SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
ส่วนประกอบต่างๆของ Sketchup
ในการเปิดโปรแกรม Google SketchUp ครั้งแรก
(หลังจากการติดตั้งโปรแกรม และเลือกแม่แบบในหน้าต่าง
Welcome แล้ว) เราจะพบกับหน้าตาของโปรแกรมโดยมี
ส่วนประกอบหลักดังนี้
รู้จักกับส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม
วิธีการดาวน์โหลด โปรแกรม
http:/sketchup.google.com
Title Bar (แถบไตเติล)
แถบสาหรับแสดงชื่อไฟล์ที่กาลังทางานอยู่ในขณะนั้น โดยในการเปิดโปรแกรม
หรือสร้างงานขึ้นมาใหม่ ชื่อไฟล์บนแถบไตเติ้ลจะแสดงเป็น Untitled จนกว่าจะมีการ
บันทึกและตั้งชื่อไฟล์
Menu Bar (แถบเมนู)
แถบที่รวบรวมคาสั่งต่างๆในการทางาน โดยจะแบ่งออกเป็น 8 หมวดด้วยกันดังนี้
File: เป็นกลุ่มคาสั่งสาหรับจัดการกับไฟล์งานเช่น การสร้างไฟล์งาน เปิดไฟล์งาน
การบันทึก การนาเข้า/ส่งออก การสั่งพิมพ์ เป็นต้น
Edit: เป็นกลุ่มคาสั่งสาหรับปรับแต่งแก้ไขเช่น การคัดลอก ลบ ซ่อน/แสดงวัตถุ สร้าง
Group/Component เป็นต้น
View: เป็นกลุ่มคาสั่งสาหรับจัดการในส่วนของพื้นที่ทางานเช่น ซ่อน/แสดงแถบเครื่องมือ
เส้นไกด์ แกนอ้างอิง เงา หมอก การแสดงผลของเส้น การแสดงผลในส่วนของการแก้ไข
Group/Component เป็นต้น
Camera: เป็นกลุ่มคาสั่งสาหรับจัดการในส่วนของมุมมองในการทางานเช่น
การหมุน เลื่อน ย่อ/ขยาย เป็นต้น
Draw: เป็นกลุ่มคาสั่งสาหรับเรียกใช้เครื่องมือต่างๆในการวาดรูปทรงเช่น
กาววาดเส้นตรง เส้นโค้ง สี่เหลี่ยม วงกลม เป็นต้น
Tools: เป็นกลุ่มคาสั่งสาหรับเรียกใช้เครื่องมือต่างๆในการทางานเช่น
Push/Pull การหมุน/ย้ายวัตถุ การสร้างตัวอักษรสามมิติ การวัดขนาด เป็น
ต้น
Window: เป็นกลุ่มคาสั่งเกี่ยวกับการเรียกแสดงหน้าต่างหรือไดอะล็อก
บอกซ์ขึ้นมาเพื่อใช้ร่วมในการทางานและปรับแต่งค่าต่างๆของโปรแกรม
Help: เป็นกลุ่มคาสั่งเกี่ยวกับคู่มือการแนะนาการใช้งานโปรแกรม ไปจนถึง
การลงทะเบียนและการตรวจสอบการอัพเดต
แถบสาหรับรวบรวมเครื่องมือต่างๆในการทางาน โดยในขั้นต้น
โปรแกรมจะกาหนดแถบเครื่องมือมาให้กลุ่มเดียว (จาก 20 กลุ่ม) คือ Getting
Start ซึ่งในการทางานจริงเครื่องมือเพียงเท่านี้ไม่เพียงพอต่อการทางาน เรา
สามารถที่จะเรียกแสดงแถบเครื่องมือกลุ่มต่างๆได้จากเมนู View > Toolbars
แล้วเลือกแถบเครื่องมือที่ต้องการ โดยแถบเครื่องมือที่แสดงอยู่จะมีเครื่องหมาย
ถูกอยู่ที่หน้าคาสั่ง
Toolbars (แถบเครื่องมือ)
Drawing Area (พื้นที่ทางาน)
เป็นพื้นที่สาหรับทางานซึ่งสามารถที่จะปรับเปลี่ยนมุมมองไปเป็น
มุมมองต่างๆ ทั้งในการทางานในมุมมองแบบ 2D และ 3D โดยมุมมองแบบ
2D นั้นจะแบ่งออกเป็นด้านบน ด้านหน้า ด้านขวา ด้านหลัง ด้านซ้าย และ
ด้านล่าง และมุมมองแบบ 3D จะถูกเรียกว่า Iso
คือเส้นแกนสาหรับอ้างอิงการทางานเพื่อให้การวาดรูปทรงและการ
