SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
ชื่องานวิจัย การพัฒนารูปแบบการ
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสาหรับผู้เรี
ยนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิงนพวรรณ์ ไชยชนะ
ปีการศึกษา 2556
บทคัดย่อ
ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อสร้างเสริมทักษะชีวิตสาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึก
ษ า ปี ที่ 5 วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก
เพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต
สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และมีวัตถุประสงค์เฉพาะดังนี้ 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
การจัดการเรีย นรู้วิท ยาศ าสตร์เชิง ป ระสบ การณ์ในการเสริมสร้างทักษะชีวิต
สา ห รับ ผู้ เรีย น ชั้น ป ร ะถ ม ศึ ก ษ าปี ที่ 5 1 .1 เพื่ อ ศึ ก ษ าแ น ว คิด ท ฤ ษ ฏี
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
1.2 เพื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ .
เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ
ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 3 .
เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต
ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 4 .
เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษ
ะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยมีวัตถุประสงค์ย่อยของการประเมิน ดังนี้ 4.1
เพื่อเป รียบ เทีย บ ความรู้เกี่ย วกับทักษะชีวิต ก่อนและห ลังการใช้รูป แบ บ 4.2
เพื่ อเป รีย บ เที ย บ พ ฤติก รรมทั กษ ะชีวิต ก่ อน และห ลัง ก ารใช้รูป แบ บ 4.3
เพื่อประเมินความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเ
สริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนเทศบาล 2
วัดชัยมงคล สังกัดเทศบาลเมืองบางมูลนาก อาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร จานวน 21 คน
ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้าง
ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 มี ดั ง นี้ 1.
รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต
ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 (4AS Model) 2.
เครื่องมือประกอบการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทั
ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 (4AS Model)
ได้แก่คู่มือการใช้ประกอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้าง
ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 3.
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการจัดกาเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาส
ตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model)
จานว น 3 ฉบั บ คื อ 1 . แ บ บ วั ด ค ว าม ส าม า รถ ใน ก ารใช้ ทั ก ษ ะ ชี วิ ต 2 .
แ บ บ วั ด พ ฤ ติ ก ร ร ม ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง ผู้ เ รี ย น
3.แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิง
ประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model)
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1 .
ผลการหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้า
งทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่าคะแนนของนักเรียนระหว่างเรียน
คะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 66.44 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.85 คิดเป็นร้อยละ
83.06 และคะแนนของนักเรียนทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 132.33 คะแนน
ส่ ว น เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น เ ท่ า กั บ 1.80 คิ ด เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ
82.71ดังนั้นรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต
ส า ห รับ ผู้ เ รีย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 มี ป ร ะ สิท ธิภ า พ 83.06/82.71
ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้นาไปใช้ได้ 2. เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในทักษะการใช้ชีวิต
ใน ก า ร ท ด ส อ บ ก่ อ น เรีย น แ ล ะ ห ลัง เ รีย น ข อ ง นั ก เ รีย น ที่ เ รีย น ด้ ว ย
รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิง ประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต
ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 ( 4 AS Model)
พ บ ว่ า ค ะ แ น น ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น ไ ด้ ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 13.81
คะแนนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.72 ทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 17.86
คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .73 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t-
test) พบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
เปรียบเทียบพฤติกรรมทักษะชีวิตของผู้เรียนในการประเมินก่อนเรียนและหลัง เรียน
ข อ ง นั ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น ด้ ว ย
รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต
ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 ( 4 AS
Model)พ บ ว่ าค ะแนน ป ระเมินก่ อนเรีย นได้ค ะแนนเฉลี่ย เท่ ากับ 2.97ค ะแน น
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .41 ทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.26 คะแนน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .50 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t-test)
พบว่าคะแนนประเมินเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4.
เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้เรียนในการประเมินหลังเรียนกับเกณฑ์ 3.50 ของ
นั ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น ด้ ว ย
รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทั กษะชีวิต
สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model) พบว่า หลังเรียนคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.25
คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .31 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t-
test) พบว่าคะแนนประเมินเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ระดับ .05

Contenu connexe

Similaire à บทคัดย่อการพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
บทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลีบทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลี12251600
 

Similaire à บทคัดย่อการพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ (20)

01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
P56363401135 (3)
P56363401135 (3)P56363401135 (3)
P56363401135 (3)
 
C
CC
C
 
บทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลีบทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลี
 

Plus de Noppawan Chantasan

ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)
ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)
ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)Noppawan Chantasan
 
