SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
หนังสื อเรี ยน รายวิ ชาพื้ นฐาน

วิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ชันประถมศึกษาปี ที่ 5
้
กลุมสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึ กษา
่
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึก ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
บรรณานุกรม
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึก ษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
้

ผูเ้ รี ยบเรี ยง
นายชูชาติ รอดถาวร
นายภาสกร บุญนิ ยม
ผูตรวจ
้
นางสุ มาลี ขอมใจเพ็ชร์
นางชญาดา สุ ขเสริ ม
นายพินิจ หงส์ ภู ่
บรรณาธิ การ
นายบัญชา ช้างพงษ์
พิมพ์ครั้งที่ 10
สงวนลิขสิ ทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ
ISBN : 978-616-203-161-8
จัดทาโดย
นางสาวแก้วตา สิ ทธิ มาศ
5415261002 เอกคอมพิวเตอร์ ศึกษา
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 สุ ขภาพของเรา
บทที่ 1 สุ ขบัญญัติแห่ งชาติ
ข้อปฏิบติตามหลัก สุ ขบัญญัติแห่งชาติ
ั
สุ ขบัญญัติแห่งชาติ คือ ข้อกาหนดที่กองสุ ขศึกษา สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุ ขขึ้น เพื่อเป็ น
แนวทางให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทัวไปนาไปปฏิบติอย่างสมาเสมอจนเป็ นกิจนิ สัย เพื่อให้เกิด
ั
่
่
พฤติกรรมที่ดี อันนาไปสู สุขภาพที่ดีทงร่างกาย จิตใจ และสังคม
่
้ั
การปฏิบติตามหลัก สุ ขบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบติได้ดงนี้
ั
ั ั
1.ดูแลรักษาร่ างกายและของใช้ ให้ สะอาด


- อาบน้ าให้สะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
- สระผมอย่างน้อยสัปดาห์ ละ 2 ครั้ง
- ตัดเล็บมือ เล็บเท้า ให้ส้ ันอยูเ่ สมอ
-

ขับถ่ายอุจจาระให้เป็ นเวลาทุกวัน

-

ใส่เมือผ้าที่สะอาด ไม ่อับชื้น
้

-

จัดเก็บของใช้ให้เป็ นระเบียบ

2.รักษาฟันให้ แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่ างถูกต้ อง
- แปรงฟั นให้สะอาดอย่างทัวถึงทุกซี่ทุก ด้าน
่
นาน 2 นาที ขึ้นไป อย่างน้อยวันละ 2
ครั้งและแปรงลิ้นทุกครั้งหลังแปลงฟั น
- เลือกใช้ยาสี ฟันที่มสวนผสมของฟลูออไรด์
ี ่
- กินอาหารที่มประโยชน์ ตอฟั น
ี
่
- ตรวจสุ ขภาพฟั นอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
3.ล้ างมือให้ สะอาดก่ อนกินอาหารและหลั งการขับถ่ าย
- ดูแลรักษามือให้สะอาดและมีสุขภาพดี
- ล้างมือด้วยวิธีที่ถูก ต้องด้วยสบู ทุก ครั้ง
่
ก ่อนเตรี ยมและหลังปรุ งอาหาร
ก ่อนรับประทานอาหาร
หลังหยิบจับสิ่ งสกปรก
หลังการขับถ่าย
ก ่อนและหลังการสัมผัสผูป่วย
้
4.กินอาหารสุ ก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลี กเลี่ ยงอาหารทีมีรสจัด สี ฉูดฉาด
่
- เลือกซื้ออาหารที่สะอาดและปลอดภัย
- ปรุ งและกินอาหารที่ถูกสุ ขลัก ษณะและสุ ก
เสมอ
- กินอาหารครบ 5 หมู ่ แต่ละหมูให้
่
หลากหลายในสัดส่วนที่เหมาะสม
- ดื่มนมให้เหมาะสมกับวัย
- ดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
5.งดบุหรี่ สุ รา สารเสพติด การพนัน การสาส่ อนทางเพศ
- ไม ่สู บบุหรี่
- ไม ่ดื่มสุ รา
- ไม ่เกียวข้องกับสารเสพติ ดทังการเสพและ
่
้
การค้า
- ไม ่เล่นการพนัน และไม ่สนับสนุ นการพนัน
- งดการสาส่อนทางเพศ และมีเพศสัมพันธ์ ที่
ปลอดภัย เมือถึงวัยอันสมควร
่
- ศึกษาข้อมูลเกียวกับโทษของบุหรี่ แ ละสุ รา
่
และประโยชน์ ของการไม ่สู บบุหรี่ แ ละไม ่ดื่ ม
สุ รา
6.สร้ างความสั มพันธ์ ในครอบครัวให้ อบอุ่น
- กระตุนเตือนให้คนในครอบครัวเห็ น
้
ความสาคัญของการอยู รวมกันในครอบครั ว
่่
การให้เกียรติคนในครอบครัว
- มีหลักเกณฑ์ในการอยูรวมกันหรื อ ปฏิบัติตอ
่่
่
กันการเคารพผูที่อาวุโสกว ่า และเคารพใน
้
กติกาที่ลดความขัดแย้งในครอบครั ว
- มีการวางแผนพัฒนาสัมพันธภาพของ
ครอบครัว เพื่อคงความรัก ความอบอุนให้มี
่
ในครอบครัว
7.ปองกันอุบัติภัยด้ วยการไม่ ประมาท
้
- ระมัดระวังเพื่อปองกันอุบติเหตุในการ
้
ั
เดินทาง
- ระมัดระวังเพื่อปองกันอุบติเหตุจากการ
้
ั
ทางาน
- ระมัดระวังเพื่อปองกันอุบติเหตุภายในบ้ าน
้
ั

8.ออกกาลั งกายสม่าเสมอ และตรวจสุ ขภาพประจาปี
- เคลื่อนไหวในชีวตประจาวันอย่างน้อยวันละ
ิ
30 นาที โดยให้เหงื่ อออก
- ออกกาลังกาย 3-5 วัน ต่อสัปดาห์
- ตรวจสุ ขภาพประจาปี อย่างน้อ ยปี ละ 1 ครั้ง
9.ทาจิตใจให้ ร่าเริงแจ่ มใสอยู่เสมอ
- มองโลกในแง่ดี
- สร้างความสนุ กสนานให้กบตนเอง
ั
- เมือมีปัญหาไม ่สบายใจ ควรหาทางผ่อน
่
คลาย
- ทาจิตใจให้เข้มแข็งและมีอารมณ์ มนคง
ั่

10.มีจิตสานึกต่ อส่ วนรวม ร่ วมสร้ างสรรค์ สังคม
- ทิ้งขยะในที่รองรับ และแยกขยะตามประเภท
- ไม ่ใช้วสดุอุปกรณ์ที่เกิดมลภาวะ ต่อ
ั
สิ่ งแวดล้อม
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
- อนุ รักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม
ความสาคัญของการปฏิบัติตนตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ
ปั ญหาสุ ขภาพ เป็ นสิ่ งสาคัญที่มผลกระทบต่อบุ คคล ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ถ้า
ี
ประชาชนยังขาดความรู ้ในการป้ องกันโรคภัยไข้เจ็บและการส่งเสริ มสุ ขภาพ ก็จะทาให้การพัฒนาประเทศ
เป็ นไปได้ยาก
ดังนั้น การปลูกฝั งให้ประชาชนรู ้จกปฏิบติตามหลักสุ ขบัญ ญัติแห่งชาติโ ดยปลู กฝั งให้เริ่ มปฏิ บติต้งแต่
ั
ั
ั ั
ในวัยเรี ยน จะทาให้เกิดความตระหนักและนาไปปฏิบัติจนเป็ นนิ สั ย จะทาให้เกิดประโยชน์ ดงนี้
ั
1.มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ
2.ป้ องกันตนเองจากสารเสพติดและอบายมุข
3.มีความสัมพันธ์ อน ดีท้งในครอบครัวและในสังคม
ั ั
4.ดูแลและป้ องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็ บและอุ บติเหตุได้
ั
5.อยูรวมกันในสังคมภายใต้สภาพแวดล้อ มที่ ดีไ ด้อ ย่างมีความสุ ข
่่

บทที่ 2 ข่ าวสารสุ ขภาพ
1.ข้ อมูล สุ ขภาพ
สุ ขภาพเป็ นเรื่ องที่เกียวข้องกับคนทุก คน การที่คนเราจะมีสุขภาพดีได้ต้องรู ้จักดูแ ลตนเอง รวมทังรู ้จก
่
้ ั
แสวงหาข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ ตอ การดูแลและสร้างเสริ มสุ ขภาพ
่
ข่าวสารที่ใช้เพื่อการดูแลและสร้างเสริ มสุ ขภาพมีหลายประเภท เชน การเลือกรับประทานอาหารให้
่
เหมาะสม การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย วิธีการออกาลังกายที่ถูก ต้อง วิธีการป้ องกันโรคระบาด
ความคุมครองจากการบริ โภคสิ่ ง ต่างๆ เป็ นต้น ซึ่งข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ จะทาให้ผู ้บริ โภครู ้จักคิ ดและ
้
พิจารณาก ่อนเลือกซื้อหรื อใช้ผลิตภัณฑ์ ตา่ งๆ เพื่อความปลอดภัยแก ่ผูบริ โภคเอง
้
2.แหล่ งข้ อมูล และวิธีการค้ นหาข้ อมูล ข่ าวสารทางสุ ขภาพ
ข้อมูลข่าวสารด้านต่างๆ ที่พบในปั จจุบน สามารถสื บค้นได้จากแหล่งข้อ มูล ต่างๆ ดังนี้
ั
1.สถานบริการสุ ขภาพ
สถานบริ การสุ ขภาพ เป็ นสถานที่ที่ให้บริ การทางด้านสุ ขภาพต่างๆ แก ่ประชาชน เชน
่
โรงพยาบาล
ให้ บริ การด้ านการตรวจรั กษา
ส่งเสริ มสุขภาพและปองกั นโรค
้
สถานีอนามัย

ศูนย์ บริ การสาธารณสุข

ให้ บริ การสุขภาพแก่ ประชาชนระดับตาบล

ให้ บริ การด้ านการตรวจรั กษาส่งเสริ ม

ในเรื่ องเกี่ ยวกั บอนามัยเบื ้องต้ น

สุขภาพและปองกั นโรค
้
สาธารณสุขจังหวัด

ให้ บริ การด้ านข้ อมูลข่าวสารที่เกี่ ยวข้ องกั บการ
ส่งเสริ มสุขภาพและการปองกั นโรคแก่ ประชาชน
้
ในจังหวัด

2. อินเทอร์ เน็ต
อินเทอร์ เน็ ตเป็ นแหล่งสื บค้นข้อมูลข่า วสารที่สาคัญในปั จจุ บน หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมี
ั
เว็บไซต์ไว้ให้บริ การด้านข้อมูลข่า วสารแก ประชาชนทัวไป ซึ่งเว็บไซต์สาคัญที่นักเรี ยนสามารถสื บค้น
่
่
ข้อมูลได้ เชน
่

www.thaihealth.or.th

เว็บไซต์ของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ ม
สุขภาพ (สสส.) ที่ให้ ความรู้ ด้ านการสร้ างเสริ มสุขภาพ
www.ocpb.go.th

เว็บไซต์ของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริ โภค
(สคบ.) ให้ ข้อมูลแนะนาผู้บริ โภคไม่ให้ ถูกเอาเปรี ยบ

เราควรหลีกเลี่ยงการค้นหาข้อมูล จากเว็บไซต์ที่ห ลอกลวงหรื อ มีภาพลามกอนาจาร ถ้าบังเอิญเปิ ดไปพบ
เว็บไซต์เหล่านี้ ควรรี บปิ ดทันที
3. สายด่ วนสุ ขภาพ
เป็ นการใช้โทรศัพท์โทรไปยังหมายเลขโทรศัพ ท์ 4 ตัว เพื่อสอบถามหรื อฟั งข้อมูล สุ ขภาพด้านต่างๆ
เชน
่
-1556 สายด่วน อย. ตรวจสอบหรื อแจ้งเกียวกับร้านค้าที่ ขายของไมมี อย. หรื อไม ่ได้มาตรฐาน
่
่
-1667 สายด่วนสุ ขภาพ กรมสุ ขภาพจิต รับปรึ กษาและคอยให้กาลังใจผูที่มีปัญหาทางด้านสุ ขภาพจิต
้
การใช้ขอมูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพนั้น มีหลัก ดังนี้
้

