SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
1
การถือศีลอดชดใช้เราะมะฎอน
ควรทาก่อนหรือหลังการถือศีลอดสุนนะฮ์ 6 วัน?
ถาม
การเกาะฎออ์ถือศีลอดเดือนเราะมะฎอนที่ขาด ควรถือก่อนหรือหลังการถือศีลอดสุนนะฮ์ 6
วันของเดือนเชาวาล?
ตอบ
ปัญหานี้ คือปัญหาขัดแย้งอีกเรื่องหนึ่งซึ่งมีมานาน, ตั้งแต่ยุคของเศาะหาบะฮ์มาแล้ว
ท่านอิบนุอับบาส, ท่านมุอาซ บินญะบัล, และบางรายงานจากท่านอะบูฮุร็อยเราะฮ์
เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม มีทัศนะว่า อนุญาตให้ถือศีลอดชดใช้เราะมะฎอน ในลักษณะยืดเวลาออกไปก็ได้,
และไม่ต่อเนื่องกันก็ได้
ท่านหญิงอาอิชะฮ์, ท่านอิบนุอุมัรฺ,ท่านอะลี อิบนุอะบีฏอลิบ,ท่านอุมัร, และบางรายงานจากท่าน
อะบูฮุร็อยเราะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม มีทัศนะว่า ให้รีบถือศีลอดชดใช้เดือนเราะมะฎอนที่ขาดไป,
และให้ถือต่อเนื่องกันเลย หากมีการขาดศีลอดเราะมะฎอนหลายวัน1
อนึ่งมีการกล่าวอ้างว่า2 มีรายงานที่ถูกต้องจากท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า
ท่านเคยขาดศีลอดเดือนเราะมะฎอน แล้วมาถือชดใช้ในเดือนชะอ์บาน (ของปี ถัดมา), ทั้งๆ
ที่ ท่ า น ก็ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ถื อ ศี ล อ ด ช ด ใ ช้ โ ด ย รี บ ด่ ว น ไ ด้
ข้ออ้างดังกล่าวนี้ถือว่าคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงของหะดีษที่ถูกต้องดังการบันทึกของท่านบุคอรีและท่า
นมุ สลิมที่ รายงาน มาว่า ท่ าน หญิ งอาอิ ชะฮ์ เราะฎิ ยัลลอฮุ อั นฮา แ จ้ งว่า
ที่ท่ าน มิ ได้ ถื อศีลอ ดชดใช้ โดยรีบด่ วน ก็เพ ราะท่ าน ไม่ สาม ารถจะทาอย่างนั้ น ได้
ดังที่ผู้เขียนจะได้นาหะดีษบทนี้มาเสนอให้ทราบกันต่อไป
สาหรับหลักฐานของแต่ละทัศนะที่ขัดแย้งกัน มีดังต่อไปนี้
1
นี่คือบทสรุปจาก “ฟัตหุลบารี” โดย อิบนุหะญัรอัลอัสเกาะลานี เล่ม 4 หน้า 189
2
“ฟิกฮุสสุนนะฮ์” โดย สัยยิด สาบิก เล่ม 1 หน้า 397
2
ทัศนะที่หนึ่ง ถือว่า อนุ ญาตให้ ถือศีลอดชดใช้ เดือน เราะมะฎอนล่าช้าก็ได้ ,
โดยอ้างหลักฐานดังต่อไปนี้
(1). พระองค์อัลลอฮ์ ได้ตรัสไว้ว่า
﴿‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬ ‫ن‬َ‫م‬َ‫ف‬ُ‫ك‬ۡ‫و‬َ ‫ضًا‬ِِ‫ر‬‫م‬‫ى‬ َ‫ل‬َ‫ع‬‫ن‬ِ‫م‬ ٌ‫ة‬‫ر‬‫د‬ِ‫ع‬َ‫ف‬ ٍَِ‫ف‬ َ‫س‬‫و‬ََ ٍ‫م‬‫ر‬‫َّي‬ََِ‫خ‬﴾
“ดังนั้นหากสูเจ้าคนใดเจ็บป่ วย หรืออยู่ในภาวะเดินทาง ก็ให้เขาชดใช้ (ศีลอดที่ขาดนั้น)
ในวันอื่น”3
คากล่าวของพระองค์อัลลอฮ์ ที่ว่า “ให้เขาชดใช้ในวันอื่น” เป็ นคาสั่งรวมๆ, คือ
มิ ไ ด้ ก าห น ด ชั ด เจ น ว่ า ค าว่ า “วัน อื่ น ” ที่ ก ล่ าว นั้ น คื อ วั น ไห น ? เร็วห รื อ ช้ า
ใ ห้ ต่ อ เ นื่ อ ง ห รื อ ถื อ บ้ า ง ห ยุ ด บ้ า ง จึ ง ถื อ ว่ า
ข้อ ความดังกล่าวเป็ นการผ่อ นผัน ใน เรื่องนี้ ให้ ผู้ ที่ขาดศีลอดในเดือน เราะมะฎอ น
จะถือศีลดอดชดใช้ในวันไหนก็ได้ตามความสมัครใจของเขา
(2). ชัยค์สัยยิด สาบิก ได้อ้างหะดีษบทหนึ่ง4 โดยรายงานมาจากท่านอิบนุอุมัร เราะฎิยัลลอฮุ
อันฮุมา ว่า
ُ‫ر‬‫اّلل‬ ‫ر‬‫ل‬ َ‫ص‬ ‫ر‬ ِ‫ِب‬‫ر‬‫ن‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ن‬‫و‬َ‫ا‬‫ع‬َ‫ب‬ َ‫َت‬ َ‫ء‬‫آ‬ َ‫ش‬ ْ‫ن‬‫ا‬َۡ ، َ‫ق‬‫ر‬َِ‫ف‬ َ‫ء‬‫آ‬ َ‫ش‬ ْ‫ن‬‫ا‬ : َ‫ن‬ ًََ‫م‬َ‫ر‬ِ‫ء‬ ًََ‫ق‬ ْ ِ‫ِف‬ َ‫ل‬ َ‫ق‬ َ‫ر‬‫َّل‬ َ‫س‬َۡ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬
ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวในเรื่องการเกาะฎออ์ศีลอดเดือน
เราะม ะฎ อนว่า “ห าก เข าป ระสงค์จะแย ก (คือ ถือ บ้ างหยุดบ้ าง) ก็ให้ เขาแ ยก ,
และหากเขาประสงค์จะถือต่อเนื่อง ก็ให้เขาต่อเนื่อง”
แ ต่ ท่ าน อั ลอั ลบ านี ได้ ก ล่ าววิจ ารณ์ ว่ า5 ห ะดี ษ บ ท นี้ เป็ น ห ะดี ษ เฎ าะอี ฟ ,
เพราะใน สายรายงาน ของมั นมี ชื่อของ “สุฟยาน บินบัชร์” ซึ่งเป็ นบุ คคลมั จญ์ฮู ล คือ
ไม่มีใครทราบหรือเคยบันทึกประวัติเอาไว้
3
สูเราะฮ์ อัลบะเกาะเราะฮ์ อายะฮ์ที่ 184
4
บันทึกโดยอัดดารุกุฏนีย์ ใน “อัสสุนัน” เล่ม 2 หน้า 193
5
“ตะมามุลมินนะฮ์” โดย อัลอัลบานี หน้า 423
3
สรุปแล้ว หลักฐานที่มีน้าหนักที่สุดสาหรับผู้อนุญาตให้ถือศีลอดชดใช้เดือนเราะมะฎอนล่าช้าได้
และไม่ต่อเนื่องได้ ก็คือ ข้อความกว้างๆ ของอัลกุรอานข้างต้นเพียงบทเดียว
ทัศนะที่สอง ถือว่า ไม่อนุญาตให้ ล่าช้าในการถือศีลอดชดใช้เดือนเราะมะฎอน
เว้นแต่มีอุปสรรคจนทาให้ชดใช้รีบด่วนไม่ได้ โดยอ้างหลักฐานดังต่อไปนี้
(1). พระองค์อัลลอฮ์ ได้ตรัสไว้ว่า
﴿‫و‬ُ‫ع‬ِ‫ر‬ َ‫س‬َْۡ‫ا‬‫ا‬‫ى‬َ‫ل‬‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ة‬َِِ‫ف‬‫غ‬َ‫م‬ُ‫ك‬ِ‫ب‬‫ر‬‫ر‬ٍ‫ة‬‫ر‬‫ن‬‫ـ‬َ‫ج‬َۡ﴾
“และสูเจ้าจงรีบเร่งกันไปสู่การอภัยโทษจากพระผู้อภิบาลของสูเจ้า และ (ไปสู่) สวรรค์
(ของพระองค์)”6
ท่านอัลอัลบานีย์ ได้กล่าวว่า7
ُِْ‫م‬‫و‬‫أل‬ْ‫ا‬ٍَۡ‫ر‬ْ‫ذ‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ ‫ر‬‫ال‬‫ا‬ ِ‫ة‬‫ـ‬َ‫ع‬َ‫ب‬ َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ب‬ْ‫و‬ُ‫ج‬ُۡ ْ ِ‫ِض‬َ‫ت‬ْ‫ق‬َ‫ض‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬َ‫ر‬ َ‫س‬ُ‫م‬ْ‫ل‬ ِ‫ِب‬ ُّ‫ـي‬ِ‫ن‬َُِْ‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬
“คาสั่งจากอัลกุรอานที่ให้รีบเร่งกัน (ไปสู่การอภัยโทษจากอัลลอฮ์) บ่งบอกความหมายว่า
