SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
57
                             บทที่ 4
                         ผลการดำา เนิน งาน
       รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผล
สำาเร็จและความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพ ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้นำาเสนอ ดังนี้
       ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การประเมินของคณะกรรมการประเมินผล
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) ของคณะกรรมการประเมินจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
       ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
       ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงาน
ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
       ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการ
ดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
       ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อ
ผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ




ตอนที่ 1 ผลการวิเ คราะห์ก ารประเมิน ของคณะกรรมการประเมิน
โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ
          ตามตาราง 1-11 ดัง นี้
58
ตารางที่ 1 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมิน โครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
            ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ

                                        ผลการ
                                                  แปลความ
              รายการ                   ประเมิน
                                                   หมาย
                                       (ร้อยละ)
1. การแต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนิน
งานโรงเรียน                            95.00       ดีมาก
ส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นลายลักษณ์
อักษร                                  92.00       ดีมาก
2. แผนงานโครงการ กิจกรรมรองรับ
นโยบายส่งเสริมสุขภาพ                   98.00       ดีมาก
3. บุคลากรในโรงเรียนทราบนโยบาย
ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ      90.30       ดีมาก
4. ผู้ปกครองทราบนโยบายหรือ
กิจกรรมที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ   97.00       ดีมาก
5. นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรม       94.56       ดีมาก
ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
                 เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 1 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ พบว่า
โดยรวมมีผลการประเมินในระดับดีมาก (ร้อยละ 94.56) และเมื่อพิจารณา
ตามรายการ พบว่า รายการที่มีผลการประเมินดีมากที่สุด คือ บุคลากรใน
โรงเรียนทราบนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 98.00)
รองลงมา คือ นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับ การส่ง
เสริมสุขภาพ (ร้อยละ 97.00) และการแต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนินงาน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอย่าง เป็นลายลักษณ์อักษร (ร้อยละ 95.00)
59
ตารางที่ 2 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมิน โครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
              ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน

                                         ผลการ
                                                    แปลความ
              รายการ                    ประเมิน
                                                     หมาย
                                        (ร้อยละ)
1. มีการจัดทำาโครงการส่งเสริมสุข
ภาพอย่างเป็นระบบครบทุกขั้นตอน           85.50         ดีมาก
2. มีคณะทำางานรับผิดชอบในแต่ละ
โครงการส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย
ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่      90.25         ดีมาก
สาธารณสุข องค์กรในชุมชน
3. มีผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพหรือ
ผู้นำาเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน         94.00         ดีมาก
หรือแกนนำานักเรียนด้านสุขภาพปฏิบัติ
งานตามบทบาทหน้าที่
4. โครงการส่งเสริมสุขภาพ มีการ          87.50         ดีมาก
นิเทศ ติดตาม โดยระบบของโรงเรียน         93.00         ดีมาก
อย่างต่อเนื่อง มีสรุปผลการนิเทศและมี    90.05         ดีมาก
การนำาผลการนิเทศไปใช้พัฒนางาน
5. มีการประเมินผลโครงการโรงเรียน
ส่งเสริมสุขภาพ
                 เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 2 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า โดย
รวมมีคะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 90.05) และเมื่อพิจารณาตามรายการ
พบว่า รายการที่มีระดับดีมากที่สุด คือ ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพหรือ
ผู้นำาเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน หรือแกนนำานักเรียนด้านสุขภาพ
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ (ร้อยละ 94.00) รองลงมา คือ มีการประเมิน
ผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 93.00) และมีคณะทำางาน
รับผิดชอบในแต่ละโครงการส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย ครู นักเรียน ผู้
ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข องค์กรในชุมชน (ร้อยละ 90.25)
60




ตารางที่ 3 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
            ด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

                                        ผลการ
                                                  แปลความ
              รายการ                   ประเมิน
                                                   หมาย
                                       (ร้อยละ)
1. โครงการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพเกิด
จากการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนกับ     85.00       ดีมาก
ชุมชน                                  86.00       ดีมาก
2. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ
อย่างต่อเนื่อง                         98.50       ดีมาก
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ
โครงการร่วมระหว่าง โรงเรียนกับ         95.50       ดีมาก
ชุมชน                                  91.25       ดีมาก
4. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อ
โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับ
ชุมชน
               เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 3 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน พบ
ว่าโดยรวมได้คะแนนในระดับดีมาก (ร้อยละ 91.25) และเมื่อพิจารณา
ตามรายการ พบว่า รายการที่มีผลการประเมินระดับดีมากที่สุด คือ
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน (ร้อย
ละ 98.50) รองลงมา คือ ประชาชนมีความพึงพอใจต่อโครงการร่วม
ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน (ร้อยละ 95.50) และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในโครงการอย่างต่อเนื่อง (ร้อยละ 86.00)
61




ตาราง 4 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้าน
           ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ

                                          ผลการ
                                                      แปลความ
               รายการ                    ประเมิน
                                                       หมาย
                                         (ร้อยละ)
1. มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมใน          96.50         ดีมาก
โรงเรียน
2. การเกิดอุบัติเหตุจากสิ่งแวดล้อมใน      91.25         ดีมาก
โรงเรียนจนไม่สามารถมาเรียนได้             86.75         ดีมาก
3. ภาชนะขังนำ้าในโรงเรียนไม่มีลูกนำ้า     84.25         ดีมาก
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ               89.69         ดีมาก
บรรยากาศภายในโรงเรียน
               เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 4 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ       จัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อ
สุขภาพ พบว่า โดยรวมได้คะแนนในระดับดีมาก (ร้อยละ (89.69) และ
เมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (ร้อยละ 96.50) รองลงมา
คือ การเกิดอุบัติเหตุจากสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนจนไม่สามารถมาเรียน
ได้ (ร้อยละ 91.25) และภาชนะขังนำ้าในโรงเรียนไม่มีลูกนำ้า (ร้อยละ
86.75)
62




ตาราง 5 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
           ด้านบริการอนามัยโรงเรียน

                                        ผลการ
                                                  แปลความ
              รายการ                   ประเมิน
                                                   หมาย
                                       (ร้อยละ)
1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพโดย
บุคลากรสาธารณสุขอย่างน้อยปีละ 1        100.00      ดีมาก
ครั้ง                                  100.00      ดีมาก
2. นักเรียนได้รับการทดสอบตรวจ          100.00      ดีมาก
สายตาปีละ 1 ครั้ง                      100.00      ดีมาก
3. นักเรียนได้รับการทดสอบการได้ยิน     85.00       ดีมาก
4. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่อง     89.25       ดีมาก
ปาก                                    100.00      ดีมาก
5. นักเรียนมีฟันแท้ไม่ผุ               100.00      ดีมาก
6. นักเรียนไม่เป็นโรคเหงือกอักเสบ                  ดีมาก
7. นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันหัด      100.00      ดีมาก
เยอรมัน คางทูม
8. นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันวัณโรค   100.00      ดีมาก
BCG
9. นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันโรค      100.00      ดีมาก
คอตีบ บาดทะยัก        ไอ กรน           97.66       ดีมาก
10. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น
เหา พยาธิ ฯลฯ ได้รับการรักษา
11. นักเรียนที่เจ็บป่วยเกินขอบเขต
การบริการของห้องพยาบาลได้รับการ
63
ส่งต่อเพื่อรักษา
                เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 5 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียน พบว่า โดยรวมได้
คะแนนในระดับดีมาก (ร้อยละ 97.66) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ
ว่า รายการที่มีคะแนนในระดับดีมากที่สุด คือ นักเรียนได้รับการตรวจ
สุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง นักเรียนได้รับ
การทดสอบตรวจสายตาปีละ 1 ครั้ง นักเรียนได้รับการทดสอบการได้ยิน
นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกัน
วัณโรค BCG นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันโรค คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน
นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ ได้รับการรักษาและ
นักเรียนที่เจ็บป่วยเกินขอบเขตการบริการของห้องพยาบาล ได้รับการส่ง
ต่อเพื่อรักษา (ร้อยละ 100) รองลงมา คือ นักเรียนไม่เป็นโรคเหงือก
อักเสบ (ร้อยละ 89.25) และนักเรียนมีฟันแท้ไม่ผุ (ร้อยละ 85.00)


ตาราง 6 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
           ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน

                                      ผลการ
                                                แปลความ
                รายการ               ประเมิน
                                                 หมาย
                                     (ร้อยละ)
1. การรักษาความสะอาดร่างกายของ        96.25      ดีมาก
นักเรียน                              95.00      ดีมาก
2. การล้างมือของนักเรียน              86.25      ดีมาก
3. นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่มี        98.00      ดีมาก
ประโยชน์                              94.00      ดีมาก
4. การไม่รับประทานอาหารที่มีสาร       92.25      ดีมาก
อันตรายของนักเรียน                   100.00      ดีมาก
5. การรู้จักการหลีกเลี่ยงสารเสพติด    78.00      ดีมาก
ของนักเรียน                          100.00      ดีมาก
6. การรู้จักการป้องกันอุบัติเหตุ      93.00      ดีมาก
อุบัติภัยของนักเรียน
7. การหลีกเลี่ยงการพนัน หรือเที่ยว   100.00      ดีมาก
กลางคืนของนักเรียน                   87.00       ดีมาก
64
8. การจัดการอารมณ์ตนเองของ              93.31       ดีมาก
นักเรียน
9. ความปลอดภัยในชีวิตและการถูก
ล่วงละเมิดทางเพศ
10. มีกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้าน
สุขภาพในโรงเรียน
11. มีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
12. นักเรียนทุกคนไม่เป็นเหา
              เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 6 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านสุขศึกษาในโรงเรียนพบว่า โดยรวมได้
คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 93.31) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า
รายการ ที่มีคะแนน ระดับดีมากที่สุด คือ การหลีกเลี่ยงการพนัน หรือ
เที่ยวกลางคืนของนักเรียนความปลอดภัยในชีวิตและการถูกล่วงละเมิดทาง
เพศ และมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
(ร้อยละ 100) รองลงมา คือ การไม่รับประทานอาหารที่มีสารอันตรายของ
นักเรียน (ร้อยละ 98.00) และการรักษาความสะอาดร่างกายของนักเรียน
(ร้อยละ 96.25)




ตาราง 7 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
           ด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย

                                         ผลการ
                                                   แปลความ
              รายการ                    ประเมิน
                                                    หมาย
                                        (ร้อยละ)
1. นักเรียนมีนำ้าหนักและส่วนสูงเป็นไป
ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย             96.00       ดีมาก
2. นักเรียนมีนำ้าหนักส่วนสูงอยู่ใน      92.00       ดีมาก
เกณฑ์ดี
65
3. นักเรียนที่พบว่ามีภาวการณ์เจริญ     100.00       ดีมาก
เติบโตผิดปกติได้รับการแก้ไข            94.25        ดีมาก
4. นักเรียนได้รับอาหารเสริมธาตุเหล็ก
1 เม็ดต่อสัปดาห์                       98.00        ดีมาก
5. นักเรียนได้รับการตรวจภาวะขาด        91.00        ดีมาก
สารไอโอดีน (โดยตรวจคอ) ปีละ 1
ครั้ง                                  100.00       ดีมาก
6. นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ
5 หมู่ ทุกวัน                          86.00        ดีมาก
7. นักเรียนได้ดื่มนมทุกวัน (ยกเว้น
นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน)         82.00        ดีมาก
8. นักเรียนมีความรู้ในการเลือกรับ      94.00        ดีมาก
ประทานอาหารที่มีคุณค่าถูกหลัก          93.33        ดีมาก
โภชนาการและความปลอดภัย
9. การรับประทานอาหารที่มีผลเสียต่อ
สุขภาพ (เช่น ทอฟฟี่ ขนมกรุบกรอบ
นำ้าอัดลม)
10. มาตรฐานสุขาภิบาลโรงอาหารใน
โรงเรียน
               เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 7 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย พบว่า โดย
รวมได้คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 93.33) และเมื่อพิจารณา
ตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ นักเรียนที่พบ
ว่ามีภาวการณ์เจริญเติบโตผิดปกติได้รับการแก้ไข นักเรียนได้ดื่มนมทุก
วัน (ยกเว้นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน) (ร้อยละ 100) รองลงมา
 คือ นักเรียนได้รับการตรวจภาวะขาดสารไอโอดีน (โดยคลำาคอ) ปีละ 1
ครั้ง (ร้อยละ 98.00) และนักเรียน
มีนำ้าหนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย (ร้อยละ
96.00)




ตาราง 8 ค่าร้อยละการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
66
         ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ

                                        ผลการ
                                                  แปลความ
              รายการ                   ประเมิน
                                                   หมาย
                                       (ร้อยละ)
1. มีสถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ออกกำาลังกายอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้      86.00       ดีมาก
2. จัดกิจกรรมออกกำาลังกายสำาหรับ       93.25       ดีมาก
นักเรียนหรือประชาชน
3. มีชุมนุม ชมรมการออกกำาลังกาย        84.00       ดีมาก
กีฬา นันทนาการในโรงเรียน
4. นักเรียนได้รับการทดสอบ              83.00       ดีมาก
สมรรถภาพทางกายอย่างน้อยปีละ 1          89.25       ดีมาก
ครั้ง ตามเกณฑ์ทดสอบที่ได้รับการ
ยอมรับ                                 95.00       ดีมาก
5. นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายผ่าน        88.42       ดีมาก
เกณฑ์ทดสอบ
6. ให้คำาปรึกษาแก่นักเรียนที่ไม่ผ่าน
เกณฑ์ทดสอบสมรรถภาพทางกายและ
ติดตามความก้าวหน้า
              เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 8 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ
ออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า โดยรวมได้คะแนนระดับดีมาก
(ร้อยละ 88.42) และ เมื่อพิจารณา
ตามรายการพบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ ให้คำาปรึกษา
แก่นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทดสอบสมรรถภาพทางกายและติดตามความ
ก้าวหน้า (ร้อยละ 95.00) รองลงมา คือ จัดกิจกรรมออกกำาลังกายสำาหรับ
นักเรียนหรือประชาชน (ร้อยละ 93.25) และนักเรียนมีสมรรถภาพทาง
กายผ่านเกณฑ์การประเมิน (ร้อยละ 89.25)
67


ตาราง 9 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
           ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม

                                          ผลการ
                                                     แปลความ
               รายการ                    ประเมิน
                                                      หมาย
                                         (ร้อยละ)
 1. ครูประจำาชั้นคัดกรองนักเรียนและ
 สามารถระบุนักเรียนที่มีปัญหาได้         100.00        ดีมาก
 2. นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้รับ
 การเฝ้าระวังและได้รับการช่วยเหลือ       100.00        ดีมาก
 เบื้องต้น
 3. นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความ        100.00        ดีมาก
 สามารถของโรงเรียนได้รับการส่งต่อ
 4. นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้    100.00        ดีมาก
 รับการช่วยเหลือหรือส่งต่อได้รับการ
 ติดตามจากครู                            100.00        ดีมาก
 5. นักเรียนสามารถปรึกษาเพื่อน พ่อ       100.00        ดีมาก
 แม่ ญาติพี่น้อง ครูทุกครั้งที่มีปัญหา
                เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 9 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ
ให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า โดยรวมได้คะแนนระดับดีมาก
(ร้อยละ 100 ) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนน
ระดับดีที่สุด คือ ครูประจำาชั้นคัดกรองนักเรียนและสามารถระบุนักเรียน
ที่มีปัญหาได้ นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังและได้รับการ
ช่วยเหลือเบื้องต้น นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความสามารถของโรงเรียนได้
รับการส่งต่อ นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วยเหลือหรือส่งต่อ
ได้รับการติดต่อจากครูและนักเรียนสามารถปรึกษาเพื่อน พ่อแม่ ญาติ พี่
น้อง ครูทุกครั้งที่มีปัญหา (ร้อยละ 100 )
68




ตาราง 10 ค่าร้อยละผลการประเมินของกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
            ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน

                                         ผลการ
                                                   แปลความ
               รายการ                   ประเมิน
                                                    หมาย
                                        (ร้อยละ)
 1. บุคลากรในโรงเรียน มีการ
 ประเมินสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง     85.00       ดีมาก
 2. บุคลากรได้รับข้อมูล ข่าวสารเรื่อง
 สุขภาพอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง       82.00       ดีมาก
 3. การสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน        95.00       ดีมาก
 4. โรงเรียนมีมาตรการการป้องกัน
 การสูบบุหรี่ในโรงเรียน                 86.00       ดีมาก
 5. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน       85.00       ดีมาก
 โรงเรียน
 6. บุคลากรในโรงเรียนร่วมกิจกรรม        92.00       ดีมาก
 ด้านส่งเสริมสุขภาพที่จัดขึ้นตามแผน     87.50       ดีมาก
 งานของโรงเรียน
                  เฉลี่ยรวม

             จากตาราง 10 ผลประเมินของคณะกรรมการประเมิน
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน
โรงเรียน พบว่า โดยรวมได้คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 87.50) และเมื่อ
พิจารณา
ตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ การสูบบุหรี่
ในบริเวณโรงเรียน (ร้อยละ 95.00) รองลงมา คือ บุคลากรในโรงเรียน
ร่วมกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่จัดขึ้นตามแผนงานของโรงเรียน
(ร้อยละ 92.00) และโรงเรียนมีมาตรการการป้องกันการสูบบุหรี่ใน
โรงเรียน (ร้อยละ 86.00)
69




ตาราง 11 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
            รวมทุกด้าน

                                     ผลการ
                                               แปลความ
             รายการ                 ประเมิน
                                                หมาย
                                    (ร้อยละ)
 1. ด้านการกำาหนดนโยบายส่ง           94.56      ดีมาก
 เสริมสุขภาพ                         90.05      ดีมาก
 2. ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน    91.25      ดีมาก
 3. ด้านโครงการร่วมระหว่าง           89.69      ดีมาก
 โรงเรียนกับชุมชน                    97.66      ดีมาก
 4. ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมใน          93.31      ดีมาก
 โรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ           93.33      ดีมาก
 5. ด้านบริการอนามัยโรงเรียน         88.42      ดีมาก
 6. ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน          100.00      ดีมาก
 7. ด้านโภชนาการและอาหารที่          87.50      ดีมาก
 ปลอดภัย                             95.65      ดีมาก
 8. ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและ
 นันทนาการ
 9. ด้านการให้คำาปรึกษาและ
 สนับสนุนสังคม
 10. ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
 ในโรงเรียน
                 เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 11 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพรวมทุกด้าน พบว่า ผลการประเมินโดยรวมมี
70
คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 95.65) และเมื่อพิจารณาตามรายด้าน พบว่า
ด้าน
ที่มีคะแนนดีมากสูงสุด คือ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม (ร้อย
ละ 100) รองลงมา คือ ด้านบริการอนามัยโรงเรียน (ร้อยละ 97.66) และ
ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 94.56)




ตอนที่ 2 ผลการวิเ คราะห์ส ถานภาพของผู้ต อบแบบสอบถามตาม
ตาราง 12 ดัง นี้
ตาราง 12 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

                                       จำานวน
               รายการ                               ร้อยละ
                                      (ความถี่)
 ครู
       1. เพศ
           ชาย                            3        50.00
           หญิง                           3        50.00
           รวม                            6        100.00
       2. วุฒิทางการศึกษา
           ตำ่ากว่าปริญญาตรี              0        00.00
           ปริญญาตรี                      6        100.00
           สูงกว่าปริญญาตรี               0        00.00
           รวม                            6        100.00
       3. ประสบการณ์ในการทำางาน
           น้อยกว่า 10 ปี                 0        00.00
           11-20 ปี                       6        100.00
           21-30 ปี
           มากกว่า 30 ปีขึ้นไป            0        00.00
71
        รวม                           6        100.00
    4. ระดับชั้นที่ทำาโครงการ
        อนุบาล                        1        16.67
        ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6       5        83.33
                รวม                   6        100.00




ตาราง 12 (ต่อ)
                                    จำานวน
                 รายการ                        ร้อยละ
                                   (ความถี่)
 นักเรียน
     1. เพศ
         ชาย                         37        60.66
         หญิง                        24        39.34
         รวม                         68        100.00
     2. กำาลังศึกษา
         อนุบาล                      19        31.15
         ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6     42        68.85
                   รวม               61        100.00
 ผู้ปกครองนักเรียน
     1. เพศ                          23        37.70
         ชาย                         38        62.30
         หญิง                        61        100.00
         รวม
     2. ท่านมีความสัมพันธ์กับ        45        73.77
 นักเรียน                            10        16.39
         พ่อหรือแม่                  6          9.84
         ตาหรือยาย                   61        100.00
         ปู่หรือย่า
         รวม                         20        32.79
     3. ปัจจุบันอายุ                 32        52.46
         ระหว่าง 21-40 ปี            9         14.75
72
        ระหว่าง 41-60 ปี              61        100.00
        มากกว่า 60 ปี
        รวม




