SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
โปรโตคอล

           โปรโตคอล (Protocol) หมายถึง ข้ อกําหนดหรื อข้ อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ซงมีอยูด้วยกัน    ึ่   ่
มากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีข้อดี ข้ อเสีย และใช้ ในโอกาสหรื อสถานการณ์แตกต่างกันไป คล้ ายๆ กับภาษามนุษย์ที่มี
ทังภาษาไทย จีน ฝรั่ง หรื อภาษาใบ้ ภาษามือ หรื อจะใช้ วิธียกคิ ้วหลิวตาเพื่อส่งสัญญาณก็จดเป็ นภาษาได้ เหมือนกัน ซึงจะ
   ้                                                            ั     ่                         ั                      ่
สื่อสารกันรู้เรื่ องได้ จะต้ องใช้ ภาษาเดียวกัน ในบางกรณีถ้าคอมพิวเตอร์ 2 เครื่ องสื่อสารกันคนละภาษากันและต้ องการ
นํามาเชื่อมต่อกัน จะต้ องมีตวกลางในการแปลงโปรโตคอลกลับไปกลับมาซึงนิยมเรี ยกว่า Gateway ถ้ าเทียบกับภาษา
                                        ั                                       ่
มนุษย์ก็คือ ล่าม ซึงมีอยูทงที่เป็ นเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ แยกต่างหากสําหรับทําหน้ าที่นี ้โดยเฉพาะ หรื อาจะเป็ นโปรแกรมหรื อ
                          ่        ่ ั้
ไดร์ ฟเวอร์ ที่สามารถติดตังในเครื่ องคอมพิวเตอร์ นน ๆ ได้ เลย
                               ้                    ั้
           การที่คอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึงจะส่งข้ อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ อีกเครื่ องหนึงได้ นน จะต้ องอาศัยกลไกหลายๆ อย่าง
                                           ่                                          ่ ั้
ร่วมกันทํางานต่างหน้ าที่กน และเชื่อมต่อเป็ นเครื อข่ายเข้ าด้ วยกัน ปั ญหาที่เกิดขึ ้นคือ การเชื่อมต่อมีความแตกต่างระหว่าง
                                 ั
ระบบและอุปกรณ์หรื อเป็ นผู้ผลิตคนละรายกัน ซึงเป็ นสิงที่ทําให้ การสร้ างเครื อข่ายเป็ นเรื่ องยากมาก เนื่องจากขาด
                                                       ่      ่
มาตรฐานกลางที่จําเป็ นในการเชื่อมต่อ
           จึงได้ เกิดหน่วยงานกําหนดมาตรฐานสากลขึ ้นคือ International Standards Organization และทําการกําหนด
โครงสร้ างทังหมดที่จําเป็ นต้ องใช้ ในการสื่อสารข้ อมูลและเป็ นระบบเปิ ด เพื่อให้ ผ้ ผลิตต่างๆ สามารถแยกผลิตในส่วนที่
               ้                                                                       ู
ตัวเองถนัด แต่สามารถนําไปใช้ ร่วมกันได้ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สมัยใหม่จะถูกออกแบบให้ มีโครงสร้ างทีแน่นอน
และเพื่อเป็ นการลดความซับซ้ อน ระบบเครื อข่ายส่วนมากจึงแยกการทํางานออกเป็ นชันๆ (layer) โดยกําหนดหน้ าที่ในแต่
                                                                                            ้
ละชันไว้ อย่างชัดเจน แบบจําลองสําหรับอ้ างอิงแบบ OSI (Open System Interconnection Reference Model) หรื อที่
      ้
นิยมเรี ยกกันทัวไปว่า OSI Reference Model ของ ISO เป็ นแบบจําลองที่ถกเสนอและพัฒนาโดยองค์กร International
                   ่                                                              ู
Standard Organization (ISO) โดยจะบรรยายถึงโครงสร้ างของสถาปั ตยกรรมเครื อข่ายในอุดมคติ ซึงระบบเครื อข่ายที่ ่
เป็ นไปตามสถาปั ตยกรรมนี ้จะเป็ นระบบเครื อข่ายแบบเปิ ด และอุปกรณ์ทางเครื อข่ายจะสามารถติดต่อกันได้ โดยไม่ขึ ้นกับ
ว่าเป็ นอุปกรณ์ของผู้ขายรายใด

คุณลักษณะของระบบโปรโตคอล จําแนกได้ ตามนี ้
IP (Internet Protocol )
         IP เป็ นโปรโตคอลในระดับเน็ตเวิร์คเลเยอร์ ทําหน้ าที่จดการเกี่ยวกับแอดเดรสและข้ อมูล และควบคุมการส่งข้ อมูล
                                                              ั
บางอย่างที่ใช้ ในการหาเส้ นทางของแพ็กเก็ต และสามารถเปลี่ยนแปลงเส้ นทางได้ ในระหว่างการส่งข้ อมูล โดยมีระบบการแยก
และประกอบดาต้ าแกรม (datagram) เพื่อรองรับการส่งข้ อมูลระดับ data link ที่มีขนาด MTU (Maximum Transmission
Unit) ทีแตกต่างกัน ทําให้ สามารถนํา IP ไปใช้ บนโปรโตคอลอื่นได้ หลากหลาย เช่น Ethernet ,Token Ring หรื อ Apple Talk
         การเชื่อมต่อของ IP เพื่อทําการส่งข้ อมูล จะเป็ นแบบ connectionless หรื อเกิดเส้ นทางการเชื่อมต่อในทุกๆ ครัง ของ
                                                                                                                   ้
การส่งข้ อมูล 1 ดาต้ าแกรม โดยจะไม่ทราบถึงข้ อมูลดาต้ าแกรมที่สงก่อนหน้ าหรื อส่งตามมา แต่การส่งข้ อมูลใน 1 ดาต้ าแกรม
                                                                 ่
อาจจะเกิดการส่งได้ หลายครังในกรณีที่มีการแบ่งข้ อมูลออกเป็ นส่วนย่อยๆ (fragmentation) และถูกนําไปรวม เป็ นดาต้ าแก
                             ้
รมเดิมเมื่อถึงปลายทาง
IPv4 (Internet Protocol version 4)
        คือ internet protocol และ IP address ที่ใช้ อยูในปั จจุบนมีขนาด 32 bit
                                                      ่         ั