วาญิบจะต้องให้ต่อเนื่อง (คือ รีบเร่งในการเกาะฎออ์ศีลอดรเราะมะฎอน) ยกเว้นมีอุปสรรค”
ท่านอิบนุหัซม์ ก็ได้กล่าวในลักษณะที่คล้ายคลึงกันนี้ 8
โดยนัยนี้ ผู้ซึ่งมีศีลอดติดค้างจากเดือนเราะมะฎอน แล้วมัวพะวงอยู่กับการถือศีลอดสุนนะฮ์ 6
วั น ห า ก เ ข า เ สี ย ชี วิ ต ล ง ไ ป ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า นี้
เขาก็จะมีบาปฐานมิได้รีบเร่งไปสู่การอภัยโทษจากพระองค์อัลลอฮ์ ตามที่พระองค์ได้สั่งไว้
ด้วยการรีบชดใช้ศีลอดที่ติดค้างอยู่
อายะฮ์ดังกล่าวนี้จึงถือเป็นหลักฐานที่มีน้าหนักมากที่สุดของทัศนะนี้
(2). ท่านยะห์ยา บินสะอีด, ได้รายงานจากท่านอะบูสะละมะฮ์, ซึ่งรายงานมาจากท่านหญิง
อาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ซึ่งกล่าวว่า
َ‫ن‬ َ‫ب‬ْ‫ع‬ َ‫ش‬ ْ ِ‫ِف‬ ‫ر‬‫ال‬‫ا‬ ُ‫ه‬‫ـ‬َ‫ي‬ ًِْ‫ق‬‫و‬َ ْ‫ن‬َ ُ‫ع‬ْ‫ي‬ ِ‫ط‬َ‫ت‬ ْ‫س‬َ َ‫م‬َ‫ف‬ ،َ‫ن‬ ًََ‫م‬َ‫ر‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ ُ‫م‬ْ‫و‬ ‫ر‬‫لص‬‫ا‬ ‫ر‬ َ‫َل‬َ‫ع‬ ُ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ك‬َ‫ي‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬
6
สูเราะฮ์ อาลิอิมรอน อายะฮ์ที่ 133
7
“ตะมามุลมินนะฮ์” โดย อัลอัลบานี หน้า 424
8
“อัลมุหัลลา” เล่ม 6 หน้า 261
4
“ฉันเคยติดค้างศีลอดจากเราะมะฎอน, แล้วฉันก็ไม่สามารถที่จะชดใช้มันได้
นอกจากในเดือนชะอ์บาน (ของปีถัดไป)”
ซึ่งท่านยะห์ ยา บินสะอีด อัลอันศอรี (เสียชีวิต ฮ.ศ. 144) ได้ กล่าวเพิ่มเติมว่า
สาเหตุก็เนื่องมาจากการที่ท่านหญิงอาอิชะฮ์ต้องปรนนิบัติท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
เป็นประจานั่นเอง9
อีกสานวนหนึ่งของหะดีษบทนี้ที่ท่านมุหัมมัดบินอิบรอฮีม,ได้รายงานมาจากท่านอะบีสะละมะฮ์,
จากท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ซึ่งกล่าวว่า
ْ‫ق‬َ‫ت‬ ْ‫ن‬‫و‬َ َ‫ل‬َ‫ع‬ُ‫ر‬ِ‫د‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ َ‫م‬َ‫ف‬ ،َ‫ر‬‫َّل‬ َ‫س‬َۡ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ل‬ َ‫ص‬ ِ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ال‬ ِ‫ل‬ ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ ِ‫ن‬َ‫م‬َ‫ز‬ ْ ِ‫ِف‬ ُِِ‫ط‬ْ‫ف‬ُ‫ت‬َ‫ل‬ َ‫اَن‬َ‫د‬ ْ‫ح‬‫ا‬ ْ‫َت‬‫ن‬ َ‫َك‬ ْ‫ن‬‫ا‬ِ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫ع‬َ‫م‬ ُ‫ه‬َ‫ي‬ ًِ
ُ‫ن‬ َ‫ب‬ْ‫ع‬ َ‫ش‬ َ ِ‫ِت‬ْ‫آ‬َ‫ض‬ ‫ر‬‫َّت‬َ‫ح‬ َ‫ر‬‫َّل‬ َ‫س‬َۡ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ل‬ َ‫ص‬ ِ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ل‬‫ا‬
“ขอยืนยันว่า คนหนึ่งจากพวกเรา (ภริยาของท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม)
เคยขาดศีลอดเราะมะฎอน ในสมัยของท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
แล้วนางก็ไม่สามารถที่จะชดใช้มันพร้อมกับท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้
จนกระทั่งต้องถึงเดือนชะอ์บาน”10
หะดีษบทนี้ ท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา เองได้ระบุเหตุผลไว้อย่างชัดเจนว่า
สาเหตุที่ท่านมิได้รีบด่วนในการถือศีลอดชดใช้ เพราะท่านไม่สามารถจะปฏิบัติมันได้ อันหมายถึง
ว่าท่ า น มี อุ ป ส ร รค บ าง ป ระ ก าร ( ซึ่ งท่ า น ย ะ ห์ ย า บิ น ส ะ อี ด อ ธิ บ าย ว่ า
เพราะท่านต้องคอยปรนนิบัติรับใช้ท่าน นะบี) จนไม่สามารถจะชดใช้มันโดยรวดเร็วได้
ซึ่ งจ า ก เห ตุ ผ ลดั งก ล่ า ว ท าใ ห้ เข้ า ใจ ได้ ว่ า ถ้ า ห า ก ไ ม่ เพ ร าะ มี อุ ป ส ร ร ค แ ล้ ว
ท่านก็คงจะต้องรีบด่วนในการถือศีลอดชดใช้แน่นอน
ดังนั้นคาอธิบายหะดีษบทนี้ของท่านอิบนุหะญัรอัลอัสเกาะลานีที่ว่า11
ِ‫ث‬ْ‫ض‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬َۡ.ٍ‫ر‬ْ‫ذ‬ُ‫ع‬ِ ْ‫َْي‬‫غ‬ِ‫ل‬َْۡ ٍ‫ر‬ْ‫ذ‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬ ٌ‫ء‬‫ا‬َ‫و‬ َ‫س‬ ،‫ا‬‫ق‬َ‫ل‬ْ‫ط‬ُ‫م‬ َ‫ن‬ ًََ‫م‬َ‫ر‬ ِ‫ء‬ ًََ‫ق‬ِ ْ‫ْي‬ِ‫خ‬ْ‫آ‬َ‫ت‬ ِ‫ز‬‫ا‬َ‫و‬َ‫ج‬ َ‫ل‬َ‫ع‬ ٌ َ‫َل‬َ‫ال‬ِ‫د‬
9
บันทึกโดยบุคอรี หะดีษเลขที่ 1950; มุสลิม หะดีษเลขที่ 151/1146; และมาลิก บินอะนัส ใน “อัลมุวัฏเฏาะอ์”
หะดีษเลขที่ 693
10
บันทึกโดยมุสลิม หะดีษเลขที่ 152/1146
11
“ฟัตหุลบารี” เล่มที่ 4 หน้า 191
5
“แ ล ะ ใ น ห ะ ดี ษ บ ท นี้ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น บ่ ง ชี้ ว่ า
อนุ ญ าตให้ ยืดเวลาก ารเกาะฎอ อ์ศี ลอ ดเราะม ะฎอ น ออ กไป ได้ โดยไม่ มี เงื่อน ไข ,
ไม่ว่าจะเพราะมีอุปสรรคหรือไม่ก็ตาม”
จึงเป็นเรื่องขัดแย้งกับข้อเท็จจริงและคากล่าวของท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา
เอ งใน ห ะดี ษ นี้ ที่ ก ล่าวว่า สาเห ตุ ที่ ท่ าน ต้ อ งล่ าช้ าใ น ก ารเก าะฎ อ อ์ ศี ลอ ด ที่ ข าด
ก็เพราะท่านไม่มีความสามารถ อันแสดงถึงว่า ท่านมีอุปสรรคนั่นเอง
สรุปแล้ว ในทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน เห็นว่า การรีบถือศีลอดชดใช้ในเดือนเราะมะฎอน
ก่อนการถือศีลอดสุนนะฮ์เดือนเชาวาล จะเป็นวาญิบหรือไม่? ผู้เขียนไม่แน่ใจ, แต่ที่แน่ใจก็คือ
เป็ น สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ด้ ว ย ม ติ เ อ ก ฉั น ท์ ข อ ง บ ร ร ด า นั ก วิ ช า ก า ร