รั บข้ อมูลข่ าวสาร

พิจารณา

การฟั ง การดู การ

คิดถึ งความเหมาะสมใน

ปฏิบัติ
นาไปปฏิบติให้ เหมาะสม
ั

สอบถาม

การนามาปฏิบติ
ั

กั บตนเอง
แบบฝึ กหัดบทที่ 2
อ่านข้อความที่กาหนดให้ แล้วบอกแหล่งข้อมูล ที่ใช้คนคว้า ตามเรื่ องที่กาหนด
้
1) ข่าวประกาศว ่าโรคอีสุ กอีใสกาลังระบาดในเด็กเล็ก พลจึงต้องการฉี ดวัคซีนเพื่อป้ องงกันโรค พล
ควรหาข้อมูลเกียวกับสถานที่ ที่รับฉี ดวัคซีนจากแหล่งใด
่
2) แก้วไปซื้อของที่ตลาดนัด และพบว ่าปลากระป๋ องที่พอค้านามาขายไมมฉ ลากระบุ ที่ขางกระป๋ อง
่
่ี
้
แก้วควรไปแจ้งที่หน่วยใด
3) โด่งเห็ นเพื่อนมีความซึมเศร้าและเครี ย ดจากปั ญหาทางบ้าน โด่งจึงต้องการหาหน่วยงานที่มาให้
คาแนะนาเพื่อน โด่งควรสื บค้นจากแหล่งใด
4) เอกไปซื้ออาหารที่ร้านขายอาหารแห่งหนึ่ ง แล้วพบว ่า ร้านอาหารร้านนี้ ขายอาหารราคาแพงกว า
่
ร้านอื่นๆ 10 เท่า เอกควรทาอย่างไร
5) น้องของหน่อยป่ วยเป็ นไข้เลือดออก หน่อยจะหาข้อมูลเกียวกับการดูแ ลรัก ษาโรคไข้เลือ กออกได้
่
อย่างไร

เฉลยแบบฝึ กหัดบทที่ 2
1) สาธารณสุ ขจังหวัด ให้บริ การด้านข้อมูลข่าวสารที่เกีย วข้องกับการส่งเสริ มสุ ขภาพและการ
่
ป้ องกันโรคแก ่ประชาชนในจังหวัด
2) 1556 สายด่วน อย. ตรวจสอบหรื อแจ้งเกียวกับร้ านค้า ที่ขายของไมมี อย. หรื อไม ่ได้
่
่
มาตรฐาน
3) 1667 สายด่วนสุ ขภาพ กรมสุ ขภาพจิต รับปรึ กษาและคอยให้กาลังใจผู ้ที่มปัญหาทาง
ี
สุ ขภาพจิต
4) ควรหาข้อมูลจากเว็บไซต์ของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู ้บริ โภค (สคบ.) ให้ขอมูล
้
และแนะนาผูบริ โภคไม ่ให้ถูกเอาเปรี ยบ
้
5) www.thaihealh.or.th เว็บไซต์ของสานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.)
ที่ให้ความรู ้ดานการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
้

บทที่ 3 อาหารและผลิ ตภัณฑ์ สุขภาพ
อาหารและผลิ ตภัณฑ์ สุขภาพ
อาหาร เป็ นสิ่ งที่เราบริ โภคเข้าไป และทาให้รางกายได้รับสารอาหารที่เป็ น ประโยชน์ ตอร่างกาย
่
่
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของคนเรา เพื่อให้สุขภาพดี
เชน ยา เครื่ องสาอาง วิตามิน เครื่ องปรุ งอาหาร อาหารเสริ ม อาหารสาเร็ จรู ป เป็ นต้น
่
หลั กในการเลื อกซื้ออาหารและผลิ ตภัณฑ์ สุขภาพ
อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อชีวตคนเรา เพราะทาให้รางกายเจริ ญเติบโต ส่วน
ิ
่
ผลิตภัณฑ์สุขภาพจะชวยส่งเสริ มสุ ขภาพที่ดี ดังนั้นเราควรรู ้หลักในการเลือกซื้ออาหารและผลิ ตภัณฑ์
่
สุ ขภาพ ซึ่งปฏิบติได้ ดังนี้
ั
1) การเลือกซื้ออาหารสด ควรเลือกอาหารที่สดใหม ่ ซึ่งมีหลักการเลือกซื้อดังนี้
เนื้ อหมูและเนื้ อวัว
ควรเลือกเนื้ อหมูที่มสีชมพูออน นุ ม เป็ นมัน ไม ่มี
ี
่
่
กลิ่นเหม็นเน่า ส่วนเนื้ อวัว ควรเลือกเนื้ อวัวที่มสีแ ดง
ี
สด ไม ่มีกลิ่นเหม็นเปรี้ ยวและทั้งเนื้ อหมูและเนื้ อวัว
ต้องไม ่มีเม็ดสี ขาวใสคล้า ยเม็ดสาคูเพราะเป็ นตัวอ่อน
ของพยาธิ ตวตืด
ั
เนื้ อเป็ ดและเนื้ อไก ่
ควรเลือกซื้อเนื้ อเป็ ดและเนื้ อไก ่ที่ มเี นื้ อแน่น ไม ่มีกลิน
่
เหม็นหื นและไม ่มีรอยเขียวช้ า โดยเฉพาะข้อต่อใต้ปีก

กุง
้
ควรเลือกกุงที่มเี ปลือ กแข็ง ใส เปลือกและหัวไม ่
้
หลุดง่าย

ปลา
ควรเลือกปลาที่มเี หงื อกสี แ ดงสด ลูกตาใส เกล็ด
ไม ่หลุดง่าย กดเนื้ อแล้วไม ่บุ๋ม

ไข่
เลือกไข่ที่มเี ปลือกนวลเกลี้ยง ผิวเนี ยนคล้ายมีแป้ ง
ฉาบอยูถาเปลือกลื่นเป็ นมันแสดงว ่าเป็ นไข่เก ่า
่้
และต้องไม ่รอยด่าง รอยร้าว น้ าหนักดี เขย่าแล้ว
ไม ่คลอน

ผักและผลไม้
เลือกซื้อผักและผลไม้ที่สด ไม ่มีรอยช้ า หรื อรอย
แมลงกัดกินจนเสี ยหาย ควรเลือกซื้อผักและผลไม้
ที่หาได้งายและมีตามฤดู กาล
่
2) การเลือกซื้ออาหารแห้ง อาหารแห้งเป็ น อาหารที่ได้ผา่ นกระบวนการอบหรื อ ตากแห้ง เพื่อทาให้
ส่วนที่มน้ าถูกกาจัดออกไป ซึ่งถ้าเก็บรักษาไม ่ดีอาหารแห้งก็จะเสื่ อ มคุณภาพ เราจึงมีวธีเลือกซื้อ
ี
ิ
ดังนี้
1) อาหารแห้งต้องแห้งสนิ ท ไม ่อับชื้น ไม ่มีกลิ่นหื น
2) ไม ่มีเชื้อราขึ้น
3) ถ้าเป็ นเมล็ดพืช จะต้องมีเมล็ดที่สมบูรณ์ เนื้ อแน่น ไม ่ลีบ ไม ่ฝ่ อ ที่สาคัญต้องแห้งสนิ ท ไม ่มี
การงอกของเมล็ด
4) บรรจุอยูในบรรจุภณฑ์ที่สะอาดและปิ ดสนิ ท
่
ั
3) การเลือกซื้ออาหารกระป๋ อง หลักการเลือกซื้ออาหารกระป๋ องมีดงนี้
ั
1) กระป๋ องไม ่มีรอยบุ บหรื อ โป่ งนู น และไม ่มีสนิ ม
2) ที่ฉลากต้องชื่อทางมีการค้า ระบุเลขทะเบียนอาหารและยา สถานที่ผลิต วันเดือนปี ที่ผลิต วัน
หมดอายุ น้ าหนัก บอกวัตถุเจือปนในอาหาร เชน วัตถุกนเสี ย เป็ นต้น
่
ั
4) การเลือกซื้อเครื่ องสาอาง เครื่ องสาอางเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้กบร่างกาย เพื่อความสะอาด ความ
ั
สวยงาม และแต่งกลิ่นหอม เชน สบู ่ ยาสี ฟัน แชมพูสระผม ครี มนวดผม น้ ายาบ้วนปาก เป็ นต้น
่
เครื่ องสาอางในปั จจุบนมีอยูมากมายหลายชนิ ด ซึ่งในแต่ละชนิ ดมีหลักในการเลือกซื้อแตกต่างกัน
ั
่
ตัวอย่างเชน
่
1) การเลือกซื้อยาสี ฟัน ยาสี ฟัน แต่ละยี่ห้อทัวไปจะมีคณ สมบัติใกล้เคี ยงกัน ดังนั้นเราควร
ุ
่
พิจารณาจากสิ่ งต่างๆ ต่อไปนี้
-คาเตือน
-เครื่ องหมาย อย.
-ชื่อทางการค้า
-ส่วนประกอบ
-ปริ มาณสุ ทธิ
ความรู้ คู่สุขภาพ
ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ ต้ องมีข้อความว่า “เครื่ องสาอางควบคุมพิเศษ” ดังนั ้น เวลาเลือกซื ้อ
ยาสีฟันประเภทนี ้จึงควรสังเกตว่ามีข้อความนี ้หรื อไม่ ถ้ าไม่มีข้อความนี ้ก็ ไม่ควรเลือกใช้
2) การเลือกซื้อน้ ายาบ้วนปาก น้ ายาบ้วนปาก เป็ นสารละลายที่ใช้เพื่ออมกลั้วปากและคอ แล้ว
บ้วนทิงไป น้ ายาบ้วนปากชวยในการชะล้างชองปากให้สะอาด เพื่อลดเชื้อโรคในชองปากและระงับกลิน
่
่
่
้
่
ปาก ที่จดเป็ นเครื่ องสาอาง ประกอบด้วนน้ า แอลกอฮอร์ สารแต่งกลิ่น แต่งสี บางชนิ ดจะมีสารฆ่า
ั
เชื้อจุลินทรี ย์ดวย การเลือกน้ ายาบ้วนปากควรพิจารณาจากหลักการ ดังนี้
้
1) ชื่อทางการค้า
2) เลือกชนิ ดที่มสวนผสมของแอลกอฮอร์ น้อย หรื อมีน้ าเพื่อป้ องกันการระคายเคืองเยื่อ บุชองปาก
ี ่
่
3) บอกชนิ ดของน้ ายาบ้วนปาก
4) วันผลิตและหมดอายุ
5) แหล่งที่ผลิต
6) บอกส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตภัณ ฑ์น้ ายาบ้วนปากและระบุวธี การใช้
ิ
ความรู้ คู่สุขภาพ
เราไม่ควรเลือกใช้ น ้ายาบ้วนปากที่มีสวนผสมของงกรด เพราะอาจทาให้ ผิวฟั นกร่อน เคลือบฟั นบางลง
่
ซึ่งจะทาให้ เกิ ดอาการเสียวฟั นได้ งาย
่

สื่ อโฆษณากับการตัดสิ นใจเลื อกซื้ออาหารและผลิ ตภัณฑ์
ในปั จจุบนการโฆษณาเป็ นวิธีการหนึ่ งที่ชวยส่งเสริ มการขายอาหารและผลิ ตภัณฑ์ ตา่ งๆ โดยมีการวิธี
ั
่
โฆษณาหลากหลายรู ปแบบ เพื่อกระตุนให้ผูบริ โภคสนใจและซื้อผลิตภัณฑ์น้ ันๆ ข้อมูลที่โฆษณาจึง มัก จะ
้
้
แสดงเฉพาะส่วนที่ก ่อให้เกิดผลดีตอการขายผลิ ตภัณฑ์ ข้อเสี ยของผลิตภัณฑ์มก ถูก ปกปิ ด ซึ่งบางครั้งการ
่
ั
รับข้อมูลที่ไมครบถ้วน ก็อาจทาให้ผบริ โภคเข้าใจผิด ถูกเอาเปรี ยบหรื ออาจเกิดอัน ตรายจาการใช้ผลิตภัณฑ์
่
ู้
ได้
1. ปัญหาทีเ่ กิดจากโฆษณา
การโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่อาจทาให้เกิดปั ญหา ดังนี้
1. นาเสนอความจริ งเพียงบางส่วน ส่วนที่ไม ่นาเสนออาจเป็ นข้อมูลที่ ผบริ โภคควรรู ้
ู้
2. อ้างสรรพคุณเกินกว ่าชนิ ดของอาหารและผลิ ตภัณฑ์ โดยอาจแสดงสรรพคุณไปทางยา
3. ใช้เทคโนโลยีในการทาสื่ อโฆษณาแสดงสรรพคุณเกินจริ ง
4. อ้างแหล่งที่นาเชื่อถือหรื อสถานที่ที่มชื่อเสี ยงให้การรับรอง เชน ดารา นักร้อง สถาบันที่มี
่
ี
่
ชื่อเสี ยง ห้องทดลอง ห้องปฏิบติการ เป็ นต้น
ั
2. หลั กการพิจารณาโฆษณาก่ อนการเลื อกซื้อ
การเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุ ขภาพ ควรพิจารณา ดังนี้
1. พิจารณาข้อความในโฆษณาว ่าเกินหลักความจริ งหรื อไม ่
2. ไม ่ควรเชื่อ หรื อซื้อสิ นค้า เพราะมีบุคคลที่มชื่อเสี ยงใช้
ี
3. เปรี ยบเทียบคุณสมบัติของสิ นค้าชนิ ดเดี ยวกัน แต่ตา่ งยี่ห้อก ่อนตัดสิ นใจเลือกซื้อ
4. ศึกษาข้อมูลของสิ นค้าก อนว ่ามีขอ ดีและข้อเสี ยอย่างไร เพราะโฆษณามักไม ่บอกจุ ดเสี ยของ
่
้
สิ นค้า

แบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา
อ่านโฆษณา ที่กาหนดให้ แล้วพิจารณาว ่า โฆษณาเหล่านี้ น่าเชื่อถือหรื อไม ่ เพราะเหตุใด
1) ยาสี ฟันฟลูออไรด์ ไวท์จง ใช้แล้วทาให้ฟันสะอาด แข็งแรง
ั
2) สาหร่ายปรุ งรส ตราโอเชี่ยน ให้สารอาหารครบ 5 หมู ่ ทดแทนการกินอาหารแต่ละมื้อเหมาะ
สาหรับผูตองการลดน้ าหนัก เลือกสาหร่าย ต้องเลือกโอเชี่ยน
้้
3) แชมพู แบล็คแฮร์ ผมหอมสะอาดล้ าลึ ก สระ 1 ครั้ง อยูได้นาน 1 สัปดาห์ โดยไมต้องสระซ้ า
่
4) น้ าดื่มสะอาด น้ าดื่ม วอเทอร์ ใส สะอาด ปลอดภัย เพราะผ่านกรรมวิธีผลิตที่พิถีพิถนและมี
ั
คุณภาพ ภายใต้เครื่ องหมายรับรอง อย.
5) พิ้งกี้ ลิปมันเปลี่ยนสี ได้ ใช้แล้วปากจะนิ่ มนวล น่าสัมผัสตลอดกาล
เฉลยแบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา
1) น่าเชื่อถือ เพราะ ฟลูออไรด์สามารถทาให้ฟันของเราแข็งแรง
2) ไม ่น่าเชื่อถือ เพราะ อ้างสรรพคุณเกินกว ่าชนิ ดของอาหารและผลิ ตภัณฑ์โ ดยอาจแสดง
สรรพคุณไปทางยา
3) ไม ่น่าเชื่อถือ เพราะ อ้างสรรพคุณที่เกินความจริ ง
4) น่าเชื่อถือ เพราะมี อย. รับรองคุณภาพ
5) ไม ่น่าเชื่อถือ เพราะเป็ นโฆษณาที่เกินความเป็ นจริ ง

บทที่ 4 โรคควรรู้
โรคเป็ นอาการที่เกิดขึ้นจากการติ ดเชื้อโรคหรื อ การมีพฤติ กรรมสุ ขภาพที่ ไ ม ่ถู กต้อง ซึ่งโรคที่พบบ่อยใน
ปั จจุบนมีอยูหลายโรค ดังนี้
ั
่
1. โรคไข้ หวัดใหญ่
เกิดจากเชื้อไวรัสบางชนิ ดที่เข้าสู รางกายในขณะที่รางกายอ่อนแอ
่่
่
อาการ มีไข้สูง หนาวสั่น คัดจมูก น้ ามูกไหล ปวดกระบอกตา ปวดศีรษะและปวดเมือยตามตัวมาก
่
การติดต่ อ โรคไข้หวัดใหญ่เป็ นโรคที่ติดต่อได้งาย เพียงแค่สูดลมหายใจเอาเชื้อโรคที่ผป่วยไอหรื อจาม
่
ู้
ออกมาก็สามารถเป็ นโรคนี้ ไ ด้
การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้
ั
1) พักผ่อนให้มากๆ
2) ใช้ผาชุบน้ าเช็ดตัวเมือมีไข้สูง
้
่
3) กินอาหารอ่อนๆ และดื่มน้ ามากๆ
4) เมือรู ้สึกปวดหัวหรื อ มีไ ข้ให้กนยาพาราเซตามอล
่
ิ
5) ถ้ามีน้ ามูกให้กนยาลดน้ ามูก
ิ
6) ถ้ามีอาการหอบหรื อสงสัย ว ่าปอดอักเสบ ควรรี บไปพบแพทย์
การปองกัน ควรปฏิบติ มีดงนี้
้
ั
ั
1) รักษาสุ ขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ
2) ทาให้รางกายได้รับความอบอุนเพียงพอ
่
่
3) ไม ่คลุกคลีกบผู ้ป่วยที่เป็ นโรคไข้ห วัดใหญ่
ั
4) ไม ่ใช้ของใช้สวนตัวร่วมกันกับผูที่ป่วยเป็ นโรคไข้หวัดใหญ่ เชน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว เป็ นต้น
่
้
่
5) เมือมีอาการป่ วยควรบอกพอแม ่ให้ทราบ เพื่อพอแม ่จะได้พาไปพบแพทย์
่
่
่
2. โรคไข้ เลื อดออก
โรคนี้ เกิดจากยุงลายที่มเี ชื้อไข้เลือดออกมาดู ดกินเลื อดคน
อาการ มีไข้สูงและไข้จะลดลงอย่างรวดเร็ ว มือเท้าเย็น หายใจหอบ ตัวซีด กระวนกระวาย อาจมี
เลือดออกตามผิวหนังเป็ นจุดแดงๆ
การติดต่ อ ยุงลายเป็ นพาหะนาเชื้อโรคจากผูป่วยไปสู ผู ้ที่ถู กยุงลายกัด
้
่
การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้
ั
1) กินยาพาราเซตามอลเมือมีไข้สูง ไม ่ควรกินยาแอสไพริ น เพราะจะทาให้เลือดออกมากขึ้น
่
2) เมือไข้ลดลง แล้วมีอาการปวดท้อง กระสับกระส่ายหรื อซึมลง มือเท้าเย็น หน้ามืด ควรรี บพา
่
ไปพบแพทย์
การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้
้
ั
1) กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลาย ดังนี้
-ปิ ดฝาโอ่งหรื อฝาตุมให้มดชิด
่
ิ
-เลี้ ยงปลาหางนกยูงไว้ในบ่อ เพื่อให้กนลูกน้ า
ิ
-ทาลายแหล่งที่มน้ าท่วมขังในบริ เ วณบ้าน
ี
-ใส่สารเคมีกาจัดลูกน้ าลงในจานรองตูก บข้า ว
้ ั
2) นอนกางมุงหรื อนอนในห้องที่มมงลวด และไม ่ให้ถูกกยุงลายกัด
้
ี ุ้
3) ถ้ามีไข้ที่สงสัยว ่าจะเป็ นโรคไข้เลือ ดออก ไม ่ควรกินยาลดไข้พ วกแอสไพริ น แต่ควรรี บไปพบ
แพทย์
3. โรคฟันผุ
โรคฟั นผุ คือ โรคของฟั นที่มเี นื้ อฟั นถูกทาลายไป จนทาให้เกิดเป็ นรู หรื อโพรงที่ตวฟั น ถ้าไม ่ได้รักษา
ั
จะลุกลาม และสุ ดท้ายอาจจะต้องสู ญเสี ยฟั น
อาการ โรคฟั นผุในระยะเริ่ มต้นมีการเปลี่ยนแปลงที่ ผิวฟั น เห็ นเป็ นจุดหรื อฝ้ าขาวขุนคล้ายชอล์ก
่
ต่อมาเริ่ มเห็ นเป็ นรู ผุที่ผิวฟั น อาจมีสีเทาหรื อสี ดา มีสีขาวขุนรอบๆ รู ฟันที่ผุลุกลามกว้างและลึกขึ้นเข้า สู ่
่
ชันเนื้ อฟั น ใกล้โพรงประสาททาให้เกิดอาการเสี ยวฟั น การอักเสบลุกลามออกไปรอบตัวฟั น ถึงอวัยวะ
้
รอบตัวฟั นอาจทาให้เกิดฝี หนอง ฟั นโยก และมีอาการปวดจนเคี้ย วอาหารไม ่ได้
การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้
ั
1) ใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ คือ การใช้ฟลูออไรด์สัมผัสฟั นโดยตรงสามารถทาได้โ ดยการแปรงฟั น
ด้วยยาสี ฟันหรื อน้ ายาบ้วนปากที่ผสมฟลูออไรด์เพราะฟลูออไรด์จะเคลื อบฟั น ทาให้ฟัน
แข็งแรงขึ้น ทนต่อกรดที่ทาให้เกิดฟั นผุได้มากขึ้นและทาให้เกิดการสะสมของแร่ธาตุ ที่ผิ วฟั น
เป็ นผลให้ฟันผุในระยะเริ่ มต้นหานเป็ นปกติ และควรแปรงฟั นอย่างน้อย 2 นาที เพื่อให้
ฟลูออไรด์มผลป้ องกันฟั นผุไ ด้
ี
2) รักษารากฟั น เป็ นการรักษาโรคฟั นผุที่มการลุก ลามเข้าไปถึงโพรงประสาทฟั นแล้ว
ี
3) ถอนฟั น เมืออาการอักเสบลุกลามไปมาก ไม ่เหลือเนื้ อฟั นที่จะสามารถรักษาฟั นซี่น้ ันไว้ได้
่
ต่อไป
การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้
้
ั
1) รับประทานอาหารที่มประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารที่มรสหวานจัดและเหนี ยวติ ดฟั น เพราะทา
ี
ี
ให้เกิดโรคฟั นผุได้งาย
่
2) ดูแลรักษาความสะอาดชองปากของตนเอง สมาเสมอโดยการแปรงฟั นด้วยยาสี ฟัน ผสม
่
่
ฟลูออไรด์ทุกครั้ง
3) หมันตรวจสุ ขภาพชองปากของตนเอง โดยการไปพบทันตแพทย์เ ป็ นประจาอย่างน้อ ยปี ละ 1
่
่
ครั้ง
4. โรคปริทนต์
ั
โรคปริ ทนต์ หรื อโรครามะนาด เป็ นโรคเรื้ อรังที่เกิดการทาลายกับอวัย วะรอบๆ รากฟั น ระยะแรกเกิด
ั
กับเหงื อก ต่อมาเมือมีอาการมากขึ้น จะลุก ลามไปที่เนื้ อเยื่ อปริ ทนต์แ ละกระดู กเบ้าฟั น ทาให้มอาการเหงื อก
่
ั
ี
ร่น กระดูกฟั นละลายรากฟั นโผล่ อาจมีอาการปวด บวม ฟั น โยกหลุดได้
สาเหตุ เกิดจากเชื้อจุลินทรี ย์ในคราบจุลิน ทรี ย์ ที่เกาะบริ เวณคอฟั น ปล่อ ยสารพิ ษทาลายเหงื อกและ
อวัยวะรอบตัวฟั นอย่างช้าๆ ถ้าไม ่กาจัดคราบจุลินทรี ย์เหล่านั้นออกจะรุ นแรงขึ้น ปั จจัยเสริ มที่มผลต่อ โรค
ี
ปริ ทนต์ คือ หิ นน้ าลายซึ่งเกิดจากการตกตะกอนของร่าตุ แคลเซี ย ม ฟอสฟอรัส ในน้ าลายรวมกับคราบ
ั
จุลินทรี ย์ มีลกษณะแข็ง คม บาดเหงื อกที่อกเสบอยูแล้วให้รุนแรงขึ้นหิ นน้ าลายนี้ ไ ม ่สามารถขจัดออกได้
ั
ั
่
ด้วยการแปรงฟั น
อาการ เหงื อกมีอาการอักเสบ และมีสีแดงจัด เป็ นมัน มีเลือดออกง่ายอาจบวม มีหนองไหล พบล่อง
เหงื อกลึกตั้งแต่ 4 มิลลิเมตร โดยลักษณะของโรคแบ่งออกเป็ น 4 ระยะ ดังนี้
อาการที่ 1
เหงื อกอักเสบ บวมแดง ไม ่แนบสนิ ทกับคอฟั น และอาจมีเลือดออกขณะแปรงฟั น
อาการที่ 2
เหงื อกอักเสบ มีหินน้ าลายทาให้ระคายเคืองเพิ่มขึ้น เหงื อกอักเสบมากขึ้น บวม มีเลือดไหล กระดูกฟั น
เริ่ มถูกทาลาย มีการร่นของเหงื อก
อาการที่ 3 หิ นน้ าลายจับและขยายไปยังปลายฟั น ทาให้กระดูกฟั นถูกทาลาย เหงื อกร่น ฟั นโยก เมือ
่
เคี้ยวอาหารจึงรู ้สึกเจ็บ มีหนองหรื อเลือดไหลกลิ่นปากรุ นแรง
อาการที่ 4 โรคลุกลาม อาการรุ นแรง ฟั นโยก ปวดมากจนเคี้ยวอาหารไม ่ได้ เป็ นฝี ที่เหงื อก หน้าบวม
ฟั นไม ่สามารถยึดเกาะกับเหงื อกได้
การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้
้
ั
1) แปรงฟั นให้ถูกวิธีและแปรงอย่างสมาเสมอทุ กวัน
่
2) ควรใช้สียอมคราบจุลิน ทรี ย์ ซ่ ึงเป็ นยาเม็ดหรื อ ยาน้ า มีสีแดงใช้ยอมคราบจุลินทรี ย์ เพื่อดู
้
้
ประสิ ทธิ ภาพการแปรงฟั นว ่าสามารถกาจัดคราบจุ ลินทรี ย์ไ ด้ห มดหรื อไม ่ โดยสี ของยาเม็ดสี
ย้อมคราบฟั นจะติดเป็ นคราบสี แ ดงตามบริ เวณที่เป้ นคราบจุ ลินทรี ย์ จึงควรใช้ยานี้ หลังจาก
แปรงฟั น เพื่อทาให้ทราบว ่ามีบริ เวณใดที่ยง แปรงไม ่สะอาด ซึ่งจะชวยให้มการปรับปรุ งการ
ั
่
ี
แปรงฟั นให้ดีข้ ึน
3) ควรใช้อุปกรณ์ที่ชวยทาความสะอาดที่ บริ เวณซอกฟั น เพราะเป็ นบริ เวณแปรงฟั นเข้าไม ่ถึง ซึ่ง
่
ได้แก ่ การใช้ไหมขัดฟั น
5.โรคผิวหนัง
โรคผิวหนังเกิดที่บริ เวณผิวหนังของร่างกาย ซึ่งที่พบบ่อย เชน
่
1. โรคภูมิแพ้ผิวหนัง
โรคภูมแพ้ผิวหนังเป็ นโรคที่ถา่ ยทอดทางพันธุ กรรมชนิ ดหนึ่ งที่เกีย วข้องกับระบบภู มิคุ้มกันของร่างกาย
ิ
่
ที่ตอบสนองต่อสิ่ งเร้าต่างๆ ได้มากกว ่าปกติ ทาให้เกิดอาการแพ้ข้ ึน
อาการ โรคนี้ มกจะมีผิวแห้งและคัน มีผื่นผิวหนังอักเสบ ในแต่ละบริ เวณของร่างกาย
ั
การดูแลรักษา ยังไม ่มีวธีรักษาให้หายขาดได้ และโรคนี้ ถา่ ยทอดไปยังลูกหลานได้ วิธีที่ชะลออาการ
ิ
และความรุ นแรงของโรค คือ การรู ้จกดูแลและปฏิบติตนให้ถูก วิธี
ั
ั
การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้
้
ั
1) สังเกตว ่าตนเองแพ้อะไรก็ให้หลีกเลี่ยงสิ่ งนั้น เชน อาหารทะเล นม ไข่ ผงซักฟอก เป็ นต้น
่
2) เมือมีอาการแพ้และคัน ไม ่ควรเกาบริ เวณที่คน เพราะอาจทาให้ผิวหนังอักเสบลุกลามยิงขึ้น
่
ั
่
3) ควรเลือกใช้สบูที่ไม ่ระคายผิ ว
่
4) หลังอาบน้ าควรทาครี มหรื อโลชันให้ความชุมชื้นแก ่ผิ ว และควรหลีกเลี่ยงครี มชนิ ดที่ผสม
่
่
น้ าหอม เพราะอาจทาให้แพ้ได้งาย
่
5) หมันทาความสะอาดที่นอนและเครื่ องนอนอยูเ่ สมอเพื่อขจัดและป้ องกันไม ่ให้มีไรฝุ่น
่
6) ควรปรึ กษาแพทย์ผิวหนัง หากพบว ่ามีผื่นแดง คันหรื ออักเสบที่บริ เวณผิ วหนัง
2. โรคผดผื่นคัน
ผดผื่นคันเป็ นโรคผิวหนังชนิ ดหนึ่ งที่พบได้บอ ย เนื่ องจากอากาศร้อนอบอ้าว ส่วนใหญ่มกพบในเด็ก
่
ั
บริ เวณหน้าผาก คอ ขาหนี บ รักแร้ และหลัง
อาการ มีตุมแดงเล็กๆ อาจมีตุมน้ าเล็กๆ ขึ้นเป็ นปื้ น มีอาการคันบางครั้งคันจนแสบร้อน และอาจ
่
่
มีการติดเชื้อแบคทีเรี ยแทรกซ้อนขึ้นได้
การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้
ั
1) หลีกเลี่ยงสิ่ งที่ทาให้เกิดผดผื่นคัน
2) ใช้ยาทาในกลุมของยาลดอักเสบ และกินยาในกลุมของยาลดอาการคัน
่
่
3) ทาความสะอาดร่างกายเมื่อ มีเหงื่ อออกมาก เพราะฝุ่นละอองจะมาเกาะ ทาให้เกิดผดผื่น
คันได้อีก
การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้
้
ั
1) หลีกเลี่ยงสิ่ งที่ทาให้เกิดอาการแพ้หรื อผดผื่นคัน
2) หลีกเลี่ยงอากาศร้อนจัด เพื่อไม ่ให้เหงื่ อออกมาก
3) อยูในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และหลีกเลี่ยงสถานที่ที่อาจก ่อให้เกิดผดผื่น คัน เชน
่
่
สถานที่ก ่อสร้าง สวนดอกไม้ เป็ นต้น
4) ใช้เสื้ อผ้าให้เหมาะสมกับฤดูกาล หลีกเลี่ยงการสวมเสื้ อผ้าคับๆ
5) ไม ่ควรถูสบูมากๆ หรื อใช้สารที่ทาให้เกิดการระคายผิว
่
6) เมือเกิดผื่นอาจใช้น้ าเย็นลูบ ทาด้วยคาลาไมน์ ให้หายคัน
่
7) ตัดเล็บมือให้ส้ ันอยูเ่ สมอ เพื่อไม ่ให้เป็ นการสะสมเชื้อโรค
8) ถ้าอาการผดผื่นคันไม ่หายควรปรึ กษาแพทย์
3. โรคกลาก โรคเกลื้ อน
โรคกลาก โรคเกลื้อน เป็ นโรคผิวหนังที่เกิดจากสาเหตุและมีอาการที่ตา่ งกัน ดังนี้
โรคกลาก
เป็ นโรคซึ่งเกิดจากเชื้อรา ติดต่อได้จากการสั มผัสและการใช้สิ่งของร่วมกัน
อาการ จะมีอาการคัน เป็ นผื่นแดง รู ปร่างคล้ายวงแหวนมีขอบเขตชัดเจน มีสะเก็ดลอกเป็ นขุยที่ขอบ
วงแหวน ถ้าผื่นลุกลามขยายออกวงกว้างมากขึ้น จะยิงเห็ นรู ปร่างวงแหวนชัดเจน
่
โรคเกลื้ อน
เป็ นโรคที่เกิดจากเชื้อยีสต์ ติดต่อได้จากการสั มผัสผูเ้ ป็ นโรคโดยตรง
อาการ เป็ นผื่นวงกลมสี ขาวจางๆ มีขอบเขตค่อนข้างชัดเจน รวมกลุมกันบางครั้งอาจเป็ นวงสี ช มพู สี
่
เทาจนถึงสี น้ าตาล มักจะมีอาการคัน แต่คนไม ่มากเท่ากับโรคกลาก โรคเกลื้อนมักจะคันตอนชวงที่
ั
่
เหงื่ อออก ชวงที่อากาศร้อน
่
การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้
ั
1) รักษาความสะอาดของร่างกายอย่างสมาเสมอ อาบน้ า ฟอกสบู ่ และเช็ดตัวให้แห้งทุกครั้ง
่
โดยเฉพาะบริ เวณซอก เชน รักแร้ ขาหนี บ เป็ นต้น
่
2) ตัดเล็บมือ เล็บเท้าให้ส้ ัน หมันล้างมือให้สะอาดและอย่าเกา เพราะการเกาจะทาให้เชื้อลุกลาม
่
ไปที่อื่นได้
3) ป้ องกันการแพร่เชื้อโดยการไม ่ใช้เสื้ อผ้า เครื่ องนุ มห่ม ปะปนกันแล้วควรซักทาความสะอาด
่
และตากแดดให้แห้งทุกครั้ง
4) ไปพบแพทย์เพื่อทาการตรวจรัก ษา
5) การรักษาโดยทัวไปจะไปจะใช้ยาทาวันละ 2-3 ครั้ง ติดต่อกันจนกว ่าผื่นจะหายไป โดยทายา
่
ที่บริ เวณผื่นและบริ เวณใกล้เคียงโดยรอบหลังจากผื่นหายแล้ว ควรทายาต่ออีก 2 สัปดาห์
การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้
้
ั
1) รักษาความสะอาดของร่างกายอยูเ่ สมอ ด้วยการอาบน้ าวันละ 2 ครั้ง
2) หลังอาบน้ าเสร็ จแล้ว ต้องเช็ดตัวให้แห้งเพื่อป้ องกันไม ่ให้ผิวหนังอับชื้น เพราะจะทาให้เป็ น
โรคได้งาย
่
3) สวมใส่เสื้ อผ้าที่ซกสะอาดแล้ว และไม ่ควรใส่เสื้ อผ้าร่วมกับผูอื่น
ั
้
4) หลังทากิจกรรมที่มเี หงื่ อ ออกมากๆ ควรรี บอาบน้ าทันที
ความรู้ค่ สุขภาพ
ู
กระเทียมเป็ นพืชสมุนไพรชนิ ดหนึ่ งที่หาได้งายและใช้รักษาโรคเกลื้ อน โดยนากลีบ
่
กระเทียมมาฝานเป็ นชิ้นบางๆ แล้วเอามาทาบริ เวณผิวหนังที่เ ป็ นเกลื้อนทุก วัน วันละ 2 ครั้ง
แบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา บทที่ 4
วิเคราะห์ พฤติกรรมที่กาหนดให้ว ่าอาจทาให้เกิดโรคใด แล้วบอกวิธีป้องกัน
1) ไม ่ทาความสะอาดร่างกาย
2) ใช้ผาเช็ดหน้าร่วมกับผูที่เป็ นไข้หวัด
้
้
3) นอนหลับในห้องที่มยุงชุม
ี
4) กินขนมหวานแล้วไม ่แปรงฟั น
5) อยูในบริ เวณที่มอากาศร้อนนานๆ
่
ี

เฉลยแบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา
1) โรคเกลื้อน วิธีป้องกัน รักษาความสะอาดของร่างกายอยูเ่ สมอ ด้วยการอาบน้ าอย่างน้อย
วันละ 2 ครั้ง
2) โรคไข้หวัด วิธีป้องกัน รักษาสุ ขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ
3) โรคไข้เลือดออก วิธีป้องกัน กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลาย เชน ปิ ดฝาโอ่งหรื อฝาตุมให้
่
่
มิดชิด
4) โรคฟั นผุ วิธีป้องกัน รับประทานอาหารที่มประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารที่มรสหวานจัด
ี
ี
และเหนี ยวติดฟั น เพราะทาให้เกิดโรคฟั นผุได้งาย
่
5) โรคผดผื่นคัน วิธีป้องกัน หลีกเลี่ยงอากาศร้อนจัด เพื่อไม ่ให้เหงื่ อออกมาก

Contenu connexe

En vedette

ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6
ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6
ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6ธนาพจน์ ศรีคำเวียง
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
สมการและการแก้สมการ
   สมการและการแก้สมการ    สมการและการแก้สมการ
สมการและการแก้สมการ suwanpinit
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5sripayom
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1Parichat1989
 

En vedette (8)

ฝึกอ่านแสนสนุก-สมภพ
ฝึกอ่านแสนสนุก-สมภพฝึกอ่านแสนสนุก-สมภพ
ฝึกอ่านแสนสนุก-สมภพ
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6
ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6
ฝึกอ่านแสนสนุก-ณรงค์ศักดิ์-หนึ่ง-ป.6
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
สมการและการแก้สมการ
   สมการและการแก้สมการ    สมการและการแก้สมการ
สมการและการแก้สมการ
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
 

