองการจะ ้ ้ ติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ newsgroup ในปั จจุบนมีมากกว่า 10,000 ้ ั กลุ่มทีมีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่มผูสนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผูช่ืนชอบภาพยนตร์ เป็ น ่ ้ ้ ต้น การส่งและรับแหล่งข่าวจาก Usenet จะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพือไปดึงชื่อของกลุ่มข่าวหรื อหัวข้อจาก ่ เครื่ อง คอมพิวเตอร์ ที่ผใช้เข้าไปขอใช้บริ การ เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพือใช้เป็ น ู้ ่ แบบมาตรฐาน ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อกลุ่มข่าว ย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) 4.) การสนทนาออนไลน์ (On-line chat) เป็ นบริ การหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผใช้สามารถคุยโต้ตอบกับ ู้ ผูใช้คน อื่น ๆ ได้ในเวลาเดียวกัน การสนทนาหรื อ chat ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ปั จจุบนการสนทนาระหว่าง ้ ั บุคคลหรื อ กลุ่มบุคคลสามารถใช้ภาพกราฟิ ก ภาพการ์ตูนหรื อภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผูสนทนาได้ นอกจาก ้ การสนทนาแล้ว ผูใช้ยงสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย ้ ั 5.) การขนถ่ายไฟล์(file transfer protocol) หรื อที่เรี ยกสั้น ๆว่า เอฟทีพี (FTP) เป็ นบริ การที่ใช้สาหรับการ แลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ต เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การไฟล์จะเรี ยกว่า เอฟทีพี เซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรื อ FTP site) ข้อมูลที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จะมีลกษณะหลายรู ปแบบ ได้แก่ขอมูลสถิติ ั ้ งานวิจย บทความ เพลง ข่าวสารทัวไป หรื อโปรแกรมฟรี แวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้โปรแกรมฟรี ั ่ ในบางครั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ท่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จะให้บริ การ เฉพาะบุคคลที่มีบญชีรายชื่ออยูในเครื่ อง ี ั ่ คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ก็มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การขนถ่ายไฟล์จานวนมากอนุญาตให้ผใช้ ทัวไปได้เข้าไปใช้ ู้ ่ ่ บริ การ ถึงแม้วาในบางครั้งจะไม่อนุญาต ให้ขนถ่ายไฟล์ท้งหมดก็ตาม ั 6.) การเรี ยกค้นข้อมูลข่าวสาร ปั จจุบนมีฐานข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ให้ใช้งานจานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่ง ั เก็บข้อมูลในรู ปสิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ผใช้สามารถเรี ยกอ่านหรื อนามาพิมพ์ ลักษณะการเรี ยกคืนนี้จึงมีลกษณะ ู้ ั ่ เหมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่ อยูภายในเครื อข่ายที่สามารถค้นหาข้อมูลใดๆก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะ นี้เรี ยกว่า “เครื อข่าย ใยแมงมุม ครอบคลุม ทัวโลก” (World Wide Web: WWW) ซึ่งเป็ นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยง กันทัวโลก ่ ่ 7.) การบริ การสถานีวทยุและโทรทัศน์บนเครื อข่าย เป็ นการประยุกต์ เพือให้เห็นว่าเป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ิ ่ ปั จจุบนมีผต้งสถานีวทยุบนเครื อข่าย อินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผูใช้สามารถเลือกสถานีที่ตองการและได้ยนเสียง ั ู้ ั ิ ้ ้ ิ ่ เหมือนการเปิ ดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพ วิดีโอ บนเครื อข่ายด้วยแต่ปัญหายังอยูที่ความเร็ว ของ เครื อข่ายที่ยงไม่สามารถรองรับการ ส่งข้อมูลจานวนมาก ทาให้คุณภาพของภาพวีดิโอยังไม่เห็นดีเท่าที่ควร ั
  • 8. ั ่ 8.) เทลเน็ต (telnet) เป็ นบริ การที่ให้ผใช้สามารถใช้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ต้งอยูระยะไกล โดยจะใช้ ู้ การจาลองเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ ให้เป็ นจอภาพ ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่ องนั้น การทางาน ในลักษณะนี้ จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายในกรณี ที่ตองเดินทางไปใช้งาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ระยะไกล การ ้ ใช้งานเทลเน็ตจะเป็ นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไปใช้บริ การเครื่ องคอมพิวเตอร์ ระยะไกล จาเป็ นต้องมีรายชื่อผูใช้และรหัสผ่าน แต่ก็มีบางหน่วยงานที่อนุญาตให้เข้าใช้บริ การโดยไม่ตองระบุ ้ ้ รหัสผ่านเพือ เป็ นการให้บริ การข้อมูลแก่ลูกค้าทัว ๆ ไป ่ ่ การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์ ่ ั่ อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจายอยูทวโลก การค้นหาข้อมูล ่ จากแหล่งต่างๆ ถ้าผูใช้ไม่ทราบที่อยูของเว็บไซต์ ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริ การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ ้ กล่าวมาแล้ว ปั จจุบนการค้นหาข้อมูลที่ตองการเป็ นเรื่ องที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็ว การพัฒนาเว็บไซต์ที่ช่วย ั ้ สืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรี ยกว่า เครื่ องค้นหา (search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งในรู ปของข้อความและกราฟิ ก กระทา ได้โดยง่าย
  • 9. ข้อดีของอินเทอร์ เน็ต 1. ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น งานวิจย บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทางกาแพทย์ ฯลฯ ได้ ั จากแหล่งข้อมูลทัวโลก เช่น ห้องสมุด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจย โดยไม่ตองเสียค่าใช้จ่ายและ เสียเวลาใน ่ ั ้ การเดินทางและสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา 24 ชัวโมง ่ 2. ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ทัวโลกได้อย่างรวดเร็ วจากการรายงานข่าวของสานักข่าวต่างๆ อยู่ รวมทั้ง ่ อ่านบทความเรื่ องราวที่ลงในนิตยสารหรื อวารสารต่างๆ ได้ฟรี โดยมีท้งข้อความและภาพประกอบด้วย ั 3. รับส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ทวโลกได้อย่างรวดเร็ วโดยไม่ตองเสียเงินค่าตราไปรษณี ยยากร ถึงแม้จะ ์ ั่ ้ ์ เป็ นการส่งข้อความไปต่างประเทศก็ไม่ตองเสียเงินเพิมขึ้นเหมือนการส่งจดหมาย การส่งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์น้ ี ้ ่ ์ นอกจากจะส่งข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่งแฟ้ มภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง พร้อมกันไปได้ดวย ้ 4. สนทนากับผูอื่นทีอยูห่างไกลได้ท้งในลักษณะการพิมพ์ขอความและเสียง ้ ่ ่ ั ้ 5. ร่ วมกลุ่มอภิปรายหรื อกลุ่มข่าวเพือแสดงความคิดเห็น หรื อพูดคุยถกปั ญหากับผูที่สนใจในเรื่ องเดียวกัน ่ ้ เป็ นการขยายวิสัยทัศน์ในเรื่ องที่สนใจนั้นๆ 6. ถ่ายโอนแฟ้ มข้อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่นๆ รวมทั้งโปรแกรมต่างๆ ได้จากแหล่งที่มีผให้บริ การ ู้ 7. ตรวจดูราคาสินค้าและสังซื้อสินค้ารวมทั้งบริ การต่างๆ ได้โดยไม่ตองเสียเวลาเดินทางไปห้างสรรพสินค้า ่ ้ 8. ให้ความบันเทิงหลายรู ปแบบ เช่น การฟังเพลง รายการวิทยุ การชมรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมไป ถึงการแข่งขันเกมกับผูอื่นได้ทวโลก ้ ั่ 9. ติดประกาศข้อความที่ตองการให้ผอื่นทราบได้อย่างทัวถึง ้ ู้ ่ 10. ให้เสรี ภาพในการสื่อสารทุกรู ปแบบแก่บุคคลทุกคน
  • 10. ข้อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต 1. อินเทอร์เน็ตเป็ นข่ายงานขนาดใหญ่ที่ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ ทุกคนจึงสามารถสร้างเว็บไซด์หรื อติดประกาศ ข้อความได้ทุกเรื่ อง บางครั้งข้อความนั้นอาจจะเป็ นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรื อไม่ได้รับการรับรอง เช่น ข้อมูลด้าน การแพทย์หรื อผลการทดลองต่างๆ จึงเป็ นวิจารณญาณของผูอ่านที่จะต้องไตร่ ตรองข้อความทีอ่านนั้นด้วยว่าควรจะ ้ ่ เชื่อถือได้หรื อไม่ 2. นักเรี ยนและเยาวชนอาจติดต่อเข้าไปในเว็บไซด์ที่ไม่เป็ นประโยชน์หรื ออาจยัวยุอารมณ์ ทาให้เป็ น ่ อันตรายตัวตัวเองและสังคม อินเตอร์ เน็ตทาอะไรได้บาง ้ 1. การค้นหาข้อมูล เราสามารถค้นหาข้อมูลและสิ่งที่ตองการอยากรู ้ได้ โดยการค้นหาจากเว็บไซด์ต่าง ๆ บน ้ อินเทอร์เน็ต World Wide Web หรื อ WWW. เป็ นบริ หารข้อมูลแบบต่าง ๆ ซึ่งมีการ เชื่อมโยงถึงกันได้ ตัวอย่างเช่น การค้นหาข้อมูลด้วย Google จาก www.google.co.th 2. เพือการศึกษา การใช้อินเทอร์เน็ตเพือการศึกษา ปั จจุบนมีเว็บที่บริ การเรี ยนออนไลน์มากมายหลากหลาย ่ ่ ั วิชา มีท้งแบบข้อความเพืออ่าน ภาพประกอบ เสียงบรรยาย หรื อวีดีโอสอนก็มี ั ่
  • 11. 3. เพือความบันเทิงและข่าวสาร นอกจากทีกล่าวมาเรายังสามารถดูหนัง ฟังเพลง หรื ออ่านหนังสือพิมพ์ ่ ่ นิตยาสาร เพือให้มีความรู ้เพิมเติมได้ ดังตัวอย่างนี้ ่ ่ 4. เพือการสนทนาหรื อจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ เราสามารถติดต่อกันได้โดยการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น ่ การสนทนาด้วยการพิมพ์ขอความโต้ตอบ หรื อการสนทนาผ่านระบบเสียงการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์และ อื่น ๆ ้ ดังตัวอย่างนี้ 5. เพืองานธุรกิจ นอกจากทีได้กล่าวมา เรายังสามารถใช้อินเทอร์เน็ตเพืองานธุรกิจได้ เช่น ซื้อขายสินค้า ่ ่ ่ ออนไลน์ การทางานเกี่ยวกับการเงิน เช่น โอนเงินระหว่างธนาคารและอื่น ๆ อีกมากมาย อนาคตของอินเตอร์ เน็ต ในต่างประเทศ อินเตอร์ เน็ตกลายเป็ นโลกใหม่ของบุคคลในศตวรรษใหม่น้ ีเสียแล้วถึงขนาดที่กล่าวกันว่า การที่สหรัฐอเมริ กายังคงมีเศรษฐกิจที่ร่ ารวยอยูจนถึงทุกวันนี้ ไม่ตกต่าอย่างบ้านเราก็เพราะธุรกิจที่เกี่ยวกับ ่ เทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ต หรื อที่เรี ยกกันว่าเศรษฐกิจโลกใหม่ (New Economy) นี่เอง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผานมา ่ อินเทอร์เน็ตถูกใช้ในฐานะของสื่ออย่างหนึ่ง ช่วยให้คนซึ่งอยูคนละซีกโลกสามารถแรกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ง่าย ๆ แต่ ่ ตอนนี้อินเตอร์เน็ตกลับกลายเป็ นลู่ทางการค้าที่สาคัญ เนื่องจากอินเตอร์เน็ตทาให้ตนทุนการผลิตต่าช่วยส่งเสริ มให้ ้ เกิดการค้าข่ายในอินเตอร์เน็ตหลายพันล้านดอลลาร์ต่อปี ทาให้บริ ษทยักษ์ใหญ่และเล็กแทบทั้งหมด กระโดยเข้ามา ั ลงทุนในอินเตอร์เน็ต จึงไม่น่าแปลกทีอินเตอร์เน็ตจะมีสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ทั้งนี้เพราะเงินทุนที่ ่ ไหลเข้ามาสู่โลกอินเตอร์เน็ตมากมายนี่เอง ในฐานะผูใช้งานธรรมดาเรายังสามารถมันใจได้วา หากศึกษาอินเตอร์เน็ต ้ ่ ่ ่ ในวันนี้จะมีประโยชน์อย่างมากอย่างแน่นอน เนื่องจากอินเตอร์เน็ตก้าวเข้ามามีบทบาทกับผูใช้อย่างมาก ไม่วาจะเป็ น ้ เรื่ องข่าวสารแทนหนังสือพิมพ์ การส่งจดหมาย การโทรศัพท์ฟรี การส่งแฟกซ์ หรื อ แม้แต่การคบเพือนทาง ่ อินเตอร์เน็ต แต่ถึงแม้วาผูใช้งานจะได้ประโยชน์ แต่ในมุมของผูมองของผูที่อยากทาธุรกิจเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตก็ ่ ้ ้ ้ ่ อาจจะยังพูดไม่ได้วาจะสาเร็จหรื อไม่ เพราะใคร ๆ ต่างก็วงเข้าไปลงทุนกับธุรกิจในอินเตอร์เน็ต จนอาจจะมาก ิ่ เกินไปแล้วก็ได้ คงมีบางส่วนที่ตองขาดทุนในไม่ชา ดังนั้นหากมีใครชวนคุณไปลงทุนทากิจการเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต ้ ้ ่ ก็ตองช่างใจให้ดีวาน่าลงทุนหรื อไม่ ้
  • 12. เหตุผลสาคัญที่ทาให้อินเตอร์ เน็ตได้รับความนิยมแพร่ หลายคือ 1. การสื่อสารบนอินเตอร์เน็ตไม่จากัดระบบปฏิบติการของเครื่ องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ต่าง ั ระบบปฏิบติการกันก็สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ั ่ ่ 2. อินเตอร์เน็ตไม่มีขอจากัดในเรื่ องของระยะทาง ไม่วาจะอยูภายในอาคารเดียวกันห่างกันคนละทวีป ข้อมูล ้ ก็สามารถส่งผ่านถึงกันได้ 3. อินเตอร์ เน็ตไม่จากัดรู ปแบบของข้อมูล ซึ่งมีได้ท้งข้อมูลที่เป็ นข้อความอย่างเดียว หรื ออาจมี ั ภาพประกอบ รวมไปถึงข้อมูลชนิดมัลติมีเดีย คือมีท้งภาพเคลื่อนไหวและมีเสียงประกอบด้วยได้ ั ปัจจัยหลักที่ทาให้อินเทอร์ เน็ตเป็ นปรากฏการณ์ของยุคสมัยประกอบด้วย 1. อินเทอร์เน็ตเป็ นเทคโนโลยีเครื อข่ายที่ใช้ง่าย ทาให้กลายเป็ นบริ การที่ประชาชนทัวไปใช้ได้อย่าง ่ สะดวก โดยไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ดานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ้
  • 13. 2. อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื อข่ายแห่ งเครื อข่าย (Network of Networks) ทาให้เกิดการเชื่อมโยงกันอย่างเสรี โดย ไม่มีการปิ ดกั้น 3. สามารถเผยแพร่ ขอมูลของตนเองสู่สงคมโลกได้ง่าย ้ ั 4. การสื่อสารผ่านระบบไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เป็ นการปฏิวติระบบการสื่อสารทัวโลกด้วย ์ ั ่ ความเร็ว และแม่นยา ่ 5. สามารถแลกเปลี่ยนสาระความรู ้ผานระบบ Bulletin Board และ Discussion Groups ต่างๆ ทาให้เกิดการ ั แลกเปลี่ยนความรู ้กนได้อย่างกว้างขวาง และทัวถึงมากขึ้น ่ 6. มีเทคโนโลยีของการรับส่งข้อมูลผ่านระบบ File Transfer Protocol (FTP) ทาให้การรับส่งข้อมูลตั้งแต่ เอกสาร 1 หน้า ไปจนถึงหนังสือทั้งเล่มเป็ นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ ว และประหยัด ่ 7. มีการพัฒนาอยูตลอดเวลา เช่น การใช้ Internet Phone, Voice e-mail, Chat, การประชุมทางไกลผ่าน อินเทอร์เน็ต 8. อินเทอร์เน็ตเป็ นการปฏิวติอุตสาหกรรม ในรู ปแบบของ "วาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์" ั (Electronic Commerce) 9. มีรูปแบบของการสืบค้นข้อมูลของภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ซึ่งนอกจากจะสะดวก และง่ายต่อการใช้แล้ว ยังเป็ นสภาพแวดล้อมที่อาจมีผลทางจิตวิทยา ให้ผูใช้คนหาข้อมูลลึกลงไปเป็ นชั้น ๆ ด้วย ้ ้ คุณสมบัติของ Web Browser ในอินเทอร์เน็ต
  • 14. คาถาม เรื่ องอินเทอร์ เน็ต 1. เทลเน็ตเป็ นการแสดงอะไร ก.แสดงข้อมูล ข.แสดงรู ปภาพ ค.แสดงข้อความตัวอักษร ง.แสดงผล 2. อินเทอร์ เน็ตถือกาเนิดขึ้นในประเทศอะไร ก.จีน ข.ญี่ปน ุ่ ค.สหรัฐอเมริ กา ง.รัสเซี ย 3. ประโยชน์ของเว็บเบราวเซอร์ ขอใดถูกต้อง ้ ก.สามารถดูเอกสารในเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ ได้ ข.สามารถอัพโหลดเว็บต่างๆได้ ค.สามารถส่ งข้อมูลได้ ง.สามารถย้ายข้อมูลได้ 4. อินเทอร์ เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบใด ก.ระบบ WAN ข.ระบบ ARPA ค.ระบบ HTML ง.ระบบ CHAT 5. โครงงานวิจยและพัฒนาระบบ เรี ยกว่าอะไร ั ก.ARAP ข.ARPA ค.ADPA ง.PDAR 6. ข้อใดไม่ใช่เหตุสาคัญที่ทาให้อินเทอร์ เน็ตได้รับความนิยมแพร่ หลาย ก.การสื่ อสารไม่จากัดระบบปฏิบติการของคอมพิวเตอร์ ั ข.ไม่จากัดรู ปแบบของข้อมูล ค.ไม่มีขอจากัดในเรื่ องของระยะทาง ้ ง.ดูเว็บอนาจาร ลามก 7. การพัฒนาเว็บไซต์ที่ช่วยสื บค้นแหล่งข้อมูลที่เรี ยกว่า ก.เครื่ องข้อมูล ข.เครื่ องพัฒนา ค.เครื่ องค้นหา ง.เครื่ องวิจย ั
  • 15. 8. ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์มีส่วนประกอบสาคัญกี่ส่วน ์ ก.1ส่ วน ข.2ส่ วน ค.3ส่ วน ง.4ส่ วน 9. เว็บเบราว์เซอร์ ทาหน้าที่อะไร ก.เผยแพร่ ความรู ้เป็ นขั้นตอน ข.สร้างภาษา ค.มีระบบตอบข้อซักถาม ง.มีการบริ หารจัดการ 10. FTP เป็ นบริ การเกี่ยวกับอะไร ก.การสนทนาออนไลน์ ข.เทลเน็ต ค.กระดาษข่าว ง.การขนถ่ายไฟล์
  • 18. แหล่งอ้างอิง - http://school.obec.go.th/mrPaisan/e-learning/information/content/internet1.htm - http://school.obec.go.th/kudhuachang/les01.htm - http://tc.mengrai.ac.th/paisan/e-learning/internet/page21.htm - http://www.mindphp.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/66- server-hosting/1849-web-browser- %E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B8%AD% E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3-web-browser-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD.html - http://pirun.ku.ac.th/~b5011172/Page_5.html - http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g18m2fri/internet_goodbad.htm - http://school.obec.go.th/kudhuachang/les02.htm - http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-5955.html