SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  71
การจัดการศึกษาออนไลน์ งานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา ส่วนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา Online Education Edit 10 January 2012
ก้าวของการพัฒนาสู่  e-learning  ยุคที่  3 e-learning  นั้นได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาผันแปรไปตาม  generation  ของ   web technology  สอดคล้องกับคำพูดของ  Nicholas Negroponte  ได้กล่าวไว้ว่า  “ อินเทอร์เน็ตสามารถเปลี่ยนแปลง ทุกอย่างได้  และอินเทอร์เน็ตส่งผลให้การศึกษาและการฝึกอบรมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยเช่นกัน ”  การจัดการศึกษา
การศึกษาออนไลน์ เป็นเพียงวิธีการพึ่งพาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร  มาสนับสนุนเพื่อให้เกิดช่องทางการเข้าถึงองค์ความรู้ใหม่ เกิดวิธีการจัดการศึกษาแบบใหม่ วิธีการเรียนรู้ ( ที่น่าสนใจ ) ใหม่ ซึ่งแต่เดิมการศึกษาออนไลน์ รู้จักในชื่อของ  e-learning  ( เน้นในระบบสถานศึกษา ) หรือ  e-training  ( เน้นในระบบการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน / บริษัท ) การจัดการศึกษา
ต่อมา ...  ด้วยกระแสความเจริญของเทคโนโลยีในด้านต่างๆ รวมถึงการบริโภคข่าวสาร การแสวงหา การเรียนรู้ของมนุษย์ มีความต้องการมากขึ้น มีโอกาสเข้าถึงผ่านช่องทางเทคโนโลยีที่ง่ายยิ่งขึ้น ทำให้กระบวนการศึกษาเรียนรู้ มีการหล่อหลอมรวม มีการพัฒนาเกี่ยวพันกัน     e-education  จึงถูกบัญญัติขึ้น เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิตอล สังคมแห่งข้อมูลข่าวสารอย่างแท้จริง การจัดการศึกษา
ICT-Based Learning for Non-formal Education in Thailand  Improve the quality of  Informal education ASEAN Educational Radio& TV  Public  L ibrary ICT for Community Learning Center Partnership networks ONIE ICT ICT ICT ICT
e-education More  channel  one  target
ประเภทของสื่อ / ระบบ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ กระบวนการ
สื่อเสียง ช่องทาง กระบวนการ การประชาสัมพันธ์ 6.  เข้าระบบ  LMS   พร้อมจัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรม ( เป็นระบบกระบวนการศึกษาที่สมบูรณ์ ) Website 1. ออกอากาศทางสถานี วิทยุกระจายเสียง 2. ออกอากาศผ่านระบบ เว็บออนไลน์ 3. ทำเป็น  audio CD 4. ทำเป็นไฟล์เสียง  mp3 ( เข้าระบบคลังและห้องสมุดสื่อ ) 5. ทำเป็น  audio content  บนไฟล์ วิดีโอ เผยแพร่บน  YouTube Digital Library
สื่อวิดีทัศน์ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ Digital Library Website 6.  เข้าระบบ  LMS   พร้อมจัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรม ( เป็นระบบกระบวนการศึกษาที่สมบูรณ์ ) 1. ออกอากาศทางสถานี วิทยุโทรทัศน์ 2. ออกอากาศผ่านระบบ เว็บทีวี / ทีวีออนไลน์ 3. ทำเป็น  Video CD/DVD 4. ทำเป็น   Streaming media  ( เข้าระบบคลังและห้องสมุดสื่อ ) 5. ทำเป็น  Video content  เผยแพร่บน  YouTube กระบวนการ
ประเภทของสื่อ / ระบบ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ Website Knowledge bank หมายเหตุ การจัดกระบวนการเรียนรู้ จะถูกกำหนดไว้ในสื่อสิ่งพิมพ์ 1. จัดทำเป็นเอกสารหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ดำเนินการเผยแพร่สื่อตามระบบ 2. ทำเป็น   e-textbook, หนังสือมัลติมีเดีย  ( multimedia e-book ) สำหรับ  Digital Library 3. ทำเป็น  e-document เข้าคลังสื่อ - หลักสูตร Offline / Online  4. เผยแพร่  download กระบวนการ Digital Library
เอกสารเว็บ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ Web course/content กระบวนการ นำเอกสารเว็บที่สร้างมาจัดเข้าสู่ระบบการเรียนรู้ ทั้งแบบควบคุม และแบบอิสระ มีกระบวนการติดตาม สนับสนุนผู้เรียนต่างๆ อาทิ  web board, e-mail มีสื่อสนับสนุนการเรียนรู้อย่างหลากหลาย รองรับการเรียนรู้เฉพาะเรื่อง หรือการเรียนรู้เต็มระบบ / เงื่อนไข การปรับปรุงข้อมูลเนื้อหาทำได้ตลอดเวลา กำหนดรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมได้ Social network  อาทิ  การสร้างเวทีแสดงความ คิดเห็น เวทีระดมความคิด Learning object e-KS e-paper ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต stand alone
e-learning, may involve the use of internet, CD-Rom, Software, other media and telecommunications e-learning / e-training
Social Network More  channel  one  target
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา Social Network   คือสังคม ในการติดต่อสื่อสาร ในการส่งข่าว พูดคุย สื่อสารกัน ผ่าน เทคโนโลยีเครือข่าย อินเตอร์เน็ต อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  Virtual Community   โดยสมาชิกในกลุ่ม  หรือสังคมนั้นๆ  ไม่จำเป็นต้อง รู้จักตัวตนจริงๆ แต่ มีความสัมพันธ์ รู้เรื่องราวกันและกัน   มีกิจกรรมความ สนใจร่วมกัน มี การ สนทนาที่แสดงถึงแนวทางความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน ตัวอย่างเช่น กระทู้ตามเว็บบอร์ดต่างๆ นั่นถือเป็น  Community  ที่สมาชิกอาจไม่รู้จักกันจริงๆ อยู่ในสถานะของคนแปลกหน้าต่อกัน