Similaire à อ.บ ญเร อน

บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสานสถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสานYouthubon Ubon
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...CDD Pathum Thani
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 

Similaire à อ.บ ญเร อน (20)

บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
Fast food
Fast foodFast food
Fast food
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
V 287
V 287V 287
V 287
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสานสถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

อ.บ ญเร อน

  • 1. หนังสื อเรี ยน รายวิ ชาพื้ นฐาน วิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา ชันประถมศึกษาปี ที่ 5 ้ กลุมสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึ กษา ่ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึก ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
  • 2. บรรณานุกรม ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึก ษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ผูเ้ รี ยบเรี ยง นายชูชาติ รอดถาวร นายภาสกร บุญนิ ยม ผูตรวจ ้ นางสุ มาลี ขอมใจเพ็ชร์ นางชญาดา สุ ขเสริ ม นายพินิจ หงส์ ภู ่ บรรณาธิ การ นายบัญชา ช้างพงษ์ พิมพ์ครั้งที่ 10 สงวนลิขสิ ทธิ์ ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-161-8 จัดทาโดย นางสาวแก้วตา สิ ทธิ มาศ 5415261002 เอกคอมพิวเตอร์ ศึกษา
  • 3. หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 สุ ขภาพของเรา บทที่ 1 สุ ขบัญญัติแห่ งชาติ ข้อปฏิบติตามหลัก สุ ขบัญญัติแห่งชาติ ั สุ ขบัญญัติแห่งชาติ คือ ข้อกาหนดที่กองสุ ขศึกษา สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุ ขขึ้น เพื่อเป็ น แนวทางให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทัวไปนาไปปฏิบติอย่างสมาเสมอจนเป็ นกิจนิ สัย เพื่อให้เกิด ั ่ ่ พฤติกรรมที่ดี อันนาไปสู สุขภาพที่ดีทงร่างกาย จิตใจ และสังคม ่ ้ั การปฏิบติตามหลัก สุ ขบัญญัติแห่งชาติ ปฏิบติได้ดงนี้ ั ั ั 1.ดูแลรักษาร่ างกายและของใช้ ให้ สะอาด  - อาบน้ าให้สะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง - สระผมอย่างน้อยสัปดาห์ ละ 2 ครั้ง - ตัดเล็บมือ เล็บเท้า ให้ส้ ันอยูเ่ สมอ - ขับถ่ายอุจจาระให้เป็ นเวลาทุกวัน - ใส่เมือผ้าที่สะอาด ไม ่อับชื้น ้ - จัดเก็บของใช้ให้เป็ นระเบียบ 2.รักษาฟันให้ แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่ างถูกต้ อง - แปรงฟั นให้สะอาดอย่างทัวถึงทุกซี่ทุก ด้าน ่ นาน 2 นาที ขึ้นไป อย่างน้อยวันละ 2 ครั้งและแปรงลิ้นทุกครั้งหลังแปลงฟั น - เลือกใช้ยาสี ฟันที่มสวนผสมของฟลูออไรด์ ี ่ - กินอาหารที่มประโยชน์ ตอฟั น ี ่ - ตรวจสุ ขภาพฟั นอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
  • 4. 3.ล้ างมือให้ สะอาดก่ อนกินอาหารและหลั งการขับถ่ าย - ดูแลรักษามือให้สะอาดและมีสุขภาพดี - ล้างมือด้วยวิธีที่ถูก ต้องด้วยสบู ทุก ครั้ง ่ ก ่อนเตรี ยมและหลังปรุ งอาหาร ก ่อนรับประทานอาหาร หลังหยิบจับสิ่ งสกปรก หลังการขับถ่าย ก ่อนและหลังการสัมผัสผูป่วย ้ 4.กินอาหารสุ ก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลี กเลี่ ยงอาหารทีมีรสจัด สี ฉูดฉาด ่ - เลือกซื้ออาหารที่สะอาดและปลอดภัย - ปรุ งและกินอาหารที่ถูกสุ ขลัก ษณะและสุ ก เสมอ - กินอาหารครบ 5 หมู ่ แต่ละหมูให้ ่ หลากหลายในสัดส่วนที่เหมาะสม - ดื่มนมให้เหมาะสมกับวัย - ดื่มน้ าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
  • 5. 5.งดบุหรี่ สุ รา สารเสพติด การพนัน การสาส่ อนทางเพศ - ไม ่สู บบุหรี่ - ไม ่ดื่มสุ รา - ไม ่เกียวข้องกับสารเสพติ ดทังการเสพและ ่ ้ การค้า - ไม ่เล่นการพนัน และไม ่สนับสนุ นการพนัน - งดการสาส่อนทางเพศ และมีเพศสัมพันธ์ ที่ ปลอดภัย เมือถึงวัยอันสมควร ่ - ศึกษาข้อมูลเกียวกับโทษของบุหรี่ แ ละสุ รา ่ และประโยชน์ ของการไม ่สู บบุหรี่ แ ละไม ่ดื่ ม สุ รา 6.สร้ างความสั มพันธ์ ในครอบครัวให้ อบอุ่น - กระตุนเตือนให้คนในครอบครัวเห็ น ้ ความสาคัญของการอยู รวมกันในครอบครั ว ่่ การให้เกียรติคนในครอบครัว - มีหลักเกณฑ์ในการอยูรวมกันหรื อ ปฏิบัติตอ ่่ ่ กันการเคารพผูที่อาวุโสกว ่า และเคารพใน ้ กติกาที่ลดความขัดแย้งในครอบครั ว - มีการวางแผนพัฒนาสัมพันธภาพของ ครอบครัว เพื่อคงความรัก ความอบอุนให้มี ่ ในครอบครัว
  • 6. 7.ปองกันอุบัติภัยด้ วยการไม่ ประมาท ้ - ระมัดระวังเพื่อปองกันอุบติเหตุในการ ้ ั เดินทาง - ระมัดระวังเพื่อปองกันอุบติเหตุจากการ ้ ั ทางาน - ระมัดระวังเพื่อปองกันอุบติเหตุภายในบ้ าน ้ ั 8.ออกกาลั งกายสม่าเสมอ และตรวจสุ ขภาพประจาปี - เคลื่อนไหวในชีวตประจาวันอย่างน้อยวันละ ิ 30 นาที โดยให้เหงื่ อออก - ออกกาลังกาย 3-5 วัน ต่อสัปดาห์ - ตรวจสุ ขภาพประจาปี อย่างน้อ ยปี ละ 1 ครั้ง
  • 7. 9.ทาจิตใจให้ ร่าเริงแจ่ มใสอยู่เสมอ - มองโลกในแง่ดี - สร้างความสนุ กสนานให้กบตนเอง ั - เมือมีปัญหาไม ่สบายใจ ควรหาทางผ่อน ่ คลาย - ทาจิตใจให้เข้มแข็งและมีอารมณ์ มนคง ั่ 10.มีจิตสานึกต่ อส่ วนรวม ร่ วมสร้ างสรรค์ สังคม - ทิ้งขยะในที่รองรับ และแยกขยะตามประเภท - ไม ่ใช้วสดุอุปกรณ์ที่เกิดมลภาวะ ต่อ ั สิ่ งแวดล้อม - ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด - อนุ รักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม
  • 8. ความสาคัญของการปฏิบัติตนตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ ปั ญหาสุ ขภาพ เป็ นสิ่ งสาคัญที่มผลกระทบต่อบุ คคล ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ถ้า ี ประชาชนยังขาดความรู ้ในการป้ องกันโรคภัยไข้เจ็บและการส่งเสริ มสุ ขภาพ ก็จะทาให้การพัฒนาประเทศ เป็ นไปได้ยาก ดังนั้น การปลูกฝั งให้ประชาชนรู ้จกปฏิบติตามหลักสุ ขบัญ ญัติแห่งชาติโ ดยปลู กฝั งให้เริ่ มปฏิ บติต้งแต่ ั ั ั ั ในวัยเรี ยน จะทาให้เกิดความตระหนักและนาไปปฏิบัติจนเป็ นนิ สั ย จะทาให้เกิดประโยชน์ ดงนี้ ั 1.มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ 2.ป้ องกันตนเองจากสารเสพติดและอบายมุข 3.มีความสัมพันธ์ อน ดีท้งในครอบครัวและในสังคม ั ั 4.ดูแลและป้ องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็ บและอุ บติเหตุได้ ั 5.อยูรวมกันในสังคมภายใต้สภาพแวดล้อ มที่ ดีไ ด้อ ย่างมีความสุ ข ่่ บทที่ 2 ข่ าวสารสุ ขภาพ 1.ข้ อมูล สุ ขภาพ สุ ขภาพเป็ นเรื่ องที่เกียวข้องกับคนทุก คน การที่คนเราจะมีสุขภาพดีได้ต้องรู ้จักดูแ ลตนเอง รวมทังรู ้จก ่ ้ ั แสวงหาข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ ตอ การดูแลและสร้างเสริ มสุ ขภาพ ่ ข่าวสารที่ใช้เพื่อการดูแลและสร้างเสริ มสุ ขภาพมีหลายประเภท เชน การเลือกรับประทานอาหารให้ ่ เหมาะสม การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย วิธีการออกาลังกายที่ถูก ต้อง วิธีการป้ องกันโรคระบาด ความคุมครองจากการบริ โภคสิ่ ง ต่างๆ เป็ นต้น ซึ่งข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ จะทาให้ผู ้บริ โภครู ้จักคิ ดและ ้ พิจารณาก ่อนเลือกซื้อหรื อใช้ผลิตภัณฑ์ ตา่ งๆ เพื่อความปลอดภัยแก ่ผูบริ โภคเอง ้ 2.แหล่ งข้ อมูล และวิธีการค้ นหาข้ อมูล ข่ าวสารทางสุ ขภาพ ข้อมูลข่าวสารด้านต่างๆ ที่พบในปั จจุบน สามารถสื บค้นได้จากแหล่งข้อ มูล ต่างๆ ดังนี้ ั