สร้างแบบจาลองในทิศทางต่างๆเป็นไปอย่างถูกต้องและแม่นยาโดยแกน
อ้างอิงจะแบ่งออกเป็น 3 แกนด้วยกันคือ x จะอยู่ในลักษณะของแนวขวาง
(แกนสีแดง), y จะอยู่ในลักษณะของแนวลึก (แกนสีเขียว) และ z จะอยู่ใน
ลักษณะของแนวตั้ง (แกนสีน้าเงิน)
Drawing Axes (แกนอ้างอิง)
จุดตัดกันระหว่างเส้นแกนทั้ง 3 เส้นจะถูกเรียกว่า Original Point
หรือจะเรียกว่าจุดศูนย์กลางของพื้นที่ทางานก็ได้เช่นกัน โดยตาแหน่งของ
Original Point จะมีค่า x, y, z เท่ากับ 0 โดยถ้าค่าตัวเลขเป็นบวกจะอยู่
ในทิศทางของเส้นทึบ และถ้าค่าเป็นลบจะอยู่ในทิศทางของเส้นจุดไข่ปลา
คือแถบแสดงสถานะต่างๆในการทางาน โดยจะแสดงในส่วน
การแนะนาการใช้งานเครื่องมือต่างๆที่จะเปลี่ยนไปตามการทางานและ
การใช้เครื่องมือแต่ละชนิด ใน Google SketchUp ตั้งแต่เวอร์ชัน 7
เป็นต้นมาได้มีการเพิ่มไอคอนในส่วนของการทางานร่วม กับระบบ
ออนไลน์เข้ามาไว้เพื่อให้สะดวกกับการแชร์ผลงานไปยัง Google 3D
Warehouse และกาหนดตาแหน่งจริงบนแผ่นดินให้กับแบบจาลองด้วย
Status Bar (แถบสถานะ)
Dialog Boxes จะมีชื่อเรียกอยู่หลายชื่อด้วยกันเช่น Window หรือ
Panel ขอเรียกรวมๆว่าหน้าต่างเพื่อความกระชับ โดยจะมีลักษณะเป็น
หน้าต่างเครื่องมือสาหรับปรับแต่งแก้ไขรายละเอียดในการทางาน และ
กาหนดค่าต่างๆของโปรแกรม
Dialog Boxes (กล่องเครื่องมือ)
การเรียกแสดงหน้าต่างแต่ละชนิดสามารถเรียกได้จากเมนู
Window แล้วเลือกเปิดหน้าต่างที่ต้องการ โดยหน้าต่างที่เปิดอยู่ จะมี
เครื่องหมายถูกกากับไว้อยู่ที่หน้าคาสั่ง (เฉพาะหน้าต่างที่เกี่ยวกับการ
ปรับแต่งโมเดล) และถ้ามีเครื่องหมายขีดอยู่ด้านหน้าจะหมายถึงหน้าต่างนั้น
เปิดอยู่แต่ถูกย่อเอาไว้เหลือเพียงแถบไตเติล
Measurment มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า VCB (Value Control
Box) เป็นเครื่องมือสาหรับกาหนดค่าต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความยาว ขนาด
องศา ระยะ ให้กับการใช้งานเครื่องมือต่างๆซึ่งจะช่วยให้การสร้าง
แบบจาลองมีความแม่นยา และได้สัดส่วนที่ถูกต้อง โดยรูปแบบการ
กาหนดค่าด้วย Measurment นั้นจะใช้วิธีการพิมพ์ตัวเลขลงไปในขณะที่ใช้
เครื่องมือแต่ละชนิดอยู่โดยที่ไม่ต้องเอาเม้าส์ไปคลิกที่ช่องกาหนดค่า
Measurment Tool (เครื่องมือกาหนดขนาด)
ในการสร้างแบบจาลองสามมิติเราจาเป็นที่จะต้องปรับ
มุมมองไปในทิศทางต่างๆเพื่อให้สามารถสร้างวัตถุในทิศทาง
ต่างๆได้ โดยเราสามารถที่จะควบคุมและปรับเปลี่ยนมุมมองได้
ด้วยการใช้เครื่องมือต่างๆที่โปรแกรมมีมาให้ โดยเครื่องมือหลักๆ
สาหรับการควบคุมมุมมองจะมีด้วยกันดังนี้
เครื่องมือสาหรับจัดการมุมมอง
ใบงานที่ 3.2
1. แถบ Manu Bar ( แถบเมนู )ได้แบ่งออกเป็นกี่หมวด
อะไรบ้าง
2. แถบเมนู File มีการทางานอย่างไร
3. Orbit มีคีย์ลัด คือ และทาหน้าที่อะไร
4. Pan มีคีย์ลัด คือ และทาหน้าที่อะไร

