SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
1
การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาด
ผู้เขียนเคยฟังการนาเสนอมาว่า มีหลักฐานจากหะดีษเศาะหี้ห์ให้ยกมือขอดุอาอ์หลัง
ละหมาดสุนนะฮ์ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎูก็ไม่น่าจะมีปัญหา หรือ
น่าจะดีกว่าด้วยซ้าไป
ก่อนที่จะชี้แจงและทาความเข้าใจตามที่ได้มีการนาเสนอมานี้ ผู้เขียนก็ขอทาความเข้าใจ
ในประเด็นปัญหาเรื่อง “การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู” กันเสียก่อน1
มุบาร็อก ฟูรีย์ ได้นาเสนอหลักฐานของผู้ที่มีทัศนะว่า อนุญาตให้ยกมือขอดุอาอ์หลัง
ละหมาดฟัรฎูได้2
โดยได้อ้างอิงหะดีษจากคากล่าวและการกระทาของท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ที่ถูกบันทึกในตาราบางเล่มเอาไว้ว่า ท่านเคยใช้และเคยยกมือขอดุอาอ์หลัง
ละหมาดฟัรฎูมาประกอบห้าบทซึ่งแต่ละบทล้วนเป็ นหะดีษเฎาะอีฟทั้งสิ้น
นอกจากนี้มุบาร็อก ฟูรีย์ ยังได้อ้างหลักฐานจากหะดีษที่ถูกต้อง (เศาะหี้ห์) หลายบท
ที่ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวถึงเรื่องการยกมือขอดุอาอ์เอาไว้
(โดยมิได้กาหนดหรือจากัดว่า เป็นดุอาอ์ชนิดใด และในกาลเทศะใด) มาสนับสนุนทัศนะนี้
ซึ่งมุบาร็อก ฟูรีย์ ก็อนุโลมเอาว่า การขอดุอาอ์ไม่ว่าจะหลังละหมาดฟัรฎูหรือในกาลเทศะใด
ก็ถือว่าเป็ นดุอาอ์เหมือนกัน จึงย่อมมีสิทธิ์ที่จะยกมือในการขอได้ตามนัยกว้างๆ ของหะดีษที่
ถูกต้องเรื่องการยกมือขอดุอาอ์เหล่านั้น
แล้วท่านก็ได้กล่าวสรุปเอาไว้ว่า3
ِ‫اء‬َ‫ع‬ ُّ‫ادل‬ ِ‫ِف‬ ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫ع‬ْ‫ف‬َ‫ر‬ َّ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ي‬ِ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ُ‫ح‬ ِ‫اج‬َّ‫الر‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬َ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َ‫س‬ْ‫أ‬َ‫ب‬ َ‫ال‬ ٌ‫د‬َ‫ح‬َ‫أ‬ َُ‫َل‬َ‫ع‬َ‫ف‬ْ‫و‬َ‫ل‬ ٌ‫ز‬ِ‫ئ‬‫ا‬َ‫ج‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َّ‫الص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬
. َ‫اَل‬َ‫ع‬َ‫ت‬ ُ‫ه‬‫ـ‬َّ‫ل‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ء‬‫أ‬ َ‫ش‬ ْ‫ن‬‫ا‬..
“ทัศนะที่มีน้าหนักสาหรับฉันก็คือ การยกมือทั้งสองเพื่อขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู
เป็นที่อนุมัติ สมมุติหากมีผู้ใดปฏิบัติมันก็ไม่มีบาปอันใดสาหรับเขา อินชาอัลลอฮ์ . . .”
นี่คือทัศนะของนักวิชาการหะดีษมีระดับท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลัง
ละหมาดฟัรฎู ที่สมควรจะต้องรับฟังเอาไว้พิจารณา
1
นักวิชาการต่างมีทัศนะที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังจากละหมาดฟัรฎูว่า จะเป็นที่อนุญาต
ให้ปฏิบัติได้หรือไม่? ซึ่งสามารถหาอ่านรายละเอียดได้จาก “ฟัตหุลบารีย์” เล่ม 11 หน้า 141-143; “นัยลุลเอาฏอร”
เล่ม 4 หน้า 34; “ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” เล่ม 2 หน้า 198-202
2
“ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” โดย มุบาร็อก ฟูรีย์ เล่ม 2 หน้า 198-202
3
“ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” โดย มุบาร็อก ฟูรีย์ เล่ม 2 หน้า 202
2
ขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการอีกหลายท่านไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์
หลังละหมาดดังกล่าวด้วยเหตุผลที่ว่า มีหะดีษที่ถูกต้องบางบทรายงานมาว่าท่านเราะสูลุลลอฮ์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคย “ขอดุอาอ์” หลังละหมาดฟัรฎูและเคยกล่าวถึงเรื่องการขอ
ดุอาอ์หลังละหมาดฟัรูฎู ซึ่งมุบาร็อก ฟูรีย์ เองก็ได้ยืนยันและยอมรับความจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้
ไว้ด้วยเช่นเดียวกัน4
แต่ข้อเท็จจริงก็คือ ทั้งๆ ที่ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้มีการยก
มือขอดุอาอ์ แต่กลับไม่ปรากฏว่า มีหะดีษที่ถูกต้องบทใดรายงานมาว่าท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม เคยยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู แม้แต่บทเดียว เช่นนี้แสดงว่าการยก
มือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู ย่อมมิใช่เป็นบทบัญญัติแห่งอิสลาม ด้วยเหตุนี้นักวิชาการบาง
ท่านจึงตัดสินว่า การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎูนั้นเป็นบิดอะฮ์
ชัยค์อับดุลอะซีซ บินบาซ ได้กล่าวว่า5
ُ‫ه‬َّ‫ن‬َ‫أ‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ه‬‫ـ‬َّ‫ل‬‫ال‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ‫ي‬ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ ِ‫ن‬َ‫ع‬ َّ‫ح‬ ِ‫ص‬َ‫ي‬ْ َ‫مل‬َّ‫ح‬ ِ‫ص‬َ‫ي‬ ْ‫م‬َ‫ل‬َ‫و‬ ،ِ‫ة‬ َ‫ض‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َ‫ص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ ُ‫ع‬َ‫ف‬ْ‫ر‬َ‫ي‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬
ِ‫ه‬ِ‫ب‬‫ا‬َ ْ‫ْص‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬‫ا‬ ً‫ض‬ْ‫ي‬َ‫أ‬ َ ِ‫ِل‬ َ‫ذ‬-ْ‫م‬ُ ْ‫ْن‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َ ِ‫ِض‬ َ‫ر‬-ْ‫م‬ِْ‫ْي‬ِ‫د‬ْ‫ي‬َ‫أ‬ ِ‫ع‬ْ‫ف‬َ‫ر‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ ِ‫اس‬َّ‫ن‬‫ال‬ ُ‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ ُُ‫َل‬َ‫ع‬ْ‫ف‬َ‫ي‬‫ا‬َ‫م‬َ‫و‬ ،َُ‫َّل‬ْ‫ع‬َ‫ن‬‫ا‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬
. ‫َا‬‫ه‬َ‫ل‬ َ‫ل‬ ْ‫ص‬َ‫أ‬ َ‫ال‬ ٌ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫ِد‬‫ب‬ ِ‫ة‬ َ‫ض‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َ‫ص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬..
“ไม่เคยปรากฏหลักฐานที่ถูกต้องใดๆ จากท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัมว่า ท่านจะเคยยกมือทั้งสอง (เพื่อขอดุอาอ์) หลังจากการละหมาดฟัรฎู และก็ไม่เคย
ปรากฏหลักฐานที่ถูกต้องใดๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้เช่นกันจากบรรดาเศาะหาบะฮ์ของท่าน
(เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม) เท่าที่เรารู้ และการที่ประชาชนบางคนได้ยกมือทั้งสองของเขาขึ้นขอ
ดุอาอ์หลังจากละหมาดฟัรฎูแล้วถือว่าเป็ นบิดอะฮ์ที่ไม่มีหลักฐานใดๆ ทั้งสิ้น . . .”
สรุปแล้วเรื่องที่ว่า จะอนุญาตให้มีการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎูได้หรือไม่? จึง
เป็นเรื่องการ “มองต่างมุม” ของนักวิชาการ ก็ขอให้ใช้ดุลยพินิจเองในการปฏิบัติสิ่งนี้ซึ่ง
ผู้เขียนของดเว้นที่จะแสดงความเห็นในลักษณะชี้นาใดๆ ทั้งสิ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้
อิมามอัชเชากานีย์ ได้นาเสนอทางออกไว้อย่างเป็นกลางๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้6
ในตอนที่
อธิบายหะดีษของอะนัส บินมาลิก เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ที่ว่า ไม่เคยปรากฏว่าท่านนะบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม จะเคยยกมือทั้งสองของท่านในดุอาอ์ใดๆ นอกจากในการ
ละหมาดขอฝน โดยท่านจะยกมือทั้งสองจนกระทั่งสามารถมองเห็นความขาวของรักแร้ทั้งสอง
ของท่าน โดยอิมามอัชเชากานีย์เห็นว่า
4
“ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” เล่ม 2 หน้า 197
5
“อัลฟะตาวีย์” โดย อับดุลอะซีซ อิบนุบาซ เล่ม 1 หน้า 74
6
“นัยลุลเอาฏอร” โดย อัชเชากานีย์ เล่ม 4 หน้า 34
3
‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ٍ ْ‫ئ‬ َ‫ش‬ ْ ِ‫ِف‬ ُ‫د‬َ‫ي‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ع‬َ‫ف‬ْ‫ر‬ُ‫ت‬ َ‫ال‬َ‫ف‬ ، ٍ‫س‬َ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ِ‫ر‬ْ‫و‬ُ‫ك‬ْ‫ذ‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ي‬ْ‫ف‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫َّل‬َ‫ع‬ُ‫ء‬‫ا‬َ‫ق‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ‫ى‬ِ‫غ‬َ‫ب‬ْ‫ن‬َ‫ي‬ ُ‫ه‬َّ‫ن‬َ‫ا‬ ُ‫ر‬ِ‫ه‬‫ا‬َّ‫الظ‬َ‫و‬ِ‫ة‬َ‫ي‬ِ‫ع‬ْ‫د‬َّ‫ال‬‫ا‬