  • 9. 1.สถานบริการสุ ขภาพ สถานบริ การสุ ขภาพ เป็ นสถานที่ที่ให้บริ การทางด้านสุ ขภาพต่างๆ แก ่ประชาชน เชน ่ โรงพยาบาล ให้ บริ การด้ านการตรวจรั กษา ส่งเสริ มสุขภาพและปองกั นโรค ้ สถานีอนามัย ศูนย์ บริ การสาธารณสุข ให้ บริ การสุขภาพแก่ ประชาชนระดับตาบล ให้ บริ การด้ านการตรวจรั กษาส่งเสริ ม ในเรื่ องเกี่ ยวกั บอนามัยเบื ้องต้ น สุขภาพและปองกั นโรค ้ สาธารณสุขจังหวัด ให้ บริ การด้ านข้ อมูลข่าวสารที่เกี่ ยวข้ องกั บการ ส่งเสริ มสุขภาพและการปองกั นโรคแก่ ประชาชน ้ ในจังหวัด 2. อินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ ตเป็ นแหล่งสื บค้นข้อมูลข่า วสารที่สาคัญในปั จจุ บน หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมี ั เว็บไซต์ไว้ให้บริ การด้านข้อมูลข่า วสารแก ประชาชนทัวไป ซึ่งเว็บไซต์สาคัญที่นักเรี ยนสามารถสื บค้น ่ ่ ข้อมูลได้ เชน ่ www.thaihealth.or.th เว็บไซต์ของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ ม สุขภาพ (สสส.) ที่ให้ ความรู้ ด้ านการสร้ างเสริ มสุขภาพ
  • 10. www.ocpb.go.th เว็บไซต์ของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริ โภค (สคบ.) ให้ ข้อมูลแนะนาผู้บริ โภคไม่ให้ ถูกเอาเปรี ยบ เราควรหลีกเลี่ยงการค้นหาข้อมูล จากเว็บไซต์ที่ห ลอกลวงหรื อ มีภาพลามกอนาจาร ถ้าบังเอิญเปิ ดไปพบ เว็บไซต์เหล่านี้ ควรรี บปิ ดทันที 3. สายด่ วนสุ ขภาพ เป็ นการใช้โทรศัพท์โทรไปยังหมายเลขโทรศัพ ท์ 4 ตัว เพื่อสอบถามหรื อฟั งข้อมูล สุ ขภาพด้านต่างๆ เชน ่ -1556 สายด่วน อย. ตรวจสอบหรื อแจ้งเกียวกับร้านค้าที่ ขายของไมมี อย. หรื อไม ่ได้มาตรฐาน ่ ่ -1667 สายด่วนสุ ขภาพ กรมสุ ขภาพจิต รับปรึ กษาและคอยให้กาลังใจผูที่มีปัญหาทางด้านสุ ขภาพจิต ้ การใช้ขอมูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพนั้น มีหลัก ดังนี้ ้ รั บข้ อมูลข่ าวสาร พิจารณา การฟั ง การดู การ คิดถึ งความเหมาะสมใน ปฏิบัติ นาไปปฏิบติให้ เหมาะสม ั สอบถาม การนามาปฏิบติ ั กั บตนเอง
  • 11. แบบฝึ กหัดบทที่ 2 อ่านข้อความที่กาหนดให้ แล้วบอกแหล่งข้อมูล ที่ใช้คนคว้า ตามเรื่ องที่กาหนด ้ 1) ข่าวประกาศว ่าโรคอีสุ กอีใสกาลังระบาดในเด็กเล็ก พลจึงต้องการฉี ดวัคซีนเพื่อป้ องงกันโรค พล ควรหาข้อมูลเกียวกับสถานที่ ที่รับฉี ดวัคซีนจากแหล่งใด ่ 2) แก้วไปซื้อของที่ตลาดนัด และพบว ่าปลากระป๋ องที่พอค้านามาขายไมมฉ ลากระบุ ที่ขางกระป๋ อง ่ ่ี ้ แก้วควรไปแจ้งที่หน่วยใด 3) โด่งเห็ นเพื่อนมีความซึมเศร้าและเครี ย ดจากปั ญหาทางบ้าน โด่งจึงต้องการหาหน่วยงานที่มาให้ คาแนะนาเพื่อน โด่งควรสื บค้นจากแหล่งใด 4) เอกไปซื้ออาหารที่ร้านขายอาหารแห่งหนึ่ ง แล้วพบว ่า ร้านอาหารร้านนี้ ขายอาหารราคาแพงกว า ่ ร้านอื่นๆ 10 เท่า เอกควรทาอย่างไร 5) น้องของหน่อยป่ วยเป็ นไข้เลือดออก หน่อยจะหาข้อมูลเกียวกับการดูแ ลรัก ษาโรคไข้เลือ กออกได้ ่ อย่างไร เฉลยแบบฝึ กหัดบทที่ 2
  • 12. 1) สาธารณสุ ขจังหวัด ให้บริ การด้านข้อมูลข่าวสารที่เกีย วข้องกับการส่งเสริ มสุ ขภาพและการ ่ ป้ องกันโรคแก ่ประชาชนในจังหวัด 2) 1556 สายด่วน อย. ตรวจสอบหรื อแจ้งเกียวกับร้ านค้า ที่ขายของไมมี อย. หรื อไม ่ได้ ่ ่ มาตรฐาน 3) 1667 สายด่วนสุ ขภาพ กรมสุ ขภาพจิต รับปรึ กษาและคอยให้กาลังใจผู ้ที่มปัญหาทาง ี สุ ขภาพจิต 4) ควรหาข้อมูลจากเว็บไซต์ของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู ้บริ โภค (สคบ.) ให้ขอมูล ้ และแนะนาผูบริ โภคไม ่ให้ถูกเอาเปรี ยบ ้ 5) www.thaihealh.or.th เว็บไซต์ของสานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) ที่ให้ความรู ้ดานการสร้างเสริ มสุ ขภาพ ้ บทที่ 3 อาหารและผลิ ตภัณฑ์ สุขภาพ
  • 13. อาหารและผลิ ตภัณฑ์ สุขภาพ อาหาร เป็ นสิ่ งที่เราบริ โภคเข้าไป และทาให้รางกายได้รับสารอาหารที่เป็ น ประโยชน์ ตอร่างกาย ่ ่ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของคนเรา เพื่อให้สุขภาพดี เชน ยา เครื่ องสาอาง วิตามิน เครื่ องปรุ งอาหาร อาหารเสริ ม อาหารสาเร็ จรู ป เป็ นต้น ่ หลั กในการเลื อกซื้ออาหารและผลิ ตภัณฑ์ สุขภาพ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อชีวตคนเรา เพราะทาให้รางกายเจริ ญเติบโต ส่วน ิ ่ ผลิตภัณฑ์สุขภาพจะชวยส่งเสริ มสุ ขภาพที่ดี ดังนั้นเราควรรู ้หลักในการเลือกซื้ออาหารและผลิ ตภัณฑ์ ่ สุ ขภาพ ซึ่งปฏิบติได้ ดังนี้ ั 1) การเลือกซื้ออาหารสด ควรเลือกอาหารที่สดใหม ่ ซึ่งมีหลักการเลือกซื้อดังนี้ เนื้ อหมูและเนื้ อวัว ควรเลือกเนื้ อหมูที่มสีชมพูออน นุ ม เป็ นมัน ไม ่มี ี ่ ่ กลิ่นเหม็นเน่า ส่วนเนื้ อวัว ควรเลือกเนื้ อวัวที่มสีแ ดง ี สด ไม ่มีกลิ่นเหม็นเปรี้ ยวและทั้งเนื้ อหมูและเนื้ อวัว ต้องไม ่มีเม็ดสี ขาวใสคล้า ยเม็ดสาคูเพราะเป็ นตัวอ่อน ของพยาธิ ตวตืด ั เนื้ อเป็ ดและเนื้ อไก ่ ควรเลือกซื้อเนื้ อเป็ ดและเนื้ อไก ่ที่ มเี นื้ อแน่น ไม ่มีกลิน ่ เหม็นหื นและไม ่มีรอยเขียวช้ า โดยเฉพาะข้อต่อใต้ปีก กุง ้ ควรเลือกกุงที่มเี ปลือ กแข็ง ใส เปลือกและหัวไม ่ ้
  • 14. หลุดง่าย ปลา ควรเลือกปลาที่มเี หงื อกสี แ ดงสด ลูกตาใส เกล็ด ไม ่หลุดง่าย กดเนื้ อแล้วไม ่บุ๋ม ไข่ เลือกไข่ที่มเี ปลือกนวลเกลี้ยง ผิวเนี ยนคล้ายมีแป้ ง ฉาบอยูถาเปลือกลื่นเป็ นมันแสดงว ่าเป็ นไข่เก ่า ่้ และต้องไม ่รอยด่าง รอยร้าว น้ าหนักดี เขย่าแล้ว ไม ่คลอน ผักและผลไม้ เลือกซื้อผักและผลไม้ที่สด ไม ่มีรอยช้ า หรื อรอย แมลงกัดกินจนเสี ยหาย ควรเลือกซื้อผักและผลไม้ ที่หาได้งายและมีตามฤดู กาล ่
  • 15. 2) การเลือกซื้ออาหารแห้ง อาหารแห้งเป็ น อาหารที่ได้ผา่ นกระบวนการอบหรื อ ตากแห้ง เพื่อทาให้ ส่วนที่มน้ าถูกกาจัดออกไป ซึ่งถ้าเก็บรักษาไม ่ดีอาหารแห้งก็จะเสื่ อ มคุณภาพ เราจึงมีวธีเลือกซื้อ ี ิ ดังนี้ 1) อาหารแห้งต้องแห้งสนิ ท ไม ่อับชื้น ไม ่มีกลิ่นหื น 2) ไม ่มีเชื้อราขึ้น 3) ถ้าเป็ นเมล็ดพืช จะต้องมีเมล็ดที่สมบูรณ์ เนื้ อแน่น ไม ่ลีบ ไม ่ฝ่ อ ที่สาคัญต้องแห้งสนิ ท ไม ่มี การงอกของเมล็ด 4) บรรจุอยูในบรรจุภณฑ์ที่สะอาดและปิ ดสนิ ท ่ ั 3) การเลือกซื้ออาหารกระป๋ อง หลักการเลือกซื้ออาหารกระป๋ องมีดงนี้ ั 1) กระป๋ องไม ่มีรอยบุ บหรื อ โป่ งนู น และไม ่มีสนิ ม 2) ที่ฉลากต้องชื่อทางมีการค้า ระบุเลขทะเบียนอาหารและยา สถานที่ผลิต วันเดือนปี ที่ผลิต วัน หมดอายุ น้ าหนัก บอกวัตถุเจือปนในอาหาร เชน วัตถุกนเสี ย เป็ นต้น ่ ั 4) การเลือกซื้อเครื่ องสาอาง เครื่ องสาอางเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้กบร่างกาย เพื่อความสะอาด ความ ั สวยงาม และแต่งกลิ่นหอม เชน สบู ่ ยาสี ฟัน แชมพูสระผม ครี มนวดผม น้ ายาบ้วนปาก เป็ นต้น ่ เครื่ องสาอางในปั จจุบนมีอยูมากมายหลายชนิ ด ซึ่งในแต่ละชนิ ดมีหลักในการเลือกซื้อแตกต่างกัน ั ่ ตัวอย่างเชน ่ 1) การเลือกซื้อยาสี ฟัน ยาสี ฟัน แต่ละยี่ห้อทัวไปจะมีคณ สมบัติใกล้เคี ยงกัน ดังนั้นเราควร ุ ่ พิจารณาจากสิ่ งต่างๆ ต่อไปนี้ -คาเตือน -เครื่ องหมาย อย. -ชื่อทางการค้า -ส่วนประกอบ -ปริ มาณสุ ทธิ ความรู้ คู่สุขภาพ ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ ต้ องมีข้อความว่า “เครื่ องสาอางควบคุมพิเศษ” ดังนั ้น เวลาเลือกซื ้อ ยาสีฟันประเภทนี ้จึงควรสังเกตว่ามีข้อความนี ้หรื อไม่ ถ้ าไม่มีข้อความนี ้ก็ ไม่ควรเลือกใช้