IPv6 (Internet Protocol version 6)
       เป็ น internet protocol และ IP address ที่กําหนดโดย IETF (Internet Engineer Task Force) และ กําลังจะนํามาใช้
แทน IPv4 หรื อที่เรี ยกว่า IPng (IP Next Generation) มีขนาด 128 bit ซึงออกแบบมาเพื่อ router ประมวลผลได้ เร็วขึ ้น เพิ่ม
                                                                      ่
กลไกตรวจสอบการใช้ งาน ตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลดีกว่าเดิม และปลอดภัยขึ ้น
TCP (Transmission control Protocol)
           Transmission Control Protocol (TCP) เป็ นโปรโตคอลที่อยูในชัน Transport Layer ทําหน้ าที่จดการ และควบคุม
                                                                    ่ ้                                ั
การรับส่งข้ อมูล ซึงมีความสามารถและรายละเอียดมากกว่า UDP โดยดาต้ าแกรมของ TCP จะมีความสัมพันธ์ ต่อเนื่องกัน
                     ่
และมีกลไกควบคุมการรับส่งข้ อมูลให้ มีความถูกต้ อง (reliable) และมีการสื่อสารอย่างเป็ นกระบวนการ เป็ นแบบ ที่มีการ
กําหนดช่วงการสื่อสารตลอดระยะเวลาการสื่อสาร (connection-oriented) ซึงจะยอมให้ มีการส่งข้ อมูลเป็ นแบบ Byte stream
                                                                            ่
ที่ไว้ ใจได้ โดยไม่มีข้อผิดพลาด ข้ อมูลที่มีปริ มาณมากจะถูกแบ่งออกเป็ นส่วนเล็กๆ เรี ยกว่า message ซึงจะ ถูกส่งไปยังผู้รับ
                                                                                                     ่
ผ่านทางชันสื่อสารของอินเทอร์ เน็ต ทางฝ่ ายผู้รับจะนํา message มาเรี ยงต่อกันตามลําดับเป็ นข้ อมูลตัวเดิม TCP ยังมี
              ้
ความสามารถในการควบคุมการไหลของข้ อมูลเพื่อปองกันไม่ให้ ผ้ สง ส่งข้ อมูลเร็วเกินกว่าที่ผ้ รับจะทํางานได้ ทน อีกด้ วย
                                                      ้          ู่                         ู               ั
UDP (User Datagram Protocol)
           เป็ นโปรโตคอลที่อยูใน Transport Layer เป็ นการติดต่อแบบไม่ตอเนื่อง (connectionless) มีการตรวจสอบ ความ
                             ่                                             ่
ถูกต้ องของข้ อมูลแต่จะไม่มีการแจ้ งกลับไปยังผู้สง จึงถือได้ วาไม่มีการตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูล อย่างไรก็ตาม วิธีการ
                                                  ่           ่
นี ้มีข้อดีในด้ านความรวดเร็วในการส่งข้ อมูล จึงนิยมใช้ ในระบบผู้ให้ และผู้ใช้ บริการ (client/server system) ซึงมีการสื่อสาร
                                                                                                               ่
แบบ ถาม/ตอบ (request/reply) นอกจากนันยังใช้ ในการส่งข้ อมูลประเภทภาพเคลื่อนไหวหรื อการส่งเสียง (voice) ทาง
                                             ้
อินเทอร์ เน็ต
HTTP (Hyper Text Transport Protocol)
         HTTP คือโปรโตคอลที่ใช้ สื่อสารระหว่าง client computer กับ server computer ทําให้ ทงสองเครื่ องรู้ว่าจะจัดการส่ง
                                                                                           ั้
ข้ อมูลไปอย่างไร โปรโตคอล HTTP นี ้วิ่งอยูบน TCP/IP อีกชันหนึง รูปแบบการทํางานจะไม่มีการจองสาย โดย client จะเรี ยก
                                         ่               ้ ่
ข้ อมูลจาก server โดยการส่ง request ไปแล้ วจะตัดการติดต่อทันที จากนันจะรอจนกระทัง server ส่งข้ อมูลมาให้ ประโยชน์
                                                                      ้            ่
ของการทํางานแบบไม่จองสายของ HTTP ทําให้ WWW server สามารถให้ บริ การ client ได้ หลายๆ คนพร้ อมๆ กัน การ
สื่อสารของ WWW จึงมีประสิทธิภาพมากขึ ้น
ICMP (Internet Control Message Protocol)
        ICMP เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ ในการตรวจสอบและรายงานสถานภาพของดาต้ าแกรม (Datagram) ในกรณีที่เกิด ปั ญหา
กับดาต้ าแกรม เช่น เราเตอร์ ไม่สามารถส่งดาต้ าแกรมไปถึงปลายทางได้ ICMP จะถูกส่งออกไปยังโฮสต้ นทาง เพื่อ รายงาน
ข้ อผิดพลาด ที่เกิดขึ ้น อย่างไรก็ดี ไม่มีอะไรรับประกันได้ วา ICMP Message ที่สงไปจะถึงผู้รับจริ งหรื อไม่ หากมีการส่งดาต้ า
                                                            ่                  ่
แกรมออกไปแล้ วไม่มี ICMP Message ฟอง Error กลับมา ก็แปลความหมายได้ สองกรณีคือ ข้ อมูลถูกส่งไปถึงปลายทาง
                                       ้
อย่างเรี ยบร้ อย หรื ออาจจะมีปัญหา ในการสื่อสารทังการส่งดาต้ าแกรม และ ICMP Message ที่สงกลับมาก็มีปัญหาระว่าง
                                                    ้                                          ่
ทางก็ได้ ICMP จึงเป็ นโปรโตคอลที่ไม่มีความน่าเชื่อถือ (unreliable) ซึงจะเป็ นหน้ าที่ของ โปรโตคอลในระดับสูงกว่า Network
                                                                     ่
Layer ในการจัดการให้ การสื่อสารนันๆ มีความน่าเชื่อถือ ในส่วนของ ICMP Message จะประกอบด้ วย Type ขนาด 8 บิต
                                   ้
Checksum ขนาด 16 บิต และส่วนของ Content ซึงจะมีขนาดแตกต่างกันไปตาม Type และ Code
                                                  ่


DNS (Domain Name System
        DNS คือการแปลงหมายเลขไอพีให้ เป็ นชื่อโดเมน หรื อแปลงชื่อโดเมนให้ เป็ นหมายเลขไอพี

UPnP (Universal Plug and Play)

         เป็ นบริ การที่อนุญาตให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ สามารถค้ นหาและใช้ งานอุปกรณ์อื่น เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ สแกนเนอร์
เครื่ องพิมพ์ ผ่านทางเครื อข่ายได้ โดยปกติแล้ ว Windows 98, 98SE ไม่มีคณสมบัติของ UPnP ภายในตัวเอง แต่อาจจะถูก
                                                                           ุ
ติดตังเพิ่มเติมผ่านทาง Internet Connection Sharing client ซึงติดมากับ Windows XP ได้
       ้                                                         ่
Serial Line Internet Protocol (SLIP)

       เป็ นโปรโตคอลของ TCP/IP ที่ใช้ สําหรับการสื่อสารระหว่างเครื่ อง 2 เครื่ อง ซึง SLIP เป็ นคอนฟิ กแบบเก่าที่ใช้ ใน การ
                                                                                          ่
สื่อสารระหว่างเครื่ อง เช่น ผู้ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต ให้ ผ้ ใช้ ติดต่อแบบ SLIP เพื่อทําให้ เครื่ องแม่ข่ายของผู้ให้ บริการตอบ สนอง
                                                              ู
คําสัง แล้ วส่งผ่านไปยังอินเตอร์ เน็ต และนําการตอบสนองของอินเตอร์ เน็ตกลับมาให้ ผ้ ใช้ การติดต่อแบบเดิม ที่ใช้ การ หมุน
     ่                                                                                         ู
ติดต่อผ่านสายแบบอนุกรม จะช้ ากว่าสายแบบขนาน หรื อมัลติเพล็กซ์ (Multiplex)
SLIP (Serial Line Internet Protocol)

       เป็ นโปรโตคอลของ TCP/IP ที่ใช้ สําหรับการสื่อสารระหว่างเครื่ อง 2 เครื่ อง ซึง SLIP เป็ นคอนฟิ กแบบเก่าที่ใช้ ใน การ
                                                                                           ่
สื่อสารระหว่างเครื่ อง เช่น ผู้ให้ บริ การอินเตอร์ เน็ต ให้ ผ้ ใช้ ติดต่อแบบ SLIP เพื่อทําให้ เครื่ องแม่ข่ายของผู้ให้ บริการ ตอบสนอง
                                                               ู
คําสัง แล้ วส่งผ่านไปยังอินเตอร์ เน็ต และนําการตอบสนองของอินเตอร์ เน็ตกลับมาให้ ผ้ ใช้ การติดต่อแบบเดิม ที่ใช้ การหมุน
     ่                                                                                          ู
ติดต่อผ่านสายแบบอนุกรม จะช้ ากว่าสายแบบขนาน หรื อมัลติเพล็กซ์ (Multiplex) การให้ บริการที่ดีกว่าได้ แก่ Point -to-
Point Protocol (PPP)
PPP (Point to Point Protocol)