ِ‫ى‬ْ‫ف‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫َض‬َ‫ت‬ْ‫ق‬ُ‫م‬ِ‫ب‬‫َا‬‫ه‬‫ا‬َ‫و‬ ِ‫اس‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ ُ‫ل‬َ‫م‬ْ‫ع‬ُ‫ي‬َ‫و‬ ،ُ‫ع‬ْ‫ف‬َّ‫االر‬َ ْ‫ْي‬ِ‫ف‬َ‫د‬َ‫ر‬َ‫و‬ ْ ِ‫ِت‬َّ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ع‬ ِ‫اض‬َ‫و‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬...
“และตามรูปการณ์แล้วก็คือ ให้คงไว้ซึ่งการปฏิเสธ (การยกมือในการขอดุอาอ์ใดๆ
นอกจากดุอาอ์ขอฝน) ดังที่มีกล่าวไว้ในหะดีษของอะนัส ดังนั้นจึงไม่ต้องยกมือในดุอาอ์ชนิด
ใดทั้งสิ้น เว้นแต่ในหลายๆ กรณีที่มีรายงานมาว่า (นะบีย์ฯ) เคยยกมือในดุอาอ์เหล่านั้น
และให้ปฏิบัติในกรณีที่อื่นจากนี้ (กล่าวคืออื่นจากดุอาอ์ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าท่านนะบีย์ฯ
ยกมือด้วย) ให้เป็นไปตามเป้ าหมายแห่งการปฏิเสธนั้น (นั่นคือไม่ต้องยกมือในดุอาอ์อื่นใด
ทั้งสิ้นนอกจากดุอาอ์ขอฝน และดุอาอ์อื่นๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าท่านนะบีย์ฯ เคยยกมือ
เท่านั้น) . . .”
อนึ่งสาหรับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ดังที่มีการอ้างหลักฐานจาก
หะดีษที่ได้มีการนาเสนอมานั้น ก่อนอื่นผู้เขียนขอนาเสนอข้อความที่มีการอ้างไว้ดังนี้
ْ‫ل‬َ‫ا‬ َ‫َس‬ ْ‫و‬ُ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬َّ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ َََ‫ل‬ ََ ُ‫ه‬َّ‫ن‬‫أ‬ ِ‫ي‬‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ع‬ ْ‫ش‬َ ِ‫ل‬ َ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫َّس‬‫ي‬ ‫ن‬َ‫أ‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬َ ‫ا‬َ‫ق‬َ‫ف‬ ،ِ‫ه‬ْ‫ي‬ِ‫يِخ‬
ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ‫ا‬َ‫ع‬َ‫د‬ َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ َ‫ع‬َ‫ف‬َ‫ر‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َّ‫الص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ َّ ُ‫ُث‬ ، ِ ْ‫ْي‬َ‫ت‬َ‫ع‬ْ‫ك‬َ‫ر‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬َ‫و‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬
َ ِ‫ل‬َ ِ‫ل‬ َّ ُ‫ُث‬ ٍ ِ‫اِل‬َ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬َ ِ‫ى‬َ‫ر‬ َ‫َس‬ْ‫و‬ُ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬. ‫ا‬َ‫م‬ُ ْ‫ْن‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬..
อะบูมูสา อัลอัชอารีย์ ขอให้ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ช่วยขออภัย
ให้แก่พี่น้องของเขา จากนั้นท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จึงลุกขึ้นละหมาด
สองร็อกอะฮ์ ภายหลังละหมาดเสร็จท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ยกมือ
ทั้งสองของท่านและดุอาอ์ให้แก่อะบูมาลิก จากนั้นก็ขอให้แก่อะบูมูสา (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา)
จากหะดีษข้างต้นสรุปได้ว่า ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยยกมือ
ขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ซึ่งเป็นการบ่งบอกให้รู้ว่าอนุญาตให้กระทาเช่นนั้นได้ กระนั้นก็
ตามท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กระทาเช่นนั้นเพียงครั้งหรือสองครั้ง
เท่านั้น ใน “ฟัตหุลบารีย์” เล่ม 4 หน้า 417 ได้กล่าวว่า การยกมือทั้งสองเพื่อขอดุอาอ์หลัง
ละหมาดสุนนะฮ์ พบหลักฐานว่าถูกปฏิบัติเพียงครั้งหรือสองครั้งเท่านั้น
จากข้อความข้างต้นพอจะสรุปได้ดังนี้
1. การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ท่านเราะสูลุลลอฮ์ฯ เคยปฏิบัติเพียงหนึ่ง
ครั้งหรือสองครั้ง
2. หะดีษบทนั้นคือหลักฐานเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์
ผู้เขียนขอชี้แจงข้อเท็จจริงของเรื่องนี้ดังต่อไปนี้
1. การอ้างว่า การยกมือทั้งสองเพื่อขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ พบหลักฐานว่าถูก
ปฏิบัติเพียงครั้งหรือสองครั้งเท่านั้น หากคาว่า ละหมาดสุนนะฮ์ ในที่นี้หมายถึงการละหมาด
4
ในกรณีเกิดปรากฏการณ์ตามการกาหนดสภาวะของอัลลอฮ์ ที่เรียกกันทั่วๆ ไปว่า
“ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ” เช่น การละหมาดขอฝนเมื่อเกิดแล้งจัด หรือละหมาดกุสูฟ
เมื่อเกิดสุริยคราสหรือจันทรคราส ก็ถือว่าเป็นเรื่องถูกต้อง ทั้งนี้เพราะท่านเราะสูลุลลอฮ์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดขอฝนดังที่บันทึกโดยบุคอรีย์
จากอะนัส บินมาลิก เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ และหลังละหมาดสุริยคราสดังที่บันทึกโดยมุสลิมจาก
อับดุรเราะห์มาน บินสะมุเราะฮ์ และท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา
แต่ถ้าหากคาว่า “ละหมาดสุนนะฮ์” ในที่นี้หมายถึงละหมาดสุนนะฮ์อื่นจากละหมาด
ขอฝนและละหมาดสุริยคราส อันเป็นความหมายที่เข้าใจกันโดยทั่วๆ ไปของคาว่าละหมาด
สุนนะฮ์ เช่น ละหมาดสุนนะฮ์หลังมัฆริบ ละหมาดสุนนะฮ์ก่อนละหมาดศุบห์ ละหมาด
สุนนะฮ์ก่อนหรือหลังซุฮฺร์ ฯลฯ ผู้เขียนก็ไม่เคยเจอรายงานหะดีษแม้แต่บทเดียวว่า ท่าน
เราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะเคยยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์
เหล่านี้
2. สาหรับหะดีษที่ถูกนามาอ้างเป็นหลักฐานสนับสนุนการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาด
สุนนะฮ์บทนั้น แม้ว่าผู้เขียนจะไม่เคยเจอสายรายงานของหะดีษดังสานวนข้างต้น แต่เมื่อ
พิจารณาดูแล้วหะดีษสานวนข้างต้นนี้น่าจะเป็นหะดีษที่ข้อความผิดเพี้ยน (เรียกตามศัพท์วิชา
หะดีษว่า ‫اذ‬ َ‫ش‬ ٌ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) หรือมิฉะนั้นก็เป็นหะดีษที่ถูกคัดค้าน ( ٌ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ٌ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) ซึ่งถือว่าเป็ นหะดีษ
ที่อ่อนมาก ทั้งนี้เนื่องจากข้อความบางส่วนของหะดีษนี้ ขัดแย้งกับข้อความของหะดีษ
เศาะหี้ห์ ซึ่งบันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม อันมีเนื้อหายาวพอสมควรซึ่งผู้เขียนจะสรุปตอนต้น
ให้ทราบพอเป็นสังเขปดังนี้
“หลังจากได้ปราบปรามศัตรูผู้กระด้างกระเดื่อง อันเป็นยิวเผ่าษะกีฟและเผ่าฮะวาซิน
ในสงครามหุนัยน์ (เป็นชื่อหุบเขาซึ่งอยู่ระหว่างเส้นทางไปเมืองฏออิฟ) ซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 10
เชาวาล ฮ.ศ. 8 เสร็จเรียบร้อยแล้วท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ได้แต่งตั้ง
ให้อะบูอามิร อัลอัชอะรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ (ชื่อจริงคือ อุบัยด์ บินสุลัยม์) เป็นแม่ทัพ ร่วม
คุมทหารกองหนึ่งเดินทางไปกับหลานชาย คืออะบูมูสา อัลอัชอะรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ (ชื่อ
จริงคือ อับดุลลอฮ์ บินก็อยส์ บินสุลัยม์) เพื่อติดตามจับกุมพวกยิวเหล่านั้นที่แตกพ่ายไปจาก
หุนัยน์ และไปพึ่งพาอาศัยอยู่กับยิวเผ่าฮะวาซินที่หุบเขาแห่งหนึ่งคือหุบเขาเอาฏอส (‫وَاس‬‫)أ‬
ในการต่อสู้กับศัตรูที่เอาฏอส อะบูอามิร เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ถูกข้าศึกคนหนึ่งจาก
เผ่าญุชัมใช้ธนูยิงโดนที่เข่าอย่างจังและเสียโลหิตมาก แต่อะบูมูสาผู้เป็นหลานก็ได้ติดตามไป
สังหารข้าศึกคนนั้นได้สาเร็จ และก่อนเสียชีวิตอะบูอามิร เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ก็ได้มอบหมาย
5
ให้อะบูมูสารับหน้าที่เป็นแม่ทัพแทนท่านและได้กล่าวแก่อะบูมูสา (ตามการรายงานของอะบู
มูสาเอง) ว่า
‹ِ‫ي‬‫ّن‬ِ‫م‬ ُ‫ه‬ْ‫ئ‬ِ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫أ‬َ‫ف‬ ،ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ َّ‫اَّلل‬ ِ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫َل‬‫ا‬ ْ‫ق‬ِ‫ل‬َ‫ْط‬‫ن‬‫ا‬ ! ْ ِ‫ِخ‬‫أ‬ َ‫ن‬ْ‫ب‬‫ا‬ َ‫َي‬َ َ‫ال‬ َّ‫الس‬:َُ‫َل‬ ْ‫ل‬ُ‫ق‬َ‫و‬ ،
ْ ِ‫ل‬ ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫س‬‫ا‬ :ٍ‫ر‬ِ‫ام‬َ‫ع‬ْ‫و‬ُ‫ب‬َ‫ا‬ َ َ‫ِل‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ُ‫ق‬َ‫ي‬›. ،.ِ‫ي‬ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫َل‬‫ا‬ ُ‫ت‬ْ‫ع‬َ‫ح‬َ‫ر‬ ‫ا‬َّ‫م‬َ‫ل‬َ‫ف‬ ، َ‫ات‬َ‫م‬ ُ‫ه‬َّ‫ن‬‫ا‬ َّ ُ‫ُث‬ ‫ا‬ً ْ‫ْي‬ ِ‫َس‬‫ي‬ َ‫ث‬َ‫ك‬َ‫م‬َ‫و‬ .