  • 16. 2) การเลือกซื้อน้ ายาบ้วนปาก น้ ายาบ้วนปาก เป็ นสารละลายที่ใช้เพื่ออมกลั้วปากและคอ แล้ว บ้วนทิงไป น้ ายาบ้วนปากชวยในการชะล้างชองปากให้สะอาด เพื่อลดเชื้อโรคในชองปากและระงับกลิน ่ ่ ่ ้ ่ ปาก ที่จดเป็ นเครื่ องสาอาง ประกอบด้วนน้ า แอลกอฮอร์ สารแต่งกลิ่น แต่งสี บางชนิ ดจะมีสารฆ่า ั เชื้อจุลินทรี ย์ดวย การเลือกน้ ายาบ้วนปากควรพิจารณาจากหลักการ ดังนี้ ้ 1) ชื่อทางการค้า 2) เลือกชนิ ดที่มสวนผสมของแอลกอฮอร์ น้อย หรื อมีน้ าเพื่อป้ องกันการระคายเคืองเยื่อ บุชองปาก ี ่ ่ 3) บอกชนิ ดของน้ ายาบ้วนปาก 4) วันผลิตและหมดอายุ 5) แหล่งที่ผลิต 6) บอกส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตภัณ ฑ์น้ ายาบ้วนปากและระบุวธี การใช้ ิ ความรู้ คู่สุขภาพ เราไม่ควรเลือกใช้ น ้ายาบ้วนปากที่มีสวนผสมของงกรด เพราะอาจทาให้ ผิวฟั นกร่อน เคลือบฟั นบางลง ่ ซึ่งจะทาให้ เกิ ดอาการเสียวฟั นได้ งาย ่ สื่ อโฆษณากับการตัดสิ นใจเลื อกซื้ออาหารและผลิ ตภัณฑ์ ในปั จจุบนการโฆษณาเป็ นวิธีการหนึ่ งที่ชวยส่งเสริ มการขายอาหารและผลิ ตภัณฑ์ ตา่ งๆ โดยมีการวิธี ั ่ โฆษณาหลากหลายรู ปแบบ เพื่อกระตุนให้ผูบริ โภคสนใจและซื้อผลิตภัณฑ์น้ ันๆ ข้อมูลที่โฆษณาจึง มัก จะ ้ ้ แสดงเฉพาะส่วนที่ก ่อให้เกิดผลดีตอการขายผลิ ตภัณฑ์ ข้อเสี ยของผลิตภัณฑ์มก ถูก ปกปิ ด ซึ่งบางครั้งการ ่ ั รับข้อมูลที่ไมครบถ้วน ก็อาจทาให้ผบริ โภคเข้าใจผิด ถูกเอาเปรี ยบหรื ออาจเกิดอัน ตรายจาการใช้ผลิตภัณฑ์ ่ ู้ ได้ 1. ปัญหาทีเ่ กิดจากโฆษณา การโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่อาจทาให้เกิดปั ญหา ดังนี้ 1. นาเสนอความจริ งเพียงบางส่วน ส่วนที่ไม ่นาเสนออาจเป็ นข้อมูลที่ ผบริ โภคควรรู ้ ู้ 2. อ้างสรรพคุณเกินกว ่าชนิ ดของอาหารและผลิ ตภัณฑ์ โดยอาจแสดงสรรพคุณไปทางยา 3. ใช้เทคโนโลยีในการทาสื่ อโฆษณาแสดงสรรพคุณเกินจริ ง
  • 17. 4. อ้างแหล่งที่นาเชื่อถือหรื อสถานที่ที่มชื่อเสี ยงให้การรับรอง เชน ดารา นักร้อง สถาบันที่มี ่ ี ่ ชื่อเสี ยง ห้องทดลอง ห้องปฏิบติการ เป็ นต้น ั 2. หลั กการพิจารณาโฆษณาก่ อนการเลื อกซื้อ การเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุ ขภาพ ควรพิจารณา ดังนี้ 1. พิจารณาข้อความในโฆษณาว ่าเกินหลักความจริ งหรื อไม ่ 2. ไม ่ควรเชื่อ หรื อซื้อสิ นค้า เพราะมีบุคคลที่มชื่อเสี ยงใช้ ี 3. เปรี ยบเทียบคุณสมบัติของสิ นค้าชนิ ดเดี ยวกัน แต่ตา่ งยี่ห้อก ่อนตัดสิ นใจเลือกซื้อ 4. ศึกษาข้อมูลของสิ นค้าก อนว ่ามีขอ ดีและข้อเสี ยอย่างไร เพราะโฆษณามักไม ่บอกจุ ดเสี ยของ ่ ้ สิ นค้า แบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา อ่านโฆษณา ที่กาหนดให้ แล้วพิจารณาว ่า โฆษณาเหล่านี้ น่าเชื่อถือหรื อไม ่ เพราะเหตุใด 1) ยาสี ฟันฟลูออไรด์ ไวท์จง ใช้แล้วทาให้ฟันสะอาด แข็งแรง ั 2) สาหร่ายปรุ งรส ตราโอเชี่ยน ให้สารอาหารครบ 5 หมู ่ ทดแทนการกินอาหารแต่ละมื้อเหมาะ สาหรับผูตองการลดน้ าหนัก เลือกสาหร่าย ต้องเลือกโอเชี่ยน ้้ 3) แชมพู แบล็คแฮร์ ผมหอมสะอาดล้ าลึ ก สระ 1 ครั้ง อยูได้นาน 1 สัปดาห์ โดยไมต้องสระซ้ า ่ 4) น้ าดื่มสะอาด น้ าดื่ม วอเทอร์ ใส สะอาด ปลอดภัย เพราะผ่านกรรมวิธีผลิตที่พิถีพิถนและมี ั คุณภาพ ภายใต้เครื่ องหมายรับรอง อย. 5) พิ้งกี้ ลิปมันเปลี่ยนสี ได้ ใช้แล้วปากจะนิ่ มนวล น่าสัมผัสตลอดกาล
  • 18. เฉลยแบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา 1) น่าเชื่อถือ เพราะ ฟลูออไรด์สามารถทาให้ฟันของเราแข็งแรง 2) ไม ่น่าเชื่อถือ เพราะ อ้างสรรพคุณเกินกว ่าชนิ ดของอาหารและผลิ ตภัณฑ์โ ดยอาจแสดง สรรพคุณไปทางยา 3) ไม ่น่าเชื่อถือ เพราะ อ้างสรรพคุณที่เกินความจริ ง 4) น่าเชื่อถือ เพราะมี อย. รับรองคุณภาพ 5) ไม ่น่าเชื่อถือ เพราะเป็ นโฆษณาที่เกินความเป็ นจริ ง บทที่ 4 โรคควรรู้
  • 19. โรคเป็ นอาการที่เกิดขึ้นจากการติ ดเชื้อโรคหรื อ การมีพฤติ กรรมสุ ขภาพที่ ไ ม ่ถู กต้อง ซึ่งโรคที่พบบ่อยใน ปั จจุบนมีอยูหลายโรค ดังนี้ ั ่ 1. โรคไข้ หวัดใหญ่ เกิดจากเชื้อไวรัสบางชนิ ดที่เข้าสู รางกายในขณะที่รางกายอ่อนแอ ่่ ่ อาการ มีไข้สูง หนาวสั่น คัดจมูก น้ ามูกไหล ปวดกระบอกตา ปวดศีรษะและปวดเมือยตามตัวมาก ่ การติดต่ อ โรคไข้หวัดใหญ่เป็ นโรคที่ติดต่อได้งาย เพียงแค่สูดลมหายใจเอาเชื้อโรคที่ผป่วยไอหรื อจาม ่ ู้ ออกมาก็สามารถเป็ นโรคนี้ ไ ด้ การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้ ั 1) พักผ่อนให้มากๆ 2) ใช้ผาชุบน้ าเช็ดตัวเมือมีไข้สูง ้ ่ 3) กินอาหารอ่อนๆ และดื่มน้ ามากๆ 4) เมือรู ้สึกปวดหัวหรื อ มีไ ข้ให้กนยาพาราเซตามอล ่ ิ 5) ถ้ามีน้ ามูกให้กนยาลดน้ ามูก ิ 6) ถ้ามีอาการหอบหรื อสงสัย ว ่าปอดอักเสบ ควรรี บไปพบแพทย์ การปองกัน ควรปฏิบติ มีดงนี้ ้ ั ั 1) รักษาสุ ขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ 2) ทาให้รางกายได้รับความอบอุนเพียงพอ ่ ่ 3) ไม ่คลุกคลีกบผู ้ป่วยที่เป็ นโรคไข้ห วัดใหญ่ ั 4) ไม ่ใช้ของใช้สวนตัวร่วมกันกับผูที่ป่วยเป็ นโรคไข้หวัดใหญ่ เชน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว เป็ นต้น ่ ้ ่ 5) เมือมีอาการป่ วยควรบอกพอแม ่ให้ทราบ เพื่อพอแม ่จะได้พาไปพบแพทย์ ่ ่ ่ 2. โรคไข้ เลื อดออก โรคนี้ เกิดจากยุงลายที่มเี ชื้อไข้เลือดออกมาดู ดกินเลื อดคน อาการ มีไข้สูงและไข้จะลดลงอย่างรวดเร็ ว มือเท้าเย็น หายใจหอบ ตัวซีด กระวนกระวาย อาจมี เลือดออกตามผิวหนังเป็ นจุดแดงๆ การติดต่ อ ยุงลายเป็ นพาหะนาเชื้อโรคจากผูป่วยไปสู ผู ้ที่ถู กยุงลายกัด ้ ่ การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้ ั
  • 20. 1) กินยาพาราเซตามอลเมือมีไข้สูง ไม ่ควรกินยาแอสไพริ น เพราะจะทาให้เลือดออกมากขึ้น ่ 2) เมือไข้ลดลง แล้วมีอาการปวดท้อง กระสับกระส่ายหรื อซึมลง มือเท้าเย็น หน้ามืด ควรรี บพา ่ ไปพบแพทย์ การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้ ้ ั 1) กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลาย ดังนี้ -ปิ ดฝาโอ่งหรื อฝาตุมให้มดชิด ่ ิ -เลี้ ยงปลาหางนกยูงไว้ในบ่อ เพื่อให้กนลูกน้ า ิ -ทาลายแหล่งที่มน้ าท่วมขังในบริ เ วณบ้าน ี -ใส่สารเคมีกาจัดลูกน้ าลงในจานรองตูก บข้า ว ้ ั 2) นอนกางมุงหรื อนอนในห้องที่มมงลวด และไม ่ให้ถูกกยุงลายกัด ้ ี ุ้ 3) ถ้ามีไข้ที่สงสัยว ่าจะเป็ นโรคไข้เลือ ดออก ไม ่ควรกินยาลดไข้พ วกแอสไพริ น แต่ควรรี บไปพบ แพทย์ 3. โรคฟันผุ โรคฟั นผุ คือ โรคของฟั นที่มเี นื้ อฟั นถูกทาลายไป จนทาให้เกิดเป็ นรู หรื อโพรงที่ตวฟั น ถ้าไม ่ได้รักษา ั จะลุกลาม และสุ ดท้ายอาจจะต้องสู ญเสี ยฟั น อาการ โรคฟั นผุในระยะเริ่ มต้นมีการเปลี่ยนแปลงที่ ผิวฟั น เห็ นเป็ นจุดหรื อฝ้ าขาวขุนคล้ายชอล์ก ่ ต่อมาเริ่ มเห็ นเป็ นรู ผุที่ผิวฟั น อาจมีสีเทาหรื อสี ดา มีสีขาวขุนรอบๆ รู ฟันที่ผุลุกลามกว้างและลึกขึ้นเข้า สู ่ ่ ชันเนื้ อฟั น ใกล้โพรงประสาททาให้เกิดอาการเสี ยวฟั น การอักเสบลุกลามออกไปรอบตัวฟั น ถึงอวัยวะ ้ รอบตัวฟั นอาจทาให้เกิดฝี หนอง ฟั นโยก และมีอาการปวดจนเคี้ย วอาหารไม ่ได้ การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้ ั 1) ใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ คือ การใช้ฟลูออไรด์สัมผัสฟั นโดยตรงสามารถทาได้โ ดยการแปรงฟั น ด้วยยาสี ฟันหรื อน้ ายาบ้วนปากที่ผสมฟลูออไรด์เพราะฟลูออไรด์จะเคลื อบฟั น ทาให้ฟัน แข็งแรงขึ้น ทนต่อกรดที่ทาให้เกิดฟั นผุได้มากขึ้นและทาให้เกิดการสะสมของแร่ธาตุ ที่ผิ วฟั น เป็ นผลให้ฟันผุในระยะเริ่ มต้นหานเป็ นปกติ และควรแปรงฟั นอย่างน้อย 2 นาที เพื่อให้ ฟลูออไรด์มผลป้ องกันฟั นผุไ ด้ ี 2) รักษารากฟั น เป็ นการรักษาโรคฟั นผุที่มการลุก ลามเข้าไปถึงโพรงประสาทฟั นแล้ว ี 3) ถอนฟั น เมืออาการอักเสบลุกลามไปมาก ไม ่เหลือเนื้ อฟั นที่จะสามารถรักษาฟั นซี่น้ ันไว้ได้ ่ ต่อไป