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2Noppawan Chantasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖Noppawan Chantasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕Noppawan Chantasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔Noppawan Chantasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓Noppawan Chantasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒Noppawan Chantasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็ก
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กบัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็ก
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กNoppawan Chantasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑Noppawan Chantasan
 

Plus de Noppawan Chantasan (9)

ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)
ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)
ประวัติว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ (จันทสาร)
 
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
แบบสรุปพฤติกรรมตามค่านิยม12ประการ ท.2
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็ก
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็กบัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็ก
บัญชีคำพื้นฐานชั้นเด็กเล็ก
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
 

บทคัดย่อการพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ

  • 1. ชื่องานวิจัย การพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสาหรับผู้เรี ยนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิงนพวรรณ์ ไชยชนะ ปีการศึกษา 2556 บทคัดย่อ ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อสร้างเสริมทักษะชีวิตสาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึก ษ า ปี ที่ 5 วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก เพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และมีวัตถุประสงค์เฉพาะดังนี้ 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน การจัดการเรีย นรู้วิท ยาศ าสตร์เชิง ป ระสบ การณ์ในการเสริมสร้างทักษะชีวิต สา ห รับ ผู้ เรีย น ชั้น ป ร ะถ ม ศึ ก ษ าปี ที่ 5 1 .1 เพื่ อ ศึ ก ษ าแ น ว คิด ท ฤ ษ ฏี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 1.2 เพื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ . เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 3 . เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 4 . เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษ ะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยมีวัตถุประสงค์ย่อยของการประเมิน ดังนี้ 4.1 เพื่อเป รียบ เทีย บ ความรู้เกี่ย วกับทักษะชีวิต ก่อนและห ลังการใช้รูป แบ บ 4.2 เพื่ อเป รีย บ เที ย บ พ ฤติก รรมทั กษ ะชีวิต ก่ อน และห ลัง ก ารใช้รูป แบ บ 4.3 เพื่อประเมินความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเ สริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดชัยมงคล สังกัดเทศบาลเมืองบางมูลนาก อาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร จานวน 21 คน ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้าง ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 มี ดั ง นี้ 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 (4AS Model) 2. เครื่องมือประกอบการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทั
  • 2. ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 (4AS Model) ได้แก่คู่มือการใช้ประกอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้าง ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการจัดกาเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาส ตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model) จานว น 3 ฉบั บ คื อ 1 . แ บ บ วั ด ค ว าม ส าม า รถ ใน ก ารใช้ ทั ก ษ ะ ชี วิ ต 2 . แ บ บ วั ด พ ฤ ติ ก ร ร ม ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง ผู้ เ รี ย น 3.แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิง ประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1 . ผลการหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้า งทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่าคะแนนของนักเรียนระหว่างเรียน คะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 66.44 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.85 คิดเป็นร้อยละ 83.06 และคะแนนของนักเรียนทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 132.33 คะแนน ส่ ว น เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น เ ท่ า กั บ 1.80 คิ ด เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 82.71ดังนั้นรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รับ ผู้ เ รีย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 มี ป ร ะ สิท ธิภ า พ 83.06/82.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้นาไปใช้ได้ 2. เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในทักษะการใช้ชีวิต ใน ก า ร ท ด ส อ บ ก่ อ น เรีย น แ ล ะ ห ลัง เ รีย น ข อ ง นั ก เ รีย น ที่ เ รีย น ด้ ว ย รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิง ประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 ( 4 AS Model) พ บ ว่ า ค ะ แ น น ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น ไ ด้ ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 13.81 คะแนนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.72 ทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 17.86 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .73 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t- test) พบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เปรียบเทียบพฤติกรรมทักษะชีวิตของผู้เรียนในการประเมินก่อนเรียนและหลัง เรียน ข อ ง นั ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น ด้ ว ย รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 ( 4 AS Model)พ บ ว่ าค ะแนน ป ระเมินก่ อนเรีย นได้ค ะแนนเฉลี่ย เท่ ากับ 2.97ค ะแน น ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .41 ทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.26 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .50 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t-test) พบว่าคะแนนประเมินเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4.
  • 3. เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้เรียนในการประเมินหลังเรียนกับเกณฑ์ 3.50 ของ นั ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น ด้ ว ย รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทั กษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model) พบว่า หลังเรียนคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.25 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .31 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t- test) พบว่าคะแนนประเมินเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ระดับ .05