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา Social Network   สามารถ นำมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในลักษณะของการแลกเปลี่ยน ความรู้  ( Knowledge Sharing )  การต่อยอดความรู้ การนำเสนอผลงาน การแสดงความคิดเห็น  หรือแม้แต่กระทั่งการทำงานกลุ่มร่วมกัน Social Network  ที่ได้รับความนิยมในขณะนี้ 1 .  MySpace . com 2 .  FaceBook . com 3 .  Orkut . com 4 .  Hi5 . com 5 .  Vkontakte . ru 6 .  Friendster . com 7 .  SkyRock . com 8 .  PerfSpot . com 9 .  Bebo . com 10 .  Studivz . net
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา ปัจจุบันมี เว็บไซต์ที่ให้บริการ  Social Network Service  ( SNS )  มากมาย และแต่ละเว็บต่างคิดค้นพัฒนาเพื่อเข้าถึงและเอาใจผู้ใช้กันอย่างต่อเนื่องมีการพัฒนาระบบเสริมระบบเพิ่มเติมอย่างหลากหลาย ซึ่งแต่ละ  SNS  ต่างก็มีลักษณะเด่นที่แตกต่างกันไป ซึ่งเราสามารถนำมาประยุกต์ใช้ SNS  เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนความรู้และทำงานร่วมกันได้  โดยกลุ่มหลักๆ ของ  SNS  เพื่อการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้แบ่งออกได้ดังนี้
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา 1 .  กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่  “ ตัวตน ” เว็บไซต์เหล่านี้ใช้สำหรับนำเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของตนเองทางอินเตอร์เน็ต หรือผู้ใช้สามารถเขียน  blog  สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพื่อนในห้องเรียน และสร้างเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ขึ้นมาได้ ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้คือ  myspace . com, hi5 . com  และ  facebook . com  เป็นต้น
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา 2 .  กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่  “ ผลงาน ” เราสามารถใช้เว็บไซต์เหล่านี้ในการนำเสนอผลงานของตัวเอง ผลงานของกลุ่ม ได้ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวิดีโอ รูปภาพ หรือเสียงตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้ เช่น  YouTube . com, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr . com, Multiply . com  เป็นต้น
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา 3 .  กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจตรงกัน มีลักษณะเป็น  Online Bookmarking  หรือ  Social Bookmarking  โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่เราจะทำ  Bookmark  เว็บที่เราชอบ หรือบทความที่สนใจ เก็บไว้ในเครื่องของเราคนเดียว สู้เรา  Bookmark  เก็บไว้บนเว็บจะดีกว่า เพื่อจะได้แบ่งให้เพื่อนๆ คนอื่นดูได้ด้วย และเราก็จะได้รู้ด้วยว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก เป็นที่น่าสนใจ โดยดูได้จากจำนวนตัวเลขที่เว็บไซต์นั้นถูก  Bookmark  เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ ตัวอย่างเว็บไซต์นี้ ได้แก่  del . icio . us, Digg, Zickr, duocore . tv  เป็นต้น
การนำ  Social network  มาใช้ในการจัดการศึกษา 4 .  กลุ่มเว็บไซต์ที่ใช้ทำงานร่วมกัน เป็น  SNS  ที่เปิดให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มเข้ามานำ เสนอข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ ได้  WikiPedia   เป็นสารานุกรมต่อยอด ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแก้ไขบทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทำให้เกิดเป็นสารานุกรมออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และเหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย Google Maps   สร้างแผนที่ของตัวเอง หรือแชร์แผนที่ให้คนอื่นได้ด้วย จึงทำให้มีสถานที่สำคัญ หรือสถานที่ต่างๆ ถูกปักหมุดเอาไว้ พร้อมกับข้อมูลของสถานที่นั้นๆ ไว้แสดงผลจากการค้นหาได้อีกด้วย
Social network  ที่ กศน .  เคยนำมาใช้ ในอดีต สำนักงาน กศน .  เคยนำเอาเทคโนโลยี  Social network  มาใช้งานอย่างหลากหลาย ทั้งแบบที่ให้ใช้งานฟรี แบบเช่าบริการ และแบบจ้างสร้างระบบ อาทิ  Google Apps, GotoKnow, NFE Teamwork Solution, NFE Portal web  และอื่นๆ  …
Social network  ที่น่าสนใจ Hi5 เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมสูงสุด แห่งหนึ่งของโลก ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี  2002  โดยคุณ  Ramu Yalamanchi  ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง  CEO  ของ  hi5  นั่นเอง  Hi5  เป็นระบบอินเทอร์เน็ตออนไลน์ที่ใช้วิธีการเชิญเพื่อนจากรายชื่อ  e-mail ของเราเพื่อให้สมัครเข้ามาเป็นเพื่อนของเรา โดยระบบจะทำการแอดเมล์เพื่อนให้อย่างง่ายดาย  รูปแบบทั่วไปภายใน  hi5   จะมีทั้งการโชว์รูปภาพ แสดงความเป็นตัวตน มีส่วนตกแต่งรูปภาพ  , Skin ,Wallpaper , Cursor ,  ภาพเคลื่อนไหว ...
Social network  ที่น่าสนใจ My Space   My Space  คือ  Web Blog  ที่ทาง  msn  ให้ผู้ที่ใช้  msn  ได้เข้าไปใช้บริการกัน โดย  My Space  มีลักษณะ เฉพาะคล้ายๆ  Dairy  แต่จะมีความหลากหลายมากกว่า เพราะในบล็อก ผู้ที่เป็นเจ้าของเนื้อที่นั้น จะเป็นผู้ที่ดูแลเนื้อหา ว่า จะให้เป็นแนวไหน หรือว่าจะเป็นเนื้อเรื่องอะไร ซึ่งลักษณะเด่นแบบนี้จึงมีผู้นำเอา  My Space  มาทำเป็น  Web Dairy  กัน
