SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 103
ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี
ที่ 14/2557
เรื่อง การล้างไต
ค�ำถาม : การล้างไตโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis) และ
การล้างไตทางช่องท้อง (Peritoneal dialysis) ของผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยวิธี
การดังกล่าวท�ำให้เสียการถือศีลอดหรือไม่?
	 ข้อมูลประกอบการพิจารณา
	 		 ไต เป็นอวัยวะหนึ่งในร่างกายที่มีหน้าที่ก�ำจัดของเสียที่เกิดขึ้นออกไปจากร่างกายโดย
เอาออกไปทางปัสสาวะ ของเสียส่วนใหญ่เกิดจากการย่อยอาหารชนิดต่างๆ ที่เรารับประทาน
ประจ�ำวัน รวมทั้งยาและสารอื่นๆ ไตเริ่มท�ำหน้าที่ตั้งแต่เริ่มมีชีวิต เมื่อมีอายุมากขึ้นและต้อง
ท�ำหน้าที่ขจัดของเสียออกทุกวัน การท�ำหน้าที่ของไตย่อมต้องเสื่อมลงไปเรื่อยๆ และขจัดของ
เสียได้น้อยลง จึงมีของเสียคั่งค้างอยู่ในร่างกายมากขึ้น เป็นพิษต่อร่างกาย เมื่อถึงจุดหนึ่งจึง
ต้องมีวิธีการช่วยน�ำของเสียรวมทั้งน�้ำส่วนเกินหรือที่คั่งค้างออกจากร่างกาย ด้วยวิธีทางการ
แพทย์ ที่เรียกกันว่าการล้างไต หรือการฟอกเลือด
	 		 การฟอกเลือดมี 2 ประเภท คือ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เรียกว่า Hemodi-
alysis และการฟอกเลือดหรือฟอกไตทางช่องท้องเรียกว่า Peritoneal dialysis
	 		 1. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เป็นการน�ำของเสียและน�้ำออกจากเลือดทาง
เส้นเลือดด�ำแล้วผ่านเครื่องกรองที่จะช่วยกรองของเสียและน�้ำออกจากเลือด เมื่อเลือดผ่านตัว
กรองแล้วจะกลายเป็นเลือดดีปราศจากสารเป็นพิษ แล้วเครื่องจะน�ำเลือดนั้นกลับสู่ร่างกายซึ่ง
แต่ละครั้งต้องใช้เวลาประมาณ 3-4 ชม. และต้องท�ำการฟอกเลือดอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3
ครั้ง เป็นประจ�ำ
	 		 2. การฟอกไตทางช่องท้อง คือ การกรองของเสียในร่างกายออกโดยการใส่น�้ำยาหรือ
สารละลายเข้าไปในช่องท้องผ่านทางท่อ ที่ฝังเข้าไปในช่องท้อง ผนังหรือเยื่อในช่องท้องจะ
ท�ำหน้าที่กรองของเสียจากในเลือดผ่านเข้าไปในสารละลาย หลังจากทิ้งไว้ 2-3 ชั่วโมง ก็จะ
ปล่อยน�้ำยาหรือสารละลายที่มีของเสียอยู่ออกไปจากช่องท้อง แล้วเติมน�้ำยาใหม่เข้าไปอีก
104 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬
วิธีนี้สามารถท�ำเองที่บ้านได้แต่ต้องท�ำทุกวัน มีการเปลี่ยนน�้ำยาบ่อยๆ สามารถเลือกเวลา
ท�ำเองได้ โดยต้องเรียนรู้วิธีการท�ำที่ถูกต้องจากบุคคลกรทางการแพทย์เสียก่อน
	 ค�ำวินิจฉัย
: ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬
	 การล้างไตโดยการใช้เครื่องฟอกไตเป็นการดึงเลือดออกมาเพื่อก�ำจัดของเสียแล้วน�ำกลับเข้าไป
ในร่างกายอีกครั้ง ปัจจุบันพบว่ามีการเติมสารประกอบทางเคมีและสารอาหารอื่นๆ ลงไปเพื่อปรับ
สมดุลในเลือด เช่น น�้ำตาลกลูโคส โซเดียมไบคาร์โบเนท และเกลือแร่อื่นๆ นอกจากนี้อาจมีอาการ
ข้างเคียงเกิดขึ้นหลายประการ เช่น ความดันต�่ำ อ่อนเพลีย คลื่นไส้หรืออาเจียน (ขึ้นกับสภาพของ
ผู้ป่วยและสภาพแวดล้อมต่างๆ)
	 ส่วนการล้างไตทางช่องท้องเป็นการขจัดของเสียออกจากเยื่อบุช่องท้องผ่านกระบวนการ
แลกเปลี่ยนน�้ำและสารละลายภายในช่องท้อง โดยมีเยื่อบุช่องท้อง (Peritoneal membrane)
ท�ำหน้าที่เป็นเยื่อกั้นระหว่างน�้ำยาที่ใช้ล้างไตกับเลือด (น�้ำยาล้างไตมีปริมาตร 2 ลิตร/ถุง มีส่วนผสม
ของเกลือแร่ชนิดต่างๆและน�้ำตาลเด๊กซโตรสผสมอยู่) ใช้เวลาในการแช่ในช่องท้องประมาณ 3-6
ชั่วโมง แล้วจึงปล่อยน�้ำยาล้างไตออก แล้วจึงท�ำซ�้ำอีกตามจ�ำนวนครั้งที่แพทย์สั่ง ภายหลังจากการ
ที่มีการแลกเปลี่ยนกันแล้ว จะท�ำให้เลือดที่มีของเสียมาก เช่น ยูเรีย น�้ำ อิเลคโตรลัยท์บางตัวที่สูง
นั้นลดลง การล้างไตทางช่องท้องท�ำให้เลือดที่เสียกลายเป็นเลือดที่ดีขึ้น โดยอาศัยการแลกเปลี่ยน
สารต่างๆ ในเลือดกับน�้ำยาล้างไต และเลือดใหม่ที่ได้นั้นมีการรับแร่ธาตุและสารอาหารอื่นๆ ที่มีอยู่
ในน�้ำยาล้างไตเข้าไปด้วย
	 พิจารณาแล้ว จึงวินิจฉัยว่า การล้างไตโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (เครื่องฟอก
ไต) และการล้างไตทางช่องท้องนั้นไม่ท�ำให้เสียการถือศีลอดของผู้ที่รับการรักษา
	 ในกรณีนี้หากพิจารณาว่าผู้ป่วยโรคไตซึ่งมีความจ�ำเป็นถึงขั้นต้องล้างไตด้วยวิธีการทั้ง 2
วิธีนั้นเป็นผู้ป่วยเรื้อรังที่ไม่มีความหวังว่าจะหายขาดตามค�ำชี้ขาดของแพทย์ ก็มีข้อผ่อนผันในการ
งดเว้นจากการถือศีลอด โดยผู้นั้นจ�ำเป็นต้องจ่ายฟิดยะฮ์ทดแทนตามจ�ำนวนวันของเดือนเราะมะฎอน
ที่ขาดไป (1)
‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬
อาศิส พิทักษ์คุมพล
จุฬาราชมนตรี
(1)	 อัล-ฟิกฮุลมันฮะญีย์ : 2/93, ฟิกฮุศศิยาม; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : หน้า 57