แม้กระทั่งจากผู้ที่อนุญาตให้ยืดเวลาในการถือศีลอดชดใช้ออกไปได้ก็ตาม
ท่านอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานี ได้กล่าวไว้ว่า12
َ‫ل‬ْۡ‫و‬َ َ‫ع‬ُ‫ب‬ َ‫ت‬‫ر‬‫ت‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ن‬‫و‬َ ِ‫ق‬ْ‫ض‬ِِْ‫ف‬‫ـ‬‫ر‬‫ت‬‫ل‬ِ‫ل‬ َ‫ن‬ ُْۡ ْ‫ْي‬ِ‫ج‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ف‬ِ‫ل‬َ‫ت‬َْ‫َي‬ َ‫ال‬َۡ
“และบรรดาผู้ที่มีทัศนะว่า อนุญาตให้มีการเกาะฎออ์ศีลอดเราะมะฎอนในแบบไม่ต่อเนื่องได้
ก็ไม่มีความขัดแย้งกันเลยว่า การเกาะฎออ์ศีลอดดังกล่าวในแบบต่อเนื่องเป็นสิ่งที่ดีที่สุด”
อย่างน้อย หากจะเปรียบเทียบคุณค่าและน้าหนักระหว่างศีลอดฟัรฎูที่ขาด กับศีลอดสุนนะฮ์ 6
วันนั้น มันก็ไม่แตกต่างอะไรกับการเอาเพชรไปแลกกับพลอย
เคราะห์หามยามซวย เกิดเสียชีวิตขึ้นมาในช่วง 6 วันนั้ น ขณะที่กาลังถือศีลอดสุนะฮ์อยู่
แล้วเราจะเอาอะไรไปแก้ตัวกับอัลลอฮ์ เรื่องไม่ยอมชดใช้ศีลอดวาญิบทั้งๆ ที่มีเวลาแล้ว?
. ‫عَّل‬َ ‫ۡهللا‬
‫محمود‬‫بن‬‫عبد‬‫هللا‬‫الهواىس‬
tel. 08 66859660
12
“ฟัตหุลบารี” เล่ม 4 หน้า 189
6
: 39328‫ۡاحدة‬ ‫بنية‬ ‫شوال‬ ‫ست‬ ‫مع‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫مجع‬ ‫ضصح‬ ‫ال‬
‫تة‬‫س‬‫ل‬‫ا‬ ‫صوم‬َ ‫ن‬َ ‫جيوز‬ ‫هل‬‫ِف‬ ‫فهي‬ ‫فطِت‬َ ‫اليت‬ ‫َّيم‬‫األ‬ ‫ء‬ ً‫بق‬ ‫ية‬‫ن‬‫ل‬‫ا‬ ‫نفس‬‫ب‬ ‫شوال‬ ‫من‬ ‫َّيم‬َ
‫؟‬ ‫يض‬‫حل‬‫ا‬ ‫سبب‬‫ب‬ ‫ن‬ ً‫رم‬.
‫هلل‬ ‫امحلد‬
‫ا‬‫ل‬‫َكم‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫م‬ ‫ي‬‫ص‬ ‫بعد‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫تكون‬ ‫ال‬ ‫شوال‬ ‫من‬ ‫َّيم‬َ ‫تة‬‫س‬ ‫م‬ ‫ي‬‫ص‬ ‫ن‬‫أل‬ ، ‫ذكل‬ ‫ضصح‬ ‫ال‬.
( "‫م‬ ‫ي‬‫لص‬‫ا‬ ‫ۡى‬ ‫"فت‬ ‫ِف‬ ‫ميني‬‫ث‬‫ع‬ ‫ابن‬ ‫يخ‬‫ش‬‫ل‬‫ا‬ ‫ل‬ ‫ق‬438: (
"‫من‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫يه‬‫عل‬ۡ ‫شوراء‬ ‫ع‬ ‫ضوم‬ َۡ ، ‫فة‬ِ‫ع‬ ‫ضوم‬ ‫م‬ ‫ص‬‫من‬‫نوى‬ ‫لو‬ ‫لكن‬ ، ‫يح‬‫حص‬ ‫مه‬ ‫ي‬‫فص‬ ‫ن‬ ً‫رم‬
‫ضوم‬ ِ‫ج‬َۡ ، ‫عِفة‬ ‫ضوم‬ ِ‫ج‬َ :‫ان‬ِ‫ج‬‫األ‬ ‫هل‬ ‫حصل‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫عن‬ ‫يوم‬‫ل‬‫ا‬ ‫هذا‬ ‫ضصوم‬ ‫ن‬َ
‫م‬َ ، ‫ن‬ ً‫بِم‬ ‫بط‬‫ت‬ِ‫ي‬ ‫ال‬ ‫اذلي‬ ‫املطلق‬ ‫تطوع‬‫ل‬‫ا‬ ‫لصوم‬ ‫بة‬‫س‬‫لن‬‫ِب‬ ‫هذا‬ ، ‫ء‬ً‫الق‬ ِ‫ج‬َ ‫مع‬ ‫شوراء‬ ‫ع‬
‫ص‬ ‫فلو‬ ،‫ئه‬ ً‫ق‬ ‫بعد‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫تكون‬ ‫ۡال‬ ‫ن‬ ً‫بِم‬ ‫بطة‬‫ت‬ِ‫م‬ ‫هن‬ ‫ف‬ ‫ال‬‫و‬‫ش‬ ‫من‬ ‫َّيم‬َ‫تة‬‫س‬ ‫م‬ ‫ي‬‫ص‬‫قبل‬ ‫هم‬
‫بعه‬‫ت‬َ ‫مث‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫م‬ ‫ص‬ ‫(من‬ : ‫ۡسَّل‬ ‫يه‬‫عل‬ ‫هللا‬ ‫صل‬‫نِب‬‫ل‬‫ا‬ ‫لقول‬ ، ‫جِه‬َ ‫عل‬ ‫حيصل‬ ‫مل‬ ‫ء‬ ً‫الق‬
‫حَّت‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫ا‬ ‫مئ‬ ‫ص‬ ‫ضعد‬ ‫ال‬ ‫نه‬ ‫ف‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫يه‬‫عل‬ ‫من‬ ‫ن‬َ ‫ۡمعلوم‬ )ِ‫ادله‬ ‫م‬ ‫ص‬ ‫من‬‫فك‬ ‫ال‬‫و‬‫ش‬ ‫من‬ ‫ست‬‫ب‬
‫اهـ‬ "‫ء‬ ً‫الق‬ ‫يمكل‬.
‫اب‬‫و‬‫ۡج‬ ‫ال‬‫ؤ‬‫س‬ ‫سلم‬‫اال‬
http://islamqa.info/ar/39328
7
การตั้งเจตนาถือศีลอด 6
วันเชาวาลพร้อมกับชดใช้ที่ค้างจากเราะมะฎอนด้วยนียะฮ์เดียว
ถาม
ฉันสามารถที่จะถือศีลอดหกวันในเดือนเชาวาลด้วยการตั้งเจตนา (นียะฮ์) พร้อมๆ
กับนียะฮ์ถือศีลอดชดใช้ของเดือนเราะมะฎอนที่ค้างอยู่ด้วยสาเหตุของการมาประจาเดือนได้หรือไม่ ?
ตอบ
อั ล หั ม ดุ ลิ ล ล า ฮ์ ก า ร ท า เ ช่ น นั้ น ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
เพราะการถือศีลอดหกวันในเดือนเชาวาลจะไม่สมบูรณ์นอกจากต้องถือศีลอดของเดือนเราะมะฎอนให้เส
ร็จเสียก่อน
ชัยค์อิบนุอุษัยมีน ได้กล่าวใน “ฟะตาวา อัศศิยาม” หน้า 438 ว่า
“ผู้ใดที่ถือศีลอดวันอะเราะฟะฮ์ หรือ วันอาชูรออ์ ทั้งๆ ที่ยังต้องถือศีลอดชดใช้ของเดือน
เราะมะฎอนอยู่ การถือศีลอดนั้นย่อมใช้ได้ แต่ถ้าหากเขาตั้งเจตนาว่าจะถือศีลอดในวันเหล่านี้พร้อมๆ
กั บ ก า ร ช ด ใ ช้ ข อ ง เ ดื อ น เ ร า ะ ม ะ ฎ อ น เ ข า ก็ จ ะ ไ ด้ ส อ ง ผ ล บุ ญ คื อ
ผลบุญของวันอะเราะฟะฮ์หรือวันอาชูรออ์พร้อมกับผลบุญของการชดใช้ของเดือนเราะมะฎอน
อั น นี้ ส าห รั บ ก าร ถื อ ศี ล อ ด สุ น น ะ ฮ์ ทั่ ว ๆ ไ ป ที่ ไม่ เกี่ ย ว พั น กั บ เร า ะ ม ะ ฎ อ น
ส่วน ก ารถือ ศีลอด หก วัน ใน เดือ นเชาวาลนั้ น (แ ตก ต่างจากก ารถือ ศีลอด ทั่วไป )
เ พ ร า ะ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว พั น กั บ เ ร า ะ ม ะ ฎ อ น
ก ล่าว คื อ จ ะไม่ มี น อ ก จ าก ต้ อ งถื อ ศี ลอ ด ช ด ใช้ ข อ งเดื อ น เราะม ะฎ อ น เสีย ก่ อ น
ถ้าหากถือก่อนที่จะชดของเราะมะฎอนก็จะไม่ได้รับผลบุญนั้น (ตามความเห็นหนึ่งของมัซฮับหันบะลีย์ –
ผู้ แ ป ล) เพ ราะห ะดี ษ ขอ งท่ าน น ะบี ศ็อ ลลั ลลอ ฮุ อ ะลั ย ฮิ วะสัลลั ม ที่ มี ค วาม ว่ า
“ผู้ใดที่ถือศีลอดเราะมะฎอนแล้วถือศีลอดตามหลังจากนั้ นหกวันในเดือนเชาวาล
นั่ น เ ส มื อ น ว่ า เข า ไ ด้ ถื อ ศี ล อ ด ถึ ง ห นึ่ ง ปี ” ( บั น ทึ ก โ ด ย มุ ส ลิ ม 1984)
8
แ ล ะ เป็ น ที่ รู้ กั น ว่ า ผู้ ใ ด ที่ ยั งต้ อ งมี ภ า ร ะ ช ด ใ ช้ ข อ งเ ดื อ น เร า ะ ม ะ ฎ อ น
เขาจะไม่นับว่าถือศีลอดเราะมะฎอนครบจนกว่าจะชดใช้จนสมบูรณ์”