        เนื่องด้ วย โปรโตคอล SLIP ไม่สามารถเข้ ากันได้ กับโปรโตคอลบางตัวที่ระบบ LAN ที่ใช้ อยูเ่ ดิม จึงได้ พฒนา
                                                                                                             ั
โปรโตคอล ขึ ้นมาใหม่ชื่อว่า PPP เพื่อแก้ ปัญหาดังกล่าว ด้ วยเหตุนี ้โปรโตคอล จึงสามารถใช้ ร่วมกับโปรโตคอลอื่นๆ ได้ ดี และ
เพิ่มระบบการตรวจสอบข้ อมูล, การรักษาความปลอดภัย, และการบีบอัดข้ อมูล ซึงทําได้ ดีกว่า SLIP และถูกใช้ เป็ น มาตรฐาน
                                                                                ่
ต่อไป
PPPoE (Point to Point Protocol over Ethernet)

        เป็ นสิงที่เสนอให้ ใช้ กบคอมพิวเตอร์ ที่ทํางานผ่านระบบ broadband เช่น ADSL
               ่                ั

RTSP (Real Time Streaming Protocol)

          เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ รูปแบบ client/server ที่ถกออกแบบเพื่อใช้ ในการแสดงสื่อมัลติมีเดีย สําหรับใช้ แลกเปลี่ยน ข้ อมูล
                                                       ู
ในรูปแบบสตรี มมิ่งมีเดียผ่านทางเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต โดยเริ่มจากฝั่ งเซิร์ฟเวอร์ จะทําหน้ าที่สงไฟล์สตรี มมิ่งมีเดียไปยัง ฝั่ ง
                                                                                                 ่
ไคลเอ็นต์ที่อยูปลายทาง ได้ ทงแบบเดี่ยวหรื อแบบกลุมตามแต่วิธีการเผยแพร่ผานทางโพรโตคอล RTSP โดยมีสวน ประกอบ
                 ่               ั้                      ่                      ่                                   ่
หลักสําคัญ 3 ส่วน ได้ แก่
1) ส่วนของเครื่ องเข้ ารหัส (Encoder)
2) เครื่ องผู้ชม (Player)
3) เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ (Server)



RTP (real time transport protocol)

        โปรโตคอลที่ใช้ สําหรับการส่งข้ อมูลแบบเวลาจริง บนเครื อข่าย IP

RTCP (real time transport control protocal)

        ใช้ ร่วมกับ RTSP และ RTP มีทําหน้ าที่ในการควบคุมการส่งข้ อมูล

DHCP (Dynamic Host Configulation Protocal)

         ทําหน้ าที่จาย IP ให้ แก่เครื่ องลูก (clients) โดยอัตโนมัติ สําหรับเน็ตเวอร์ ที่มีเครื่ องลูกหลายเครื่ อง การกําหนด IP ให้ แต่
                     ่
ละเครื่ องบางครังก็ ยากในการจดจํา ว่ากําหนด IP ให้ ไปเป็ นเบอร์ อะไรบ้ างแล้ ว พอมีเครื่ องเพิ่มเข้ ามาในเน็ตเวอร์ กใหม่ ต้ อง
                  ้
กลับไปค้ น เพื่อจะ assign เบอร์ IP ใหม่ไม่ให้ ซํ ้ากับเบอร์ เดิม DHCP Server จะทําหน้ าที่นี ้แทน โดยเครื่ องลูกเครื่ อง ไหนเปิ ด
เครื่ อง ก็จะขอ IP มายัง DHCP Server และ DHCP Server ก็จะกําหนด IP ไปให้ เครื่ องลูกเอง โดยไม่ซํ ้ากัน
DDNS (Dynamic Domain Name System)

          คือการแปลงหมายเลขไอพีให้ เป็ นชื่อโดเมน หรื อแปลงชื่อโดเมนให้ เป็ นหมายเลขไอพี DNS เป็ นระบบที่ให้ บริการแบบ
เปิ ดกว้ าง (Public Service) ดังนันย่อมมีความเสี่ยงสูงต่อบุคคลภายนอกที่ต้องการบุกรุกผ่าน DNS
                                  ้
T1,E1

        ใช้ ในการเชื่อมโยง LAN/WAN (ทังในลักษณะเซิร์ฟเวอร์ และการใช้ งานส่วนตัว) ในปั จจุบนยังใช้ เชื่อมโยงเครื อข่าย
                                      ้                                                   ั
ด้ วยเสาอากาศของเครื อข่ายโทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ , เราเตอร์ และอื่นๆ เทคโนโลยี T1/E1 ยังไม่เหมาะกับการใช้ ในบ้ านพัก
อาศัย เนื่องจากสัญญาณรบกวนที่จํากัดให้ สามารถใช้ สาย T1 ได้ เพียง 1 คูภายในสายเคเบิลชนิด 50 คู่ นอกจากนี ้
                                                                        ่
ระบบสื่อสาร แบบไม่สมมาตร ที่มีการส่งข้ อมูลเข้ ามากกว่าส่งข้ อมูลออกนัน ดูจะเหมาะกับการใช้ ในบ้ านมากกว่าการใช้
                                                                      ้
เทคโนโลยี T1/E1
HDLC (High Level Data Link Control)

        เพื่อเพิ่มความเร็วในการส่ง-รับข้ อมูลแบบซิงโครนัส โปรโตคอล HDLC จะกําหนดผู้สงและผู้รับเป็ นสถานีปฐมภูมิและ
                                                                                    ่
ทุติยภูมิ (Primary/Secondary) Ethernet , Token Ring
IPX (Internetwork Packet Exchange) /SPX(Sequence Packet Exchange)

        เป็ นโปรโตคอลของบริษัท Novell ซึงพัฒนาขึ ้นมาใช้ กบ Netware มีพื ้นฐานมาจากโปรโตคอล XNS (Xerox Network
                                        ่                   ั
Services) ของบริษัท Xerox โปรโตคอล IPX (Internerworl Packet Exchange) จะเป็ นโปรโตคอล ที่ทํางานอยูใน Network
                                                                                                   ่
Layer ใช้ จดการการแลกเปลี่ยน packet ภายใน Network ทังในส่วนของการหาปลายทางและ การจัดส่ง packet ส่วน SPX
             ั                                            ้
(Sequenced Packet Exchange) จะเป็ นโปรโตคอลที่ทํางานอยู่ใน Transport Layer โดยมีหน้ าที่ในการจัดการให้ ข้อมูล
ส่งไปถึงจุดหมายได้ อย่างแน่นอน


NetBIOS (Network Input Output System)
         เป็ นไลบรารี ของกลุมคําสังควบคุมระบบเครื่ อข่ายหรื อ API เพื่อให้ สามารถเขียนโปรแกรม ควบคุมระบบเครื่ อข่าย ง่าย
                           ่      ่
ขึ ้นโปรโตคอล NetBIOS (Network Basic INput/Output System) พัมนาร่วมกันโดย IBM และ Microsoft มีการใช้ งานอยูใน       ่
เครื อข่าย หลาย ๆ ชนิด อย่างไรก็ดี NetBIOS เป็ นโปรโตคอลที่ทํางานอยูในระดับ Session Layer เท่านัน จึงไม่ได้ เป็ น
                                                                        ่                         ้
โปรโตคอลสําหรับเครื อข่ายโดยสมบูรณ์ จึงได้ พฒนา โปรโตคอล NetBUIE (Network Extended User Interface)
                                             ั
NetBUEI (NetBIOS Enhanced User Interface)