ตาราง 12 (ต่อ)
                                     จำานวน
                 รายการ                          ร้อยละ
                                    (ความถี่)
    4. วุฒิทางการศึกษา
        ตำ่ากว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3     50        81.97
        มัธยมศึกษาปีที่ 3             7         11.48
        มัธยมศึกษาปีที่ 6             3           4.92
        สูงกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 6      1           1.63
        รวม                           61        100.00
    5. อาชีพ
        ทำานา                         16        26.23
        รับจ้างโรงงาน                 15        24.59
        รับจ้างทั่วไป                 22        36.07
        รับราชการ                     3           4.92
        ค้าขาย                        2           3.28
        แม่บ้าน                       3          4.92
        รวม                           61        100.00

    จากตาราง 12 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ครูผู้สอน
เพศชายและเพศหญิง (ร้อยละ 50.00) ส่วนมากมีวุฒิทางการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี (ร้อยละ 100) ส่วนมากมีประสบการณ์ในการสอนระหว่าง
11-20 ปี (ร้อยละ 100) ส่วนมากสอนประถมศึกษาปีที่ 1-6 (ร้อยละ
83.33) และอนุบาล(ร้อยละ 16.67)
    นักเรียนส่วนมากเป็นทั้งเพศชาย(ร้อยละ 60.66) และเพศหญิง (ร้อย
ละ 39.34) ส่วนมากกำาลังศึกษาในระดับประถมศึกษาปีที่ 1- 6 (ร้อยละ
68.85)
    และผู้ปกครองส่วนมากเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 62.30) โดยส่วนมากมี
ความสัมพันธ์เป็นพ่อหรือแม่ (ร้อยละ 73.77) ส่วนมากมีอายุระหว่าง
73
41-60 ปี (ร้อยละ 52.46) ส่วนมากมีวุฒิทางการศึกษาสูงสุดตำ่ากว่า
มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ร้อยละ 81.97) และส่วนมากมีอาชีพรับจ้างทั่วไป (ร้อย
ละ 36.07)




ตอนที่ 3 ผลการวิเ คราะห์ค วามพึง พอใจของครูต ่อ ผลการดำา เนิน
งานตามโครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ
           ตามตาราง 13-23 ดัง นี้
ตาราง 13 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
            โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการกำาหนดนโยบาย
ส่งเสริมสุขภาพ

                                      ระดับความพึงพอใจ
            รายการ                  X      S.D. แปลความ
                                                 หมาย
1. ความรู้ ความเข้าใจของคณะ
กรรมการดำาเนินงานโรงเรียนส่ง      4.83    0.41    มากที่สุด
เสริมสุขภาพ
2. นโยบายการส่งเสริมสิ่ง          5.00    0.00    มากที่สุด
แวดล้อมที่เอือต่อการเรียนรู้
              ้                   5.00    0.00    มากที่สุด
3. นโยบายการเฝ้าระวังและ
แก้ไขปัญหาสุขภาพ                  4.83    0.41    มากที่สุด
4. นโยบายการพัฒนาพฤติกรรม         5.00    0.00    มากที่สุด
สุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ
5. นโยบายการคุ้มครองผู้บริโภค     4.83    0.41    มากที่สุด
6. นโยบายส่งเสริมการออกกำาลัง
กายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน         4.83    0.41    มากที่สุด
บุคลากรของโรงเรียนและชุมชน        4.83    0.41    มากที่สุด
7. นโยบายการพัฒนาระบบการ
เรียนรู้ด้านสุขภาพโดยมีผู้เรียน
เป็นสำาคัญ                        4.83    0.41    มากที่สุด
8. นโยบายการส่งเสริมสุขภาพ
74
บุคลากรในโรงเรียน                 4.83    0.41    มากที่สุด
9. นโยบายการส่งเสริมการมีส่วน     4.92    0.20    มากที่สุด
ร่วมของชุมชนในการพัฒนา
สุขภาพนักเรียน บุคลากรใน
โรงเรียนและชุมชน
10. นโยบายการส่งเสริมสุขภาพ
ของโรงเรียน        ผู้ปฏิบัติ
สามารถนำาไปปฏิบัติได้
           เฉลี่ยรวม




      จากตาราง 13 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ
พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.92, S.D. =
0.20) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึงพอใจ
ระดับมากที่สุด คือ นโยบายการส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
นโยบายการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพและนโยบายการคุ้มครองผู้
บริโภค ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ความรู้ ความเข้าใจ
ของคณะกรรมการดำาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ นโยบายการ
พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ นโยบายส่งเสริมการออก
กำาลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน บุคลากรของโรงเรียนและชุมชน
นโยบายการพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้านสุขภาพโดยมีผู้เรียนเป็นสำาคัญ
นโยบายการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน นโยบายการส่งเสริมการ
มีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาสุขภาพนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน
และชุมชนและนโยบายการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียนผู้ปฏิบัติสามารถ
นำาไปปฏิบัติได้ ( X = 4.83, S.D. = 0.41)
75




ตาราง 14 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
           โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการบริหารจัดการใน
โรงเรียน

                                     ระดับความพึงพอใจ
            รายการ                 X      S.D. แปลความ
                                                หมาย
1. การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายใน
การจัดทำาโครงการโรงเรียนส่ง       4.83   0.41   มากที่สุด
เสริมสุขภาพ
2. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข
ภาพมีความสอดคล้องกับสภาพ          4.83   0.41   มากที่สุด
ปัจจุบันและปัญหาของโรงเรียน
3. โครงการมีการระบุกิจกรรมส่ง     4.83   0.41   มากที่สุด
เสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับ
กิจกรรมการเรียนการสอน             5.00   0.00   มากที่สุด
4. ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่
กำาหนด                            4.83   0.41   มากที่สุด
5. ความต่อเนื่องของคณะ
กรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ     4.83   0.41   มากที่สุด
ในการนิเทศ ติดตามผลการ            4.88   0.31   มากที่สุด
76
ดำาเนินงาน
6. การประเมินผลโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ของโครงการ
            เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 14 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้าน
การบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวมระดับ
มากที่สุด ( X = 4.88, S.D. = 0.31) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ
ว่า รายการที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่กำาหนด ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลง
มา คือ การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการจัดทำาโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีความสอดคล้องกับสภาพ
ปัจจุบันและปัญหาของโรงเรียน โครงการมีการระบุกิจกรรมส่งเสริมสุข
ภาพที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอน ความต่อเนื่องของคณะ
กรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในการนิเทศ ติดตามผลการดำาเนินงาน
และการประเมินผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของโครงการ ( X = 4.83, S.D. = 0.41)




ตาราง 15 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
            โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านโครงการร่วมระหว่าง
โรงเรียนกับชุมชน

                                       ระดับความพึงพอใจ
            รายการ                 X        S.D. แปลความ
                                                  หมาย
1. การเข้ามามีส่วนร่วมในการส่ง
เสริมสุขภาพนักเรียนของชุมชน       5.00    0.00   มากที่สุด
2. ความต่อเนื่องการเข้ามามีส่วน
ร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของ        4.83    0.41   มากที่สุด
ชุมชน
3. ชุมชนตระหนักและเห็นความ        4.67    0.52   มากที่สุด
77
สำาคัญของโครงการส่งเสริมสุข      4.83    0.31    มากที่สุด
ภาพของนักเรียน
          เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 15 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับ
ชุมชน พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.83,
S.D. = 0.31) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความ
พึงพอใจมากที่สุด คือ การเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
ของชุมชน ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ความต่อเนื่องการ
เข้ามามีส่วนร่วม
ในการส่งเสริมสุขภาพของชุมชน ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และชุมชน
ตระหนักและเห็นความสำาคัญของโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ
นักเรียน ( X = 4.67, S.D. = 0.52)




ตาราง 16 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
       โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมใน
โรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ

                                     ระดับความพึงพอใจ
           รายการ                  X      S.D. แปลความ
                                                หมาย
1. การจัดสนามและบริเวณออก
กำาลังกายของโรงเรียน             4.67    0.52    มากที่สุด
2. ความสะอาดของอาคารเรียน        5.00    0.00    มากที่สุด
78
และบริเวณโรงเรียน
3. อาคารเรียนอาคารประกอบ            4.67   0.52   มากที่สุด
และบริเวณโรงเรียนมีความ
ปลอดภัย                             4.83   0.41   มากที่สุด
4. ห้องพยาบาลมีสัดส่วน อุปกรณ์      4.83   0.41   มากที่สุด
ของใช้สะอาด สภาพดี
5. นำ้าดื่ม นำ้าใช้มีความสะอาดและ   5.00   0.00   มากที่สุด
มีเพียงพอ                           4.83   0.41   มากที่สุด
6. สภาพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์       4.83   0.41   มากที่สุด
สะอาด อยู่ในสภาพดี ไม่มีกลิ่น       4.67   0.52   มากที่สุด
เหม็น
7. ส้วมมีความเพียงพอต่อจำานวน       4.83   0.41   มากที่สุด
นักเรียน                            4.82   0.36   มากที่สุด
8. ระบบการกำาจัดขยะบริเวณ
โรงเรียน
9. สภาพท่อ รางระบายนำ้า สภาพ
ดี ไม่อุดตัน
10. มีระบบป้องกัน/อุปกรณ์ใน
การดับไฟและมีการตรวจสอบ
อุปกรณ์ไฟฟ้าอยู่เสมอ
                เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 16 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ
จัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดย
รวมระดับมากที่สุด ( X = 4.82, S.D. = 0.36) และเมื่อพิจารณาตาม
รายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความสะอาดของ
อาคารเรียนและบริเวณโรงเรียนและสภาพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์สะอาด
อยู่ในสภาพดี ไม่มีกลิ่นเหม็น ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ
ห้องพยาบาลมีสัดส่วน อุปกรณ์ของใช้สะอาด สภาพดี นำ้าดื่ม นำ้าใช้มีความ
สะอาดและมีเพียงพอ ส้วมมีความเพียงพอต่อจำานวนนักเรียน ระบบการ
กำาจัดขยะบริเวณโรงเรียนและมีระบบป้องกัน/อุปกรณ์ในการดับไฟและมี
การตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าอยู่เสมอ ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และการ
จัดสนาม
และบริเวณออกกำาลังกายของโรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบและ
บริเวณโรงเรียนมีความปลอดภัยและสภาพท่อ รางระบายนำ้า ไม่อุดตัน ( X
= 4.67, S.D. = 0.52)
79

ตาราง 17 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
      โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านบริการอนามัยโรงเรียน