  • 21. การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้ ้ ั 1) รับประทานอาหารที่มประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารที่มรสหวานจัดและเหนี ยวติ ดฟั น เพราะทา ี ี ให้เกิดโรคฟั นผุได้งาย ่ 2) ดูแลรักษาความสะอาดชองปากของตนเอง สมาเสมอโดยการแปรงฟั นด้วยยาสี ฟัน ผสม ่ ่ ฟลูออไรด์ทุกครั้ง 3) หมันตรวจสุ ขภาพชองปากของตนเอง โดยการไปพบทันตแพทย์เ ป็ นประจาอย่างน้อ ยปี ละ 1 ่ ่ ครั้ง 4. โรคปริทนต์ ั โรคปริ ทนต์ หรื อโรครามะนาด เป็ นโรคเรื้ อรังที่เกิดการทาลายกับอวัย วะรอบๆ รากฟั น ระยะแรกเกิด ั กับเหงื อก ต่อมาเมือมีอาการมากขึ้น จะลุก ลามไปที่เนื้ อเยื่ อปริ ทนต์แ ละกระดู กเบ้าฟั น ทาให้มอาการเหงื อก ่ ั ี ร่น กระดูกฟั นละลายรากฟั นโผล่ อาจมีอาการปวด บวม ฟั น โยกหลุดได้ สาเหตุ เกิดจากเชื้อจุลินทรี ย์ในคราบจุลิน ทรี ย์ ที่เกาะบริ เวณคอฟั น ปล่อ ยสารพิ ษทาลายเหงื อกและ อวัยวะรอบตัวฟั นอย่างช้าๆ ถ้าไม ่กาจัดคราบจุลินทรี ย์เหล่านั้นออกจะรุ นแรงขึ้น ปั จจัยเสริ มที่มผลต่อ โรค ี ปริ ทนต์ คือ หิ นน้ าลายซึ่งเกิดจากการตกตะกอนของร่าตุ แคลเซี ย ม ฟอสฟอรัส ในน้ าลายรวมกับคราบ ั จุลินทรี ย์ มีลกษณะแข็ง คม บาดเหงื อกที่อกเสบอยูแล้วให้รุนแรงขึ้นหิ นน้ าลายนี้ ไ ม ่สามารถขจัดออกได้ ั ั ่ ด้วยการแปรงฟั น อาการ เหงื อกมีอาการอักเสบ และมีสีแดงจัด เป็ นมัน มีเลือดออกง่ายอาจบวม มีหนองไหล พบล่อง เหงื อกลึกตั้งแต่ 4 มิลลิเมตร โดยลักษณะของโรคแบ่งออกเป็ น 4 ระยะ ดังนี้ อาการที่ 1 เหงื อกอักเสบ บวมแดง ไม ่แนบสนิ ทกับคอฟั น และอาจมีเลือดออกขณะแปรงฟั น อาการที่ 2 เหงื อกอักเสบ มีหินน้ าลายทาให้ระคายเคืองเพิ่มขึ้น เหงื อกอักเสบมากขึ้น บวม มีเลือดไหล กระดูกฟั น เริ่ มถูกทาลาย มีการร่นของเหงื อก อาการที่ 3 หิ นน้ าลายจับและขยายไปยังปลายฟั น ทาให้กระดูกฟั นถูกทาลาย เหงื อกร่น ฟั นโยก เมือ ่ เคี้ยวอาหารจึงรู ้สึกเจ็บ มีหนองหรื อเลือดไหลกลิ่นปากรุ นแรง อาการที่ 4 โรคลุกลาม อาการรุ นแรง ฟั นโยก ปวดมากจนเคี้ยวอาหารไม ่ได้ เป็ นฝี ที่เหงื อก หน้าบวม ฟั นไม ่สามารถยึดเกาะกับเหงื อกได้
  • 22. การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้ ้ ั 1) แปรงฟั นให้ถูกวิธีและแปรงอย่างสมาเสมอทุ กวัน ่ 2) ควรใช้สียอมคราบจุลิน ทรี ย์ ซ่ ึงเป็ นยาเม็ดหรื อ ยาน้ า มีสีแดงใช้ยอมคราบจุลินทรี ย์ เพื่อดู ้ ้ ประสิ ทธิ ภาพการแปรงฟั นว ่าสามารถกาจัดคราบจุ ลินทรี ย์ไ ด้ห มดหรื อไม ่ โดยสี ของยาเม็ดสี ย้อมคราบฟั นจะติดเป็ นคราบสี แ ดงตามบริ เวณที่เป้ นคราบจุ ลินทรี ย์ จึงควรใช้ยานี้ หลังจาก แปรงฟั น เพื่อทาให้ทราบว ่ามีบริ เวณใดที่ยง แปรงไม ่สะอาด ซึ่งจะชวยให้มการปรับปรุ งการ ั ่ ี แปรงฟั นให้ดีข้ ึน 3) ควรใช้อุปกรณ์ที่ชวยทาความสะอาดที่ บริ เวณซอกฟั น เพราะเป็ นบริ เวณแปรงฟั นเข้าไม ่ถึง ซึ่ง ่ ได้แก ่ การใช้ไหมขัดฟั น 5.โรคผิวหนัง โรคผิวหนังเกิดที่บริ เวณผิวหนังของร่างกาย ซึ่งที่พบบ่อย เชน ่ 1. โรคภูมิแพ้ผิวหนัง โรคภูมแพ้ผิวหนังเป็ นโรคที่ถา่ ยทอดทางพันธุ กรรมชนิ ดหนึ่ งที่เกีย วข้องกับระบบภู มิคุ้มกันของร่างกาย ิ ่ ที่ตอบสนองต่อสิ่ งเร้าต่างๆ ได้มากกว ่าปกติ ทาให้เกิดอาการแพ้ข้ ึน อาการ โรคนี้ มกจะมีผิวแห้งและคัน มีผื่นผิวหนังอักเสบ ในแต่ละบริ เวณของร่างกาย ั การดูแลรักษา ยังไม ่มีวธีรักษาให้หายขาดได้ และโรคนี้ ถา่ ยทอดไปยังลูกหลานได้ วิธีที่ชะลออาการ ิ และความรุ นแรงของโรค คือ การรู ้จกดูแลและปฏิบติตนให้ถูก วิธี ั ั การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้ ้ ั 1) สังเกตว ่าตนเองแพ้อะไรก็ให้หลีกเลี่ยงสิ่ งนั้น เชน อาหารทะเล นม ไข่ ผงซักฟอก เป็ นต้น ่ 2) เมือมีอาการแพ้และคัน ไม ่ควรเกาบริ เวณที่คน เพราะอาจทาให้ผิวหนังอักเสบลุกลามยิงขึ้น ่ ั ่ 3) ควรเลือกใช้สบูที่ไม ่ระคายผิ ว ่ 4) หลังอาบน้ าควรทาครี มหรื อโลชันให้ความชุมชื้นแก ่ผิ ว และควรหลีกเลี่ยงครี มชนิ ดที่ผสม ่ ่ น้ าหอม เพราะอาจทาให้แพ้ได้งาย ่ 5) หมันทาความสะอาดที่นอนและเครื่ องนอนอยูเ่ สมอเพื่อขจัดและป้ องกันไม ่ให้มีไรฝุ่น ่ 6) ควรปรึ กษาแพทย์ผิวหนัง หากพบว ่ามีผื่นแดง คันหรื ออักเสบที่บริ เวณผิ วหนัง 2. โรคผดผื่นคัน
  • 23. ผดผื่นคันเป็ นโรคผิวหนังชนิ ดหนึ่ งที่พบได้บอ ย เนื่ องจากอากาศร้อนอบอ้าว ส่วนใหญ่มกพบในเด็ก ่ ั บริ เวณหน้าผาก คอ ขาหนี บ รักแร้ และหลัง อาการ มีตุมแดงเล็กๆ อาจมีตุมน้ าเล็กๆ ขึ้นเป็ นปื้ น มีอาการคันบางครั้งคันจนแสบร้อน และอาจ ่ ่ มีการติดเชื้อแบคทีเรี ยแทรกซ้อนขึ้นได้ การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้ ั 1) หลีกเลี่ยงสิ่ งที่ทาให้เกิดผดผื่นคัน 2) ใช้ยาทาในกลุมของยาลดอักเสบ และกินยาในกลุมของยาลดอาการคัน ่ ่ 3) ทาความสะอาดร่างกายเมื่อ มีเหงื่ อออกมาก เพราะฝุ่นละอองจะมาเกาะ ทาให้เกิดผดผื่น คันได้อีก การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้ ้ ั 1) หลีกเลี่ยงสิ่ งที่ทาให้เกิดอาการแพ้หรื อผดผื่นคัน 2) หลีกเลี่ยงอากาศร้อนจัด เพื่อไม ่ให้เหงื่ อออกมาก 3) อยูในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก และหลีกเลี่ยงสถานที่ที่อาจก ่อให้เกิดผดผื่น คัน เชน ่ ่ สถานที่ก ่อสร้าง สวนดอกไม้ เป็ นต้น 4) ใช้เสื้ อผ้าให้เหมาะสมกับฤดูกาล หลีกเลี่ยงการสวมเสื้ อผ้าคับๆ 5) ไม ่ควรถูสบูมากๆ หรื อใช้สารที่ทาให้เกิดการระคายผิว ่ 6) เมือเกิดผื่นอาจใช้น้ าเย็นลูบ ทาด้วยคาลาไมน์ ให้หายคัน ่ 7) ตัดเล็บมือให้ส้ ันอยูเ่ สมอ เพื่อไม ่ให้เป็ นการสะสมเชื้อโรค 8) ถ้าอาการผดผื่นคันไม ่หายควรปรึ กษาแพทย์ 3. โรคกลาก โรคเกลื้ อน โรคกลาก โรคเกลื้อน เป็ นโรคผิวหนังที่เกิดจากสาเหตุและมีอาการที่ตา่ งกัน ดังนี้ โรคกลาก เป็ นโรคซึ่งเกิดจากเชื้อรา ติดต่อได้จากการสั มผัสและการใช้สิ่งของร่วมกัน อาการ จะมีอาการคัน เป็ นผื่นแดง รู ปร่างคล้ายวงแหวนมีขอบเขตชัดเจน มีสะเก็ดลอกเป็ นขุยที่ขอบ วงแหวน ถ้าผื่นลุกลามขยายออกวงกว้างมากขึ้น จะยิงเห็ นรู ปร่างวงแหวนชัดเจน ่ โรคเกลื้ อน เป็ นโรคที่เกิดจากเชื้อยีสต์ ติดต่อได้จากการสั มผัสผูเ้ ป็ นโรคโดยตรง
  • 24. อาการ เป็ นผื่นวงกลมสี ขาวจางๆ มีขอบเขตค่อนข้างชัดเจน รวมกลุมกันบางครั้งอาจเป็ นวงสี ช มพู สี ่ เทาจนถึงสี น้ าตาล มักจะมีอาการคัน แต่คนไม ่มากเท่ากับโรคกลาก โรคเกลื้อนมักจะคันตอนชวงที่ ั ่ เหงื่ อออก ชวงที่อากาศร้อน ่ การดูแลรักษา ควรปฏิบติ ดังนี้ ั 1) รักษาความสะอาดของร่างกายอย่างสมาเสมอ อาบน้ า ฟอกสบู ่ และเช็ดตัวให้แห้งทุกครั้ง ่ โดยเฉพาะบริ เวณซอก เชน รักแร้ ขาหนี บ เป็ นต้น ่ 2) ตัดเล็บมือ เล็บเท้าให้ส้ ัน หมันล้างมือให้สะอาดและอย่าเกา เพราะการเกาจะทาให้เชื้อลุกลาม ่ ไปที่อื่นได้ 3) ป้ องกันการแพร่เชื้อโดยการไม ่ใช้เสื้ อผ้า เครื่ องนุ มห่ม ปะปนกันแล้วควรซักทาความสะอาด ่ และตากแดดให้แห้งทุกครั้ง 4) ไปพบแพทย์เพื่อทาการตรวจรัก ษา 5) การรักษาโดยทัวไปจะไปจะใช้ยาทาวันละ 2-3 ครั้ง ติดต่อกันจนกว ่าผื่นจะหายไป โดยทายา ่ ที่บริ เวณผื่นและบริ เวณใกล้เคียงโดยรอบหลังจากผื่นหายแล้ว ควรทายาต่ออีก 2 สัปดาห์ การปองกัน ควรปฏิบติ ดังนี้ ้ ั 1) รักษาความสะอาดของร่างกายอยูเ่ สมอ ด้วยการอาบน้ าวันละ 2 ครั้ง 2) หลังอาบน้ าเสร็ จแล้ว ต้องเช็ดตัวให้แห้งเพื่อป้ องกันไม ่ให้ผิวหนังอับชื้น เพราะจะทาให้เป็ น โรคได้งาย ่ 3) สวมใส่เสื้ อผ้าที่ซกสะอาดแล้ว และไม ่ควรใส่เสื้ อผ้าร่วมกับผูอื่น ั ้ 4) หลังทากิจกรรมที่มเี หงื่ อ ออกมากๆ ควรรี บอาบน้ าทันที ความรู้ค่ สุขภาพ ู กระเทียมเป็ นพืชสมุนไพรชนิ ดหนึ่ งที่หาได้งายและใช้รักษาโรคเกลื้ อน โดยนากลีบ ่ กระเทียมมาฝานเป็ นชิ้นบางๆ แล้วเอามาทาบริ เวณผิวหนังที่เ ป็ นเกลื้อนทุก วัน วันละ 2 ครั้ง แบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา บทที่ 4
  • 25. วิเคราะห์ พฤติกรรมที่กาหนดให้ว ่าอาจทาให้เกิดโรคใด แล้วบอกวิธีป้องกัน 1) ไม ่ทาความสะอาดร่างกาย 2) ใช้ผาเช็ดหน้าร่วมกับผูที่เป็ นไข้หวัด ้ ้ 3) นอนหลับในห้องที่มยุงชุม ี 4) กินขนมหวานแล้วไม ่แปรงฟั น 5) อยูในบริ เวณที่มอากาศร้อนนานๆ ่ ี เฉลยแบบฝึ กหัด ชวนคิด ชวนทา
  • 26. 1) โรคเกลื้อน วิธีป้องกัน รักษาความสะอาดของร่างกายอยูเ่ สมอ ด้วยการอาบน้ าอย่างน้อย วันละ 2 ครั้ง 2) โรคไข้หวัด วิธีป้องกัน รักษาสุ ขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ 3) โรคไข้เลือดออก วิธีป้องกัน กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลาย เชน ปิ ดฝาโอ่งหรื อฝาตุมให้ ่ ่ มิดชิด 4) โรคฟั นผุ วิธีป้องกัน รับประทานอาหารที่มประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารที่มรสหวานจัด ี ี และเหนี ยวติดฟั น เพราะทาให้เกิดโรคฟั นผุได้งาย ่ 5) โรคผดผื่นคัน วิธีป้องกัน หลีกเลี่ยงอากาศร้อนจัด เพื่อไม ่ให้เหงื่ อออกมาก