Contenu connexe

Plus de Om Muktar

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...Om Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةOm Muktar
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةOm Muktar
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدOm Muktar
 
تفسير الإمام الشافعي
تفسير الإمام الشافعيتفسير الإمام الشافعي
تفسير الإمام الشافعيOm Muktar
 
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلفآراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلفOm Muktar
 

Plus de Om Muktar (20)

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
 
تفسير الإمام الشافعي
تفسير الإمام الشافعيتفسير الإمام الشافعي
تفسير الإمام الشافعي
 
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلفآراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
 

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การล้างไต

  • 1. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 103 ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี ที่ 14/2557 เรื่อง การล้างไต ค�ำถาม : การล้างไตโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis) และ การล้างไตทางช่องท้อง (Peritoneal dialysis) ของผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยวิธี การดังกล่าวท�ำให้เสียการถือศีลอดหรือไม่? ข้อมูลประกอบการพิจารณา ไต เป็นอวัยวะหนึ่งในร่างกายที่มีหน้าที่ก�ำจัดของเสียที่เกิดขึ้นออกไปจากร่างกายโดย เอาออกไปทางปัสสาวะ ของเสียส่วนใหญ่เกิดจากการย่อยอาหารชนิดต่างๆ ที่เรารับประทาน ประจ�ำวัน รวมทั้งยาและสารอื่นๆ ไตเริ่มท�ำหน้าที่ตั้งแต่เริ่มมีชีวิต เมื่อมีอายุมากขึ้นและต้อง ท�ำหน้าที่ขจัดของเสียออกทุกวัน การท�ำหน้าที่ของไตย่อมต้องเสื่อมลงไปเรื่อยๆ และขจัดของ เสียได้น้อยลง จึงมีของเสียคั่งค้างอยู่ในร่างกายมากขึ้น เป็นพิษต่อร่างกาย เมื่อถึงจุดหนึ่งจึง ต้องมีวิธีการช่วยน�ำของเสียรวมทั้งน�้ำส่วนเกินหรือที่คั่งค้างออกจากร่างกาย ด้วยวิธีทางการ แพทย์ ที่เรียกกันว่าการล้างไต หรือการฟอกเลือด การฟอกเลือดมี 2 ประเภท คือ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เรียกว่า Hemodi- alysis และการฟอกเลือดหรือฟอกไตทางช่องท้องเรียกว่า Peritoneal dialysis 1. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เป็นการน�ำของเสียและน�้ำออกจากเลือดทาง เส้นเลือดด�ำแล้วผ่านเครื่องกรองที่จะช่วยกรองของเสียและน�้ำออกจากเลือด เมื่อเลือดผ่านตัว กรองแล้วจะกลายเป็นเลือดดีปราศจากสารเป็นพิษ แล้วเครื่องจะน�ำเลือดนั้นกลับสู่ร่างกายซึ่ง แต่ละครั้งต้องใช้เวลาประมาณ 3-4 ชม. และต้องท�ำการฟอกเลือดอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง เป็นประจ�ำ 2. การฟอกไตทางช่องท้อง คือ การกรองของเสียในร่างกายออกโดยการใส่น�้ำยาหรือ สารละลายเข้าไปในช่องท้องผ่านทางท่อ ที่ฝังเข้าไปในช่องท้อง ผนังหรือเยื่อในช่องท้องจะ ท�ำหน้าที่กรองของเสียจากในเลือดผ่านเข้าไปในสารละลาย หลังจากทิ้งไว้ 2-3 ชั่วโมง ก็จะ ปล่อยน�้ำยาหรือสารละลายที่มีของเสียอยู่ออกไปจากช่องท้อง แล้วเติมน�้ำยาใหม่เข้าไปอีก
