SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
9
4000 - 1405
การทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square Test)
การทดสอบไคสแควร์จาแนกออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. การทดสอบความกลมกลืน (The goodness of fit test)
2. การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Test of Association)
3. การทดสอบความเป็นเอกภาพ (Test of Homogeneity)
การทดสอบความกลมกลืน (The goodness of fit test)
เพื่อศึกษาว่าการแจกแจงความถี่ของตัวแปรเป็นไปตามรูปแบบที่กาหนดไว้หรือไม่ โดย
ศึกษาจากตัวแปรเพียงตัวเดียว โดยการเปรียบเทียบระหว่างข้อมูลจากตัวแปรกับ
ข้อมูลที่ได้จากความคาดหมายหรือจากทฤษฎีใด ๆ ว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่
ตัวอย่าง การสัมภาษณ์ผู้ที่ใช้เครื่อง PDA จานวน 100 คน พบว่าผู้ใช้ 75 คน ชอบใช้
ระบบปฏิบัติการ Windows ส่วนอีก 25 คน ชอบใช้ระบบปฏิบัติการ Palm OS
ถ้าแทนค่าจานวน 75 คน ด้วย X และแทนค่า 25 คน ด้วย N - X เมื่อนาไปเขียน
ตาราง จะได้ดังนี้
Windows
X
Palm OS
N - X
รวม
N
75 25 100
ถ้าต้องการศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้PDA ส่วนใหญ่ว่าชอบใช้
ระบบปฏิบัติการใดมากกว่ากัน
ความคาดหวัง (หรือที่ควรจะเป็น) ก็คือชอบเท่า ๆ กันอย่างละ 50 : 50
ดังนั้น ถ้าต้องการทดสอบว่าข้อมูลข้างต้นที่ได้จากการสัมภาษณ์
จะเป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่ จะสามารถใช้ไคสแควร์ทดสอบในกรณีนี้ได้




k
i i
ii
E
)EO(
1
2
2
d.f. = k - 1
คือ ค่าความถี่จากการสังเกตio
iE คือ ค่าคาดหวังของความถี่ และ iii pnE 
n = จานวนครั้งของการทดลองทั้งหมดหรือผลรวมความถี่ทั้งหมด
p = ค่าสัดส่วนตามสมมุติฐานหลัก
ความถี่ Windows
(X)
Palm OS
(N – X)
รวม
N
ค่าจากการสังเกต 75 25 100
ค่าคาดหวัง 50 50 100




k
i i
ii
E
)EO(
1
2
2
50
5025
50
5075 22
)()( 



50
25
50
25 22
)()( 

50
1250

25
เปิดตาราง ที่ d.f. =2-1 =1
84132
1050 .,. 
6
ตัวอย่าง ในการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้เรียนจานวน 39 คน เกี่ยวกับความพึง
พอใจในการใช้ระบบการรายงานผลการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตของสถานศึกษาแห่ง
หนึ่ง ปรากฏผลดังนี้
1. มีความพึงพอใจมาก จานวน 20 คน
2. มีความพึงพอใจปานกลาง จานวน 12 คน
3. มีความพึงพอใจน้อย จานวน 7 คน
ต้องการทดสอบว่า จานวนผู้เรียนที่แสดงความคิดเห็นในระดับต่าง ๆ จะแตกต่างกัน
หรือไม่ที่ระดับนัยสาคัญ .05
สมมติฐานการวิจัย
H0: ผู้เรียนที่แสดงความคิดเห็นในระดับต่าง ๆ มีจานวนไม่แตกต่างกัน
H1: ผู้เรียนที่แสดงความคิดเห็นในระดับต่าง ๆ มีจานวนแตกต่างกัน
7
ความถี่
ระดับความพึงพอใจ
มาก ปานกลาง น้อย
ความถี่ที่ศึกษา (O) 20 12 7
ความถี่ที่คาดหวัง (E) 13 13 13