Contenu connexe

En vedette

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์
Om Muktar
 
التنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيل
التنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيلالتنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيل
التنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيل
Om Muktar
 
صندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعة
صندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعةصندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعة
صندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعة
Om Muktar
 
Shia and Shiaism, Their Genesis and Evolution
Shia and Shiaism, Their Genesis and EvolutionShia and Shiaism, Their Genesis and Evolution
Shia and Shiaism, Their Genesis and Evolution
Om Muktar
 
What is Salafiyyah? | Why Salafiyyah? | What makes you a Salafi?
What is Salafiyyah?  |  Why Salafiyyah?  |  What makes you a Salafi?What is Salafiyyah?  |  Why Salafiyyah?  |  What makes you a Salafi?
What is Salafiyyah? | Why Salafiyyah? | What makes you a Salafi?
Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...
Om Muktar
 
اعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
اعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمداعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
اعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
Om Muktar
 

En vedette (20)

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การทำงานในวันศุกร์
 
A Critique of Shakeel Begg and his Incoherent Lecture Entitled ‘Neo-Salafiyyah’
A Critique of Shakeel Begg and his Incoherent Lecture Entitled ‘Neo-Salafiyyah’A Critique of Shakeel Begg and his Incoherent Lecture Entitled ‘Neo-Salafiyyah’
A Critique of Shakeel Begg and his Incoherent Lecture Entitled ‘Neo-Salafiyyah’
 
The Ruling Concerning Mawlid An-Nabawi (The Celebration of Prophet's Birthday)
The Ruling Concerning Mawlid An-Nabawi (The Celebration of Prophet's Birthday)The Ruling Concerning Mawlid An-Nabawi (The Celebration of Prophet's Birthday)
The Ruling Concerning Mawlid An-Nabawi (The Celebration of Prophet's Birthday)
 
براءة أهل السنة من الوقيعة في علماء الأمة
براءة أهل السنة من الوقيعة في علماء الأمةبراءة أهل السنة من الوقيعة في علماء الأمة
براءة أهل السنة من الوقيعة في علماء الأمة
 
الرد على المنطقيين
الرد على المنطقيينالرد على المنطقيين
الرد على المنطقيين
 
التعليق البليغ على رد الشيخ أحمد بن يحيى النجمي على مادح التبليغ
التعليق البليغ على رد الشيخ أحمد بن يحيى النجمي على مادح التبليغالتعليق البليغ على رد الشيخ أحمد بن يحيى النجمي على مادح التبليغ
التعليق البليغ على رد الشيخ أحمد بن يحيى النجمي على مادح التبليغ
 
مختصر العلو للعلي الغفار للذهبي
مختصر العلو للعلي الغفار للذهبيمختصر العلو للعلي الغفار للذهبي
مختصر العلو للعلي الغفار للذهبي
 
التنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيل
التنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيلالتنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيل
التنكيل بما في تأنيب الكوثري من الأباطيل
 
المورد العذب الزلال فيما انتقد على بعض المناهج الدعوية من العقائد والأعمال
المورد العذب الزلال فيما انتقد على بعض المناهج الدعوية من العقائد والأعمالالمورد العذب الزلال فيما انتقد على بعض المناهج الدعوية من العقائد والأعمال
المورد العذب الزلال فيما انتقد على بعض المناهج الدعوية من العقائد والأعمال
 
الصفات الألهية في الكتاب والسنة النبوية في ضوء الإثبات والتنزيه
الصفات الألهية في الكتاب والسنة النبوية في ضوء الإثبات والتنزيه الصفات الألهية في الكتاب والسنة النبوية في ضوء الإثبات والتنزيه
الصفات الألهية في الكتاب والسنة النبوية في ضوء الإثبات والتنزيه
 
صندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعة
صندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعةصندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعة
صندوق تدعيم الصحة العامة (في تايلاند)-علي جمعة
 
رياض الجنة في الرد على أعداء السنة ، ومعه الطليعة في الرد على غلاة الشيعة ، ح...
رياض الجنة في الرد على أعداء السنة ، ومعه الطليعة في الرد على غلاة الشيعة ، ح...رياض الجنة في الرد على أعداء السنة ، ومعه الطليعة في الرد على غلاة الشيعة ، ح...
رياض الجنة في الرد على أعداء السنة ، ومعه الطليعة في الرد على غلاة الشيعة ، ح...
 
براءة الأئمة الأربعة من مسائل المتكلمين المبتدعة
براءة الأئمة الأربعة من مسائل المتكلمين المبتدعةبراءة الأئمة الأربعة من مسائل المتكلمين المبتدعة
براءة الأئمة الأربعة من مسائل المتكلمين المبتدعة
 
Shia and Shiaism, Their Genesis and Evolution
Shia and Shiaism, Their Genesis and EvolutionShia and Shiaism, Their Genesis and Evolution
Shia and Shiaism, Their Genesis and Evolution
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
 
What is Salafiyyah? | Why Salafiyyah? | What makes you a Salafi?
What is Salafiyyah?  |  Why Salafiyyah?  |  What makes you a Salafi?What is Salafiyyah?  |  Why Salafiyyah?  |  What makes you a Salafi?
What is Salafiyyah? | Why Salafiyyah? | What makes you a Salafi?
 
شرح رسالة العبودية
شرح رسالة العبوديةشرح رسالة العبودية
شرح رسالة العبودية
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ของสตรีที่ไม่มีม...
 
اعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
اعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمداعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
اعتقاد الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
 
CEO WORLD_29-04-2015_IESF
CEO WORLD_29-04-2015_IESFCEO WORLD_29-04-2015_IESF
CEO WORLD_29-04-2015_IESF
 

Similaire à การถือศีลอดชดใช้กับถือศีลอด 6 วัน ควรทำก่อน, หลัง, พร้อมกัน?

Similaire à การถือศีลอดชดใช้กับถือศีลอด 6 วัน ควรทำก่อน, หลัง, พร้อมกัน? (6)

ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 
num28
num28num28
num28
 
ด.รนิตร์
ด.รนิตร์ด.รนิตร์
ด.รนิตร์
 

Plus de Om Muktar

พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Om Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
Om Muktar
 

Plus de Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 

การถือศีลอดชดใช้กับถือศีลอด 6 วัน ควรทำก่อน, หลัง, พร้อมกัน?