َ‫ص‬. ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬.:َُ‫َل‬ ُ‫ت‬ْ‫ل‬ُ‫ق‬ .‹ْ ِ‫ل‬ ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫َس‬‫ي‬ :ُ‫ه‬‫ـ‬َ‫ل‬ ْ‫ل‬ُ‫ق‬ :َ‫ال‬َ‫ق‬›َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ َّ‫اَّلل‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ار‬َ‫ع‬َ‫د‬َ‫ف‬
: َ‫ال‬َ‫ق‬ َّ ُ‫ُث‬ ،ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ َ‫ع‬َ‫ف‬َ‫ر‬ َّ ُ‫ُث‬ ،ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬َ‫ا‬َّ‫ض‬َ‫و‬َ‫ت‬َ‫ف‬ ٍ‫ء‬‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬‹ٍ‫ر‬ِ‫م‬‫ا‬َ‫ع‬ ْ ِ‫ِب‬َ‫أ‬ ٍ‫د‬ْ‫ي‬َ‫ب‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬‫ا‬ َّ‫م‬ُ‫ه‬َّ‫ل‬‫ل‬َ‫ا‬›ُ‫ت‬ْ‫ي‬َ‫أ‬َ‫ر‬ َّ‫ِت‬َ‫ح‬ ،
:َ‫ال‬َ‫ق‬ َّ ُ‫ُث‬ ،ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ط‬ْ‫ب‬‫ا‬ َ‫اض‬َ‫ي‬َ‫ب‬‹ِ‫اس‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ْ‫و‬‫أ‬ َ‫ك‬ِ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫خ‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ٍ ْ‫ْي‬ِ‫ث‬َ‫ك‬ َ‫ق‬ْ‫و‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ي‬ِ‫ق‬‫ل‬ْ‫ا‬ َ ْ‫و‬َ‫ي‬ ُ ْ‫َل‬َ‫ع‬ْ‫اج‬ َّ‫م‬ُ‫ه‬َّ‫ل‬‫ل‬َ‫أ‬›ُ‫ت‬ْ‫ل‬ُ‫ق‬َ‫ف‬:
‹ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫اس‬َ‫ف‬ ! ِ َّ‫اَّلل‬ َ‫ل‬ ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫َي‬ ، ْ ِ‫ل‬ َ‫و‬›ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ُّ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬‹ِ‫ن‬ْ‫ب‬ ِ َّ‫اَّلل‬ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ِ‫ل‬ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬‫ا‬ َّ‫م‬ُ‫ه‬َّ‫ل‬‫ل‬َ‫ا‬
‫ا‬ً‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ك‬ ً‫ال‬َ‫خ‬ْ‫د‬ُ‫م‬ ِ‫ة‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ي‬ِ‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ ْ‫و‬َ‫ي‬ ُ ْ‫َل‬ِ‫خ‬ْ‫د‬َ‫أ‬َ‫و‬ ،ُ‫ه‬َ‫ب‬ْ‫ن‬َ‫ذ‬ ٍ‫س‬ْ‫ي‬َ‫ق‬›
َ ِ‫ل‬ ‫ا‬َ ُ‫اُه‬َ‫د‬ْ‫ح‬‫ا‬ :َ‫ة‬َ‫د‬ْ‫ر‬ُ‫ب‬ْ‫و‬ُ‫ب‬‫أ‬ َ‫ل‬‫ا‬َ‫ق‬َ ِ‫ل‬ ‫ل‬َ‫ْر‬‫يِخ‬ُ‫ال‬ْ‫ا‬َ‫و‬ ،ٍ‫ر‬ِ‫م‬‫ا‬َ‫ع‬ ْ ِ‫ِب‬. َ‫َس‬ْ‫و‬ُ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬..
“หลานเอ๋ย! จงกลับไปหาท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และบอก
ท่านว่า ฉันฝากสลามมาด้วย แล้วจงบอกแก่ท่านว่า อะบูอามิรสั่งมาว่า ให้ท่านขออภัยโทษ
(ต่ออัลลอฮ์) แก่ฉันด้วย . . . ท่านมีชีวิตอยู่ได้ครู่หนึ่งก็สิ้นใจ เมื่อฉัน (อะบูมูสา) กลับไปหา
ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม . . . ฉันก็กล่าวแก่ท่านว่า อะบูอามิรได้สั่งมาว่า
ให้ท่านขออภัยโทษ (ต่ออัลลอฮ์) ให้เขาด้วย ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
จึงสั่งให้คนนาน้ามาให้แล้วท่านก็ทาวุฎูอ์ จากนั้นท่านก็ยกมือทั้งสองขึ้นแล้วกล่าวว่า “โอ้
อัลลอฮ์! โปรดยกโทษให้อุบัยด์ อะบูอามิรด้วยเถิด”. . . จนฉันสามารถมองเห็นความขาวของ
รักแร้ของท่านได้ แล้วท่านก็กล่าวอีกว่า โอ้อัลลอฮ์! โปรดให้เขาได้อยู่ในตาแหน่งที่สูงส่งในวัน
กิยามะฮ์เหนือกว่าปวงบ่าวส่วนมากหรือประชาชนจานวนมากของพระองค์” ฉัน (อะบูมูสา) จึง
กล่าวว่า “ขออภัยโทษให้ฉันบ้างสิ โอ้ท่านเราะสูลุลลอฮ์ฯ!” ท่านจึงกล่าวว่า “โอ้อัลลอฮ์!
โปรดอภัยโทษให้แก่อับดุลลอฮ์ บินก็อยส์ (ชื่อจริงของอะบูมูสา) และโปรดให้เขาได้เข้าอยู่ ณ
สถานที่อันทรงเกียรติในวันกิยามะฮ์ด้วยเถิด”
อะบูบุรดะฮ์ (เป็นบุตรชายของอะบูมูสา อัลอัชอะรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ เสียชีวิต ฮ.ศ.
104) ได้กล่าวว่า ครั้งหนึ่งท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ขอดุอาอ์ให้แก่อะบู
อามิร และอีกครั้งหนึ่ง ขอให้แก่อะบูมูสา . . .7
7
บันทึกโดย บุคอรีย์ หะดีษเลขที่ 4323; มุสลิม หะดีษเลขที่ 2498; “อัลบิดายะฮ์ วัลนิฮายะฮ์” โดย อิบนุกะษีร
เล่ม 4 หน้า 736
6
จะเห็นได้ว่า หะดีษบทนี้กับหะดีษข้างต้นคือหะดีษเดียวกัน แต่มีข้อความที่ขัดแย้งกัน
สองตาแหน่งคือ
(1) หะดีษข้างต้นกล่าวว่า พออะบูมูสาขอให้ช่วยขออภัยให้ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ก็ลุกขึ้นทาละหมาดสองร็อกอะฮ์ (ไม่ทราบว่าเป็นละหมาดอะไร? ทั้งยังแสดง
ว่า ขณะนั้นท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม คงมีวุฎูอ์พร้อมอยู่แล้ว) แต่ในหะดีษที่
ถูกต้องบทนี้กล่าวว่า พออะบูมูสาขอร้องท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็สั่งให้คนไป
เอาน้ามาให้แล้วท่านก็ทาวุฎูอ์ ต่อจากนั้นท่านก็ยกมือขึ้นขอดุอาอ์โดยไม่ได้ละหมาดสอง
ร็อกอะฮ์ ดังที่ถูกกล่าวอ้างในหะดีษข้างต้น
อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ได้อธิบายข้อความของหะดีษตอนนี้ว่า8
ِ‫ال‬ ِ ْ‫ِْي‬‫ه‬ ْ‫ط‬َّ‫ت‬‫ل‬‫ا‬ ُ‫اب‬َ‫ب‬ْ‫ح‬ِ‫ت‬ ْ‫س‬‫ا‬ ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ُ‫د‬‫ا‬َ‫ف‬َ‫ت‬ ْ‫ُس‬‫ي‬. ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ع‬ُّ‫ادل‬ ِِ ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ع‬ْ‫ف‬ َ‫ر‬َ‫و‬ ،ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ع‬ُّ‫ادل‬ ِ‫ة‬َ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬..
“สิ่งที่ได้รับจากหะดีษตอนนี้ก็คือ สมควรทาความสะอาด (เช่น วุฎูอ์) เมื่อต้องการจะ
ขอดุอาอ์ และชอบให้มีการยกมือทั้งสองในการขอดุอาอ์ . . .”
เพราะฉะนั้นหะดีษบทนี้จึงมิใช่หลักฐานเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์
ดังที่มีการอ้าง แต่หากจะอ้างว่าหะดีษตอนนี้คือหลักฐานอีกบทหนึ่งเรื่องสุนนะฮ์ให้ยกมือเพื่อ
ขอดุอาอ์อิสติฆฟาร (ขออภัยโทษ) ให้แก่ผู้ตาย (ไม่ว่าจะเป็นการอิสติฆฟารตอนฝังเสร็จใหม่ๆ
หรืออิสติฆฟารให้ผู้ตายไม่ว่าที่ใดก็ตาม) ก็น่าจะถูกต้องกว่า
(2) หะดีษข้างต้นนั้นกล่าวว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ยกมือขอดุอาอ์
ให้แก่อะบูมาลิก (อัลอัชอะรีย์) แต่หะดีษที่ถูกต้องบทนี้กล่าวว่าผู้ที่เสียชีวิต และท่านนะบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ขอดุอาอ์ให้ก็คือ อะบูอามิร อัลอัชอะรีย์ ซึ่งเป็นอาของอะบูมูสา
อัลอัชอะรีย์ และเป็นคนละคนกับอะบูมาลิก อัลอัชอะรีย์
อะบูอามิร อัลอัชอะรีย์ มีชื่อจริงว่า “อุบัยด์ บินสุลัยม์” ดังได้กล่าวมาแล้ว ส่วนอะบู
มาลิก อัลอัชอะรีย์ ก็เป็นเศาะหาบะฮ์ที่มีชื่อสกุลเดียวกันกับอะบูอามิร และเศาะหาบะฮ์ที่มี
สมญานามว่า อะบูมาลิก อัลอัชอะรีย์ นี้มีอยู่สองท่านด้วยกัน ท่านแรกคือ “อัลหาริษ บินอัล
หาริษ”9
ส่วนอีกท่านหนึ่งมีชื่อจริงว่า “กะอฺบ์ (กะอับ) บินอาศิม”10
ซึ่งไม่ว่าจะเป็นท่านใดจาก
ทั้งสองท่านนี้ก็ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการขอดุอาอ์อิสติฆฟารให้ของท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ในหะดีษบทนี้แต่อย่างใดทั้งสิ้น
8
“ฟัตหุลบารีย์” เล่ม 8 หน้า 43
9
“อัลอิศอบะฮ์” เล่ม 1 หน้า 288
10
“อัลอิศอบะฮ์” เล่ม 7 หน้า 168
7
จุดขัดแย้งทั้งสองประการนี้แสดงให้เห็นถึงความบกพร่องในด้าน “ความจา” ของ
ผู้รายงานบางท่านของหะดีษข้างต้น และหะดีษบทใดก็ตามที่ผู้รายงานที่บกพร่อง ได้รายงาน
ให้ขัดแย้งกับผู้รายงานที่เชื่อถือได้ จะเรียกหะดีษนั้นตามศัพท์วิชาการว่า “หะดีษมุงกัร”
( ٌ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ٌ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) ซึ่งถือเป็นหะดีษที่อ่อนมากดังกล่าวมาแล้ว
สรุปแล้วเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ไม่ว่าละหมาดสุนนะฮ์ชนิดใด
จึงเป็นเรื่องที่ไม่มีหลักฐานที่ถูกต้องมายืนยันแม้แต่บทเดียว นอกจากในละหมาดสุนนะฮ์
เมื่อเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น ละหมาดขอฝนเมื่อฝนแล้ง หรือละหมาดกุสูฟเมื่อเกิด
สุริยคราสหรือจันทรคราส ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น
‫رسوَل‬ ‫قال‬ ‫هللا‬ ‫قال‬ ‫العَّل‬...‫يه‬‫و‬‫مت‬‫ل‬‫اب‬ ‫ليس‬ ‫الصحابة‬ ‫قال‬
‫سفاهة‬ ‫للخالف‬ ‫نصبك‬ ‫العَّل‬ ‫ما‬...‫فقيه‬ ‫قول‬ ‫بْي‬‫و‬ ‫الرسول‬ ‫بْي‬
‫ْصابه‬‫أ‬‫و‬ ‫َل‬‫أ‬ ‫وعَّل‬ ‫محمد‬ ‫بينا‬‫ن‬ ‫عَّل‬ ‫وسَّل‬ ‫هللا‬ ‫وصَّل‬
‫يو‬ ‫َل‬‫ا‬ ‫حسان‬‫اب‬ ‫بعهم‬‫ت‬ ‫ومن‬‫ادلين‬