  • 2. 104 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ วิธีนี้สามารถท�ำเองที่บ้านได้แต่ต้องท�ำทุกวัน มีการเปลี่ยนน�้ำยาบ่อยๆ สามารถเลือกเวลา ท�ำเองได้ โดยต้องเรียนรู้วิธีการท�ำที่ถูกต้องจากบุคคลกรทางการแพทย์เสียก่อน ค�ำวินิจฉัย : ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬ การล้างไตโดยการใช้เครื่องฟอกไตเป็นการดึงเลือดออกมาเพื่อก�ำจัดของเสียแล้วน�ำกลับเข้าไป ในร่างกายอีกครั้ง ปัจจุบันพบว่ามีการเติมสารประกอบทางเคมีและสารอาหารอื่นๆ ลงไปเพื่อปรับ สมดุลในเลือด เช่น น�้ำตาลกลูโคส โซเดียมไบคาร์โบเนท และเกลือแร่อื่นๆ นอกจากนี้อาจมีอาการ ข้างเคียงเกิดขึ้นหลายประการ เช่น ความดันต�่ำ อ่อนเพลีย คลื่นไส้หรืออาเจียน (ขึ้นกับสภาพของ ผู้ป่วยและสภาพแวดล้อมต่างๆ) ส่วนการล้างไตทางช่องท้องเป็นการขจัดของเสียออกจากเยื่อบุช่องท้องผ่านกระบวนการ แลกเปลี่ยนน�้ำและสารละลายภายในช่องท้อง โดยมีเยื่อบุช่องท้อง (Peritoneal membrane) ท�ำหน้าที่เป็นเยื่อกั้นระหว่างน�้ำยาที่ใช้ล้างไตกับเลือด (น�้ำยาล้างไตมีปริมาตร 2 ลิตร/ถุง มีส่วนผสม ของเกลือแร่ชนิดต่างๆและน�้ำตาลเด๊กซโตรสผสมอยู่) ใช้เวลาในการแช่ในช่องท้องประมาณ 3-6 ชั่วโมง แล้วจึงปล่อยน�้ำยาล้างไตออก แล้วจึงท�ำซ�้ำอีกตามจ�ำนวนครั้งที่แพทย์สั่ง ภายหลังจากการ ที่มีการแลกเปลี่ยนกันแล้ว จะท�ำให้เลือดที่มีของเสียมาก เช่น ยูเรีย น�้ำ อิเลคโตรลัยท์บางตัวที่สูง นั้นลดลง การล้างไตทางช่องท้องท�ำให้เลือดที่เสียกลายเป็นเลือดที่ดีขึ้น โดยอาศัยการแลกเปลี่ยน สารต่างๆ ในเลือดกับน�้ำยาล้างไต และเลือดใหม่ที่ได้นั้นมีการรับแร่ธาตุและสารอาหารอื่นๆ ที่มีอยู่ ในน�้ำยาล้างไตเข้าไปด้วย พิจารณาแล้ว จึงวินิจฉัยว่า การล้างไตโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (เครื่องฟอก ไต) และการล้างไตทางช่องท้องนั้นไม่ท�ำให้เสียการถือศีลอดของผู้ที่รับการรักษา ในกรณีนี้หากพิจารณาว่าผู้ป่วยโรคไตซึ่งมีความจ�ำเป็นถึงขั้นต้องล้างไตด้วยวิธีการทั้ง 2 วิธีนั้นเป็นผู้ป่วยเรื้อรังที่ไม่มีความหวังว่าจะหายขาดตามค�ำชี้ขาดของแพทย์ ก็มีข้อผ่อนผันในการ งดเว้นจากการถือศีลอด โดยผู้นั้นจ�ำเป็นต้องจ่ายฟิดยะฮ์ทดแทนตามจ�ำนวนวันของเดือนเราะมะฎอน ที่ขาดไป (1) ‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี (1) อัล-ฟิกฮุลมันฮะญีย์ : 2/93, ฟิกฮุศศิยาม; ดร.ยูซุฟ อัล-กอรฎอวีย์ : หน้า 57