  • 1. 1 การถือศีลอดชดใช้เราะมะฎอน ควรทาก่อนหรือหลังการถือศีลอดสุนนะฮ์ 6 วัน? ถาม การเกาะฎออ์ถือศีลอดเดือนเราะมะฎอนที่ขาด ควรถือก่อนหรือหลังการถือศีลอดสุนนะฮ์ 6 วันของเดือนเชาวาล? ตอบ ปัญหานี้ คือปัญหาขัดแย้งอีกเรื่องหนึ่งซึ่งมีมานาน, ตั้งแต่ยุคของเศาะหาบะฮ์มาแล้ว ท่านอิบนุอับบาส, ท่านมุอาซ บินญะบัล, และบางรายงานจากท่านอะบูฮุร็อยเราะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม มีทัศนะว่า อนุญาตให้ถือศีลอดชดใช้เราะมะฎอน ในลักษณะยืดเวลาออกไปก็ได้, และไม่ต่อเนื่องกันก็ได้ ท่านหญิงอาอิชะฮ์, ท่านอิบนุอุมัรฺ,ท่านอะลี อิบนุอะบีฏอลิบ,ท่านอุมัร, และบางรายงานจากท่าน อะบูฮุร็อยเราะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม มีทัศนะว่า ให้รีบถือศีลอดชดใช้เดือนเราะมะฎอนที่ขาดไป, และให้ถือต่อเนื่องกันเลย หากมีการขาดศีลอดเราะมะฎอนหลายวัน1 อนึ่งมีการกล่าวอ้างว่า2 มีรายงานที่ถูกต้องจากท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า ท่านเคยขาดศีลอดเดือนเราะมะฎอน แล้วมาถือชดใช้ในเดือนชะอ์บาน (ของปี ถัดมา), ทั้งๆ ที่ ท่ า น ก็ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ถื อ ศี ล อ ด ช ด ใ ช้ โ ด ย รี บ ด่ ว น ไ ด้ ข้ออ้างดังกล่าวนี้ถือว่าคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงของหะดีษที่ถูกต้องดังการบันทึกของท่านบุคอรีและท่า นมุ สลิมที่ รายงาน มาว่า ท่ าน หญิ งอาอิ ชะฮ์ เราะฎิ ยัลลอฮุ อั นฮา แ จ้ งว่า ที่ท่ าน มิ ได้ ถื อศีลอ ดชดใช้ โดยรีบด่ วน ก็เพ ราะท่ าน ไม่ สาม ารถจะทาอย่างนั้ น ได้ ดังที่ผู้เขียนจะได้นาหะดีษบทนี้มาเสนอให้ทราบกันต่อไป สาหรับหลักฐานของแต่ละทัศนะที่ขัดแย้งกัน มีดังต่อไปนี้ 1 นี่คือบทสรุปจาก “ฟัตหุลบารี” โดย อิบนุหะญัรอัลอัสเกาะลานี เล่ม 4 หน้า 189 2 “ฟิกฮุสสุนนะฮ์” โดย สัยยิด สาบิก เล่ม 1 หน้า 397
  • 2. 2 ทัศนะที่หนึ่ง ถือว่า อนุ ญาตให้ ถือศีลอดชดใช้ เดือน เราะมะฎอนล่าช้าก็ได้ , โดยอ้างหลักฐานดังต่อไปนี้ (1). พระองค์อัลลอฮ์ ได้ตรัสไว้ว่า ﴿‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬ ‫ن‬َ‫م‬َ‫ف‬ُ‫ك‬ۡ‫و‬َ ‫ضًا‬ِِ‫ر‬‫م‬‫ى‬ َ‫ل‬َ‫ع‬‫ن‬ِ‫م‬ ٌ‫ة‬‫ر‬‫د‬ِ‫ع‬َ‫ف‬ ٍَِ‫ف‬ َ‫س‬‫و‬ََ ٍ‫م‬‫ر‬‫َّي‬ََِ‫خ‬﴾ “ดังนั้นหากสูเจ้าคนใดเจ็บป่ วย หรืออยู่ในภาวะเดินทาง ก็ให้เขาชดใช้ (ศีลอดที่ขาดนั้น) ในวันอื่น”3 คากล่าวของพระองค์อัลลอฮ์ ที่ว่า “ให้เขาชดใช้ในวันอื่น” เป็ นคาสั่งรวมๆ, คือ มิ ไ ด้ ก าห น ด ชั ด เจ น ว่ า ค าว่ า “วัน อื่ น ” ที่ ก ล่ าว นั้ น คื อ วั น ไห น ? เร็วห รื อ ช้ า ใ ห้ ต่ อ เ นื่ อ ง ห รื อ ถื อ บ้ า ง ห ยุ ด บ้ า ง จึ ง ถื อ ว่ า ข้อ ความดังกล่าวเป็ นการผ่อ นผัน ใน เรื่องนี้ ให้ ผู้ ที่ขาดศีลอดในเดือน เราะมะฎอ น จะถือศีลดอดชดใช้ในวันไหนก็ได้ตามความสมัครใจของเขา (2). ชัยค์สัยยิด สาบิก ได้อ้างหะดีษบทหนึ่ง4 โดยรายงานมาจากท่านอิบนุอุมัร เราะฎิยัลลอฮุ อันฮุมา ว่า ُ‫ر‬‫اّلل‬ ‫ر‬‫ل‬ َ‫ص‬ ‫ر‬ ِ‫ِب‬‫ر‬‫ن‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ن‬‫و‬َ‫ا‬‫ع‬َ‫ب‬ َ‫َت‬ َ‫ء‬‫آ‬ َ‫ش‬ ْ‫ن‬‫ا‬َۡ ، َ‫ق‬‫ر‬َِ‫ف‬ َ‫ء‬‫آ‬ َ‫ش‬ ْ‫ن‬‫ا‬ : َ‫ن‬ ًََ‫م‬َ‫ر‬ِ‫ء‬ ًََ‫ق‬ ْ ِ‫ِف‬ َ‫ل‬ َ‫ق‬ َ‫ر‬‫َّل‬ َ‫س‬َۡ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ท่านนะบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวในเรื่องการเกาะฎออ์ศีลอดเดือน เราะม ะฎ อนว่า “ห าก เข าป ระสงค์จะแย ก (คือ ถือ บ้ างหยุดบ้ าง) ก็ให้ เขาแ ยก , และหากเขาประสงค์จะถือต่อเนื่อง ก็ให้เขาต่อเนื่อง” แ ต่ ท่ าน อั ลอั ลบ านี ได้ ก ล่ าววิจ ารณ์ ว่ า5 ห ะดี ษ บ ท นี้ เป็ น ห ะดี ษ เฎ าะอี ฟ , เพราะใน สายรายงาน ของมั นมี ชื่อของ “สุฟยาน บินบัชร์” ซึ่งเป็ นบุ คคลมั จญ์ฮู ล คือ ไม่มีใครทราบหรือเคยบันทึกประวัติเอาไว้ 3 สูเราะฮ์ อัลบะเกาะเราะฮ์ อายะฮ์ที่ 184 4 บันทึกโดยอัดดารุกุฏนีย์ ใน “อัสสุนัน” เล่ม 2 หน้า 193 5 “ตะมามุลมินนะฮ์” โดย อัลอัลบานี หน้า 423
  • 3. 3 สรุปแล้ว หลักฐานที่มีน้าหนักที่สุดสาหรับผู้อนุญาตให้ถือศีลอดชดใช้เดือนเราะมะฎอนล่าช้าได้ และไม่ต่อเนื่องได้ ก็คือ ข้อความกว้างๆ ของอัลกุรอานข้างต้นเพียงบทเดียว ทัศนะที่สอง ถือว่า ไม่อนุญาตให้ ล่าช้าในการถือศีลอดชดใช้เดือนเราะมะฎอน เว้นแต่มีอุปสรรคจนทาให้ชดใช้รีบด่วนไม่ได้ โดยอ้างหลักฐานดังต่อไปนี้ (1). พระองค์อัลลอฮ์ ได้ตรัสไว้ว่า ﴿‫و‬ُ‫ع‬ِ‫ر‬ َ‫س‬َْۡ‫ا‬‫ا‬‫ى‬َ‫ل‬‫ن‬ِ‫م‬ ٍ‫ة‬َِِ‫ف‬‫غ‬َ‫م‬ُ‫ك‬ِ‫ب‬‫ر‬‫ر‬ٍ‫ة‬‫ر‬‫ن‬‫ـ‬َ‫ج‬َۡ﴾ “และสูเจ้าจงรีบเร่งกันไปสู่การอภัยโทษจากพระผู้อภิบาลของสูเจ้า และ (ไปสู่) สวรรค์ (ของพระองค์)”6 ท่านอัลอัลบานีย์ ได้กล่าวว่า7 ُِْ‫م‬‫و‬‫أل‬ْ‫ا‬ٍَۡ‫ر‬ْ‫ذ‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ ‫ر‬‫ال‬‫ا‬ ِ‫ة‬‫ـ‬َ‫ع‬َ‫ب‬ َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ب‬ْ‫و‬ُ‫ج‬ُۡ ْ ِ‫ِض‬َ‫ت‬ْ‫ق‬َ‫ض‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬َ‫ر‬ َ‫س‬ُ‫م‬ْ‫ل‬ ِ‫ِب‬ ُّ‫ـي‬ِ‫ن‬َُِْ‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬ “คาสั่งจากอัลกุรอานที่ให้รีบเร่งกัน (ไปสู่การอภัยโทษจากอัลลอฮ์) บ่งบอกความหมายว่า