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้Kasetsart University
 
‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan Rintangan
‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan Rintangan‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan Rintangan
‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan RintanganWan Mohd
 
สามก๊ก ลำดับเหตุการณ์
สามก๊ก   ลำดับเหตุการณ์สามก๊ก   ลำดับเหตุการณ์
สามก๊ก ลำดับเหตุการณ์sornblog2u
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2tayanon
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdfChuta Tharachai
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าKasetsart University
 
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่PitchyJelly Matee
 
حزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذلي
حزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذليحزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذلي
حزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذليLanguage Explore
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวDnnaree Ny
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 

Tendances (19)

ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
 
‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan Rintangan
‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan Rintangan‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan Rintangan
‘AQABAH KEEMPAT Aqabah Gangguan Rintangan
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
สามก๊ก ลำดับเหตุการณ์
สามก๊ก   ลำดับเหตุการณ์สามก๊ก   ลำดับเหตุการณ์
สามก๊ก ลำดับเหตุการณ์
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
 
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
ฮีตสิบสอง คองสิบสี่
 
حزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذلي
حزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذليحزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذلي
حزب البحر للإمام أبي الحسن الشاذلي
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทย
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 

En vedette

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือด
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือดคำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือด
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือดOm Muktar
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةOm Muktar
 
موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية
موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية
موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية Om Muktar
 
إثبات صفة العلو لابن قدامة
إثبات صفة العلو لابن قدامة إثبات صفة العلو لابن قدامة
إثبات صفة العلو لابن قدامة Om Muktar
 
أبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلف
أبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلفأبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلف
أبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلفOm Muktar
 
البيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من يناير
البيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من ينايرالبيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من يناير
البيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من ينايرOm Muktar
 
الإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمها
الإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمهاالإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمها
الإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمهاOm Muktar
 
South Thailand: Politics, Identity, and Culture
South Thailand: Politics, Identity, and CultureSouth Thailand: Politics, Identity, and Culture
South Thailand: Politics, Identity, and CultureOm Muktar
 
تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين
تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين
تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين Om Muktar
 
KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?
KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?
KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?Om Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرمانيإجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرمانيOm Muktar
 
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...Om Muktar
 
علماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعة
علماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعةعلماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعة
علماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعةOm Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...Om Muktar
 
กุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺกุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺsunnahstudent
 
Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)
Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)
Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)Gregory Richter
 
Adv20001 group 1 assignment ss
Adv20001 group 1 assignment ssAdv20001 group 1 assignment ss
Adv20001 group 1 assignment ssBK01
 
Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016
Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016
Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016Pavel Ovseiko
 

En vedette (20)

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือด
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือดคำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือด
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การถ่ายเลือดและการบริจาคเลือด
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
 
موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية
موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية
موقف الإمامين ابن تيميَّة وابن القيّم من الصُّوفية
 
إثبات صفة العلو لابن قدامة
إثبات صفة العلو لابن قدامة إثبات صفة العلو لابن قدامة
إثبات صفة العلو لابن قدامة
 
أبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلف
أبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلفأبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلف
أبو الحسن الاشعري بين المعتزلة والسلف
 
البيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من يناير
البيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من ينايرالبيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من يناير
البيان الواضح لمذهب السلف الصالح وقفة مع كتاب ثورة الخامس والعشرين من يناير
 
الإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمها
الإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمهاالإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمها
الإسراء والمعراج وذكر أحاديثهما وتخريجها وبيان صحيحها من سقيمها
 
South Thailand: Politics, Identity, and Culture
South Thailand: Politics, Identity, and CultureSouth Thailand: Politics, Identity, and Culture
South Thailand: Politics, Identity, and Culture
 
تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين
تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين
تنبيه الفطين لتهافت تأصيلات علي الحلبي المسكين والتي خالف بها نهج السلف الأولين
 
KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?
KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?
KFC (ไทย) หะลาลหรือไม่?
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرمانيإجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
 
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
 
علماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعة
علماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعةعلماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعة
علماء الشيعة يقولون..! وثائق مصورة من كتب الشيعة
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : การบริจาคอวัยวะและการใช้ประโยชน์จากอวัยวะขอ...
 
กุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺกุนูตศุบหฺ
กุนูตศุบหฺ
 
Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)
Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)
Security Management, A Campus Response to Crisis, April 2014 (Richter)
 
Adv20001 group 1 assignment ss
Adv20001 group 1 assignment ssAdv20001 group 1 assignment ss
Adv20001 group 1 assignment ss
 
wwm.ppt
wwm.pptwwm.ppt
wwm.ppt
 
Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016
Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016
Markers_of_achievement_BMJ_Open_2016
 

Plus de Om Muktar

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمOm Muktar
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىOm Muktar
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةOm Muktar
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانOm Muktar
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...Om Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةOm Muktar
 

Plus de Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
 

การ "ยกมือ" ขอดุอาอ์หลังละหมาด (สุนนะฮ์)

  • 1. 1 การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาด ผู้เขียนเคยฟังการนาเสนอมาว่า มีหลักฐานจากหะดีษเศาะหี้ห์ให้ยกมือขอดุอาอ์หลัง ละหมาดสุนนะฮ์ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎูก็ไม่น่าจะมีปัญหา หรือ น่าจะดีกว่าด้วยซ้าไป ก่อนที่จะชี้แจงและทาความเข้าใจตามที่ได้มีการนาเสนอมานี้ ผู้เขียนก็ขอทาความเข้าใจ ในประเด็นปัญหาเรื่อง “การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู” กันเสียก่อน1 มุบาร็อก ฟูรีย์ ได้นาเสนอหลักฐานของผู้ที่มีทัศนะว่า อนุญาตให้ยกมือขอดุอาอ์หลัง ละหมาดฟัรฎูได้2 โดยได้อ้างอิงหะดีษจากคากล่าวและการกระทาของท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม ที่ถูกบันทึกในตาราบางเล่มเอาไว้ว่า ท่านเคยใช้และเคยยกมือขอดุอาอ์หลัง ละหมาดฟัรฎูมาประกอบห้าบทซึ่งแต่ละบทล้วนเป็ นหะดีษเฎาะอีฟทั้งสิ้น นอกจากนี้มุบาร็อก ฟูรีย์ ยังได้อ้างหลักฐานจากหะดีษที่ถูกต้อง (เศาะหี้ห์) หลายบท ที่ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวถึงเรื่องการยกมือขอดุอาอ์เอาไว้ (โดยมิได้กาหนดหรือจากัดว่า เป็นดุอาอ์ชนิดใด และในกาลเทศะใด) มาสนับสนุนทัศนะนี้ ซึ่งมุบาร็อก ฟูรีย์ ก็อนุโลมเอาว่า การขอดุอาอ์ไม่ว่าจะหลังละหมาดฟัรฎูหรือในกาลเทศะใด ก็ถือว่าเป็ นดุอาอ์เหมือนกัน จึงย่อมมีสิทธิ์ที่จะยกมือในการขอได้ตามนัยกว้างๆ ของหะดีษที่ ถูกต้องเรื่องการยกมือขอดุอาอ์เหล่านั้น แล้วท่านก็ได้กล่าวสรุปเอาไว้ว่า3 ِ‫اء‬َ‫ع‬ ُّ‫ادل‬ ِ‫ِف‬ ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫ع‬ْ‫ف‬َ‫ر‬ َّ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ي‬ِ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ُ‫ح‬ ِ‫اج‬َّ‫الر‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬َ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َ‫س‬ْ‫أ‬َ‫ب‬ َ‫ال‬ ٌ‫د‬َ‫ح‬َ‫أ‬ َُ‫َل‬َ‫ع‬َ‫ف‬ْ‫و‬َ‫ل‬ ٌ‫ز‬ِ‫ئ‬‫ا‬َ‫ج‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َّ‫الص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ . َ‫اَل‬َ‫ع‬َ‫ت‬ ُ‫ه‬‫ـ‬َّ‫ل‬‫ل‬‫ا‬ َ‫ء‬‫أ‬ َ‫ش‬ ْ‫ن‬‫ا‬.. “ทัศนะที่มีน้าหนักสาหรับฉันก็คือ การยกมือทั้งสองเพื่อขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู เป็นที่อนุมัติ สมมุติหากมีผู้ใดปฏิบัติมันก็ไม่มีบาปอันใดสาหรับเขา อินชาอัลลอฮ์ . . .” นี่คือทัศนะของนักวิชาการหะดีษมีระดับท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลัง ละหมาดฟัรฎู ที่สมควรจะต้องรับฟังเอาไว้พิจารณา 1 นักวิชาการต่างมีทัศนะที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังจากละหมาดฟัรฎูว่า จะเป็นที่อนุญาต ให้ปฏิบัติได้หรือไม่? ซึ่งสามารถหาอ่านรายละเอียดได้จาก “ฟัตหุลบารีย์” เล่ม 11 หน้า 141-143; “นัยลุลเอาฏอร” เล่ม 4 หน้า 34; “ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” เล่ม 2 หน้า 198-202 2 “ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” โดย มุบาร็อก ฟูรีย์ เล่ม 2 หน้า 198-202 3 “ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” โดย มุบาร็อก ฟูรีย์ เล่ม 2 หน้า 202
  • 2. 2 ขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการอีกหลายท่านไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์ หลังละหมาดดังกล่าวด้วยเหตุผลที่ว่า มีหะดีษที่ถูกต้องบางบทรายงานมาว่าท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคย “ขอดุอาอ์” หลังละหมาดฟัรฎูและเคยกล่าวถึงเรื่องการขอ ดุอาอ์หลังละหมาดฟัรูฎู ซึ่งมุบาร็อก ฟูรีย์ เองก็ได้ยืนยันและยอมรับความจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้ ไว้ด้วยเช่นเดียวกัน4 แต่ข้อเท็จจริงก็คือ ทั้งๆ ที่ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้มีการยก มือขอดุอาอ์ แต่กลับไม่ปรากฏว่า มีหะดีษที่ถูกต้องบทใดรายงานมาว่าท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม เคยยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู แม้แต่บทเดียว เช่นนี้แสดงว่าการยก มือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู ย่อมมิใช่เป็นบทบัญญัติแห่งอิสลาม ด้วยเหตุนี้นักวิชาการบาง ท่านจึงตัดสินว่า การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎูนั้นเป็นบิดอะฮ์ ชัยค์อับดุลอะซีซ บินบาซ ได้กล่าวว่า5 ُ‫ه‬َّ‫ن‬َ‫أ‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ه‬‫ـ‬َّ‫ل‬‫ال‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ‫ي‬ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ ِ‫ن‬َ‫ع‬ َّ‫ح‬ ِ‫ص‬َ‫ي‬ْ َ‫مل‬َّ‫ح‬ ِ‫ص‬َ‫ي‬ ْ‫م‬َ‫ل‬َ‫و‬ ،ِ‫ة‬ َ‫ض‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َ‫ص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ ُ‫ع‬َ‫ف‬ْ‫ر‬َ‫ي‬ َ‫ن‬ َ‫َك‬ ِ‫ه‬ِ‫ب‬‫ا‬َ ْ‫ْص‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬‫ا‬ ً‫ض‬ْ‫ي‬َ‫أ‬ َ ِ‫ِل‬ َ‫ذ‬-ْ‫م‬ُ ْ‫ْن‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َ ِ‫ِض‬ َ‫ر‬-ْ‫م‬ِْ‫ْي‬ِ‫د‬ْ‫ي‬َ‫أ‬ ِ‫ع‬ْ‫ف‬َ‫ر‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ ِ‫اس‬َّ‫ن‬‫ال‬ ُ‫ض‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ ُُ‫َل‬َ‫ع‬ْ‫ف‬َ‫ي‬‫ا‬َ‫م‬َ‫و‬ ،َُ‫َّل‬ْ‫ع‬َ‫ن‬‫ا‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ . ‫َا‬‫ه‬َ‫ل‬ َ‫ل‬ ْ‫ص‬َ‫أ‬ َ‫ال‬ ٌ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫ِد‬‫ب‬ ِ‫ة‬ َ‫ض‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َ‫ص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬.. “ไม่เคยปรากฏหลักฐานที่ถูกต้องใดๆ จากท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัมว่า ท่านจะเคยยกมือทั้งสอง (เพื่อขอดุอาอ์) หลังจากการละหมาดฟัรฎู และก็ไม่เคย ปรากฏหลักฐานที่ถูกต้องใดๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้เช่นกันจากบรรดาเศาะหาบะฮ์ของท่าน (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม) เท่าที่เรารู้ และการที่ประชาชนบางคนได้ยกมือทั้งสองของเขาขึ้นขอ ดุอาอ์หลังจากละหมาดฟัรฎูแล้วถือว่าเป็ นบิดอะฮ์ที่ไม่มีหลักฐานใดๆ ทั้งสิ้น . . .” สรุปแล้วเรื่องที่ว่า จะอนุญาตให้มีการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎูได้หรือไม่? จึง เป็นเรื่องการ “มองต่างมุม” ของนักวิชาการ ก็ขอให้ใช้ดุลยพินิจเองในการปฏิบัติสิ่งนี้ซึ่ง ผู้เขียนของดเว้นที่จะแสดงความเห็นในลักษณะชี้นาใดๆ ทั้งสิ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้ อิมามอัชเชากานีย์ ได้นาเสนอทางออกไว้อย่างเป็นกลางๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้6 ในตอนที่ อธิบายหะดีษของอะนัส บินมาลิก เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ที่ว่า ไม่เคยปรากฏว่าท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม จะเคยยกมือทั้งสองของท่านในดุอาอ์ใดๆ นอกจากในการ ละหมาดขอฝน โดยท่านจะยกมือทั้งสองจนกระทั่งสามารถมองเห็นความขาวของรักแร้ทั้งสอง ของท่าน โดยอิมามอัชเชากานีย์เห็นว่า 4 “ตุห์ฟะตุลอะห์วะสีย์” เล่ม 2 หน้า 197 5 “อัลฟะตาวีย์” โดย อับดุลอะซีซ อิบนุบาซ เล่ม 1 หน้า 74 6 “นัยลุลเอาฏอร” โดย อัชเชากานีย์ เล่ม 4 หน้า 34
  • 3. 3 ‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ٍ ْ‫ئ‬ َ‫ش‬ ْ ِ‫ِف‬ ُ‫د‬َ‫ي‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ع‬َ‫ف‬ْ‫ر‬ُ‫ت‬ َ‫ال‬َ‫ف‬ ، ٍ‫س‬َ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ِ‫ر‬ْ‫و‬ُ‫ك‬ْ‫ذ‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ي‬ْ‫ف‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫َّل‬َ‫ع‬ُ‫ء‬‫ا‬َ‫ق‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ‫ى‬ِ‫غ‬َ‫ب‬ْ‫ن‬َ‫ي‬ ُ‫ه‬َّ‫ن‬َ‫ا‬ ُ‫ر‬ِ‫ه‬‫ا‬َّ‫الظ‬َ‫و‬ِ‫ة‬َ‫ي‬ِ‫ع‬ْ‫د‬َّ‫ال‬‫ا‬ ِ‫ى‬ْ‫ف‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫َض‬َ‫ت‬ْ‫ق‬ُ‫م‬ِ‫ب‬‫َا‬‫ه‬‫ا‬َ‫و‬ ِ‫اس‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ ُ‫ل‬َ‫م‬ْ‫ع‬ُ‫ي‬َ‫و‬ ،ُ‫ع‬ْ‫ف‬َّ‫االر‬َ ْ‫ْي‬ِ‫ف‬َ‫د‬َ‫ر‬َ‫و‬ ْ ِ‫ِت‬َّ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ع‬ ِ‫اض‬َ‫و‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ِف‬... “และตามรูปการณ์แล้วก็คือ ให้คงไว้ซึ่งการปฏิเสธ (การยกมือในการขอดุอาอ์ใดๆ นอกจากดุอาอ์ขอฝน) ดังที่มีกล่าวไว้ในหะดีษของอะนัส ดังนั้นจึงไม่ต้องยกมือในดุอาอ์ชนิด ใดทั้งสิ้น เว้นแต่ในหลายๆ กรณีที่มีรายงานมาว่า (นะบีย์ฯ) เคยยกมือในดุอาอ์เหล่านั้น และให้ปฏิบัติในกรณีที่อื่นจากนี้ (กล่าวคืออื่นจากดุอาอ์ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าท่านนะบีย์ฯ ยกมือด้วย) ให้เป็นไปตามเป้ าหมายแห่งการปฏิเสธนั้น (นั่นคือไม่ต้องยกมือในดุอาอ์อื่นใด ทั้งสิ้นนอกจากดุอาอ์ขอฝน และดุอาอ์อื่นๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าท่านนะบีย์ฯ เคยยกมือ เท่านั้น) . . .” อนึ่งสาหรับเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ดังที่มีการอ้างหลักฐานจาก หะดีษที่ได้มีการนาเสนอมานั้น ก่อนอื่นผู้เขียนขอนาเสนอข้อความที่มีการอ้างไว้ดังนี้ ْ‫ل‬َ‫ا‬ َ‫َس‬ ْ‫و‬ُ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬َّ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ َََ‫ل‬ ََ ُ‫ه‬َّ‫ن‬‫أ‬ ِ‫ي‬‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ع‬ ْ‫ش‬َ ِ‫ل‬ َ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫َّس‬‫ي‬ ‫ن‬َ‫أ‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬َ ‫ا‬َ‫ق‬َ‫ف‬ ،ِ‫ه‬ْ‫ي‬ِ‫يِخ‬ ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ‫ا‬َ‫ع‬َ‫د‬ َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ َ‫ع‬َ‫ف‬َ‫ر‬ ِ‫ة‬َ‫ال‬ َّ‫الص‬َ‫د‬ْ‫ع‬َ‫ب‬ َّ ُ‫ُث‬ ، ِ ْ‫ْي‬َ‫ت‬َ‫ع‬ْ‫ك‬َ‫ر‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬َ‫و‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ َ ِ‫ل‬َ ِ‫ل‬ َّ ُ‫ُث‬ ٍ ِ‫اِل‬َ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬َ ِ‫ى‬َ‫ر‬ َ‫َس‬ْ‫و‬ُ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬. ‫ا‬َ‫م‬ُ ْ‫ْن‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬.. อะบูมูสา อัลอัชอารีย์ ขอให้ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ช่วยขออภัย ให้แก่พี่น้องของเขา จากนั้นท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จึงลุกขึ้นละหมาด สองร็อกอะฮ์ ภายหลังละหมาดเสร็จท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ยกมือ ทั้งสองของท่านและดุอาอ์ให้แก่อะบูมาลิก จากนั้นก็ขอให้แก่อะบูมูสา (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา) จากหะดีษข้างต้นสรุปได้ว่า ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยยกมือ ขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ซึ่งเป็นการบ่งบอกให้รู้ว่าอนุญาตให้กระทาเช่นนั้นได้ กระนั้นก็ ตามท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กระทาเช่นนั้นเพียงครั้งหรือสองครั้ง เท่านั้น ใน “ฟัตหุลบารีย์” เล่ม 4 หน้า 417 ได้กล่าวว่า การยกมือทั้งสองเพื่อขอดุอาอ์หลัง ละหมาดสุนนะฮ์ พบหลักฐานว่าถูกปฏิบัติเพียงครั้งหรือสองครั้งเท่านั้น จากข้อความข้างต้นพอจะสรุปได้ดังนี้ 1. การยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ท่านเราะสูลุลลอฮ์ฯ เคยปฏิบัติเพียงหนึ่ง ครั้งหรือสองครั้ง 2. หะดีษบทนั้นคือหลักฐานเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ผู้เขียนขอชี้แจงข้อเท็จจริงของเรื่องนี้ดังต่อไปนี้ 1. การอ้างว่า การยกมือทั้งสองเพื่อขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ พบหลักฐานว่าถูก ปฏิบัติเพียงครั้งหรือสองครั้งเท่านั้น หากคาว่า ละหมาดสุนนะฮ์ ในที่นี้หมายถึงการละหมาด