k
i i
ii
E
)EO(
1
2
2
13
137
13
1312
13
1320 222
)()()( 





13
36
13
1
13
49

5962
.
8
เปิดตาราง ที่ d.f. =3-1 =2
99152
2050 .,. 
5962
.
ค่าที่คานวณได้ (6.59) > ค่าจากการเปิดตาราง (5.991)
แสดงว่า ค่าที่คานวณได้ อยู่ในบริเวณวิกฤต จึง ปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1
สรุปตาม H1 ได้ว่า ผู้เรียนที่แสดงความคิดเห็นในระดับต่าง ๆ
มีจานวนแตกต่างกันที่ระดับนัยสาคัญ .05
ผู้เรียนมีความคิดเห็นแตกต่างกัน เกี่ยวกับความพึงพอใจในการใช้ระบบ
การรายงานผลการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
9
ตัวอย่าง. ในโรงานผลิตสินค้าแห่งหนึ่ง วิศวกรต้องการทราบว่า
จานวนชิ้นงานที่พบข้อบกพร่องจากการผลิตขึ้นอยู่กับเครื่องจักรในสายการผลิต
จานวน 3 เครื่องนั้นหรือไม่ จึงได้สุ่มตรวจงานที่พบข้อบกพร่องโดยแยกรายละเอียดลักษณะ
ของข้อบกพร่อง และแยกแต่ละเครื่องจักร บันทึกข้อมูลดังในตาราง
คาถามก็คือว่า ลักษณะของข้องบกพร่องขึ้นอยู่กับแต่ละเครื่องจักรหรือเปล่า
เช่นว่า ที่เครื่องจักร #1 พบว่าลักษณะข้อบกพร่อง Scratch มากกว่าลักษณะอื่นๆ
ขณะที่เครื่อง #2 กลับแทบไม่มีอาการแบบนี้เลย กรณีที่เราได้ข้อมูลเป็นตามตาราง
เราจะสรุปว่าอย่างไร
10
11
12
13
14
16
การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Test of Association)
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการทดสอบความเป็นอิสระ (Test of Independence)
การทดสอบไคสแควร์เพื่อศึกษาว่า ตัวแปรต่าง ๆ สัมพันธ์กันหรือไม่ โดยศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทีละคู่ ๆ
ตัวอย่าง ต้องการศึกษาว่าการชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กับเพศของผู้เล่น
หรือไม่ ที่ระดับนัยสาคัญ .01 ซึ่งตัวแปรทั้งสองถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มหรือเป็นพวกดังนี้
18
สมมติฐานการวิจัย
H0: ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับการชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์
H1: มีความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับการชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์
จากตารางคานวณหาค่าคาดหวังจากสูตร
N
)C)(R(
NE ji
ij
TT
pij 
RT = ผลรวมของสมาชิกในแถว
CT = ผลรวมของสมาชิกในคอลัมน์
N = จานวนสมาชิกทั้งหมด
19
ความถี่ที่ศึกษา (O)
ชาย หญิง รวม
ชอบเล่นเกม 20 12 32
ไม่ชอบเล่นเกม 10 8 18
รวม 30 20 50
ความถี่ที่คาดหวัง (E)
ชาย หญิง
ชอบเล่นเกม E11 E12
ไม่ชอบเล่นเกม E21 E22
  
50
50
30
50
20
11 E
1211 E
  
50
50
20
50
12
12 E
8412 .E 
  
50
50
30
50
10
21 E
612 E
  
50
50
20
50
8
22 E
2312 .E 
12
6
4.8
3.2
20
ความถี่ที่ศึกษา (O)
ชาย หญิง รวม
ชอบเล่นเกม 20 12 32
ไม่ชอบเล่นเกม 10 8 18
รวม 30 20 50
ความถี่ที่คาดหวัง (E)
ชาย หญิง
ชอบเล่นเกม 12 4.8
ไม่ชอบเล่นเกม 6 3.2




k
i i
ii
E
)EO(
1
2
2
23
238
6
610
84
8412
12
1220 2222
.
).()(
.
).()( 







91252
.
เปิดตาราง ที่ d.f. =(2-1)(2-1) =1
63562
1010 .,. 
91252
.
แสดงว่า ค่าที่คานวณได้ อยู่ในบริเวณวิกฤต จึง ปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1
สรุปตาม H1 ได้ว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับการชอบเล่น
เกมคอมพิวเตอร์ที่ระดับนัยสาคัญ .01
การชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์กับเพศของผู้เล่น
ค่าที่คานวณได้ (25.91) > ค่าจากการเปิดตาราง (6.635)
การทดสอบอัตราส่วนของประชากร k กลุ่ม
การทดสอบเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างอัตราส่วนของข้อมูล
ว่ามีค่าเท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้ หรือไม่
kk pp,...,pp,pp,pp:H 00330220110 
k,...1,2,3iค่า;1อย่างน้อยpมีp:H ii  01




k
i i
ii
E
)EO(
1
2
2
d.f. = k - 1
คือ ค่าความถี่จากการสังเกตio
iE คือ ค่าคาดหวังของความถี่ และ iii pnE 
n = จานวนครั้งของการทดลองทั้งหมดหรือผลรวมความถี่ทั้งหมด
p = ค่าสัดส่วนตามสมมุติฐานหลัก
One-tail, Two-tail Tests
32
9
9
9

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระKhuanruthai Pomjun
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆจักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆนายจักราวุธ คำทวี
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554RMUTT
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีOrawonya Wbac
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆจักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
Plc
PlcPlc
Plc
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 

More from noinasang

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูล17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูลnoinasang
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
T distribution
T distributionT distribution
T distributionnoinasang
 
T distribution
T distributionT distribution
T distributionnoinasang
 
17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูล17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูลnoinasang
 

More from noinasang (20)

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
Normal dis
Normal disNormal dis
Normal dis
 
Mogan
MoganMogan
Mogan
 
17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูล17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูล
 
15 anova
15 anova15 anova
15 anova
 
12 sampling
12 sampling12 sampling
12 sampling
 
10 f test
10 f test10 f test
10 f test
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
4
44
4
 
3
33
3
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
T distribution
T distributionT distribution
T distribution
 
T distribution
T distributionT distribution
T distribution
 
Normal dis
Normal disNormal dis
Normal dis
 
Mogan
MoganMogan
Mogan
 
17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูล17 การวัดการกระจายของข้อมูล
17 การวัดการกระจายของข้อมูล
 
15 anova
15 anova15 anova
15 anova
 
12 sampling
12 sampling12 sampling
12 sampling
 

9