Social network  ที่น่าสนใจ Face Book  มีลักษณะเดียวกับ  myspace  ที่อนุญาตให้ผู้ใช้สร้าง หน้าเว็บของตัวเอง และใส่ข้อมูลต่างๆ ตามต้องการ   โดยระบบสามารถค้นหาผู้ใช้ที่มีความสนใจตรงกัน ส่วนประกอบหลัก คือส่วนของข้อมูลผู้ใช้ ส่วนแสดงจำนวนเพื่อนในกลุ่ม กิจกรรมที่สนใจ และพื้นที่สาธารณะ  ( ที่เรียกว่า  wall)  ซึ่งผู้เข้าเยี่ยมชมสามารถเขียนข้อความไว้ได้ ข้อความบน  wall  นี้ผู้ใช้สามารถกำหนดให้เฉพาะเพื่อนในกลุ่มเห็นหรือเปิดให้ทุกคนเห็นก็ได้ นอกจากนี้  facebook  อนุญาตให้ผู้ใช้งานอัพโหลดรูป และให้ผู้ใช้ตั้งกลุ่มทางสังคม หรือแฟนคลับต่างๆ ได้ด้วย ปัจจุบัน  facebook  มีอิทธิพลค่อนข้างสูงในสังคม  Social network
Social network  ที่น่าสนใจ Twitter คือเว็บไซต์ที่ให้บริการ  blog  สั้น หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า   Micro-Blog  ซึ่งสามารถให้ผู้ใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพื่อน ๆ ที่ติดตาม   twitter  ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตามเค้าอยู่ได้ ซึ่ง  twitter  ก็ถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ประเภท  social Media  ด้วยเช่นกัน ในรูปแบบของ   twitter  นี้ ที่เรียกว่าเป็น  blog  สั้นก็เพราะว่า  twitter  ให้เขียนข้อความได้ครั้งละไม่เกิน  140  ตัวอักษร ซึ่งข้อความนี้เมื่อเขียนแล้วจะไปแสดงอยู่ในหน้า  profile  ของผู้เขียนนั่นเอง และจะทำการส่งข้อความนี้ไปยังสมาชิกที่ติดตามผู้เขียนคนนั้นอยู่   (follower)  โดยอัตโนมัติ
Social network  ที่น่าสนใจ Bebo  เป็น เครือข่ายทางสังคมที่น่าสนใจ ที่ถูกออกแบบมาดี โทนสีของเว็บไซต์ดูแล้วสบายตา ใช้งานง่าย มีการจัดระบบติดต่อผู้ใช้ได้ดี คนที่ไม่มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้แบบไม่ติดขัด รูปร่างหน้าตาของบล็อกดูไม่รกหูรกตา รองรับการปรับแต่งได้หลากหลาย
Mobile Learning More  channel  one  target
การเรียนรู้บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ( mobile learning ) m-Learning เป็นการจัดการศึกษา / การเรียนรู้ด้วยตนเองด้วย  Courseware   ที่ออกแบบการนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย  ( wireless telecommunication network)  และเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา โดยผ่านสัญญาณแบบไร้สายที่มีบริการตามจุดต่างๆของสถานศึกษาหรือชุมชนเมือง  ( Access Point)  ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ตลอดเวลา อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ ที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบ เครือข่าย ได้แก่  Notebook Computer,  Portable computer, PDA/PAD Phone, Tablet PC,  Cell Phones /Cellular Phone
องค์ประกอบของ  mobile learning 1.  ข้อมูลคำอธิบายต่าง ๆ เกี่ยวกับบทเรียน  ( context data)   ได้แก่ คำอธิบายบทเรียน คู่มือการใช้งาน การช่วยเหลือ และข้อมูลที่จำเป็นอื่นๆ เพื่อสนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้
องค์ประกอบของ  mobile learning 2.  เครื่องมือสนับสนุนที่ชาญฉลาด  ( intelligent support engine)   ได้แก่ เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย รวมถึงระบบบริหารจัดการบทเรียน  ( mLMS)  เริ่มตั้งแต่การลงทะเบียน นำเสนอ จัดการ ติดต่อสื่อสาร ติดตามผล และประเมินผล รวมถึงองค์ประกอบอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือ  Tablet  หรือคอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยเครื่องมือดังกล่าวจะทำงานสัมพันธ์กับ  task model  และ  user model  ที่ได้มีการออกแบบเพื่อรองรับรูปแบบการการนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
องค์ประกอบของ  mobile learning 3.  หน่วยเก็บเนื้อหาบทเรียน  ( content repository)   ได้แก่ ส่วนของเนื้อหาบทเรียน รวมทั้งแบบฝึกหัด / แบบทดสอบ และส่วนข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอดไปยังผู้เรียน
องค์ประกอบของ  mobile learning 4.  ส่วนของการติดต่อกับผู้เรียน  ( user interface)   ได้แก่ ส่วนของการปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนผ่านแป้นพิมพ์และจอภาพ
จะร่วมมือเพื่อจัดการศึกษาอย่างไร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ต้นทุนระบบ ต้นทุนเทคโนโลยีการผลิต
จะร่วมมือเพื่อจัดการศึกษาอย่างไร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ต้นทุนเทคโนโลยีเครือข่าย ต้นทุนเทคโนโลยีสื่อ
แล้วเราจะสร้าง หรือ ทำ อย่างไร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เริ่มต้นที่ร่วมใจ จะทำอะไร
education e-education
e online education สถาบัน กศน . ภาคเหนือ 3.School Online 2.Developing A Lesson 1.Course design
Course Design Developing A Lesson School Online online education สถาบัน กศน . ภาคเหนือ
Course Design Developing A Lesson School Online online education ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],นอกระบบ ความแตกต่างของการจัดการศึกษาออนไลน์ อัธยาศัย หลักสูตร เนื้อหา
นอกระบบ ความแตกต่างของการจัดการศึกษาออนไลน์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อัธยาศัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กลุ่มเป้าหมาย และวิธีการเรียนรู้
ระบบและฐานข้อมูลการเรียนรู้ นอกระบบ ความแตกต่างของการจัดการศึกษาออนไลน์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อัธยาศัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],นอกระบบ อัธยาศัย สรุป ความแตกต่างของการจัดการศึกษาออนไลน์ ในบริบทของ กศน .  และสถาบัน กศน . ภาคเหนือ
Course Design Developing A Lesson School Online ลำดับขั้นตอนการจัดการศึกษาออนไลน์