  • 4. 4 ในกรณีเกิดปรากฏการณ์ตามการกาหนดสภาวะของอัลลอฮ์ ที่เรียกกันทั่วๆ ไปว่า “ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ” เช่น การละหมาดขอฝนเมื่อเกิดแล้งจัด หรือละหมาดกุสูฟ เมื่อเกิดสุริยคราสหรือจันทรคราส ก็ถือว่าเป็นเรื่องถูกต้อง ทั้งนี้เพราะท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดขอฝนดังที่บันทึกโดยบุคอรีย์ จากอะนัส บินมาลิก เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ และหลังละหมาดสุริยคราสดังที่บันทึกโดยมุสลิมจาก อับดุรเราะห์มาน บินสะมุเราะฮ์ และท่านหญิงอาอิชะฮ์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา แต่ถ้าหากคาว่า “ละหมาดสุนนะฮ์” ในที่นี้หมายถึงละหมาดสุนนะฮ์อื่นจากละหมาด ขอฝนและละหมาดสุริยคราส อันเป็นความหมายที่เข้าใจกันโดยทั่วๆ ไปของคาว่าละหมาด สุนนะฮ์ เช่น ละหมาดสุนนะฮ์หลังมัฆริบ ละหมาดสุนนะฮ์ก่อนละหมาดศุบห์ ละหมาด สุนนะฮ์ก่อนหรือหลังซุฮฺร์ ฯลฯ ผู้เขียนก็ไม่เคยเจอรายงานหะดีษแม้แต่บทเดียวว่า ท่าน เราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะเคยยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ เหล่านี้ 2. สาหรับหะดีษที่ถูกนามาอ้างเป็นหลักฐานสนับสนุนการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาด สุนนะฮ์บทนั้น แม้ว่าผู้เขียนจะไม่เคยเจอสายรายงานของหะดีษดังสานวนข้างต้น แต่เมื่อ พิจารณาดูแล้วหะดีษสานวนข้างต้นนี้น่าจะเป็นหะดีษที่ข้อความผิดเพี้ยน (เรียกตามศัพท์วิชา หะดีษว่า ‫اذ‬ َ‫ش‬ ٌ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) หรือมิฉะนั้นก็เป็นหะดีษที่ถูกคัดค้าน ( ٌ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ٌ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) ซึ่งถือว่าเป็ นหะดีษ ที่อ่อนมาก ทั้งนี้เนื่องจากข้อความบางส่วนของหะดีษนี้ ขัดแย้งกับข้อความของหะดีษ เศาะหี้ห์ ซึ่งบันทึกโดยบุคอรีย์และมุสลิม อันมีเนื้อหายาวพอสมควรซึ่งผู้เขียนจะสรุปตอนต้น ให้ทราบพอเป็นสังเขปดังนี้ “หลังจากได้ปราบปรามศัตรูผู้กระด้างกระเดื่อง อันเป็นยิวเผ่าษะกีฟและเผ่าฮะวาซิน ในสงครามหุนัยน์ (เป็นชื่อหุบเขาซึ่งอยู่ระหว่างเส้นทางไปเมืองฏออิฟ) ซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 10 เชาวาล ฮ.ศ. 8 เสร็จเรียบร้อยแล้วท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ได้แต่งตั้ง ให้อะบูอามิร อัลอัชอะรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ (ชื่อจริงคือ อุบัยด์ บินสุลัยม์) เป็นแม่ทัพ ร่วม คุมทหารกองหนึ่งเดินทางไปกับหลานชาย คืออะบูมูสา อัลอัชอะรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ (ชื่อ จริงคือ อับดุลลอฮ์ บินก็อยส์ บินสุลัยม์) เพื่อติดตามจับกุมพวกยิวเหล่านั้นที่แตกพ่ายไปจาก หุนัยน์ และไปพึ่งพาอาศัยอยู่กับยิวเผ่าฮะวาซินที่หุบเขาแห่งหนึ่งคือหุบเขาเอาฏอส (‫وَاس‬‫)أ‬ ในการต่อสู้กับศัตรูที่เอาฏอส อะบูอามิร เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ถูกข้าศึกคนหนึ่งจาก เผ่าญุชัมใช้ธนูยิงโดนที่เข่าอย่างจังและเสียโลหิตมาก แต่อะบูมูสาผู้เป็นหลานก็ได้ติดตามไป สังหารข้าศึกคนนั้นได้สาเร็จ และก่อนเสียชีวิตอะบูอามิร เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ก็ได้มอบหมาย
  • 5. 5 ให้อะบูมูสารับหน้าที่เป็นแม่ทัพแทนท่านและได้กล่าวแก่อะบูมูสา (ตามการรายงานของอะบู มูสาเอง) ว่า ‹ِ‫ي‬‫ّن‬ِ‫م‬ ُ‫ه‬ْ‫ئ‬ِ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫أ‬َ‫ف‬ ،ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ َّ‫اَّلل‬ ِ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫َل‬‫ا‬ ْ‫ق‬ِ‫ل‬َ‫ْط‬‫ن‬‫ا‬ ! ْ ِ‫ِخ‬‫أ‬ َ‫ن‬ْ‫ب‬‫ا‬ َ‫َي‬َ َ‫ال‬ َّ‫الس‬:َُ‫َل‬ ْ‫ل‬ُ‫ق‬َ‫و‬ ، ْ ِ‫ل‬ ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫س‬‫ا‬ :ٍ‫ر‬ِ‫ام‬َ‫ع‬ْ‫و‬ُ‫ب‬َ‫ا‬ َ َ‫ِل‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ُ‫ق‬َ‫ي‬›. ،.ِ‫ي‬ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫َل‬‫ا‬ ُ‫ت‬ْ‫ع‬َ‫ح‬َ‫ر‬ ‫ا‬َّ‫م‬َ‫ل‬َ‫ف‬ ، َ‫ات‬َ‫م‬ ُ‫ه‬َّ‫ن‬‫ا‬ َّ ُ‫ُث‬ ‫ا‬ً ْ‫ْي‬ ِ‫َس‬‫ي‬ َ‫ث‬َ‫ك‬َ‫م‬َ‫و‬ . َ‫ص‬. ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬.:َُ‫َل‬ ُ‫ت‬ْ‫ل‬ُ‫ق‬ .‹ْ ِ‫ل‬ ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫َس‬‫ي‬ :ُ‫ه‬‫ـ‬َ‫ل‬ ْ‫ل‬ُ‫ق‬ :َ‫ال‬َ‫ق‬›َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ِ َّ‫اَّلل‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ار‬َ‫ع‬َ‫د‬َ‫ف‬ : َ‫ال‬َ‫ق‬ َّ ُ‫ُث‬ ،ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ َ‫ع‬َ‫ف‬َ‫ر‬ َّ ُ‫ُث‬ ،ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬َ‫ا‬َّ‫ض‬َ‫و‬َ‫ت‬َ‫ف‬ ٍ‫ء‬‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬‹ٍ‫ر‬ِ‫م‬‫ا‬َ‫ع‬ ْ ِ‫ِب‬َ‫أ‬ ٍ‫د‬ْ‫ي‬َ‫ب‬ُ‫ع‬ِ‫ل‬ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬‫ا‬ َّ‫م‬ُ‫ه‬َّ‫ل‬‫ل‬َ‫ا‬›ُ‫ت‬ْ‫ي‬َ‫أ‬َ‫ر‬ َّ‫ِت‬َ‫ح‬ ، :َ‫ال‬َ‫ق‬ َّ ُ‫ُث‬ ،ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ط‬ْ‫ب‬‫ا‬ َ‫اض‬َ‫ي‬َ‫ب‬‹ِ‫اس‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ْ‫و‬‫أ‬ َ‫ك‬ِ‫ق‬ْ‫ل‬َ‫خ‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ٍ ْ‫ْي‬ِ‫ث‬َ‫ك‬ َ‫ق‬ْ‫و‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ي‬ِ‫ق‬‫ل‬ْ‫ا‬ َ ْ‫و‬َ‫ي‬ ُ ْ‫َل‬َ‫ع‬ْ‫اج‬ َّ‫م‬ُ‫ه‬َّ‫ل‬‫ل‬َ‫أ‬›ُ‫ت‬ْ‫ل‬ُ‫ق‬َ‫ف‬: ‹ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬َ‫ت‬ ْ‫اس‬َ‫ف‬ ! ِ َّ‫اَّلل‬ َ‫ل‬ ْ‫و‬ ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫َي‬ ، ْ ِ‫ل‬ َ‫و‬›ََّ‫َّل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َُّ‫اَّلل‬ َّ‫َّل‬ َ‫ص‬ ُّ ِ‫ب‬َّ‫ن‬‫ال‬ َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬‹ِ‫ن‬ْ‫ب‬ ِ َّ‫اَّلل‬ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ِ‫ل‬ْ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫غ‬‫ا‬ َّ‫م‬ُ‫ه‬َّ‫ل‬‫ل‬َ‫ا‬ ‫ا‬ً‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫ك‬ ً‫ال‬َ‫خ‬ْ‫د‬ُ‫م‬ ِ‫ة‬َ‫م‬‫ا‬َ‫ي‬ِ‫ق‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ ْ‫و‬َ‫ي‬ ُ ْ‫َل‬ِ‫خ‬ْ‫د‬َ‫أ‬َ‫و‬ ،ُ‫ه‬َ‫ب‬ْ‫ن‬َ‫ذ‬ ٍ‫س‬ْ‫ي‬َ‫ق‬› َ ِ‫ل‬ ‫ا‬َ ُ‫اُه‬َ‫د‬ْ‫ح‬‫ا‬ :َ‫ة‬َ‫د‬ْ‫ر‬ُ‫ب‬ْ‫و‬ُ‫ب‬‫أ‬ َ‫ل‬‫ا‬َ‫ق‬َ ِ‫ل‬ ‫ل‬َ‫ْر‬‫يِخ‬ُ‫ال‬ْ‫ا‬َ‫و‬ ،ٍ‫ر‬ِ‫م‬‫ا‬َ‫ع‬ ْ ِ‫ِب‬. َ‫َس‬ْ‫و‬ُ‫م‬ ْ ِ‫ِب‬.. “หลานเอ๋ย! จงกลับไปหาท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และบอก ท่านว่า ฉันฝากสลามมาด้วย แล้วจงบอกแก่ท่านว่า อะบูอามิรสั่งมาว่า ให้ท่านขออภัยโทษ (ต่ออัลลอฮ์) แก่ฉันด้วย . . . ท่านมีชีวิตอยู่ได้ครู่หนึ่งก็สิ้นใจ เมื่อฉัน (อะบูมูสา) กลับไปหา ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม . . . ฉันก็กล่าวแก่ท่านว่า อะบูอามิรได้สั่งมาว่า ให้ท่านขออภัยโทษ (ต่ออัลลอฮ์) ให้เขาด้วย ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จึงสั่งให้คนนาน้ามาให้แล้วท่านก็ทาวุฎูอ์ จากนั้นท่านก็ยกมือทั้งสองขึ้นแล้วกล่าวว่า “โอ้ อัลลอฮ์! โปรดยกโทษให้อุบัยด์ อะบูอามิรด้วยเถิด”. . . จนฉันสามารถมองเห็นความขาวของ รักแร้ของท่านได้ แล้วท่านก็กล่าวอีกว่า โอ้อัลลอฮ์! โปรดให้เขาได้อยู่ในตาแหน่งที่สูงส่งในวัน กิยามะฮ์เหนือกว่าปวงบ่าวส่วนมากหรือประชาชนจานวนมากของพระองค์” ฉัน (อะบูมูสา) จึง กล่าวว่า “ขออภัยโทษให้ฉันบ้างสิ โอ้ท่านเราะสูลุลลอฮ์ฯ!” ท่านจึงกล่าวว่า “โอ้อัลลอฮ์! โปรดอภัยโทษให้แก่อับดุลลอฮ์ บินก็อยส์ (ชื่อจริงของอะบูมูสา) และโปรดให้เขาได้เข้าอยู่ ณ สถานที่อันทรงเกียรติในวันกิยามะฮ์ด้วยเถิด” อะบูบุรดะฮ์ (เป็นบุตรชายของอะบูมูสา อัลอัชอะรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ เสียชีวิต ฮ.ศ. 104) ได้กล่าวว่า ครั้งหนึ่งท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ขอดุอาอ์ให้แก่อะบู อามิร และอีกครั้งหนึ่ง ขอให้แก่อะบูมูสา . . .7 7 บันทึกโดย บุคอรีย์ หะดีษเลขที่ 4323; มุสลิม หะดีษเลขที่ 2498; “อัลบิดายะฮ์ วัลนิฮายะฮ์” โดย อิบนุกะษีร เล่ม 4 หน้า 736
  • 6. 6 จะเห็นได้ว่า หะดีษบทนี้กับหะดีษข้างต้นคือหะดีษเดียวกัน แต่มีข้อความที่ขัดแย้งกัน สองตาแหน่งคือ (1) หะดีษข้างต้นกล่าวว่า พออะบูมูสาขอให้ช่วยขออภัยให้ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม ก็ลุกขึ้นทาละหมาดสองร็อกอะฮ์ (ไม่ทราบว่าเป็นละหมาดอะไร? ทั้งยังแสดง ว่า ขณะนั้นท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม คงมีวุฎูอ์พร้อมอยู่แล้ว) แต่ในหะดีษที่ ถูกต้องบทนี้กล่าวว่า พออะบูมูสาขอร้องท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็สั่งให้คนไป เอาน้ามาให้แล้วท่านก็ทาวุฎูอ์ ต่อจากนั้นท่านก็ยกมือขึ้นขอดุอาอ์โดยไม่ได้ละหมาดสอง ร็อกอะฮ์ ดังที่ถูกกล่าวอ้างในหะดีษข้างต้น อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ได้อธิบายข้อความของหะดีษตอนนี้ว่า8 ِ‫ال‬ ِ ْ‫ِْي‬‫ه‬ ْ‫ط‬َّ‫ت‬‫ل‬‫ا‬ ُ‫اب‬َ‫ب‬ْ‫ح‬ِ‫ت‬ ْ‫س‬‫ا‬ ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ُ‫د‬‫ا‬َ‫ف‬َ‫ت‬ ْ‫ُس‬‫ي‬. ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ع‬ُّ‫ادل‬ ِِ ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫د‬َ‫ي‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ع‬ْ‫ف‬ َ‫ر‬َ‫و‬ ،ِ‫ء‬‫ا‬َ‫ع‬ُّ‫ادل‬ ِ‫ة‬َ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬.. “สิ่งที่ได้รับจากหะดีษตอนนี้ก็คือ สมควรทาความสะอาด (เช่น วุฎูอ์) เมื่อต้องการจะ ขอดุอาอ์ และชอบให้มีการยกมือทั้งสองในการขอดุอาอ์ . . .” เพราะฉะนั้นหะดีษบทนี้จึงมิใช่หลักฐานเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ดังที่มีการอ้าง แต่หากจะอ้างว่าหะดีษตอนนี้คือหลักฐานอีกบทหนึ่งเรื่องสุนนะฮ์ให้ยกมือเพื่อ ขอดุอาอ์อิสติฆฟาร (ขออภัยโทษ) ให้แก่ผู้ตาย (ไม่ว่าจะเป็นการอิสติฆฟารตอนฝังเสร็จใหม่ๆ หรืออิสติฆฟารให้ผู้ตายไม่ว่าที่ใดก็ตาม) ก็น่าจะถูกต้องกว่า (2) หะดีษข้างต้นนั้นกล่าวว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ยกมือขอดุอาอ์ ให้แก่อะบูมาลิก (อัลอัชอะรีย์) แต่หะดีษที่ถูกต้องบทนี้กล่าวว่าผู้ที่เสียชีวิต และท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ขอดุอาอ์ให้ก็คือ อะบูอามิร อัลอัชอะรีย์ ซึ่งเป็นอาของอะบูมูสา อัลอัชอะรีย์ และเป็นคนละคนกับอะบูมาลิก อัลอัชอะรีย์ อะบูอามิร อัลอัชอะรีย์ มีชื่อจริงว่า “อุบัยด์ บินสุลัยม์” ดังได้กล่าวมาแล้ว ส่วนอะบู มาลิก อัลอัชอะรีย์ ก็เป็นเศาะหาบะฮ์ที่มีชื่อสกุลเดียวกันกับอะบูอามิร และเศาะหาบะฮ์ที่มี สมญานามว่า อะบูมาลิก อัลอัชอะรีย์ นี้มีอยู่สองท่านด้วยกัน ท่านแรกคือ “อัลหาริษ บินอัล หาริษ”9 ส่วนอีกท่านหนึ่งมีชื่อจริงว่า “กะอฺบ์ (กะอับ) บินอาศิม”10 ซึ่งไม่ว่าจะเป็นท่านใดจาก ทั้งสองท่านนี้ก็ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการขอดุอาอ์อิสติฆฟารให้ของท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม ในหะดีษบทนี้แต่อย่างใดทั้งสิ้น 8 “ฟัตหุลบารีย์” เล่ม 8 หน้า 43 9 “อัลอิศอบะฮ์” เล่ม 1 หน้า 288 10 “อัลอิศอบะฮ์” เล่ม 7 หน้า 168
  • 7. 7 จุดขัดแย้งทั้งสองประการนี้แสดงให้เห็นถึงความบกพร่องในด้าน “ความจา” ของ ผู้รายงานบางท่านของหะดีษข้างต้น และหะดีษบทใดก็ตามที่ผู้รายงานที่บกพร่อง ได้รายงาน ให้ขัดแย้งกับผู้รายงานที่เชื่อถือได้ จะเรียกหะดีษนั้นตามศัพท์วิชาการว่า “หะดีษมุงกัร” ( ٌ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ٌ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) ซึ่งถือเป็นหะดีษที่อ่อนมากดังกล่าวมาแล้ว สรุปแล้วเรื่องการยกมือขอดุอาอ์หลังละหมาดสุนนะฮ์ ไม่ว่าละหมาดสุนนะฮ์ชนิดใด จึงเป็นเรื่องที่ไม่มีหลักฐานที่ถูกต้องมายืนยันแม้แต่บทเดียว นอกจากในละหมาดสุนนะฮ์ เมื่อเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น ละหมาดขอฝนเมื่อฝนแล้ง หรือละหมาดกุสูฟเมื่อเกิด สุริยคราสหรือจันทรคราส ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น ‫رسوَل‬ ‫قال‬ ‫هللا‬ ‫قال‬ ‫العَّل‬...‫يه‬‫و‬‫مت‬‫ل‬‫اب‬ ‫ليس‬ ‫الصحابة‬ ‫قال‬ ‫سفاهة‬ ‫للخالف‬ ‫نصبك‬ ‫العَّل‬ ‫ما‬...‫فقيه‬ ‫قول‬ ‫بْي‬‫و‬ ‫الرسول‬ ‫بْي‬ ‫ْصابه‬‫أ‬‫و‬ ‫َل‬‫أ‬ ‫وعَّل‬ ‫محمد‬ ‫بينا‬‫ن‬ ‫عَّل‬ ‫وسَّل‬ ‫هللا‬ ‫وصَّل‬ ‫يو‬ ‫َل‬‫ا‬ ‫حسان‬‫اب‬ ‫بعهم‬‫ت‬ ‫ومن‬‫ادلين‬