                                       ระดับความพึงพอใจ
            รายการ                   X      S.D. แปลความ
                                                  หมาย
1. การตรวจสอบสุขภาพอนามัย
ของนักเรียนจากบุคลากร               5.00   0.00   มากที่สุด
สาธารณสุข                           5.00   0.00   มากที่สุด
2. การทดสอบสายตาของ                 5.00   0.00   มากที่สุด
นักเรียน                            5.00   0.00   มากที่สุด
3. การทดสอบการได้ยินของ             5.00   0.00   มากที่สุด
นักเรียน                            4.67   0.52   มากที่สุด
4. การตรวจสุขภาพช่องปากของ          4.67   0.52   มากที่สุด
นักเรียน
5. จำานวนนักเรียนที่มีฟันแท้ไม่ผุ   5.00   0.00   มากที่สุด
6. จำานวนนักเรียนที่ไม่เป็นโรค      4.95   0.13   มากที่สุด
เหงือกอักเสบ
7. การได้รับวัคซีนป้องกันโรค
ของนักเรียน
8. การรักษา ดูแลนักเรียนที่มี
ปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ
ฯลฯ
            เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 17 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียน พบว่า ครูมี
ความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.92, S.D. = 0.13) และ
เมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ
การตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนจากบุคลากรสาธารณสุข การ
ทดสอบสายตาของนักเรียน การทดสอบการได้ยินของนักเรียน การตรวจ
สุขภาพช่องปากของนักเรียน จำานวนนักเรียนที่มีฟันแท้ไม่ผุ และการรักษา
ดูแลนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ
80
 ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ จำานวนนักเรียนที่ไม่เป็นโรค
เหงือกอักเสบและการได้รับวัคซีนป้องกันโรคของนักเรียน ( X = 4.67,
S.D. = 0.52)




ตาราง 18 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูผู้
สอนต่อผลการดำาเนินงาน
      ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน

                                       ระดับความพึงพอใจ
            รายการ                   X      S.D. แปลความ
                                                  หมาย
1. ความสะอาดของร่างกาย              4.83 0.41      มากที่สุด
นักเรียน                            4.83 0.41      มากที่สุด
2. นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่มี      4.83 0.41      มากที่สุด
ประโยชน์                            5.00 0.00      มากที่สุด
3. นักเรียนรู้จักการหลีกเลี่ยงสาร   4.67 0.52      มากที่สุด
เสพติด                              5.00 0.00      มากที่สุด
4. นักเรียนรู้จักการป้องกัน         4.83 0.41      มากที่สุด
อุบัติเหตุ อุบัติภัย
5. นักเรียนหลีกเลี่ยงการพนัน        5.00   0.00     มากที่สุด
หรือเที่ยวกลางคืน                   4.88   0.27     มากที่สุด
6. นักเรียนมีการจัดการอารมณ์
ตนเอง
7. นักเรียนมีการแปรงฟันหลัง
อาหารกลางวัน
8. โรงเรียนมีการเผยแพร่ความรู้
ด้านสุขภาพแก่นักเรียน
               เฉลี่ยรวม
81
       จากตาราง 18 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียน พบว่า ครูมี
ความพึงพอใจ โดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.88, S.D. = 0.27) และ
เมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ
นักเรียนรู้จักการป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย นักเรียนมีการจัดการอารมณ์
ตนเองและโรงเรียนมีการเผยแพร่ความรู้ ด้านสุขภาพแก่นักเรียน ( X =
5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ความสะอาดของร่างกายนักเรียน
นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ นักเรียนรู้จักการหลีกเลี่ยงสารเสพ
ติดและนักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ( X = 4.83, S.D. =
0.41) และนักเรียนหลีกเลี่ยง
การพนัน หรือเที่ยวกลางคืน ( X = 4.67, S.D. = 0.52)




ตาราง 19 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
           โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการและอาหาร
ที่ปลอดภัย

                                      ระดับความพึงพอใจ
            รายการ                  X      S.D. แปลความ
                                                 หมาย
1. นักเรียนมีนำ้าหนักและส่วนสูง
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของ          4.83     0.41     มากที่สุด
กรมอนามัย
2. การแก้ไขนักเรียนที่มีปัญหา     4.50     0.55     มากที่สุด
ภาวการณ์เจริญเติบโตผิดปกติ        4.67     0.52     มากที่สุด
3. การรับประทานอาหารของ
นักเรียนครบ 5 หมู่                5.00     0.00     มากที่สุด
4. การบริการนักเรียนในเรื่อง      5.00     0.00     มากที่สุด
อาหารเสริม (นม) โดยเฉพาะ          4.80     0.29     มากที่สุด
นักเรียนที่มีปัญหาภาวะ
82
โภชนาการ
5. โรงอาหารของโรงเรียนมี
มาตรฐานสุขาภิบาล
          เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 19 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.80, S.D. =
0.29) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจ
มากที่สุด คือ การบริการนักเรียนในเรื่องอาหารเสริม (นม) โดยเฉพาะ
นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการและโรงอาหารของโรงเรียนมีมาตรฐาน
สุขาภิบาล (( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ นักเรียนมีนำ้าหนัก
และส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของ
กรมอนามัย ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และการรับประทานอาหารของ
นักเรียนครบ 5 หมู่
 ( X = 4.67, S.D. = 0.52)




ตาราง 20 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
           โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการออกกำาลังกาย
กีฬาและนันทนาการ

                                    ระดับความพึงพอใจ
           รายการ                 X      S.D. แปลความ
                                               หมาย
1. สถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การออกกำาลังกายอยู่ในสภาพที่    4.67    0.52     มากที่สุด
พร้อมใช้                        4.83    0.41     มากที่สุด
83
2. การจัดกิจกรรมออกกำาลังกาย
สำาหรับนักเรียน                 5.00    0.00    มากที่สุด
3. การจัดชุมนุม ชมรมการออก
กำาลังกายของโรงเรียน            4.83    0.41    มากที่สุด
4. นักเรียนมีสมรรถภาพทางกาย     4.83    0.33    มากที่สุด
ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
             เฉลี่ยรวม

       จากตาราง 20 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ
ออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวม
ระดับมากที่สุด ( X = 4.83, S.D. = 0.33) และเมื่อพิจารณาตามรายการ
พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ การจัดชุมนุม ชมรมการ
ออก
กำาลังกายของโรงเรียน ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ การจัด
กิจกรรมออกกำาลังกายสำาหรับนักเรียนและนักเรียนมีสมรรถภาพทางกาย
ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และสถานที่และอุปกรณ์
ที่ใช้ใน
การออกกำาลังกายอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้ ( X = 4.67, S.D. = 0.52)




ตาราง 21 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
            โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการให้คำาปรึกษาและ
สนับสนุนสังคม

           รายการ                  ระดับความพึงพอใจ
84
                                     X     S.D.   แปลความ
                                                  หมาย
1. การคัดกรองนักเรียนของครู
ประจำาชั้นสามารถระบุนักเรียนที่มี   4.67   0.52    มากที่สุด
ปัญหาได้
2. การเฝ้าระวังนักเรียนที่มี        4.83   0.41    มากที่สุด
พฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วย
เหลือ
3. นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความ    5.00   0.00    มากที่สุด
สามารถของโรงเรียนได้รับการส่ง       4.83   0.41    มากที่สุด
ต่อไปยังหน่วยงานที่มีขีดความ        4.83   0.33    มากที่สุด
สามารถเฉพาะ
4. ครูมีการติดตามนักเรียนที่มี
พฤติกรรมเสี่ยง
            เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 21 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ
ให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวมระดับ
มากที่สุด ( X = 4.83, S.D. = 0.33) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ
ว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีด
ความ สามารถของโรงเรียนได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่มีขีดความ
สามารถเฉพาะ ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ การเฝ้าระวัง
นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วยเหลือและครูมีการติดตาม
นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และการคัดกรอง
นักเรียนของครูประจำาชั้นสามารถระบุนักเรียนที่มีปัญหาได้ ( X = 4.67,
S.D. = 0.52)
85
ตาราง 22 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
           โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
บุคลากรในโรงเรียน

                                     ระดับความพึงพอใจ
           รายการ                  X      S.D. แปลความ
                                                หมาย
1. การบริการตรวจสุขภาพประจำา
ปีของครูและบุคลากรในโรงเรียน      4.83   0.41    มากที่สุด
2. การได้รับข้อมูล ข่าวสารเรื่อ   5.00   0.00    มากที่สุด
สุขภาพจากโรงเรียน                 4.83   0.41    มากที่สุด
3. มาตรการการป้องกันการสูบ
บุหรี่ในโรงเรียน                  5.00   0.00    มากที่สุด
4. มาตรการการป้องกันการดื่ม
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในโรงเรียน    5.00   0.00    มากที่สุด
5. การร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการ     4.92   0.20    มากที่สุด
ส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรใน
โรงเรียน
             เฉลี่ยรวม

      จากตาราง 22 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน
โรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.92,
S.D. = 0.20) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความ
พึงพอใจมากที่สุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องสุขภาพจากโรงเรียน
มาตรการการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในโรงเรียนและการร่วม
กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน ( X = 5.00,
S.D. = 0.00) รองลงมา คือ การบริการตรวจสุขภาพประจำาปีของครูและ
บุคลากรในโรงเรียนและมาตรการป้องกันการสูบบุหรี่ในโรงเรียน ( X =
4.83, S.D. = 0.41)
86




ตาราง 23 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ
ผลการดำาเนินงานตาม
           โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพรวมทุกด้าน

                                   ระดับความพึงพอใจ
           รายการ                X      S.D. แปลความ
                                              หมาย
1. ด้านการกำาหนดนโยบายส่ง       4.92 0.20      มากที่สุด
เสริมสุขภาพ                     4.88 0.31      มากที่สุด
2. ด้านการบริหารจัดการใน        4.83 0.31      มากที่สุด
โรงเรียน
3. ด้านโครงการร่วมระหว่าง       4.82    0.35    มากที่สุด
โรงเรียนกับชุมชน                4.92    0.13    มากที่สุด
4. ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมใน      4.88    0.27    มากที่สุด
โรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ       4.80    0.29    มากที่สุด
5. ด้านบริการอนามัยโรงเรียน     4.83    0.33    มากที่สุด
6. ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน       4.83    0.33    มากที่สุด
7. ด้านโภชนาการและอาหารที่      4.92    0.20    มากที่สุด
ปลอดภัย                         4.86    0.28    มากที่สุด
8. ด้านการออกกำาลังกาย กีฬา
และนันทนาการ
9. ด้านการให้คำาปรึกษาและ
สนับสนุนสังคม
10. ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
บุคลากรในโรงเรียน
             เฉลี่ยรวม