      โปรโตคอล NetBUIE (Network Extended User Interface) ซึงเป็ นส่วนขยายเพิ่มเติมของ NetBIOS ที่ทํางานอยูใน
                                                            ่                                            ่
Network Layer และ Transport Layer จะพบการใช้ งานได้ ใน Windows for Workgroups และ Windows NT
FTP (File Transfer Protocol)

        เป็ นการถ่ายโอนแฟมข้ อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่ อง ซึงอยูบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
                         ้                                               ่ ่
IEEE 802.3 และ Ethernet

      ระบบเครื อข่าย Ethernet ถูกพัฒนาขึ ้นโดยบริษัทซีรอกซ์ในปลายทศวรรษ 1970 และในปี 1980 บริษัท Digital
Equipment, Intel และ Xeror ได้ ร่วมกันออกระบบ Ethernet I ซึงใช้ งานกับสาย และต่อมาในปี ก็ได้ ทําการพัฒนาเป็ น
                                                               ่
Ethernet II ซึงเป็ นระบบเครื อข่ายที่ถกใช้ งานมากที่สดแบบหนึ่ง จากนันองค์กรมาตรฐาน จึงได้ ออกข้ อกําหนดมาตรฐาน
              ่                       ู                ุ            ้
IEEE 802.3 โดยใช้ Ethernet II เป็ นรากฐาน โดยมีจดแตกต่างจาก เล็กน้ อย แต่หลักการใหญ่ ๆ จะคล้ ายคลึงกัน คือ ใช้
                                                     ุ
Access Method และ CSMA/CD และใช้ Topology แบบ Bus หรื อ Star (Ethernet II จะเป็ น Bus เท่านัน)      ้
SMTP server

       Simple mail transfer protocol server คือเครื่ องบริการส่ง e-mail ไปยังเครื่ องบริการอื่น ๆ สําหรับ SMTP ส่วนใหญ่
จะไม่ยอมให้ คนนอกองค์กร หรื อ IP ที่อยูนอกองค์กรใช้ งาน SMTP เพราะอาจมีคนมาแอบใช้ ทําให้ บริการ SMTP ทํางานหนัก
                                      ่
ให้ กบคนภายนอกโดยไม่เกิดประโยชน์ใด
     ั
POP server

        Post office protocol server คือบริการรับ-ส่งเมลจาก mail server กับเครื่ องของสมาชิก บริการนี ้ ทําให้ สามารถอ่าน
mailด้ วยมือถือ หรื อ PDA แต่ถ้าท่านใช้ mail ของ thaimail.com จะเป็ น web-based mail ที่เปิ ดอ่าน e-mail ได้ จาก web
เท่านัน จะเปิ ดด้ วย outlook หรื อ pda ไม่ได้
      ้

NAT (Network Address Translation)
         คือ คุณสมบัติหนึงของการแจก IP หรื อการทํา IP Sharing เพราะในเครื อข่ายขนาดใหญ่จะใช้ Local IP หรื อ Fake IP
                          ่
แต่จะมี Real IP อยูบางส่วน โปรแกรมเครื่ องบริ การบางโปรแกรมมีหน้ าที่กําหนด Local IP ให้ เครื่ องลูก เมื่อเครื่ องลูกต้ องการ
                     ่
ออกไปอ่านข้ อมูลจากอินเทอร์ เน็ต ก็จะใช้ Real IP ออกไป จากลักษณะดังกล่าง อาจทําให้ เครื่ องที่เป็ น NAT server ทําหน้ าที่
เป็ น Firewall ปกปองเครื่ องลูก เพราะจะไม่มีใครทราบ Local IP ของเครื่ องในองค์กรได้ เนื่องจากการออกไปสูอินเทอร์ เน็ตจะ
                   ้                                                                                                ่
ใช้ IP ของ NAT server เสมอ จึงไม่มีใครเจาะเข้ าสูเ่ ครื่ องลูกได้ โดยตรง การเป็ น NAT server อาจไม่จําเป็ นต้ องใช้ คณสมบัติ
                                                                                                                         ุ
Cache server ก็ได้ เพราะเครื่ องที่เป็ น Proxy server ที่มีศกยภาพตํ่า จะล่มได้ เร็วกว่าเครื่ องที่ทําหน้ าที่เป็ น NAT เพียงอย่าง
                                                             ั
เดียว สําหรับโปรแกรมที่ทําหน้ าที่เป็ น NAT server เช่น WinGate, WinRoute, WinProxy หรื อ ICS(Internet Connection
Sharing) เป็ นต้ น
Power over Ethernet

       Power over Ethernet (PoE) คือเทคโนโลยีที่รวมการจ่ายไฟเข้ ากับมาตรฐานของ LAN ทําให้ สามารถจ่ายไฟ ให้ กบ         ั
อุปกรณ์ที่เป็ นเน็ตเวิร์ค เช่น IP phone หรื อ IP camera ใช้ สายเหมือนการเชื่อมต่อเน็ตเวร์ คทัวไป ทําให้ ตดความ ยุงยากใน
                                                                                             ่           ั      ่
การเดินสาย และการต่อส่วนของการสํารองไฟ PoE technology คือข้ อกําหนดของมาตรฐานที่เรี ยกว่า IEEE 802.3af และ
ออกแบบมาให้ เน็ตเวิร์คยังคงมีประสิทธิภาพการเชื่อมต่อ และส่วนของการขยายเป็ นไปเหมือนเดิมโดย PoE ไม่ได้ รบกวนใดๆ
ต่อการสื่อสาร.
Infrastructure

       คือการเชื่อมต่อ wireless ผ่าน access point

Ad-hoc

       คือการเชื่อมต่อ wireless แบบ peer-to-peer

SSID Service Set Identifier

       คือการกําหนดชื่อของสัญญาณ wireless การเชื่อมต่อ

Contenu connexe

Tendances

Internet
InternetInternet
InternetSchool
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..runjaun
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์peeyamas parjaitum
 
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศคำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศItt Bandhudhara
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพnan1799
 
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีคำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีHami dah'Princess
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet ProtocolAdisak Kammungkun
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจนายอุุเทน มาดา
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์xsitezaa
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายxsitezaa
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Tendances (19)

Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศคำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
คำศ พท เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพ
 
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีคำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
คำศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยี
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจคำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
work3-21
work3-21work3-21
work3-21
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 

En vedette

Water Finding by Water4All Asia Pacific, Singapore
Water Finding by Water4All Asia Pacific, SingaporeWater Finding by Water4All Asia Pacific, Singapore
Water Finding by Water4All Asia Pacific, SingaporeLUI Khang
 
Concept of aid by trade generic
Concept of aid by trade genericConcept of aid by trade generic
Concept of aid by trade genericFredrik Arvas
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5Rattana Wongphu-nga
 
Visual Walk - demo slides
Visual Walk - demo slidesVisual Walk - demo slides
Visual Walk - demo slidesFredrik Arvas
 

En vedette (9)

Water Finding by Water4All Asia Pacific, Singapore
Water Finding by Water4All Asia Pacific, SingaporeWater Finding by Water4All Asia Pacific, Singapore
Water Finding by Water4All Asia Pacific, Singapore
 
Concept of aid by trade generic
Concept of aid by trade genericConcept of aid by trade generic
Concept of aid by trade generic
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
Comp4
Comp4Comp4
Comp4
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5
 