Design Developing A Lesson School Online Course ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],บทบาทหน้าที่
บทบาทหน้าที่ Course Design A Lesson School Online Developing ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Course Design Developing A Lesson School Online ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],บทบาทหน้าที่
Design Developing A Lesson School Online Course ,[object Object],[object Object],ที่มาของเนื้อหา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คณะทำงาน
คณะทำงาน Course Design A Lesson School Online Developing ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],งานในภาพรวม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Course Design Developing A Lesson School Online ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],บริหารจัดการระบบ บริหารจัดการหลักสูตร ห้องเรียน จัดการเรียนการสอน จัดการชั้นเรียน ครูช่วยสอน คณะทำงาน
Course Design Developing A Lesson School Online ,[object Object],[object Object],ทะเบียนนักศึกษา / วุฒิบัตร ประชาสัมพันธ์ คณะทำงาน
Course Design Developing A Lesson School Online กิจกรรม  /  หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
Course Design Developing A Lesson School Online กิจกรรม  /  หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
เวลาดำเนินการจัดทำเนื้อหาประมาณ  1-2  เดือนต่อเรื่อง กิจกรรม  /  หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
เวลาดำเนินการ   web-document  ประมาณ  2-3  เดือนต่อเรื่อง กิจกรรม  /  หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
เวลาดำเนินการชั้นเรียนประมาณ  1-3  เดือนต่อเรื่อง กิจกรรม  /  หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
การจัดการศึกษา ( ต่อเนื่อง ) ออนไลน์ สถาบัน กศน . ภาคเหนือ System Admin Course Admin Learner / Student Instructor / Teacher Assistant Server : northeducation
องค์ประกอบในการจัดการศึกษาออนไลน์ สถาบัน กศน .  ภาคเหนือ ภายใต้ กรอบมาตรฐานของ  SCORM ** ** ***
องค์ประกอบในการจัดการศึกษาออนไลน์ สถาบัน กศน .  ภาคเหนือ ภายใต้ กรอบมาตรฐานของ  SCORM การบริหารจัดการหลักสูตร และชั้นเรียน จัดหาครูประจำหลักสูตร ประสานครู จาก ศบอ . ประสาน ภาค  5  ภาค และจาก ศบอ . นำเทคโนโลยี มาเสริม
Rutherford and Grana (1995) also focused their research on academic staff fear in the face of technology. They identified nine areas that could prevent staff from making changes that would enable them to integrate technology into their teaching: The fear of e-teaching
The fear of e-teaching Fear of change  Fear of time commitment  Fear of appearing incompetent  Fear of techno lingo  Fear of techno failure  Fear of not knowing where to start  Fear of being married to bad choices  Fear of having to move backward to go forward  Fear of rejection or reprisals
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],e-learning / e-training
A good e-learning course always makes sure that the course participant plays an active role in the learning process. Interaction between the participant and the course can for instance be done by the use of interactive content. An e-learning course is not made by just putting plain text on a computer screen. Use the advantages of the medium (computer) by enriching the e-learning course, and the learning experience, with moving images, video material, papers, websites, presentations, audio files, (interactive) animations Active form of e-learning
New models of learning are radically changing our concept of education.   Education for human development in the learning society requires collaborative learning, and focuses on building knowledge. These changes arise form shifts in educational goals, and from new concepts in learning and knowledge creation. E-education
[object Object],[object Object],[object Object],E-education
[object Object],[object Object],[object Object],E-education
E-education involves e-teaching and e-learning along with the various administrative and strategic measures needed to support teaching and learning in an Internet environment. It will incorporate a local, regional, national and international view of education. E-education
เริ่มดำเนินการ เมื่อ 25  กุมภาพันธ์  2550 สมาชิก 17  จังหวัดภาคเหนือ 4190  ข่าว เว็บไซต์หลัก ประชาสัมพันธ์ รับส่งไฟล์ ฐาน  E-training 2   www.northnfe.net เว็ปไซต์หลักของหน่วยงาน ด้านข่าวสาร กิจกรรม ประชาสัมพันธ์
เริ่มดำเนินการ เมื่อ 26  สิงหาคม  2548 สมาชิก ฐานอัธยาศัย มี  18  หลักสูตร สมาชิก  1 , 244  คนทั่วไป  19 , 466  คน ฐานฝึกอบรม มี  13  หลักสูตร จำนวน  3 , 720  คน www.northeducation.ac.th เว็ปไซต์ฐานการศึกษาออนไลน์ กศ . ตามอัธยาศัย การฝึกอบรม
เริ่มดำเนินการ เมื่อ 21  สิงหาคม  2553 สมาชิก 1 ,290   ราย ( ปี  53  มี  78  คน ) หลักสูตรบนระบบ 202  หลักสูตร ( ส่วนจัดฯเป็นผู้นำขึ้น ) www.northnfe.org เว็ปไซต์คลังสื่อและหลักสูตร กศน . สนับสนุนการจัดการศึกษา กศน .