     จากตาราง 23 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพรวมทุกด้าน พบว่า ครูมีความพึงพอใจ
โดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.86, S.D. = 0.28) และเมื่อพิจารณาตาม
รายด้าน พบว่า ด้านที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการกำาหนด
นโยบายส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียนและด้านการส่ง
87
เสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน ( X = 4.92, S.D. = 0.20, 0.13) รอง
ลงมา คือ ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียนและด้านสุขศึกษาในโรงเรียน
( X = 4.88, S.D. = 0.31, 0.27) และด้านโครงการร่วมระหว่าง
โรงเรียนกับชุมชน ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการและด้าน
การให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม ( X = 4.83, S.D. = 0.31, 0.33)




ตอนที่ 4 ผลการวิเ คราะห์ค วามพึง พอใจของนัก เรีย นต่อ ผลการ
ดำา เนิน งานตามโครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ
              ตามตาราง 24 ดัง นี้
ตาราง 24 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของ
นักเรียนต่อผลการดำาเนินงาน
               ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
                                       ระดับความพึงพอใจ
               รายการ                X      S.D. แปลความ
                                                  หมาย
1.การปฏิบัติหน้าที่ของผู้นำา
นักเรียนส่งเสริมสุขภาพตาม          4.33 0.70         มาก
บทบาทหน้าที่กำาหนด
2. ความร่วมมือระหว่างโรงเรียน      4.56 0.53        มากที่สุด
กับชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพ        4.32 0.74         มาก
นักเรียน
3. ความสะอาดบริเวณอาคาร            4.49 0.53         มาก
เรียน อาคารประกอบ
4. ห้องเรียนสะอาด มีอากาศ          4.34 0.51         มาก
ถ่ายเทและแสงสว่างเพียงพอ           4.31 0.70         มาก
5. โต๊ะเก้าอี้ มีขนาดเหมาะสมกับ
นักเรียน เพียงพอและสภาพดี          4.49 .061         มาก
6. สนามกีฬาสะอาดและปลอดภัย 4.20 0.70                 มาก
7. สนามเด็กเล่น เครื่องเล่นจัด
เป็นสัดส่วนและปลอดภัย              4.68 0.50       มากที่สุด
8. การจัดบริเวณพักผ่อนเป็น
ระเบียบ สวยงาม                     4.72 0.59       มากที่สุด
88
9. ห้องพยาบาลจัดเป็นสัดส่วน         4.51    0.50    มากที่สุด
อุปกรณ์ของใช้สะอาดอยู่ในสภาพ        4.32    0.61      มาก
ดี                                  4.07    0.71      มาก
10. ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุ            4.40    0.65      มาก
อุปกรณ์ที่จำาเป็น จัดเก็บเป็น       4.51    0.56    มากที่สุด
ระเบียบ
11. ความสะอาดของนำ้าดื่ม นำ้าใช้    4.19    0.74      มาก
12. สถานที่บริการนำ้าดื่มมีความ
เพียงพอกับนักเรียน                  3.97    0.65      มาก
13. ความเพียงพอของส้วมต่อ
นักเรียน
14. ส้วมมีความสะอาด ไม่มีกลิ่น
เหม็น
15. บริเวณส้วมมีอ่างล้างมือ
สะอาด สภาพดี
16. มีถังรองรับขยะเพียงพอ ไม่มี
ขยะบริเวณโรงเรียน
17. การกำาจัดหรือป้องกันแมลง
และสัตว์พาหะนำาโรคภายใน
บริเวณโรงเรียน
                                       ระดับความพึงพอใจ
            รายการ                   X      S.D. แปลความ
                                                  หมาย
18. การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ     4.20 0.66
ภายในโรงเรียน                                        มาก
19. การตรวจสุขภาพประจำาปี           4.63 0.57
ของนักเรียนจากเจ้าหน้าที่           4.19 0.43       มากที่สุด
สาธารณสุขหรือด้วยตนเอง              4.22 0.48        มาก
20. นักเรียนไม่เป็นโรคฟันผุ         4.04 0.68
21. นักเรียนไม่เป็นโรคเหงือก        4.52 0.53      มากที่สุด
อักเสบ
22. การรักษานักเรียนที่เป็นเหา      4.47    0.65      มาก
หรือพยาธิ                           4.61    0.60    มากที่สุด
23. ความสะอาดของร่างกายและ
เสื้อผ้าของนักเรียน                 4.75    0.44    มากที่สุด
24.การรู้จักเลือกซื้ออาหารที่เป็น   4.77    0.42    มากที่สุด
ประโยชน์ของนักเรียน                 4.47    0.56      มาก
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

Contenu connexe

Tendances

15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
Pochchara Tiamwong
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
Karatz Mee
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
Wan Kanlayarat
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
Mam Chongruk
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
yasotornrit
 

Tendances (20)

15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
ใบความรู้ กฎระเบียบของโรงเรียน ป.2+429+dltvsocp2+54soc p02f 28-4page
ใบความรู้  กฎระเบียบของโรงเรียน ป.2+429+dltvsocp2+54soc p02f 28-4pageใบความรู้  กฎระเบียบของโรงเรียน ป.2+429+dltvsocp2+54soc p02f 28-4page
ใบความรู้ กฎระเบียบของโรงเรียน ป.2+429+dltvsocp2+54soc p02f 28-4page
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
มลพิษขยะมูลฝอย
มลพิษขยะมูลฝอยมลพิษขยะมูลฝอย
มลพิษขยะมูลฝอย
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท   1 ความหมายของผ^hปกครองบทท   1 ความหมายของผ^hปกครอง
บทท 1 ความหมายของผ^hปกครอง
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
โครงการ เยี่ยมบ้าน
โครงการ     เยี่ยมบ้านโครงการ     เยี่ยมบ้าน
โครงการ เยี่ยมบ้าน
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 

Similaire à รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
supraneemahasaen
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
supraneemahasaen
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
anira143 anira143
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
Suwakhon Phus
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
Krudachayphum Schoolnd
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Mayuree Kung
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
arsad20
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
Pochchara Tiamwong
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
Kasem S. Mcu
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Ummara Kijruangsri
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Ummara Kijruangsri
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Ummara Kijruangsri
 

Similaire à รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) (20)

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
 
มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..
 
จุดเน้น 7
จุดเน้น  7จุดเน้น  7
จุดเน้น 7
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
 
L5.l5
L5.l5L5.l5
L5.l5
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
 
Phd thesis presentation short 19 dec 2014
Phd thesis presentation short 19 dec 2014Phd thesis presentation short 19 dec 2014
Phd thesis presentation short 19 dec 2014
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
 
นโยบายขับเคลื่อนPptx
นโยบายขับเคลื่อนPptxนโยบายขับเคลื่อนPptx
นโยบายขับเคลื่อนPptx
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