โปรโตคอล
โปรโตคอลโปรโตคอล
โปรโตคอล
 
Visual Walk - demo slides
Visual Walk - demo slidesVisual Walk - demo slides
Visual Walk - demo slides
 

Similaire à Protocol

Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkBeauso English
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทsvcper
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทsvcper
 
Presentation1
Presentation1 Presentation1
Presentation1 Ver Faiir
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053Nthw Trty
 

Similaire à Protocol (20)

Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
22
2222
22
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
โครงงานคอม57
โครงงานคอม57โครงงานคอม57
โครงงานคอม57
 
Presentation1
Presentation1 Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053
 

Plus de Rattana Wongphu-nga

เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Rattana Wongphu-nga
 
หลักการนำเสนอ
หลักการนำเสนอหลักการนำเสนอ
หลักการนำเสนอRattana Wongphu-nga
 
เทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอเทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอRattana Wongphu-nga
 
เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1Rattana Wongphu-nga
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอRattana Wongphu-nga
 
การพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอการพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอRattana Wongphu-nga
 
เทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอเทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอRattana Wongphu-nga
 
แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1
แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1
แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
แบบทดสอบก่อนเรียน New
แบบทดสอบก่อนเรียน Newแบบทดสอบก่อนเรียน New
แบบทดสอบก่อนเรียน NewRattana Wongphu-nga
 
ข้อสอบหน่วย2
ข้อสอบหน่วย2ข้อสอบหน่วย2
ข้อสอบหน่วย2Rattana Wongphu-nga
 
สถาณการณ์ที่ 5
สถาณการณ์ที่ 5สถาณการณ์ที่ 5
สถาณการณ์ที่ 5Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Rattana Wongphu-nga
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4Rattana Wongphu-nga
 

Plus de Rattana Wongphu-nga (20)

เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หลักการนำเสนอ
หลักการนำเสนอหลักการนำเสนอ
หลักการนำเสนอ
 
เทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอเทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอ
 
เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1เทคนิคการนำเสน1
เทคนิคการนำเสน1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเสนอ
 
การพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอการพูดเพื่อนำเสนอ
การพูดเพื่อนำเสนอ
 
เทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอเทคนิคการนำเสนอ
เทคนิคการนำเสนอ
 
แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1
แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1
แบบทดสอบประจำหน่วยที่ 1
 
แบบทดสอบก่อนเรียน New
แบบทดสอบก่อนเรียน Newแบบทดสอบก่อนเรียน New
แบบทดสอบก่อนเรียน New
 
สอบปลายภาค
สอบปลายภาคสอบปลายภาค
สอบปลายภาค
 
ข้อสอบหน่วย2
ข้อสอบหน่วย2ข้อสอบหน่วย2
ข้อสอบหน่วย2
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
 
สถาณการณ์ที่ 5
สถาณการณ์ที่ 5สถาณการณ์ที่ 5
สถาณการณ์ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4
 