Contenu connexe

Tendances

Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
TeenhiphopPrint25
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1M'suKanya MinHyuk
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Tangkwa Tom
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำWilaiporn Seehawong
 
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wikiเติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย WikiSatapon Yosakonkun
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPrint25
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 

Tendances (16)

Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
Teenhiphop
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1
 
1บท1
1บท11บท1
1บท1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wikiเติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Social network
Social networkSocial network
Social network
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ขนิษฐา
ขนิษฐาขนิษฐา
ขนิษฐา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

En vedette

การจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Learning
การจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Learningการจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Learning
การจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-LearningWatthanakorn Thaworn
 
Create m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่ง
Create m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่งCreate m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่ง
Create m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่งDr Poonsri Vate-U-Lan
 
สไลด์แชร์
สไลด์แชร์สไลด์แชร์
สไลด์แชร์puipui28
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearningpui003
 
Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร Pises Tantimala
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2Wilaiporn7
 
Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)
Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)
Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)Mnr Prn
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
Mobile learning powerpoint
Mobile learning powerpointMobile learning powerpoint
Mobile learning powerpointSylvia Suh
 

En vedette (17)

E education
E educationE education
E education
 
การจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Learning
การจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Learningการจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Learning
การจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E-Learning
 
Introduction to OOE
Introduction to OOEIntroduction to OOE
Introduction to OOE
 
201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update
 
isd ADDiE model
isd ADDiE modelisd ADDiE model
isd ADDiE model
 
Create m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่ง
Create m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่งCreate m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่ง
Create m-learning การสร้างเอ็มเลิร์นนิ่ง
 
สไลด์แชร์
สไลด์แชร์สไลด์แชร์
สไลด์แชร์
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
 
M learning
M learningM learning
M learning
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
 
Satya Update CV
Satya Update CVSatya Update CV
Satya Update CV
 
Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)
Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)
Mobile Learning Generation (PPT of EDUCA 2014)
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)
 
Mobile learning powerpoint
Mobile learning powerpointMobile learning powerpoint
Mobile learning powerpoint
 

Similaire à 2012education

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรPongtep Bungkilo
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPoonyapat Wongpong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 

Similaire à 2012education (20)

บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
3 3
3 33 3
3 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Internet-Social Media
Internet-Social MediaInternet-Social Media
Internet-Social Media
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
3 32222
3 322223 32222
3 32222
 