  • 1. 57 บทที่ 4 ผลการดำา เนิน งาน รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผล สำาเร็จและความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพ ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้นำาเสนอ ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์การประเมินของคณะกรรมการประเมินผล โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) ของคณะกรรมการประเมินจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงาน ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการ ดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อ ผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ตอนที่ 1 ผลการวิเ คราะห์ก ารประเมิน ของคณะกรรมการประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ ตามตาราง 1-11 ดัง นี้
  • 2. 58 ตารางที่ 1 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมิน โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนิน งานโรงเรียน 95.00 ดีมาก ส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นลายลักษณ์ อักษร 92.00 ดีมาก 2. แผนงานโครงการ กิจกรรมรองรับ นโยบายส่งเสริมสุขภาพ 98.00 ดีมาก 3. บุคลากรในโรงเรียนทราบนโยบาย ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ 90.30 ดีมาก 4. ผู้ปกครองทราบนโยบายหรือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ 97.00 ดีมาก 5. นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรม 94.56 ดีมาก ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ เฉลี่ยรวม จากตาราง 1 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ พบว่า โดยรวมมีผลการประเมินในระดับดีมาก (ร้อยละ 94.56) และเมื่อพิจารณา ตามรายการ พบว่า รายการที่มีผลการประเมินดีมากที่สุด คือ บุคลากรใน โรงเรียนทราบนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 98.00) รองลงมา คือ นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับ การส่ง เสริมสุขภาพ (ร้อยละ 97.00) และการแต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนินงาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอย่าง เป็นลายลักษณ์อักษร (ร้อยละ 95.00)
  • 3. 59 ตารางที่ 2 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมิน โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. มีการจัดทำาโครงการส่งเสริมสุข ภาพอย่างเป็นระบบครบทุกขั้นตอน 85.50 ดีมาก 2. มีคณะทำางานรับผิดชอบในแต่ละ โครงการส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ 90.25 ดีมาก สาธารณสุข องค์กรในชุมชน 3. มีผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพหรือ ผู้นำาเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน 94.00 ดีมาก หรือแกนนำานักเรียนด้านสุขภาพปฏิบัติ งานตามบทบาทหน้าที่ 4. โครงการส่งเสริมสุขภาพ มีการ 87.50 ดีมาก นิเทศ ติดตาม โดยระบบของโรงเรียน 93.00 ดีมาก อย่างต่อเนื่อง มีสรุปผลการนิเทศและมี 90.05 ดีมาก การนำาผลการนิเทศไปใช้พัฒนางาน 5. มีการประเมินผลโครงการโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ เฉลี่ยรวม จากตาราง 2 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า โดย รวมมีคะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 90.05) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีระดับดีมากที่สุด คือ ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพหรือ ผู้นำาเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน หรือแกนนำานักเรียนด้านสุขภาพ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ (ร้อยละ 94.00) รองลงมา คือ มีการประเมิน ผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 93.00) และมีคณะทำางาน รับผิดชอบในแต่ละโครงการส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย ครู นักเรียน ผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข องค์กรในชุมชน (ร้อยละ 90.25)
  • 4. 60 ตารางที่ 3 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. โครงการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพเกิด จากการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนกับ 85.00 ดีมาก ชุมชน 86.00 ดีมาก 2. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ อย่างต่อเนื่อง 98.50 ดีมาก 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ โครงการร่วมระหว่าง โรงเรียนกับ 95.50 ดีมาก ชุมชน 91.25 ดีมาก 4. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อ โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับ ชุมชน เฉลี่ยรวม จากตาราง 3 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน พบ ว่าโดยรวมได้คะแนนในระดับดีมาก (ร้อยละ 91.25) และเมื่อพิจารณา ตามรายการ พบว่า รายการที่มีผลการประเมินระดับดีมากที่สุด คือ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน (ร้อย ละ 98.50) รองลงมา คือ ประชาชนมีความพึงพอใจต่อโครงการร่วม ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน (ร้อยละ 95.50) และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ในโครงการอย่างต่อเนื่อง (ร้อยละ 86.00)
  • 5. 61 ตาราง 4 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้าน ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมใน 96.50 ดีมาก โรงเรียน 2. การเกิดอุบัติเหตุจากสิ่งแวดล้อมใน 91.25 ดีมาก โรงเรียนจนไม่สามารถมาเรียนได้ 86.75 ดีมาก 3. ภาชนะขังนำ้าในโรงเรียนไม่มีลูกนำ้า 84.25 ดีมาก 4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ 89.69 ดีมาก บรรยากาศภายในโรงเรียน เฉลี่ยรวม จากตาราง 4 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ จัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อ สุขภาพ พบว่า โดยรวมได้คะแนนในระดับดีมาก (ร้อยละ (89.69) และ เมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (ร้อยละ 96.50) รองลงมา คือ การเกิดอุบัติเหตุจากสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนจนไม่สามารถมาเรียน ได้ (ร้อยละ 91.25) และภาชนะขังนำ้าในโรงเรียนไม่มีลูกนำ้า (ร้อยละ 86.75)
  • 6. 62 ตาราง 5 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านบริการอนามัยโรงเรียน ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพโดย บุคลากรสาธารณสุขอย่างน้อยปีละ 1 100.00 ดีมาก ครั้ง 100.00 ดีมาก 2. นักเรียนได้รับการทดสอบตรวจ 100.00 ดีมาก สายตาปีละ 1 ครั้ง 100.00 ดีมาก 3. นักเรียนได้รับการทดสอบการได้ยิน 85.00 ดีมาก 4. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่อง 89.25 ดีมาก ปาก 100.00 ดีมาก 5. นักเรียนมีฟันแท้ไม่ผุ 100.00 ดีมาก 6. นักเรียนไม่เป็นโรคเหงือกอักเสบ ดีมาก 7. นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันหัด 100.00 ดีมาก เยอรมัน คางทูม 8. นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันวัณโรค 100.00 ดีมาก BCG 9. นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันโรค 100.00 ดีมาก คอตีบ บาดทะยัก ไอ กรน 97.66 ดีมาก 10. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ ได้รับการรักษา 11. นักเรียนที่เจ็บป่วยเกินขอบเขต การบริการของห้องพยาบาลได้รับการ
  • 7. 63 ส่งต่อเพื่อรักษา เฉลี่ยรวม จากตาราง 5 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียน พบว่า โดยรวมได้ คะแนนในระดับดีมาก (ร้อยละ 97.66) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ ว่า รายการที่มีคะแนนในระดับดีมากที่สุด คือ นักเรียนได้รับการตรวจ สุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง นักเรียนได้รับ การทดสอบตรวจสายตาปีละ 1 ครั้ง นักเรียนได้รับการทดสอบการได้ยิน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกัน วัณโรค BCG นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันโรค คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ ได้รับการรักษาและ นักเรียนที่เจ็บป่วยเกินขอบเขตการบริการของห้องพยาบาล ได้รับการส่ง ต่อเพื่อรักษา (ร้อยละ 100) รองลงมา คือ นักเรียนไม่เป็นโรคเหงือก อักเสบ (ร้อยละ 89.25) และนักเรียนมีฟันแท้ไม่ผุ (ร้อยละ 85.00) ตาราง 6 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. การรักษาความสะอาดร่างกายของ 96.25 ดีมาก นักเรียน 95.00 ดีมาก 2. การล้างมือของนักเรียน 86.25 ดีมาก 3. นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่มี 98.00 ดีมาก ประโยชน์ 94.00 ดีมาก 4. การไม่รับประทานอาหารที่มีสาร 92.25 ดีมาก อันตรายของนักเรียน 100.00 ดีมาก 5. การรู้จักการหลีกเลี่ยงสารเสพติด 78.00 ดีมาก ของนักเรียน 100.00 ดีมาก 6. การรู้จักการป้องกันอุบัติเหตุ 93.00 ดีมาก อุบัติภัยของนักเรียน 7. การหลีกเลี่ยงการพนัน หรือเที่ยว 100.00 ดีมาก กลางคืนของนักเรียน 87.00 ดีมาก
  • 8. 64 8. การจัดการอารมณ์ตนเองของ 93.31 ดีมาก นักเรียน 9. ความปลอดภัยในชีวิตและการถูก ล่วงละเมิดทางเพศ 10. มีกิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้าน สุขภาพในโรงเรียน 11. มีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ 12. นักเรียนทุกคนไม่เป็นเหา เฉลี่ยรวม จากตาราง 6 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านสุขศึกษาในโรงเรียนพบว่า โดยรวมได้ คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 93.31) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการ ที่มีคะแนน ระดับดีมากที่สุด คือ การหลีกเลี่ยงการพนัน หรือ เที่ยวกลางคืนของนักเรียนความปลอดภัยในชีวิตและการถูกล่วงละเมิดทาง เพศ และมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ (ร้อยละ 100) รองลงมา คือ การไม่รับประทานอาหารที่มีสารอันตรายของ นักเรียน (ร้อยละ 98.00) และการรักษาความสะอาดร่างกายของนักเรียน (ร้อยละ 96.25) ตาราง 7 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. นักเรียนมีนำ้าหนักและส่วนสูงเป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย 96.00 ดีมาก 2. นักเรียนมีนำ้าหนักส่วนสูงอยู่ใน 92.00 ดีมาก เกณฑ์ดี
  • 9. 65 3. นักเรียนที่พบว่ามีภาวการณ์เจริญ 100.00 ดีมาก เติบโตผิดปกติได้รับการแก้ไข 94.25 ดีมาก 4. นักเรียนได้รับอาหารเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ดต่อสัปดาห์ 98.00 ดีมาก 5. นักเรียนได้รับการตรวจภาวะขาด 91.00 ดีมาก สารไอโอดีน (โดยตรวจคอ) ปีละ 1 ครั้ง 100.00 ดีมาก 6. นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ ทุกวัน 86.00 ดีมาก 7. นักเรียนได้ดื่มนมทุกวัน (ยกเว้น นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน) 82.00 ดีมาก 8. นักเรียนมีความรู้ในการเลือกรับ 94.00 ดีมาก ประทานอาหารที่มีคุณค่าถูกหลัก 93.33 ดีมาก โภชนาการและความปลอดภัย 9. การรับประทานอาหารที่มีผลเสียต่อ สุขภาพ (เช่น ทอฟฟี่ ขนมกรุบกรอบ นำ้าอัดลม) 10. มาตรฐานสุขาภิบาลโรงอาหารใน โรงเรียน เฉลี่ยรวม จากตาราง 7 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย พบว่า โดย รวมได้คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 93.33) และเมื่อพิจารณา ตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ นักเรียนที่พบ ว่ามีภาวการณ์เจริญเติบโตผิดปกติได้รับการแก้ไข นักเรียนได้ดื่มนมทุก วัน (ยกเว้นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน) (ร้อยละ 100) รองลงมา คือ นักเรียนได้รับการตรวจภาวะขาดสารไอโอดีน (โดยคลำาคอ) ปีละ 1 ครั้ง (ร้อยละ 98.00) และนักเรียน มีนำ้าหนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย (ร้อยละ 96.00) ตาราง 8 ค่าร้อยละการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  • 10. 66 ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. มีสถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ออกกำาลังกายอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้ 86.00 ดีมาก 2. จัดกิจกรรมออกกำาลังกายสำาหรับ 93.25 ดีมาก นักเรียนหรือประชาชน 3. มีชุมนุม ชมรมการออกกำาลังกาย 84.00 ดีมาก กีฬา นันทนาการในโรงเรียน 4. นักเรียนได้รับการทดสอบ 83.00 ดีมาก สมรรถภาพทางกายอย่างน้อยปีละ 1 89.25 ดีมาก ครั้ง ตามเกณฑ์ทดสอบที่ได้รับการ ยอมรับ 95.00 ดีมาก 5. นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายผ่าน 88.42 ดีมาก เกณฑ์ทดสอบ 6. ให้คำาปรึกษาแก่นักเรียนที่ไม่ผ่าน เกณฑ์ทดสอบสมรรถภาพทางกายและ ติดตามความก้าวหน้า เฉลี่ยรวม จากตาราง 8 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ ออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า โดยรวมได้คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 88.42) และ เมื่อพิจารณา ตามรายการพบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ ให้คำาปรึกษา แก่นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทดสอบสมรรถภาพทางกายและติดตามความ ก้าวหน้า (ร้อยละ 95.00) รองลงมา คือ จัดกิจกรรมออกกำาลังกายสำาหรับ นักเรียนหรือประชาชน (ร้อยละ 93.25) และนักเรียนมีสมรรถภาพทาง กายผ่านเกณฑ์การประเมิน (ร้อยละ 89.25)