Protocol

  • 1. โปรโตคอล โปรโตคอล (Protocol) หมายถึง ข้ อกําหนดหรื อข้ อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ซงมีอยูด้วยกัน ึ่ ่ มากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีข้อดี ข้ อเสีย และใช้ ในโอกาสหรื อสถานการณ์แตกต่างกันไป คล้ ายๆ กับภาษามนุษย์ที่มี ทังภาษาไทย จีน ฝรั่ง หรื อภาษาใบ้ ภาษามือ หรื อจะใช้ วิธียกคิ ้วหลิวตาเพื่อส่งสัญญาณก็จดเป็ นภาษาได้ เหมือนกัน ซึงจะ ้ ั ่ ั ่ สื่อสารกันรู้เรื่ องได้ จะต้ องใช้ ภาษาเดียวกัน ในบางกรณีถ้าคอมพิวเตอร์ 2 เครื่ องสื่อสารกันคนละภาษากันและต้ องการ นํามาเชื่อมต่อกัน จะต้ องมีตวกลางในการแปลงโปรโตคอลกลับไปกลับมาซึงนิยมเรี ยกว่า Gateway ถ้ าเทียบกับภาษา ั ่ มนุษย์ก็คือ ล่าม ซึงมีอยูทงที่เป็ นเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ แยกต่างหากสําหรับทําหน้ าที่นี ้โดยเฉพาะ หรื อาจะเป็ นโปรแกรมหรื อ ่ ่ ั้ ไดร์ ฟเวอร์ ที่สามารถติดตังในเครื่ องคอมพิวเตอร์ นน ๆ ได้ เลย ้ ั้ การที่คอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึงจะส่งข้ อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ อีกเครื่ องหนึงได้ นน จะต้ องอาศัยกลไกหลายๆ อย่าง ่ ่ ั้ ร่วมกันทํางานต่างหน้ าที่กน และเชื่อมต่อเป็ นเครื อข่ายเข้ าด้ วยกัน ปั ญหาที่เกิดขึ ้นคือ การเชื่อมต่อมีความแตกต่างระหว่าง ั ระบบและอุปกรณ์หรื อเป็ นผู้ผลิตคนละรายกัน ซึงเป็ นสิงที่ทําให้ การสร้ างเครื อข่ายเป็ นเรื่ องยากมาก เนื่องจากขาด ่ ่ มาตรฐานกลางที่จําเป็ นในการเชื่อมต่อ จึงได้ เกิดหน่วยงานกําหนดมาตรฐานสากลขึ ้นคือ International Standards Organization และทําการกําหนด โครงสร้ างทังหมดที่จําเป็ นต้ องใช้ ในการสื่อสารข้ อมูลและเป็ นระบบเปิ ด เพื่อให้ ผ้ ผลิตต่างๆ สามารถแยกผลิตในส่วนที่ ้ ู ตัวเองถนัด แต่สามารถนําไปใช้ ร่วมกันได้ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สมัยใหม่จะถูกออกแบบให้ มีโครงสร้ างทีแน่นอน และเพื่อเป็ นการลดความซับซ้ อน ระบบเครื อข่ายส่วนมากจึงแยกการทํางานออกเป็ นชันๆ (layer) โดยกําหนดหน้ าที่ในแต่ ้ ละชันไว้ อย่างชัดเจน แบบจําลองสําหรับอ้ างอิงแบบ OSI (Open System Interconnection Reference Model) หรื อที่ ้ นิยมเรี ยกกันทัวไปว่า OSI Reference Model ของ ISO เป็ นแบบจําลองที่ถกเสนอและพัฒนาโดยองค์กร International ่ ู Standard Organization (ISO) โดยจะบรรยายถึงโครงสร้ างของสถาปั ตยกรรมเครื อข่ายในอุดมคติ ซึงระบบเครื อข่ายที่ ่ เป็ นไปตามสถาปั ตยกรรมนี ้จะเป็ นระบบเครื อข่ายแบบเปิ ด และอุปกรณ์ทางเครื อข่ายจะสามารถติดต่อกันได้ โดยไม่ขึ ้นกับ ว่าเป็ นอุปกรณ์ของผู้ขายรายใด คุณลักษณะของระบบโปรโตคอล จําแนกได้ ตามนี ้ IP (Internet Protocol ) IP เป็ นโปรโตคอลในระดับเน็ตเวิร์คเลเยอร์ ทําหน้ าที่จดการเกี่ยวกับแอดเดรสและข้ อมูล และควบคุมการส่งข้ อมูล ั บางอย่างที่ใช้ ในการหาเส้ นทางของแพ็กเก็ต และสามารถเปลี่ยนแปลงเส้ นทางได้ ในระหว่างการส่งข้ อมูล โดยมีระบบการแยก และประกอบดาต้ าแกรม (datagram) เพื่อรองรับการส่งข้ อมูลระดับ data link ที่มีขนาด MTU (Maximum Transmission Unit) ทีแตกต่างกัน ทําให้ สามารถนํา IP ไปใช้ บนโปรโตคอลอื่นได้ หลากหลาย เช่น Ethernet ,Token Ring หรื อ Apple Talk การเชื่อมต่อของ IP เพื่อทําการส่งข้ อมูล จะเป็ นแบบ connectionless หรื อเกิดเส้ นทางการเชื่อมต่อในทุกๆ ครัง ของ ้ การส่งข้ อมูล 1 ดาต้ าแกรม โดยจะไม่ทราบถึงข้ อมูลดาต้ าแกรมที่สงก่อนหน้ าหรื อส่งตามมา แต่การส่งข้ อมูลใน 1 ดาต้ าแกรม ่ อาจจะเกิดการส่งได้ หลายครังในกรณีที่มีการแบ่งข้ อมูลออกเป็ นส่วนย่อยๆ (fragmentation) และถูกนําไปรวม เป็ นดาต้ าแก ้ รมเดิมเมื่อถึงปลายทาง
  • 2. IPv4 (Internet Protocol version 4) คือ internet protocol และ IP address ที่ใช้ อยูในปั จจุบนมีขนาด 32 bit ่ ั IPv6 (Internet Protocol version 6) เป็ น internet protocol และ IP address ที่กําหนดโดย IETF (Internet Engineer Task Force) และ กําลังจะนํามาใช้ แทน IPv4 หรื อที่เรี ยกว่า IPng (IP Next Generation) มีขนาด 128 bit ซึงออกแบบมาเพื่อ router ประมวลผลได้ เร็วขึ ้น เพิ่ม ่ กลไกตรวจสอบการใช้ งาน ตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลดีกว่าเดิม และปลอดภัยขึ ้น TCP (Transmission control Protocol) Transmission Control Protocol (TCP) เป็ นโปรโตคอลที่อยูในชัน Transport Layer ทําหน้ าที่จดการ และควบคุม ่ ้ ั การรับส่งข้ อมูล ซึงมีความสามารถและรายละเอียดมากกว่า UDP โดยดาต้ าแกรมของ TCP จะมีความสัมพันธ์ ต่อเนื่องกัน ่ และมีกลไกควบคุมการรับส่งข้ อมูลให้ มีความถูกต้ อง (reliable) และมีการสื่อสารอย่างเป็ นกระบวนการ เป็ นแบบ ที่มีการ กําหนดช่วงการสื่อสารตลอดระยะเวลาการสื่อสาร (connection-oriented) ซึงจะยอมให้ มีการส่งข้ อมูลเป็ นแบบ Byte stream ่ ที่ไว้ ใจได้ โดยไม่มีข้อผิดพลาด ข้ อมูลที่มีปริ มาณมากจะถูกแบ่งออกเป็ นส่วนเล็กๆ เรี ยกว่า message ซึงจะ ถูกส่งไปยังผู้รับ ่ ผ่านทางชันสื่อสารของอินเทอร์ เน็ต ทางฝ่ ายผู้รับจะนํา message มาเรี ยงต่อกันตามลําดับเป็ นข้ อมูลตัวเดิม TCP ยังมี ้ ความสามารถในการควบคุมการไหลของข้ อมูลเพื่อปองกันไม่ให้ ผ้ สง ส่งข้ อมูลเร็วเกินกว่าที่ผ้ รับจะทํางานได้ ทน อีกด้ วย ้ ู่ ู ั UDP (User Datagram Protocol) เป็ นโปรโตคอลที่อยูใน Transport Layer เป็ นการติดต่อแบบไม่ตอเนื่อง (connectionless) มีการตรวจสอบ ความ ่ ่ ถูกต้ องของข้ อมูลแต่จะไม่มีการแจ้ งกลับไปยังผู้สง จึงถือได้ วาไม่มีการตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูล อย่างไรก็ตาม วิธีการ ่ ่ นี ้มีข้อดีในด้ านความรวดเร็วในการส่งข้ อมูล จึงนิยมใช้ ในระบบผู้ให้ และผู้ใช้ บริการ (client/server system) ซึงมีการสื่อสาร ่ แบบ ถาม/ตอบ (request/reply) นอกจากนันยังใช้ ในการส่งข้ อมูลประเภทภาพเคลื่อนไหวหรื อการส่งเสียง (voice) ทาง ้ อินเทอร์ เน็ต HTTP (Hyper Text Transport Protocol) HTTP คือโปรโตคอลที่ใช้ สื่อสารระหว่าง client computer กับ server computer ทําให้ ทงสองเครื่ องรู้ว่าจะจัดการส่ง ั้ ข้ อมูลไปอย่างไร โปรโตคอล HTTP นี ้วิ่งอยูบน TCP/IP อีกชันหนึง รูปแบบการทํางานจะไม่มีการจองสาย โดย client จะเรี ยก ่ ้ ่ ข้ อมูลจาก server โดยการส่ง request ไปแล้ วจะตัดการติดต่อทันที จากนันจะรอจนกระทัง server ส่งข้ อมูลมาให้ ประโยชน์ ้ ่ ของการทํางานแบบไม่จองสายของ HTTP ทําให้ WWW server สามารถให้ บริ การ client ได้ หลายๆ คนพร้ อมๆ กัน การ สื่อสารของ WWW จึงมีประสิทธิภาพมากขึ ้น ICMP (Internet Control Message Protocol) ICMP เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ ในการตรวจสอบและรายงานสถานภาพของดาต้ าแกรม (Datagram) ในกรณีที่เกิด ปั ญหา กับดาต้ าแกรม เช่น เราเตอร์ ไม่สามารถส่งดาต้ าแกรมไปถึงปลายทางได้ ICMP จะถูกส่งออกไปยังโฮสต้ นทาง เพื่อ รายงาน ข้ อผิดพลาด ที่เกิดขึ ้น อย่างไรก็ดี ไม่มีอะไรรับประกันได้ วา ICMP Message ที่สงไปจะถึงผู้รับจริ งหรื อไม่ หากมีการส่งดาต้ า ่ ่
  • 3. แกรมออกไปแล้ วไม่มี ICMP Message ฟอง Error กลับมา ก็แปลความหมายได้ สองกรณีคือ ข้ อมูลถูกส่งไปถึงปลายทาง ้ อย่างเรี ยบร้ อย หรื ออาจจะมีปัญหา ในการสื่อสารทังการส่งดาต้ าแกรม และ ICMP Message ที่สงกลับมาก็มีปัญหาระว่าง ้ ่ ทางก็ได้ ICMP จึงเป็ นโปรโตคอลที่ไม่มีความน่าเชื่อถือ (unreliable) ซึงจะเป็ นหน้ าที่ของ โปรโตคอลในระดับสูงกว่า Network ่ Layer ในการจัดการให้ การสื่อสารนันๆ มีความน่าเชื่อถือ ในส่วนของ ICMP Message จะประกอบด้ วย Type ขนาด 8 บิต ้ Checksum ขนาด 16 บิต และส่วนของ Content ซึงจะมีขนาดแตกต่างกันไปตาม Type และ Code ่ DNS (Domain Name System DNS คือการแปลงหมายเลขไอพีให้ เป็ นชื่อโดเมน หรื อแปลงชื่อโดเมนให้ เป็ นหมายเลขไอพี UPnP (Universal Plug and Play) เป็ นบริ การที่อนุญาตให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ สามารถค้ นหาและใช้ งานอุปกรณ์อื่น เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ สแกนเนอร์ เครื่ องพิมพ์ ผ่านทางเครื อข่ายได้ โดยปกติแล้ ว Windows 98, 98SE ไม่มีคณสมบัติของ UPnP ภายในตัวเอง แต่อาจจะถูก ุ ติดตังเพิ่มเติมผ่านทาง Internet Connection Sharing client ซึงติดมากับ Windows XP ได้ ้ ่ Serial Line Internet Protocol (SLIP) เป็ นโปรโตคอลของ TCP/IP ที่ใช้ สําหรับการสื่อสารระหว่างเครื่ อง 2 เครื่ อง ซึง SLIP เป็ นคอนฟิ กแบบเก่าที่ใช้ ใน การ ่ สื่อสารระหว่างเครื่ อง เช่น ผู้ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต ให้ ผ้ ใช้ ติดต่อแบบ SLIP เพื่อทําให้ เครื่ องแม่ข่ายของผู้ให้ บริการตอบ สนอง ู คําสัง แล้ วส่งผ่านไปยังอินเตอร์ เน็ต และนําการตอบสนองของอินเตอร์ เน็ตกลับมาให้ ผ้ ใช้ การติดต่อแบบเดิม ที่ใช้ การ หมุน ่ ู ติดต่อผ่านสายแบบอนุกรม จะช้ ากว่าสายแบบขนาน หรื อมัลติเพล็กซ์ (Multiplex) SLIP (Serial Line Internet Protocol) เป็ นโปรโตคอลของ TCP/IP ที่ใช้ สําหรับการสื่อสารระหว่างเครื่ อง 2 เครื่ อง ซึง SLIP เป็ นคอนฟิ กแบบเก่าที่ใช้ ใน การ ่ สื่อสารระหว่างเครื่ อง เช่น ผู้ให้ บริ การอินเตอร์ เน็ต ให้ ผ้ ใช้ ติดต่อแบบ SLIP เพื่อทําให้ เครื่ องแม่ข่ายของผู้ให้ บริการ ตอบสนอง ู คําสัง แล้ วส่งผ่านไปยังอินเตอร์ เน็ต และนําการตอบสนองของอินเตอร์ เน็ตกลับมาให้ ผ้ ใช้ การติดต่อแบบเดิม ที่ใช้ การหมุน ่ ู ติดต่อผ่านสายแบบอนุกรม จะช้ ากว่าสายแบบขนาน หรื อมัลติเพล็กซ์ (Multiplex) การให้ บริการที่ดีกว่าได้ แก่ Point -to- Point Protocol (PPP) PPP (Point to Point Protocol) เนื่องด้ วย โปรโตคอล SLIP ไม่สามารถเข้ ากันได้ กับโปรโตคอลบางตัวที่ระบบ LAN ที่ใช้ อยูเ่ ดิม จึงได้ พฒนา ั โปรโตคอล ขึ ้นมาใหม่ชื่อว่า PPP เพื่อแก้ ปัญหาดังกล่าว ด้ วยเหตุนี ้โปรโตคอล จึงสามารถใช้ ร่วมกับโปรโตคอลอื่นๆ ได้ ดี และ เพิ่มระบบการตรวจสอบข้ อมูล, การรักษาความปลอดภัย, และการบีบอัดข้ อมูล ซึงทําได้ ดีกว่า SLIP และถูกใช้ เป็ น มาตรฐาน ่ ต่อไป
  • 4. PPPoE (Point to Point Protocol over Ethernet) เป็ นสิงที่เสนอให้ ใช้ กบคอมพิวเตอร์ ที่ทํางานผ่านระบบ broadband เช่น ADSL ่ ั RTSP (Real Time Streaming Protocol) เป็ นโปรโตคอลที่ใช้ รูปแบบ client/server ที่ถกออกแบบเพื่อใช้ ในการแสดงสื่อมัลติมีเดีย สําหรับใช้ แลกเปลี่ยน ข้ อมูล ู ในรูปแบบสตรี มมิ่งมีเดียผ่านทางเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต โดยเริ่มจากฝั่ งเซิร์ฟเวอร์ จะทําหน้ าที่สงไฟล์สตรี มมิ่งมีเดียไปยัง ฝั่ ง ่ ไคลเอ็นต์ที่อยูปลายทาง ได้ ทงแบบเดี่ยวหรื อแบบกลุมตามแต่วิธีการเผยแพร่ผานทางโพรโตคอล RTSP โดยมีสวน ประกอบ ่ ั้ ่ ่ ่ หลักสําคัญ 3 ส่วน ได้ แก่ 1) ส่วนของเครื่ องเข้ ารหัส (Encoder) 2) เครื่ องผู้ชม (Player) 3) เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ (Server) RTP (real time transport protocol) โปรโตคอลที่ใช้ สําหรับการส่งข้ อมูลแบบเวลาจริง บนเครื อข่าย IP RTCP (real time transport control protocal) ใช้ ร่วมกับ RTSP และ RTP มีทําหน้ าที่ในการควบคุมการส่งข้ อมูล DHCP (Dynamic Host Configulation Protocal) ทําหน้ าที่จาย IP ให้ แก่เครื่ องลูก (clients) โดยอัตโนมัติ สําหรับเน็ตเวอร์ ที่มีเครื่ องลูกหลายเครื่ อง การกําหนด IP ให้ แต่ ่ ละเครื่ องบางครังก็ ยากในการจดจํา ว่ากําหนด IP ให้ ไปเป็ นเบอร์ อะไรบ้ างแล้ ว พอมีเครื่ องเพิ่มเข้ ามาในเน็ตเวอร์ กใหม่ ต้ อง ้ กลับไปค้ น เพื่อจะ assign เบอร์ IP ใหม่ไม่ให้ ซํ ้ากับเบอร์ เดิม DHCP Server จะทําหน้ าที่นี ้แทน โดยเครื่ องลูกเครื่ อง ไหนเปิ ด เครื่ อง ก็จะขอ IP มายัง DHCP Server และ DHCP Server ก็จะกําหนด IP ไปให้ เครื่ องลูกเอง โดยไม่ซํ ้ากัน DDNS (Dynamic Domain Name System) คือการแปลงหมายเลขไอพีให้ เป็ นชื่อโดเมน หรื อแปลงชื่อโดเมนให้ เป็ นหมายเลขไอพี DNS เป็ นระบบที่ให้ บริการแบบ เปิ ดกว้ าง (Public Service) ดังนันย่อมมีความเสี่ยงสูงต่อบุคคลภายนอกที่ต้องการบุกรุกผ่าน DNS ้