2012education

  • 2. ก้าวของการพัฒนาสู่ e-learning ยุคที่ 3 e-learning นั้นได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาผันแปรไปตาม generation ของ web technology สอดคล้องกับคำพูดของ Nicholas Negroponte ได้กล่าวไว้ว่า “ อินเทอร์เน็ตสามารถเปลี่ยนแปลง ทุกอย่างได้ และอินเทอร์เน็ตส่งผลให้การศึกษาและการฝึกอบรมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยเช่นกัน ” การจัดการศึกษา
  • 3. การศึกษาออนไลน์ เป็นเพียงวิธีการพึ่งพาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร มาสนับสนุนเพื่อให้เกิดช่องทางการเข้าถึงองค์ความรู้ใหม่ เกิดวิธีการจัดการศึกษาแบบใหม่ วิธีการเรียนรู้ ( ที่น่าสนใจ ) ใหม่ ซึ่งแต่เดิมการศึกษาออนไลน์ รู้จักในชื่อของ e-learning ( เน้นในระบบสถานศึกษา ) หรือ e-training ( เน้นในระบบการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน / บริษัท ) การจัดการศึกษา
  • 4. ต่อมา ... ด้วยกระแสความเจริญของเทคโนโลยีในด้านต่างๆ รวมถึงการบริโภคข่าวสาร การแสวงหา การเรียนรู้ของมนุษย์ มีความต้องการมากขึ้น มีโอกาสเข้าถึงผ่านช่องทางเทคโนโลยีที่ง่ายยิ่งขึ้น ทำให้กระบวนการศึกษาเรียนรู้ มีการหล่อหลอมรวม มีการพัฒนาเกี่ยวพันกัน e-education จึงถูกบัญญัติขึ้น เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิตอล สังคมแห่งข้อมูลข่าวสารอย่างแท้จริง การจัดการศึกษา
  • 5. ICT-Based Learning for Non-formal Education in Thailand Improve the quality of Informal education ASEAN Educational Radio& TV Public L ibrary ICT for Community Learning Center Partnership networks ONIE ICT ICT ICT ICT
  • 6. e-education More channel one target
  • 7. ประเภทของสื่อ / ระบบ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ กระบวนการ
  • 8. สื่อเสียง ช่องทาง กระบวนการ การประชาสัมพันธ์ 6. เข้าระบบ LMS พร้อมจัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรม ( เป็นระบบกระบวนการศึกษาที่สมบูรณ์ ) Website 1. ออกอากาศทางสถานี วิทยุกระจายเสียง 2. ออกอากาศผ่านระบบ เว็บออนไลน์ 3. ทำเป็น audio CD 4. ทำเป็นไฟล์เสียง mp3 ( เข้าระบบคลังและห้องสมุดสื่อ ) 5. ทำเป็น audio content บนไฟล์ วิดีโอ เผยแพร่บน YouTube Digital Library
  • 9. สื่อวิดีทัศน์ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ Digital Library Website 6. เข้าระบบ LMS พร้อมจัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรม ( เป็นระบบกระบวนการศึกษาที่สมบูรณ์ ) 1. ออกอากาศทางสถานี วิทยุโทรทัศน์ 2. ออกอากาศผ่านระบบ เว็บทีวี / ทีวีออนไลน์ 3. ทำเป็น Video CD/DVD 4. ทำเป็น Streaming media ( เข้าระบบคลังและห้องสมุดสื่อ ) 5. ทำเป็น Video content เผยแพร่บน YouTube กระบวนการ
  • 10. ประเภทของสื่อ / ระบบ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ Website Knowledge bank หมายเหตุ การจัดกระบวนการเรียนรู้ จะถูกกำหนดไว้ในสื่อสิ่งพิมพ์ 1. จัดทำเป็นเอกสารหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ดำเนินการเผยแพร่สื่อตามระบบ 2. ทำเป็น e-textbook, หนังสือมัลติมีเดีย ( multimedia e-book ) สำหรับ Digital Library 3. ทำเป็น e-document เข้าคลังสื่อ - หลักสูตร Offline / Online 4. เผยแพร่ download กระบวนการ Digital Library
  • 11. เอกสารเว็บ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ Web course/content กระบวนการ นำเอกสารเว็บที่สร้างมาจัดเข้าสู่ระบบการเรียนรู้ ทั้งแบบควบคุม และแบบอิสระ มีกระบวนการติดตาม สนับสนุนผู้เรียนต่างๆ อาทิ web board, e-mail มีสื่อสนับสนุนการเรียนรู้อย่างหลากหลาย รองรับการเรียนรู้เฉพาะเรื่อง หรือการเรียนรู้เต็มระบบ / เงื่อนไข การปรับปรุงข้อมูลเนื้อหาทำได้ตลอดเวลา กำหนดรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมได้ Social network อาทิ การสร้างเวทีแสดงความ คิดเห็น เวทีระดมความคิด Learning object e-KS e-paper ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต stand alone
  • 12. e-learning, may involve the use of internet, CD-Rom, Software, other media and telecommunications e-learning / e-training
  • 13. Social Network More channel one target
  • 14. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา
  • 15. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา Social Network คือสังคม ในการติดต่อสื่อสาร ในการส่งข่าว พูดคุย สื่อสารกัน ผ่าน เทคโนโลยีเครือข่าย อินเตอร์เน็ต อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Virtual Community โดยสมาชิกในกลุ่ม หรือสังคมนั้นๆ ไม่จำเป็นต้อง รู้จักตัวตนจริงๆ แต่ มีความสัมพันธ์ รู้เรื่องราวกันและกัน มีกิจกรรมความ สนใจร่วมกัน มี การ สนทนาที่แสดงถึงแนวทางความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน ตัวอย่างเช่น กระทู้ตามเว็บบอร์ดต่างๆ นั่นถือเป็น Community ที่สมาชิกอาจไม่รู้จักกันจริงๆ อยู่ในสถานะของคนแปลกหน้าต่อกัน
  • 16. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา Social Network สามารถ นำมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในลักษณะของการแลกเปลี่ยน ความรู้ ( Knowledge Sharing ) การต่อยอดความรู้ การนำเสนอผลงาน การแสดงความคิดเห็น หรือแม้แต่กระทั่งการทำงานกลุ่มร่วมกัน Social Network ที่ได้รับความนิยมในขณะนี้ 1 . MySpace . com 2 . FaceBook . com 3 . Orkut . com 4 . Hi5 . com 5 . Vkontakte . ru 6 . Friendster . com 7 . SkyRock . com 8 . PerfSpot . com 9 . Bebo . com 10 . Studivz . net
  • 17. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา ปัจจุบันมี เว็บไซต์ที่ให้บริการ Social Network Service ( SNS ) มากมาย และแต่ละเว็บต่างคิดค้นพัฒนาเพื่อเข้าถึงและเอาใจผู้ใช้กันอย่างต่อเนื่องมีการพัฒนาระบบเสริมระบบเพิ่มเติมอย่างหลากหลาย ซึ่งแต่ละ SNS ต่างก็มีลักษณะเด่นที่แตกต่างกันไป ซึ่งเราสามารถนำมาประยุกต์ใช้ SNS เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนความรู้และทำงานร่วมกันได้ โดยกลุ่มหลักๆ ของ SNS เพื่อการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้แบ่งออกได้ดังนี้