  • 11. 67 ตาราง 9 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. ครูประจำาชั้นคัดกรองนักเรียนและ สามารถระบุนักเรียนที่มีปัญหาได้ 100.00 ดีมาก 2. นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้รับ การเฝ้าระวังและได้รับการช่วยเหลือ 100.00 ดีมาก เบื้องต้น 3. นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความ 100.00 ดีมาก สามารถของโรงเรียนได้รับการส่งต่อ 4. นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้ 100.00 ดีมาก รับการช่วยเหลือหรือส่งต่อได้รับการ ติดตามจากครู 100.00 ดีมาก 5. นักเรียนสามารถปรึกษาเพื่อน พ่อ 100.00 ดีมาก แม่ ญาติพี่น้อง ครูทุกครั้งที่มีปัญหา เฉลี่ยรวม จากตาราง 9 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ ให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า โดยรวมได้คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 100 ) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนน ระดับดีที่สุด คือ ครูประจำาชั้นคัดกรองนักเรียนและสามารถระบุนักเรียน ที่มีปัญหาได้ นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังและได้รับการ ช่วยเหลือเบื้องต้น นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความสามารถของโรงเรียนได้ รับการส่งต่อ นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วยเหลือหรือส่งต่อ ได้รับการติดต่อจากครูและนักเรียนสามารถปรึกษาเพื่อน พ่อแม่ ญาติ พี่ น้อง ครูทุกครั้งที่มีปัญหา (ร้อยละ 100 )
  • 12. 68 ตาราง 10 ค่าร้อยละผลการประเมินของกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. บุคลากรในโรงเรียน มีการ ประเมินสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 85.00 ดีมาก 2. บุคลากรได้รับข้อมูล ข่าวสารเรื่อง สุขภาพอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 82.00 ดีมาก 3. การสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน 95.00 ดีมาก 4. โรงเรียนมีมาตรการการป้องกัน การสูบบุหรี่ในโรงเรียน 86.00 ดีมาก 5. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน 85.00 ดีมาก โรงเรียน 6. บุคลากรในโรงเรียนร่วมกิจกรรม 92.00 ดีมาก ด้านส่งเสริมสุขภาพที่จัดขึ้นตามแผน 87.50 ดีมาก งานของโรงเรียน เฉลี่ยรวม จากตาราง 10 ผลประเมินของคณะกรรมการประเมิน โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน โรงเรียน พบว่า โดยรวมได้คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 87.50) และเมื่อ พิจารณา ตามรายการ พบว่า รายการที่ได้คะแนนระดับดีมากที่สุด คือ การสูบบุหรี่ ในบริเวณโรงเรียน (ร้อยละ 95.00) รองลงมา คือ บุคลากรในโรงเรียน ร่วมกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่จัดขึ้นตามแผนงานของโรงเรียน (ร้อยละ 92.00) และโรงเรียนมีมาตรการการป้องกันการสูบบุหรี่ใน โรงเรียน (ร้อยละ 86.00)
  • 13. 69 ตาราง 11 ค่าร้อยละผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ รวมทุกด้าน ผลการ แปลความ รายการ ประเมิน หมาย (ร้อยละ) 1. ด้านการกำาหนดนโยบายส่ง 94.56 ดีมาก เสริมสุขภาพ 90.05 ดีมาก 2. ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน 91.25 ดีมาก 3. ด้านโครงการร่วมระหว่าง 89.69 ดีมาก โรงเรียนกับชุมชน 97.66 ดีมาก 4. ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมใน 93.31 ดีมาก โรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ 93.33 ดีมาก 5. ด้านบริการอนามัยโรงเรียน 88.42 ดีมาก 6. ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน 100.00 ดีมาก 7. ด้านโภชนาการและอาหารที่ 87.50 ดีมาก ปลอดภัย 95.65 ดีมาก 8. ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและ นันทนาการ 9. ด้านการให้คำาปรึกษาและ สนับสนุนสังคม 10. ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ในโรงเรียน เฉลี่ยรวม จากตาราง 11 ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพรวมทุกด้าน พบว่า ผลการประเมินโดยรวมมี
  • 14. 70 คะแนนระดับดีมาก (ร้อยละ 95.65) และเมื่อพิจารณาตามรายด้าน พบว่า ด้าน ที่มีคะแนนดีมากสูงสุด คือ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม (ร้อย ละ 100) รองลงมา คือ ด้านบริการอนามัยโรงเรียน (ร้อยละ 97.66) และ ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ (ร้อยละ 94.56) ตอนที่ 2 ผลการวิเ คราะห์ส ถานภาพของผู้ต อบแบบสอบถามตาม ตาราง 12 ดัง นี้ ตาราง 12 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จำานวน รายการ ร้อยละ (ความถี่) ครู 1. เพศ ชาย 3 50.00 หญิง 3 50.00 รวม 6 100.00 2. วุฒิทางการศึกษา ตำ่ากว่าปริญญาตรี 0 00.00 ปริญญาตรี 6 100.00 สูงกว่าปริญญาตรี 0 00.00 รวม 6 100.00 3. ประสบการณ์ในการทำางาน น้อยกว่า 10 ปี 0 00.00 11-20 ปี 6 100.00 21-30 ปี มากกว่า 30 ปีขึ้นไป 0 00.00
  • 15. 71 รวม 6 100.00 4. ระดับชั้นที่ทำาโครงการ อนุบาล 1 16.67 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 5 83.33 รวม 6 100.00 ตาราง 12 (ต่อ) จำานวน รายการ ร้อยละ (ความถี่) นักเรียน 1. เพศ ชาย 37 60.66 หญิง 24 39.34 รวม 68 100.00 2. กำาลังศึกษา อนุบาล 19 31.15 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 42 68.85 รวม 61 100.00 ผู้ปกครองนักเรียน 1. เพศ 23 37.70 ชาย 38 62.30 หญิง 61 100.00 รวม 2. ท่านมีความสัมพันธ์กับ 45 73.77 นักเรียน 10 16.39 พ่อหรือแม่ 6 9.84 ตาหรือยาย 61 100.00 ปู่หรือย่า รวม 20 32.79 3. ปัจจุบันอายุ 32 52.46 ระหว่าง 21-40 ปี 9 14.75
  • 16. 72 ระหว่าง 41-60 ปี 61 100.00 มากกว่า 60 ปี รวม ตาราง 12 (ต่อ) จำานวน รายการ ร้อยละ (ความถี่) 4. วุฒิทางการศึกษา ตำ่ากว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 50 81.97 มัธยมศึกษาปีที่ 3 7 11.48 มัธยมศึกษาปีที่ 6 3 4.92 สูงกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 6 1 1.63 รวม 61 100.00 5. อาชีพ ทำานา 16 26.23 รับจ้างโรงงาน 15 24.59 รับจ้างทั่วไป 22 36.07 รับราชการ 3 4.92 ค้าขาย 2 3.28 แม่บ้าน 3 4.92 รวม 61 100.00 จากตาราง 12 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ครูผู้สอน เพศชายและเพศหญิง (ร้อยละ 50.00) ส่วนมากมีวุฒิทางการศึกษาระดับ ปริญญาตรี (ร้อยละ 100) ส่วนมากมีประสบการณ์ในการสอนระหว่าง 11-20 ปี (ร้อยละ 100) ส่วนมากสอนประถมศึกษาปีที่ 1-6 (ร้อยละ 83.33) และอนุบาล(ร้อยละ 16.67) นักเรียนส่วนมากเป็นทั้งเพศชาย(ร้อยละ 60.66) และเพศหญิง (ร้อย ละ 39.34) ส่วนมากกำาลังศึกษาในระดับประถมศึกษาปีที่ 1- 6 (ร้อยละ 68.85) และผู้ปกครองส่วนมากเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 62.30) โดยส่วนมากมี ความสัมพันธ์เป็นพ่อหรือแม่ (ร้อยละ 73.77) ส่วนมากมีอายุระหว่าง
  • 17. 73 41-60 ปี (ร้อยละ 52.46) ส่วนมากมีวุฒิทางการศึกษาสูงสุดตำ่ากว่า มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ร้อยละ 81.97) และส่วนมากมีอาชีพรับจ้างทั่วไป (ร้อย ละ 36.07) ตอนที่ 3 ผลการวิเ คราะห์ค วามพึง พอใจของครูต ่อ ผลการดำา เนิน งานตามโครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ ตามตาราง 13-23 ดัง นี้ ตาราง 13 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการกำาหนดนโยบาย ส่งเสริมสุขภาพ ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. ความรู้ ความเข้าใจของคณะ กรรมการดำาเนินงานโรงเรียนส่ง 4.83 0.41 มากที่สุด เสริมสุขภาพ 2. นโยบายการส่งเสริมสิ่ง 5.00 0.00 มากที่สุด แวดล้อมที่เอือต่อการเรียนรู้ ้ 5.00 0.00 มากที่สุด 3. นโยบายการเฝ้าระวังและ แก้ไขปัญหาสุขภาพ 4.83 0.41 มากที่สุด 4. นโยบายการพัฒนาพฤติกรรม 5.00 0.00 มากที่สุด สุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 5. นโยบายการคุ้มครองผู้บริโภค 4.83 0.41 มากที่สุด 6. นโยบายส่งเสริมการออกกำาลัง กายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน 4.83 0.41 มากที่สุด บุคลากรของโรงเรียนและชุมชน 4.83 0.41 มากที่สุด 7. นโยบายการพัฒนาระบบการ เรียนรู้ด้านสุขภาพโดยมีผู้เรียน เป็นสำาคัญ 4.83 0.41 มากที่สุด 8. นโยบายการส่งเสริมสุขภาพ
  • 18. 74 บุคลากรในโรงเรียน 4.83 0.41 มากที่สุด 9. นโยบายการส่งเสริมการมีส่วน 4.92 0.20 มากที่สุด ร่วมของชุมชนในการพัฒนา สุขภาพนักเรียน บุคลากรใน โรงเรียนและชุมชน 10. นโยบายการส่งเสริมสุขภาพ ของโรงเรียน ผู้ปฏิบัติ สามารถนำาไปปฏิบัติได้ เฉลี่ยรวม จากตาราง 13 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.92, S.D. = 0.20) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึงพอใจ ระดับมากที่สุด คือ นโยบายการส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ นโยบายการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพและนโยบายการคุ้มครองผู้ บริโภค ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ความรู้ ความเข้าใจ ของคณะกรรมการดำาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ นโยบายการ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ นโยบายส่งเสริมการออก กำาลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน บุคลากรของโรงเรียนและชุมชน นโยบายการพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้านสุขภาพโดยมีผู้เรียนเป็นสำาคัญ นโยบายการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน นโยบายการส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาสุขภาพนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนและนโยบายการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียนผู้ปฏิบัติสามารถ นำาไปปฏิบัติได้ ( X = 4.83, S.D. = 0.41)
  • 19. 75 ตาราง 14 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการบริหารจัดการใน โรงเรียน ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายใน การจัดทำาโครงการโรงเรียนส่ง 4.83 0.41 มากที่สุด เสริมสุขภาพ 2. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข ภาพมีความสอดคล้องกับสภาพ 4.83 0.41 มากที่สุด ปัจจุบันและปัญหาของโรงเรียน 3. โครงการมีการระบุกิจกรรมส่ง 4.83 0.41 มากที่สุด เสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับ กิจกรรมการเรียนการสอน 5.00 0.00 มากที่สุด 4. ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่ กำาหนด 4.83 0.41 มากที่สุด 5. ความต่อเนื่องของคณะ กรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 4.83 0.41 มากที่สุด ในการนิเทศ ติดตามผลการ 4.88 0.31 มากที่สุด