  • 5. T1,E1 ใช้ ในการเชื่อมโยง LAN/WAN (ทังในลักษณะเซิร์ฟเวอร์ และการใช้ งานส่วนตัว) ในปั จจุบนยังใช้ เชื่อมโยงเครื อข่าย ้ ั ด้ วยเสาอากาศของเครื อข่ายโทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ , เราเตอร์ และอื่นๆ เทคโนโลยี T1/E1 ยังไม่เหมาะกับการใช้ ในบ้ านพัก อาศัย เนื่องจากสัญญาณรบกวนที่จํากัดให้ สามารถใช้ สาย T1 ได้ เพียง 1 คูภายในสายเคเบิลชนิด 50 คู่ นอกจากนี ้ ่ ระบบสื่อสาร แบบไม่สมมาตร ที่มีการส่งข้ อมูลเข้ ามากกว่าส่งข้ อมูลออกนัน ดูจะเหมาะกับการใช้ ในบ้ านมากกว่าการใช้ ้ เทคโนโลยี T1/E1 HDLC (High Level Data Link Control) เพื่อเพิ่มความเร็วในการส่ง-รับข้ อมูลแบบซิงโครนัส โปรโตคอล HDLC จะกําหนดผู้สงและผู้รับเป็ นสถานีปฐมภูมิและ ่ ทุติยภูมิ (Primary/Secondary) Ethernet , Token Ring IPX (Internetwork Packet Exchange) /SPX(Sequence Packet Exchange) เป็ นโปรโตคอลของบริษัท Novell ซึงพัฒนาขึ ้นมาใช้ กบ Netware มีพื ้นฐานมาจากโปรโตคอล XNS (Xerox Network ่ ั Services) ของบริษัท Xerox โปรโตคอล IPX (Internerworl Packet Exchange) จะเป็ นโปรโตคอล ที่ทํางานอยูใน Network ่ Layer ใช้ จดการการแลกเปลี่ยน packet ภายใน Network ทังในส่วนของการหาปลายทางและ การจัดส่ง packet ส่วน SPX ั ้ (Sequenced Packet Exchange) จะเป็ นโปรโตคอลที่ทํางานอยู่ใน Transport Layer โดยมีหน้ าที่ในการจัดการให้ ข้อมูล ส่งไปถึงจุดหมายได้ อย่างแน่นอน NetBIOS (Network Input Output System) เป็ นไลบรารี ของกลุมคําสังควบคุมระบบเครื่ อข่ายหรื อ API เพื่อให้ สามารถเขียนโปรแกรม ควบคุมระบบเครื่ อข่าย ง่าย ่ ่ ขึ ้นโปรโตคอล NetBIOS (Network Basic INput/Output System) พัมนาร่วมกันโดย IBM และ Microsoft มีการใช้ งานอยูใน ่ เครื อข่าย หลาย ๆ ชนิด อย่างไรก็ดี NetBIOS เป็ นโปรโตคอลที่ทํางานอยูในระดับ Session Layer เท่านัน จึงไม่ได้ เป็ น ่ ้ โปรโตคอลสําหรับเครื อข่ายโดยสมบูรณ์ จึงได้ พฒนา โปรโตคอล NetBUIE (Network Extended User Interface) ั NetBUEI (NetBIOS Enhanced User Interface) โปรโตคอล NetBUIE (Network Extended User Interface) ซึงเป็ นส่วนขยายเพิ่มเติมของ NetBIOS ที่ทํางานอยูใน ่ ่ Network Layer และ Transport Layer จะพบการใช้ งานได้ ใน Windows for Workgroups และ Windows NT FTP (File Transfer Protocol) เป็ นการถ่ายโอนแฟมข้ อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่ อง ซึงอยูบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ้ ่ ่
  • 6. IEEE 802.3 และ Ethernet ระบบเครื อข่าย Ethernet ถูกพัฒนาขึ ้นโดยบริษัทซีรอกซ์ในปลายทศวรรษ 1970 และในปี 1980 บริษัท Digital Equipment, Intel และ Xeror ได้ ร่วมกันออกระบบ Ethernet I ซึงใช้ งานกับสาย และต่อมาในปี ก็ได้ ทําการพัฒนาเป็ น ่ Ethernet II ซึงเป็ นระบบเครื อข่ายที่ถกใช้ งานมากที่สดแบบหนึ่ง จากนันองค์กรมาตรฐาน จึงได้ ออกข้ อกําหนดมาตรฐาน ่ ู ุ ้ IEEE 802.3 โดยใช้ Ethernet II เป็ นรากฐาน โดยมีจดแตกต่างจาก เล็กน้ อย แต่หลักการใหญ่ ๆ จะคล้ ายคลึงกัน คือ ใช้ ุ Access Method และ CSMA/CD และใช้ Topology แบบ Bus หรื อ Star (Ethernet II จะเป็ น Bus เท่านัน) ้ SMTP server Simple mail transfer protocol server คือเครื่ องบริการส่ง e-mail ไปยังเครื่ องบริการอื่น ๆ สําหรับ SMTP ส่วนใหญ่ จะไม่ยอมให้ คนนอกองค์กร หรื อ IP ที่อยูนอกองค์กรใช้ งาน SMTP เพราะอาจมีคนมาแอบใช้ ทําให้ บริการ SMTP ทํางานหนัก ่ ให้ กบคนภายนอกโดยไม่เกิดประโยชน์ใด ั POP server Post office protocol server คือบริการรับ-ส่งเมลจาก mail server กับเครื่ องของสมาชิก บริการนี ้ ทําให้ สามารถอ่าน mailด้ วยมือถือ หรื อ PDA แต่ถ้าท่านใช้ mail ของ thaimail.com จะเป็ น web-based mail ที่เปิ ดอ่าน e-mail ได้ จาก web เท่านัน จะเปิ ดด้ วย outlook หรื อ pda ไม่ได้ ้ NAT (Network Address Translation) คือ คุณสมบัติหนึงของการแจก IP หรื อการทํา IP Sharing เพราะในเครื อข่ายขนาดใหญ่จะใช้ Local IP หรื อ Fake IP ่ แต่จะมี Real IP อยูบางส่วน โปรแกรมเครื่ องบริ การบางโปรแกรมมีหน้ าที่กําหนด Local IP ให้ เครื่ องลูก เมื่อเครื่ องลูกต้ องการ ่ ออกไปอ่านข้ อมูลจากอินเทอร์ เน็ต ก็จะใช้ Real IP ออกไป จากลักษณะดังกล่าง อาจทําให้ เครื่ องที่เป็ น NAT server ทําหน้ าที่ เป็ น Firewall ปกปองเครื่ องลูก เพราะจะไม่มีใครทราบ Local IP ของเครื่ องในองค์กรได้ เนื่องจากการออกไปสูอินเทอร์ เน็ตจะ ้ ่ ใช้ IP ของ NAT server เสมอ จึงไม่มีใครเจาะเข้ าสูเ่ ครื่ องลูกได้ โดยตรง การเป็ น NAT server อาจไม่จําเป็ นต้ องใช้ คณสมบัติ ุ Cache server ก็ได้ เพราะเครื่ องที่เป็ น Proxy server ที่มีศกยภาพตํ่า จะล่มได้ เร็วกว่าเครื่ องที่ทําหน้ าที่เป็ น NAT เพียงอย่าง ั เดียว สําหรับโปรแกรมที่ทําหน้ าที่เป็ น NAT server เช่น WinGate, WinRoute, WinProxy หรื อ ICS(Internet Connection Sharing) เป็ นต้ น Power over Ethernet Power over Ethernet (PoE) คือเทคโนโลยีที่รวมการจ่ายไฟเข้ ากับมาตรฐานของ LAN ทําให้ สามารถจ่ายไฟ ให้ กบ ั อุปกรณ์ที่เป็ นเน็ตเวิร์ค เช่น IP phone หรื อ IP camera ใช้ สายเหมือนการเชื่อมต่อเน็ตเวร์ คทัวไป ทําให้ ตดความ ยุงยากใน ่ ั ่ การเดินสาย และการต่อส่วนของการสํารองไฟ PoE technology คือข้ อกําหนดของมาตรฐานที่เรี ยกว่า IEEE 802.3af และ ออกแบบมาให้ เน็ตเวิร์คยังคงมีประสิทธิภาพการเชื่อมต่อ และส่วนของการขยายเป็ นไปเหมือนเดิมโดย PoE ไม่ได้ รบกวนใดๆ ต่อการสื่อสาร.
  • 7. Infrastructure คือการเชื่อมต่อ wireless ผ่าน access point Ad-hoc คือการเชื่อมต่อ wireless แบบ peer-to-peer SSID Service Set Identifier คือการกําหนดชื่อของสัญญาณ wireless การเชื่อมต่อ