  • 18. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา 1 . กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ ตัวตน ” เว็บไซต์เหล่านี้ใช้สำหรับนำเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของตนเองทางอินเตอร์เน็ต หรือผู้ใช้สามารถเขียน blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพื่อนในห้องเรียน และสร้างเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ขึ้นมาได้ ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้คือ myspace . com, hi5 . com และ facebook . com เป็นต้น
  • 19. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา 2 . กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ ผลงาน ” เราสามารถใช้เว็บไซต์เหล่านี้ในการนำเสนอผลงานของตัวเอง ผลงานของกลุ่ม ได้ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวิดีโอ รูปภาพ หรือเสียงตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้ เช่น YouTube . com, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr . com, Multiply . com เป็นต้น
  • 20. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา 3 . กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจตรงกัน มีลักษณะเป็น Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่เราจะทำ Bookmark เว็บที่เราชอบ หรือบทความที่สนใจ เก็บไว้ในเครื่องของเราคนเดียว สู้เรา Bookmark เก็บไว้บนเว็บจะดีกว่า เพื่อจะได้แบ่งให้เพื่อนๆ คนอื่นดูได้ด้วย และเราก็จะได้รู้ด้วยว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก เป็นที่น่าสนใจ โดยดูได้จากจำนวนตัวเลขที่เว็บไซต์นั้นถูก Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ ตัวอย่างเว็บไซต์นี้ ได้แก่ del . icio . us, Digg, Zickr, duocore . tv เป็นต้น
  • 21. การนำ Social network มาใช้ในการจัดการศึกษา 4 . กลุ่มเว็บไซต์ที่ใช้ทำงานร่วมกัน เป็น SNS ที่เปิดให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มเข้ามานำ เสนอข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ ได้ WikiPedia เป็นสารานุกรมต่อยอด ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแก้ไขบทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทำให้เกิดเป็นสารานุกรมออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และเหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย Google Maps สร้างแผนที่ของตัวเอง หรือแชร์แผนที่ให้คนอื่นได้ด้วย จึงทำให้มีสถานที่สำคัญ หรือสถานที่ต่างๆ ถูกปักหมุดเอาไว้ พร้อมกับข้อมูลของสถานที่นั้นๆ ไว้แสดงผลจากการค้นหาได้อีกด้วย
  • 22. Social network ที่ กศน . เคยนำมาใช้ ในอดีต สำนักงาน กศน . เคยนำเอาเทคโนโลยี Social network มาใช้งานอย่างหลากหลาย ทั้งแบบที่ให้ใช้งานฟรี แบบเช่าบริการ และแบบจ้างสร้างระบบ อาทิ Google Apps, GotoKnow, NFE Teamwork Solution, NFE Portal web และอื่นๆ …
  • 23. Social network ที่น่าสนใจ Hi5 เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมสูงสุด แห่งหนึ่งของโลก ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี 2002 โดยคุณ Ramu Yalamanchi ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง CEO ของ hi5 นั่นเอง Hi5 เป็นระบบอินเทอร์เน็ตออนไลน์ที่ใช้วิธีการเชิญเพื่อนจากรายชื่อ e-mail ของเราเพื่อให้สมัครเข้ามาเป็นเพื่อนของเรา โดยระบบจะทำการแอดเมล์เพื่อนให้อย่างง่ายดาย รูปแบบทั่วไปภายใน hi5 จะมีทั้งการโชว์รูปภาพ แสดงความเป็นตัวตน มีส่วนตกแต่งรูปภาพ , Skin ,Wallpaper , Cursor , ภาพเคลื่อนไหว ...
  • 24. Social network ที่น่าสนใจ My Space My Space คือ Web Blog ที่ทาง msn ให้ผู้ที่ใช้ msn ได้เข้าไปใช้บริการกัน โดย My Space มีลักษณะ เฉพาะคล้ายๆ Dairy แต่จะมีความหลากหลายมากกว่า เพราะในบล็อก ผู้ที่เป็นเจ้าของเนื้อที่นั้น จะเป็นผู้ที่ดูแลเนื้อหา ว่า จะให้เป็นแนวไหน หรือว่าจะเป็นเนื้อเรื่องอะไร ซึ่งลักษณะเด่นแบบนี้จึงมีผู้นำเอา My Space มาทำเป็น Web Dairy กัน
  • 25. Social network ที่น่าสนใจ Face Book มีลักษณะเดียวกับ myspace ที่อนุญาตให้ผู้ใช้สร้าง หน้าเว็บของตัวเอง และใส่ข้อมูลต่างๆ ตามต้องการ โดยระบบสามารถค้นหาผู้ใช้ที่มีความสนใจตรงกัน ส่วนประกอบหลัก คือส่วนของข้อมูลผู้ใช้ ส่วนแสดงจำนวนเพื่อนในกลุ่ม กิจกรรมที่สนใจ และพื้นที่สาธารณะ ( ที่เรียกว่า wall) ซึ่งผู้เข้าเยี่ยมชมสามารถเขียนข้อความไว้ได้ ข้อความบน wall นี้ผู้ใช้สามารถกำหนดให้เฉพาะเพื่อนในกลุ่มเห็นหรือเปิดให้ทุกคนเห็นก็ได้ นอกจากนี้ facebook อนุญาตให้ผู้ใช้งานอัพโหลดรูป และให้ผู้ใช้ตั้งกลุ่มทางสังคม หรือแฟนคลับต่างๆ ได้ด้วย ปัจจุบัน facebook มีอิทธิพลค่อนข้างสูงในสังคม Social network
  • 26. Social network ที่น่าสนใจ Twitter คือเว็บไซต์ที่ให้บริการ blog สั้น หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า Micro-Blog ซึ่งสามารถให้ผู้ใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพื่อน ๆ ที่ติดตาม twitter ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตามเค้าอยู่ได้ ซึ่ง twitter ก็ถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ประเภท social Media ด้วยเช่นกัน ในรูปแบบของ twitter นี้ ที่เรียกว่าเป็น blog สั้นก็เพราะว่า twitter ให้เขียนข้อความได้ครั้งละไม่เกิน 140 ตัวอักษร ซึ่งข้อความนี้เมื่อเขียนแล้วจะไปแสดงอยู่ในหน้า profile ของผู้เขียนนั่นเอง และจะทำการส่งข้อความนี้ไปยังสมาชิกที่ติดตามผู้เขียนคนนั้นอยู่ (follower) โดยอัตโนมัติ
  • 27. Social network ที่น่าสนใจ Bebo เป็น เครือข่ายทางสังคมที่น่าสนใจ ที่ถูกออกแบบมาดี โทนสีของเว็บไซต์ดูแล้วสบายตา ใช้งานง่าย มีการจัดระบบติดต่อผู้ใช้ได้ดี คนที่ไม่มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้แบบไม่ติดขัด รูปร่างหน้าตาของบล็อกดูไม่รกหูรกตา รองรับการปรับแต่งได้หลากหลาย
  • 28. Mobile Learning More channel one target
  • 29. การเรียนรู้บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ( mobile learning ) m-Learning เป็นการจัดการศึกษา / การเรียนรู้ด้วยตนเองด้วย Courseware ที่ออกแบบการนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย ( wireless telecommunication network) และเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา โดยผ่านสัญญาณแบบไร้สายที่มีบริการตามจุดต่างๆของสถานศึกษาหรือชุมชนเมือง ( Access Point) ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ตลอดเวลา อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ ที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบ เครือข่าย ได้แก่ Notebook Computer, Portable computer, PDA/PAD Phone, Tablet PC, Cell Phones /Cellular Phone