วาญิบจะต้องให้ต่อเนื่อง (คือ รีบเร่งในการเกาะฎออ์ศีลอดรเราะมะฎอน) ยกเว้นมีอุปสรรค” ท่านอิบนุหัซม์ ก็ได้กล่าวในลักษณะที่คล้ายคลึงกันนี้ 8 โดยนัยนี้ ผู้ซึ่งมีศีลอดติดค้างจากเดือนเราะมะฎอน แล้วมัวพะวงอยู่กับการถือศีลอดสุนนะฮ์ 6 วั น ห า ก เ ข า เ สี ย ชี วิ ต ล ง ไ ป ใ น ร ะ ย ะ เ ว ล า นี้ เขาก็จะมีบาปฐานมิได้รีบเร่งไปสู่การอภัยโทษจากพระองค์อัลลอฮ์ ตามที่พระองค์ได้สั่งไว้ ด้วยการรีบชดใช้ศีลอดที่ติดค้างอยู่ อายะฮ์ดังกล่าวนี้จึงถือเป็นหลักฐานที่มีน้าหนักมากที่สุดของทัศนะนี้ (2). ท่านยะห์ยา บินสะอีด, ได้รายงานจากท่านอะบูสะละมะฮ์, ซึ่งรายงานมาจากท่านหญิง อาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ซึ่งกล่าวว่า َ‫ن‬ َ‫ب‬ْ‫ع‬ َ‫ش‬ ْ ِ‫ِف‬ ‫ر‬‫ال‬‫ا‬ ُ‫ه‬‫ـ‬َ‫ي‬ ًِْ‫ق‬‫و‬َ ْ‫ن‬َ ُ‫ع‬ْ‫ي‬ ِ‫ط‬َ‫ت‬ ْ‫س‬َ َ‫م‬َ‫ف‬ ،َ‫ن‬ ًََ‫م‬َ‫ر‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ ُ‫م‬ْ‫و‬ ‫ر‬‫لص‬‫ا‬ ‫ر‬ َ‫َل‬َ‫ع‬ ُ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ك‬َ‫ي‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬ 6 สูเราะฮ์ อาลิอิมรอน อายะฮ์ที่ 133 7 “ตะมามุลมินนะฮ์” โดย อัลอัลบานี หน้า 424 8 “อัลมุหัลลา” เล่ม 6 หน้า 261
  • 4. 4 “ฉันเคยติดค้างศีลอดจากเราะมะฎอน, แล้วฉันก็ไม่สามารถที่จะชดใช้มันได้ นอกจากในเดือนชะอ์บาน (ของปีถัดไป)” ซึ่งท่านยะห์ ยา บินสะอีด อัลอันศอรี (เสียชีวิต ฮ.ศ. 144) ได้ กล่าวเพิ่มเติมว่า สาเหตุก็เนื่องมาจากการที่ท่านหญิงอาอิชะฮ์ต้องปรนนิบัติท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เป็นประจานั่นเอง9 อีกสานวนหนึ่งของหะดีษบทนี้ที่ท่านมุหัมมัดบินอิบรอฮีม,ได้รายงานมาจากท่านอะบีสะละมะฮ์, จากท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ซึ่งกล่าวว่า ْ‫ق‬َ‫ت‬ ْ‫ن‬‫و‬َ َ‫ل‬َ‫ع‬ُ‫ر‬ِ‫د‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ َ‫م‬َ‫ف‬ ،َ‫ر‬‫َّل‬ َ‫س‬َۡ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ل‬ َ‫ص‬ ِ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ال‬ ِ‫ل‬ ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ ِ‫ن‬َ‫م‬َ‫ز‬ ْ ِ‫ِف‬ ُِِ‫ط‬ْ‫ف‬ُ‫ت‬َ‫ل‬ َ‫اَن‬َ‫د‬ ْ‫ح‬‫ا‬ ْ‫َت‬‫ن‬ َ‫َك‬ ْ‫ن‬‫ا‬ِ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫ع‬َ‫م‬ ُ‫ه‬َ‫ي‬ ًِ ُ‫ن‬ َ‫ب‬ْ‫ع‬ َ‫ش‬ َ ِ‫ِت‬ْ‫آ‬َ‫ض‬ ‫ر‬‫َّت‬َ‫ح‬ َ‫ر‬‫َّل‬ َ‫س‬َۡ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ل‬ َ‫ص‬ ِ‫ه‬‫ـ‬‫ر‬‫ل‬‫ل‬‫ا‬ “ขอยืนยันว่า คนหนึ่งจากพวกเรา (ภริยาของท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) เคยขาดศีลอดเราะมะฎอน ในสมัยของท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม แล้วนางก็ไม่สามารถที่จะชดใช้มันพร้อมกับท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้ จนกระทั่งต้องถึงเดือนชะอ์บาน”10 หะดีษบทนี้ ท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา เองได้ระบุเหตุผลไว้อย่างชัดเจนว่า สาเหตุที่ท่านมิได้รีบด่วนในการถือศีลอดชดใช้ เพราะท่านไม่สามารถจะปฏิบัติมันได้ อันหมายถึง ว่าท่ า น มี อุ ป ส ร รค บ าง ป ระ ก าร ( ซึ่ งท่ า น ย ะ ห์ ย า บิ น ส ะ อี ด อ ธิ บ าย ว่ า เพราะท่านต้องคอยปรนนิบัติรับใช้ท่าน นะบี) จนไม่สามารถจะชดใช้มันโดยรวดเร็วได้ ซึ่ งจ า ก เห ตุ ผ ลดั งก ล่ า ว ท าใ ห้ เข้ า ใจ ได้ ว่ า ถ้ า ห า ก ไ ม่ เพ ร าะ มี อุ ป ส ร ร ค แ ล้ ว ท่านก็คงจะต้องรีบด่วนในการถือศีลอดชดใช้แน่นอน ดังนั้นคาอธิบายหะดีษบทนี้ของท่านอิบนุหะญัรอัลอัสเกาะลานีที่ว่า11 ِ‫ث‬ْ‫ض‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬َۡ.ٍ‫ر‬ْ‫ذ‬ُ‫ع‬ِ ْ‫َْي‬‫غ‬ِ‫ل‬َْۡ ٍ‫ر‬ْ‫ذ‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬ ٌ‫ء‬‫ا‬َ‫و‬ َ‫س‬ ،‫ا‬‫ق‬َ‫ل‬ْ‫ط‬ُ‫م‬ َ‫ن‬ ًََ‫م‬َ‫ر‬ ِ‫ء‬ ًََ‫ق‬ِ ْ‫ْي‬ِ‫خ‬ْ‫آ‬َ‫ت‬ ِ‫ز‬‫ا‬َ‫و‬َ‫ج‬ َ‫ل‬َ‫ع‬ ٌ َ‫َل‬َ‫ال‬ِ‫د‬ 9 บันทึกโดยบุคอรี หะดีษเลขที่ 1950; มุสลิม หะดีษเลขที่ 151/1146; และมาลิก บินอะนัส ใน “อัลมุวัฏเฏาะอ์” หะดีษเลขที่ 693 10 บันทึกโดยมุสลิม หะดีษเลขที่ 152/1146 11 “ฟัตหุลบารี” เล่มที่ 4 หน้า 191
  • 5. 5 “แ ล ะ ใ น ห ะ ดี ษ บ ท นี้ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น บ่ ง ชี้ ว่ า อนุ ญ าตให้ ยืดเวลาก ารเกาะฎอ อ์ศี ลอ ดเราะม ะฎอ น ออ กไป ได้ โดยไม่ มี เงื่อน ไข , ไม่ว่าจะเพราะมีอุปสรรคหรือไม่ก็ตาม” จึงเป็นเรื่องขัดแย้งกับข้อเท็จจริงและคากล่าวของท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา เอ งใน ห ะดี ษ นี้ ที่ ก ล่าวว่า สาเห ตุ ที่ ท่ าน ต้ อ งล่ าช้ าใ น ก ารเก าะฎ อ อ์ ศี ลอ ด ที่ ข าด ก็เพราะท่านไม่มีความสามารถ อันแสดงถึงว่า ท่านมีอุปสรรคนั่นเอง สรุปแล้ว ในทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน เห็นว่า การรีบถือศีลอดชดใช้ในเดือนเราะมะฎอน ก่อนการถือศีลอดสุนนะฮ์เดือนเชาวาล จะเป็นวาญิบหรือไม่? ผู้เขียนไม่แน่ใจ, แต่ที่แน่ใจก็คือ เป็ น สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ด้ ว ย ม ติ เ อ ก ฉั น ท์ ข อ ง บ ร ร ด า นั ก วิ ช า ก า ร