Contenu connexe

Tendances

แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์Sky Aloha'
 
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUpคู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 20151.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015วิชา อาคม
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustratorส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม IllustratorNichakorn Sengsui
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintบทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintkungkunk
 
โครงงานน้ำตะไคร้.Txt
โครงงานน้ำตะไคร้.Txtโครงงานน้ำตะไคร้.Txt
โครงงานน้ำตะไคร้.Txtกก กอล์ฟ
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทSittidet Nawee
 

Tendances (20)

แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUpคู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 20151.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustratorส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
ส่วนประกอบของโปรแกรม Illustrator
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintบทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paint
 
โครงงานน้ำตะไคร้.Txt
โครงงานน้ำตะไคร้.Txtโครงงานน้ำตะไคร้.Txt
โครงงานน้ำตะไคร้.Txt
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
 

En vedette

Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.
Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.
Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.Gian Berbert Souza
 
learn sketchup (for the beginners)
learn sketchup (for the beginners)learn sketchup (for the beginners)
learn sketchup (for the beginners)Moksha Bhatia
 
Apresentação Computação Gráfica TCM
Apresentação Computação Gráfica TCMApresentação Computação Gráfica TCM
Apresentação Computação Gráfica TCMGian Berbert Souza
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8Teraphat Aroonpairoj
 

En vedette (6)

Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.
Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.
Iniciação ao software Sketchup e suas plataformas.
 
learn sketchup (for the beginners)
learn sketchup (for the beginners)learn sketchup (for the beginners)
learn sketchup (for the beginners)
 
Apresentação Computação Gráfica TCM
Apresentação Computação Gráfica TCMApresentação Computação Gráfica TCM
Apresentação Computação Gráfica TCM
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
 

Similaire à ส่วนประกอบต่างๆของ Sketchup

คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8Kru ChaTree
 
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6Sara Zara
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
โปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beansโปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beansBoOm mm
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007krupairoj
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
ความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flash
ความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flashความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flash
ความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flashSaowarak Thangthin
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
ความรู้เกี่ยวกับ Carrara
ความรู้เกี่ยวกับ Carraraความรู้เกี่ยวกับ Carrara
ความรู้เกี่ยวกับ CarraraSaowarak Thangthin
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8doraemonbookie
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
การเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdการเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdsombut
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010krunueng1
 

Similaire à ส่วนประกอบต่างๆของ Sketchup (20)

Sketch up 8
Sketch up 8 Sketch up 8
Sketch up 8
 
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
 
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
การใช งานโปรแกรม Dreamweaver cs6
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
โปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beansโปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beans
 
คู่มือ Courselab
คู่มือ Courselabคู่มือ Courselab
คู่มือ Courselab
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
Https
HttpsHttps
Https
 
ความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flash
ความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flashความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flash
ความรู้เกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรม Adobe flash
 
Catia full manual
Catia full manualCatia full manual
Catia full manual
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ความรู้เกี่ยวกับ Carrara
ความรู้เกี่ยวกับ Carraraความรู้เกี่ยวกับ Carrara
ความรู้เกี่ยวกับ Carrara
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
การเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdการเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psd
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
 
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
 

Plus de Nicharee Piwjan (20)

ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชาตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
 
6 4
6 46 4
6 4
 
6 4
6 46 4
6 4
 
6 4
6 46 4
6 4
 
6 2
6 26 2
6 2
 
6 1
6 16 1
6 1
 
ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2
 
ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
6 4
6 46 4
6 4
 
6 3
6 36 3
6 3
 
6 2
6 26 2
6 2
 
6 1
6 16 1
6 1
 
6 2
6 26 2
6 2
 
ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม
ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรมส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม
ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม
 
02 ______ใบความรู้ที่ 2.1
02  ______ใบความรู้ที่ 2.102  ______ใบความรู้ที่ 2.1
02 ______ใบความรู้ที่ 2.1
 
6 1
6 16 1
6 1
 
6 1
6 16 1
6 1
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
 
ระบบมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดียระบบมัลติมีเดีย
ระบบมัลติมีเดีย
 

ส่วนประกอบต่างๆของ Sketchup