  • 30. องค์ประกอบของ mobile learning 1. ข้อมูลคำอธิบายต่าง ๆ เกี่ยวกับบทเรียน ( context data) ได้แก่ คำอธิบายบทเรียน คู่มือการใช้งาน การช่วยเหลือ และข้อมูลที่จำเป็นอื่นๆ เพื่อสนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้
  • 31. องค์ประกอบของ mobile learning 2. เครื่องมือสนับสนุนที่ชาญฉลาด ( intelligent support engine) ได้แก่ เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย รวมถึงระบบบริหารจัดการบทเรียน ( mLMS) เริ่มตั้งแต่การลงทะเบียน นำเสนอ จัดการ ติดต่อสื่อสาร ติดตามผล และประเมินผล รวมถึงองค์ประกอบอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาผ่านจอภาพของโทรศัพท์มือถือ Tablet หรือคอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยเครื่องมือดังกล่าวจะทำงานสัมพันธ์กับ task model และ user model ที่ได้มีการออกแบบเพื่อรองรับรูปแบบการการนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
  • 32. องค์ประกอบของ mobile learning 3. หน่วยเก็บเนื้อหาบทเรียน ( content repository) ได้แก่ ส่วนของเนื้อหาบทเรียน รวมทั้งแบบฝึกหัด / แบบทดสอบ และส่วนข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอดไปยังผู้เรียน
  • 33. องค์ประกอบของ mobile learning 4. ส่วนของการติดต่อกับผู้เรียน ( user interface) ได้แก่ ส่วนของการปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนผ่านแป้นพิมพ์และจอภาพ
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 38. e online education สถาบัน กศน . ภาคเหนือ 3.School Online 2.Developing A Lesson 1.Course design
  • 39. Course Design Developing A Lesson School Online online education สถาบัน กศน . ภาคเหนือ
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45. Course Design Developing A Lesson School Online ลำดับขั้นตอนการจัดการศึกษาออนไลน์
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53. Course Design Developing A Lesson School Online กิจกรรม / หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
  • 54. Course Design Developing A Lesson School Online กิจกรรม / หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
  • 55. เวลาดำเนินการจัดทำเนื้อหาประมาณ 1-2 เดือนต่อเรื่อง กิจกรรม / หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
  • 56. เวลาดำเนินการ web-document ประมาณ 2-3 เดือนต่อเรื่อง กิจกรรม / หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
  • 57. เวลาดำเนินการชั้นเรียนประมาณ 1-3 เดือนต่อเรื่อง กิจกรรม / หน้าที่หลัก สื่อประกอบหลักสูตร เงื่อนไขของสถานศึกษา
  • 58. การจัดการศึกษา ( ต่อเนื่อง ) ออนไลน์ สถาบัน กศน . ภาคเหนือ System Admin Course Admin Learner / Student Instructor / Teacher Assistant Server : northeducation
  • 59. องค์ประกอบในการจัดการศึกษาออนไลน์ สถาบัน กศน . ภาคเหนือ ภายใต้ กรอบมาตรฐานของ SCORM ** ** ***
  • 60. องค์ประกอบในการจัดการศึกษาออนไลน์ สถาบัน กศน . ภาคเหนือ ภายใต้ กรอบมาตรฐานของ SCORM การบริหารจัดการหลักสูตร และชั้นเรียน จัดหาครูประจำหลักสูตร ประสานครู จาก ศบอ . ประสาน ภาค 5 ภาค และจาก ศบอ . นำเทคโนโลยี มาเสริม
  • 61. Rutherford and Grana (1995) also focused their research on academic staff fear in the face of technology. They identified nine areas that could prevent staff from making changes that would enable them to integrate technology into their teaching: The fear of e-teaching
  • 62. The fear of e-teaching Fear of change Fear of time commitment Fear of appearing incompetent Fear of techno lingo Fear of techno failure Fear of not knowing where to start Fear of being married to bad choices Fear of having to move backward to go forward Fear of rejection or reprisals
  • 63.
  • 64. A good e-learning course always makes sure that the course participant plays an active role in the learning process. Interaction between the participant and the course can for instance be done by the use of interactive content. An e-learning course is not made by just putting plain text on a computer screen. Use the advantages of the medium (computer) by enriching the e-learning course, and the learning experience, with moving images, video material, papers, websites, presentations, audio files, (interactive) animations Active form of e-learning
  • 65. New models of learning are radically changing our concept of education. Education for human development in the learning society requires collaborative learning, and focuses on building knowledge. These changes arise form shifts in educational goals, and from new concepts in learning and knowledge creation. E-education
  • 66.
  • 67.
  • 68. E-education involves e-teaching and e-learning along with the various administrative and strategic measures needed to support teaching and learning in an Internet environment. It will incorporate a local, regional, national and international view of education. E-education
  • 69. เริ่มดำเนินการ เมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2550 สมาชิก 17 จังหวัดภาคเหนือ 4190 ข่าว เว็บไซต์หลัก ประชาสัมพันธ์ รับส่งไฟล์ ฐาน E-training 2 www.northnfe.net เว็ปไซต์หลักของหน่วยงาน ด้านข่าวสาร กิจกรรม ประชาสัมพันธ์
  • 70. เริ่มดำเนินการ เมื่อ 26 สิงหาคม 2548 สมาชิก ฐานอัธยาศัย มี 18 หลักสูตร สมาชิก 1 , 244 คนทั่วไป 19 , 466 คน ฐานฝึกอบรม มี 13 หลักสูตร จำนวน 3 , 720 คน www.northeducation.ac.th เว็ปไซต์ฐานการศึกษาออนไลน์ กศ . ตามอัธยาศัย การฝึกอบรม
  • 71. เริ่มดำเนินการ เมื่อ 21 สิงหาคม 2553 สมาชิก 1 ,290 ราย ( ปี 53 มี 78 คน ) หลักสูตรบนระบบ 202 หลักสูตร ( ส่วนจัดฯเป็นผู้นำขึ้น ) www.northnfe.org เว็ปไซต์คลังสื่อและหลักสูตร กศน . สนับสนุนการจัดการศึกษา กศน .