แม้กระทั่งจากผู้ที่อนุญาตให้ยืดเวลาในการถือศีลอดชดใช้ออกไปได้ก็ตาม ท่านอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานี ได้กล่าวไว้ว่า12 َ‫ل‬ْۡ‫و‬َ َ‫ع‬ُ‫ب‬ َ‫ت‬‫ر‬‫ت‬‫ل‬‫ا‬ ‫ر‬‫ن‬‫و‬َ ِ‫ق‬ْ‫ض‬ِِْ‫ف‬‫ـ‬‫ر‬‫ت‬‫ل‬ِ‫ل‬ َ‫ن‬ ُْۡ ْ‫ْي‬ِ‫ج‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ف‬ِ‫ل‬َ‫ت‬َْ‫َي‬ َ‫ال‬َۡ “และบรรดาผู้ที่มีทัศนะว่า อนุญาตให้มีการเกาะฎออ์ศีลอดเราะมะฎอนในแบบไม่ต่อเนื่องได้ ก็ไม่มีความขัดแย้งกันเลยว่า การเกาะฎออ์ศีลอดดังกล่าวในแบบต่อเนื่องเป็นสิ่งที่ดีที่สุด” อย่างน้อย หากจะเปรียบเทียบคุณค่าและน้าหนักระหว่างศีลอดฟัรฎูที่ขาด กับศีลอดสุนนะฮ์ 6 วันนั้น มันก็ไม่แตกต่างอะไรกับการเอาเพชรไปแลกกับพลอย เคราะห์หามยามซวย เกิดเสียชีวิตขึ้นมาในช่วง 6 วันนั้ น ขณะที่กาลังถือศีลอดสุนะฮ์อยู่ แล้วเราจะเอาอะไรไปแก้ตัวกับอัลลอฮ์ เรื่องไม่ยอมชดใช้ศีลอดวาญิบทั้งๆ ที่มีเวลาแล้ว? . ‫عَّل‬َ ‫ۡهللا‬ ‫محمود‬‫بن‬‫عبد‬‫هللا‬‫الهواىس‬ tel. 08 66859660 12 “ฟัตหุลบารี” เล่ม 4 หน้า 189
  • 6. 6 : 39328‫ۡاحدة‬ ‫بنية‬ ‫شوال‬ ‫ست‬ ‫مع‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫مجع‬ ‫ضصح‬ ‫ال‬ ‫تة‬‫س‬‫ل‬‫ا‬ ‫صوم‬َ ‫ن‬َ ‫جيوز‬ ‫هل‬‫ِف‬ ‫فهي‬ ‫فطِت‬َ ‫اليت‬ ‫َّيم‬‫األ‬ ‫ء‬ ً‫بق‬ ‫ية‬‫ن‬‫ل‬‫ا‬ ‫نفس‬‫ب‬ ‫شوال‬ ‫من‬ ‫َّيم‬َ ‫؟‬ ‫يض‬‫حل‬‫ا‬ ‫سبب‬‫ب‬ ‫ن‬ ً‫رم‬. ‫هلل‬ ‫امحلد‬ ‫ا‬‫ل‬‫َكم‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫م‬ ‫ي‬‫ص‬ ‫بعد‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫تكون‬ ‫ال‬ ‫شوال‬ ‫من‬ ‫َّيم‬َ ‫تة‬‫س‬ ‫م‬ ‫ي‬‫ص‬ ‫ن‬‫أل‬ ، ‫ذكل‬ ‫ضصح‬ ‫ال‬. ( "‫م‬ ‫ي‬‫لص‬‫ا‬ ‫ۡى‬ ‫"فت‬ ‫ِف‬ ‫ميني‬‫ث‬‫ع‬ ‫ابن‬ ‫يخ‬‫ش‬‫ل‬‫ا‬ ‫ل‬ ‫ق‬438: ( "‫من‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫يه‬‫عل‬ۡ ‫شوراء‬ ‫ع‬ ‫ضوم‬ َۡ ، ‫فة‬ِ‫ع‬ ‫ضوم‬ ‫م‬ ‫ص‬‫من‬‫نوى‬ ‫لو‬ ‫لكن‬ ، ‫يح‬‫حص‬ ‫مه‬ ‫ي‬‫فص‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫ضوم‬ ِ‫ج‬َۡ ، ‫عِفة‬ ‫ضوم‬ ِ‫ج‬َ :‫ان‬ِ‫ج‬‫األ‬ ‫هل‬ ‫حصل‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫عن‬ ‫يوم‬‫ل‬‫ا‬ ‫هذا‬ ‫ضصوم‬ ‫ن‬َ ‫م‬َ ، ‫ن‬ ً‫بِم‬ ‫بط‬‫ت‬ِ‫ي‬ ‫ال‬ ‫اذلي‬ ‫املطلق‬ ‫تطوع‬‫ل‬‫ا‬ ‫لصوم‬ ‫بة‬‫س‬‫لن‬‫ِب‬ ‫هذا‬ ، ‫ء‬ً‫الق‬ ِ‫ج‬َ ‫مع‬ ‫شوراء‬ ‫ع‬ ‫ص‬ ‫فلو‬ ،‫ئه‬ ً‫ق‬ ‫بعد‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫تكون‬ ‫ۡال‬ ‫ن‬ ً‫بِم‬ ‫بطة‬‫ت‬ِ‫م‬ ‫هن‬ ‫ف‬ ‫ال‬‫و‬‫ش‬ ‫من‬ ‫َّيم‬َ‫تة‬‫س‬ ‫م‬ ‫ي‬‫ص‬‫قبل‬ ‫هم‬ ‫بعه‬‫ت‬َ ‫مث‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫م‬ ‫ص‬ ‫(من‬ : ‫ۡسَّل‬ ‫يه‬‫عل‬ ‫هللا‬ ‫صل‬‫نِب‬‫ل‬‫ا‬ ‫لقول‬ ، ‫جِه‬َ ‫عل‬ ‫حيصل‬ ‫مل‬ ‫ء‬ ً‫الق‬ ‫حَّت‬ ‫ن‬ ً‫رم‬ ‫ا‬ ‫مئ‬ ‫ص‬ ‫ضعد‬ ‫ال‬ ‫نه‬ ‫ف‬ ‫ء‬ ً‫ق‬ ‫يه‬‫عل‬ ‫من‬ ‫ن‬َ ‫ۡمعلوم‬ )ِ‫ادله‬ ‫م‬ ‫ص‬ ‫من‬‫فك‬ ‫ال‬‫و‬‫ش‬ ‫من‬ ‫ست‬‫ب‬ ‫اهـ‬ "‫ء‬ ً‫الق‬ ‫يمكل‬. ‫اب‬‫و‬‫ۡج‬ ‫ال‬‫ؤ‬‫س‬ ‫سلم‬‫اال‬ http://islamqa.info/ar/39328
  • 7. 7 การตั้งเจตนาถือศีลอด 6 วันเชาวาลพร้อมกับชดใช้ที่ค้างจากเราะมะฎอนด้วยนียะฮ์เดียว ถาม ฉันสามารถที่จะถือศีลอดหกวันในเดือนเชาวาลด้วยการตั้งเจตนา (นียะฮ์) พร้อมๆ กับนียะฮ์ถือศีลอดชดใช้ของเดือนเราะมะฎอนที่ค้างอยู่ด้วยสาเหตุของการมาประจาเดือนได้หรือไม่ ? ตอบ อั ล หั ม ดุ ลิ ล ล า ฮ์ ก า ร ท า เ ช่ น นั้ น ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง เพราะการถือศีลอดหกวันในเดือนเชาวาลจะไม่สมบูรณ์นอกจากต้องถือศีลอดของเดือนเราะมะฎอนให้เส ร็จเสียก่อน ชัยค์อิบนุอุษัยมีน ได้กล่าวใน “ฟะตาวา อัศศิยาม” หน้า 438 ว่า “ผู้ใดที่ถือศีลอดวันอะเราะฟะฮ์ หรือ วันอาชูรออ์ ทั้งๆ ที่ยังต้องถือศีลอดชดใช้ของเดือน เราะมะฎอนอยู่ การถือศีลอดนั้นย่อมใช้ได้ แต่ถ้าหากเขาตั้งเจตนาว่าจะถือศีลอดในวันเหล่านี้พร้อมๆ กั บ ก า ร ช ด ใ ช้ ข อ ง เ ดื อ น เ ร า ะ ม ะ ฎ อ น เ ข า ก็ จ ะ ไ ด้ ส อ ง ผ ล บุ ญ คื อ ผลบุญของวันอะเราะฟะฮ์หรือวันอาชูรออ์พร้อมกับผลบุญของการชดใช้ของเดือนเราะมะฎอน อั น นี้ ส าห รั บ ก าร ถื อ ศี ล อ ด สุ น น ะ ฮ์ ทั่ ว ๆ ไ ป ที่ ไม่ เกี่ ย ว พั น กั บ เร า ะ ม ะ ฎ อ น ส่วน ก ารถือ ศีลอด หก วัน ใน เดือ นเชาวาลนั้ น (แ ตก ต่างจากก ารถือ ศีลอด ทั่วไป ) เ พ ร า ะ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว พั น กั บ เ ร า ะ ม ะ ฎ อ น ก ล่าว คื อ จ ะไม่ มี น อ ก จ าก ต้ อ งถื อ ศี ลอ ด ช ด ใช้ ข อ งเดื อ น เราะม ะฎ อ น เสีย ก่ อ น ถ้าหากถือก่อนที่จะชดของเราะมะฎอนก็จะไม่ได้รับผลบุญนั้น (ตามความเห็นหนึ่งของมัซฮับหันบะลีย์ – ผู้ แ ป ล) เพ ราะห ะดี ษ ขอ งท่ าน น ะบี ศ็อ ลลั ลลอ ฮุ อ ะลั ย ฮิ วะสัลลั ม ที่ มี ค วาม ว่ า “ผู้ใดที่ถือศีลอดเราะมะฎอนแล้วถือศีลอดตามหลังจากนั้ นหกวันในเดือนเชาวาล นั่ น เ ส มื อ น ว่ า เข า ไ ด้ ถื อ ศี ล อ ด ถึ ง ห นึ่ ง ปี ” ( บั น ทึ ก โ ด ย มุ ส ลิ ม 1984)
  • 8. 8 แ ล ะ เป็ น ที่ รู้ กั น ว่ า ผู้ ใ ด ที่ ยั งต้ อ งมี ภ า ร ะ ช ด ใ ช้ ข อ งเ ดื อ น เร า ะ ม ะ ฎ อ น เขาจะไม่นับว่าถือศีลอดเราะมะฎอนครบจนกว่าจะชดใช้จนสมบูรณ์”