  • 20. 76 ดำาเนินงาน 6. การประเมินผลโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของโครงการ เฉลี่ยรวม จากตาราง 14 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้าน การบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวมระดับ มากที่สุด ( X = 4.88, S.D. = 0.31) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ ว่า รายการที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ที่กำาหนด ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลง มา คือ การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการจัดทำาโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพมีความสอดคล้องกับสภาพ ปัจจุบันและปัญหาของโรงเรียน โครงการมีการระบุกิจกรรมส่งเสริมสุข ภาพที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอน ความต่อเนื่องของคณะ กรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในการนิเทศ ติดตามผลการดำาเนินงาน และการประเมินผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของโครงการ ( X = 4.83, S.D. = 0.41) ตาราง 15 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านโครงการร่วมระหว่าง โรงเรียนกับชุมชน ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. การเข้ามามีส่วนร่วมในการส่ง เสริมสุขภาพนักเรียนของชุมชน 5.00 0.00 มากที่สุด 2. ความต่อเนื่องการเข้ามามีส่วน ร่วมในการส่งเสริมสุขภาพของ 4.83 0.41 มากที่สุด ชุมชน 3. ชุมชนตระหนักและเห็นความ 4.67 0.52 มากที่สุด
  • 21. 77 สำาคัญของโครงการส่งเสริมสุข 4.83 0.31 มากที่สุด ภาพของนักเรียน เฉลี่ยรวม จากตาราง 15 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับ ชุมชน พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.83, S.D. = 0.31) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความ พึงพอใจมากที่สุด คือ การเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ของชุมชน ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ความต่อเนื่องการ เข้ามามีส่วนร่วม ในการส่งเสริมสุขภาพของชุมชน ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และชุมชน ตระหนักและเห็นความสำาคัญของโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ นักเรียน ( X = 4.67, S.D. = 0.52) ตาราง 16 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมใน โรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. การจัดสนามและบริเวณออก กำาลังกายของโรงเรียน 4.67 0.52 มากที่สุด 2. ความสะอาดของอาคารเรียน 5.00 0.00 มากที่สุด
  • 22. 78 และบริเวณโรงเรียน 3. อาคารเรียนอาคารประกอบ 4.67 0.52 มากที่สุด และบริเวณโรงเรียนมีความ ปลอดภัย 4.83 0.41 มากที่สุด 4. ห้องพยาบาลมีสัดส่วน อุปกรณ์ 4.83 0.41 มากที่สุด ของใช้สะอาด สภาพดี 5. นำ้าดื่ม นำ้าใช้มีความสะอาดและ 5.00 0.00 มากที่สุด มีเพียงพอ 4.83 0.41 มากที่สุด 6. สภาพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์ 4.83 0.41 มากที่สุด สะอาด อยู่ในสภาพดี ไม่มีกลิ่น 4.67 0.52 มากที่สุด เหม็น 7. ส้วมมีความเพียงพอต่อจำานวน 4.83 0.41 มากที่สุด นักเรียน 4.82 0.36 มากที่สุด 8. ระบบการกำาจัดขยะบริเวณ โรงเรียน 9. สภาพท่อ รางระบายนำ้า สภาพ ดี ไม่อุดตัน 10. มีระบบป้องกัน/อุปกรณ์ใน การดับไฟและมีการตรวจสอบ อุปกรณ์ไฟฟ้าอยู่เสมอ เฉลี่ยรวม จากตาราง 16 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ จัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดย รวมระดับมากที่สุด ( X = 4.82, S.D. = 0.36) และเมื่อพิจารณาตาม รายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความสะอาดของ อาคารเรียนและบริเวณโรงเรียนและสภาพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์สะอาด อยู่ในสภาพดี ไม่มีกลิ่นเหม็น ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ห้องพยาบาลมีสัดส่วน อุปกรณ์ของใช้สะอาด สภาพดี นำ้าดื่ม นำ้าใช้มีความ สะอาดและมีเพียงพอ ส้วมมีความเพียงพอต่อจำานวนนักเรียน ระบบการ กำาจัดขยะบริเวณโรงเรียนและมีระบบป้องกัน/อุปกรณ์ในการดับไฟและมี การตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าอยู่เสมอ ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และการ จัดสนาม และบริเวณออกกำาลังกายของโรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบและ บริเวณโรงเรียนมีความปลอดภัยและสภาพท่อ รางระบายนำ้า ไม่อุดตัน ( X = 4.67, S.D. = 0.52)
  • 23. 79 ตาราง 17 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านบริการอนามัยโรงเรียน ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. การตรวจสอบสุขภาพอนามัย ของนักเรียนจากบุคลากร 5.00 0.00 มากที่สุด สาธารณสุข 5.00 0.00 มากที่สุด 2. การทดสอบสายตาของ 5.00 0.00 มากที่สุด นักเรียน 5.00 0.00 มากที่สุด 3. การทดสอบการได้ยินของ 5.00 0.00 มากที่สุด นักเรียน 4.67 0.52 มากที่สุด 4. การตรวจสุขภาพช่องปากของ 4.67 0.52 มากที่สุด นักเรียน 5. จำานวนนักเรียนที่มีฟันแท้ไม่ผุ 5.00 0.00 มากที่สุด 6. จำานวนนักเรียนที่ไม่เป็นโรค 4.95 0.13 มากที่สุด เหงือกอักเสบ 7. การได้รับวัคซีนป้องกันโรค ของนักเรียน 8. การรักษา ดูแลนักเรียนที่มี ปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ เฉลี่ยรวม จากตาราง 17 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียน พบว่า ครูมี ความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.92, S.D. = 0.13) และ เมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ การตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนจากบุคลากรสาธารณสุข การ ทดสอบสายตาของนักเรียน การทดสอบการได้ยินของนักเรียน การตรวจ สุขภาพช่องปากของนักเรียน จำานวนนักเรียนที่มีฟันแท้ไม่ผุ และการรักษา ดูแลนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ
  • 24. 80 ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ จำานวนนักเรียนที่ไม่เป็นโรค เหงือกอักเสบและการได้รับวัคซีนป้องกันโรคของนักเรียน ( X = 4.67, S.D. = 0.52) ตาราง 18 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูผู้ สอนต่อผลการดำาเนินงาน ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. ความสะอาดของร่างกาย 4.83 0.41 มากที่สุด นักเรียน 4.83 0.41 มากที่สุด 2. นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่มี 4.83 0.41 มากที่สุด ประโยชน์ 5.00 0.00 มากที่สุด 3. นักเรียนรู้จักการหลีกเลี่ยงสาร 4.67 0.52 มากที่สุด เสพติด 5.00 0.00 มากที่สุด 4. นักเรียนรู้จักการป้องกัน 4.83 0.41 มากที่สุด อุบัติเหตุ อุบัติภัย 5. นักเรียนหลีกเลี่ยงการพนัน 5.00 0.00 มากที่สุด หรือเที่ยวกลางคืน 4.88 0.27 มากที่สุด 6. นักเรียนมีการจัดการอารมณ์ ตนเอง 7. นักเรียนมีการแปรงฟันหลัง อาหารกลางวัน 8. โรงเรียนมีการเผยแพร่ความรู้ ด้านสุขภาพแก่นักเรียน เฉลี่ยรวม
  • 25. 81 จากตาราง 18 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียน พบว่า ครูมี ความพึงพอใจ โดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.88, S.D. = 0.27) และ เมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนรู้จักการป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย นักเรียนมีการจัดการอารมณ์ ตนเองและโรงเรียนมีการเผยแพร่ความรู้ ด้านสุขภาพแก่นักเรียน ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ความสะอาดของร่างกายนักเรียน นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ นักเรียนรู้จักการหลีกเลี่ยงสารเสพ ติดและนักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และนักเรียนหลีกเลี่ยง การพนัน หรือเที่ยวกลางคืน ( X = 4.67, S.D. = 0.52) ตาราง 19 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการและอาหาร ที่ปลอดภัย ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. นักเรียนมีนำ้าหนักและส่วนสูง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของ 4.83 0.41 มากที่สุด กรมอนามัย 2. การแก้ไขนักเรียนที่มีปัญหา 4.50 0.55 มากที่สุด ภาวการณ์เจริญเติบโตผิดปกติ 4.67 0.52 มากที่สุด 3. การรับประทานอาหารของ นักเรียนครบ 5 หมู่ 5.00 0.00 มากที่สุด 4. การบริการนักเรียนในเรื่อง 5.00 0.00 มากที่สุด อาหารเสริม (นม) โดยเฉพาะ 4.80 0.29 มากที่สุด นักเรียนที่มีปัญหาภาวะ
  • 26. 82 โภชนาการ 5. โรงอาหารของโรงเรียนมี มาตรฐานสุขาภิบาล เฉลี่ยรวม จากตาราง 19 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.80, S.D. = 0.29) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจ มากที่สุด คือ การบริการนักเรียนในเรื่องอาหารเสริม (นม) โดยเฉพาะ นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการและโรงอาหารของโรงเรียนมีมาตรฐาน สุขาภิบาล (( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ นักเรียนมีนำ้าหนัก และส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของ กรมอนามัย ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และการรับประทานอาหารของ นักเรียนครบ 5 หมู่ ( X = 4.67, S.D. = 0.52) ตาราง 20 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. สถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ใน การออกกำาลังกายอยู่ในสภาพที่ 4.67 0.52 มากที่สุด พร้อมใช้ 4.83 0.41 มากที่สุด
  • 27. 83 2. การจัดกิจกรรมออกกำาลังกาย สำาหรับนักเรียน 5.00 0.00 มากที่สุด 3. การจัดชุมนุม ชมรมการออก กำาลังกายของโรงเรียน 4.83 0.41 มากที่สุด 4. นักเรียนมีสมรรถภาพทางกาย 4.83 0.33 มากที่สุด ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เฉลี่ยรวม จากตาราง 20 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ ออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวม ระดับมากที่สุด ( X = 4.83, S.D. = 0.33) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ การจัดชุมนุม ชมรมการ ออก กำาลังกายของโรงเรียน ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ การจัด กิจกรรมออกกำาลังกายสำาหรับนักเรียนและนักเรียนมีสมรรถภาพทางกาย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และสถานที่และอุปกรณ์ ที่ใช้ใน การออกกำาลังกายอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้ ( X = 4.67, S.D. = 0.52) ตาราง 21 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการให้คำาปรึกษาและ สนับสนุนสังคม รายการ ระดับความพึงพอใจ
  • 28. 84 X S.D. แปลความ หมาย 1. การคัดกรองนักเรียนของครู ประจำาชั้นสามารถระบุนักเรียนที่มี 4.67 0.52 มากที่สุด ปัญหาได้ 2. การเฝ้าระวังนักเรียนที่มี 4.83 0.41 มากที่สุด พฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วย เหลือ 3. นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความ 5.00 0.00 มากที่สุด สามารถของโรงเรียนได้รับการส่ง 4.83 0.41 มากที่สุด ต่อไปยังหน่วยงานที่มีขีดความ 4.83 0.33 มากที่สุด สามารถเฉพาะ 4. ครูมีการติดตามนักเรียนที่มี พฤติกรรมเสี่ยง เฉลี่ยรวม จากตาราง 21 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการ ให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวมระดับ มากที่สุด ( X = 4.83, S.D. = 0.33) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ ว่า รายการที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีด ความ สามารถของโรงเรียนได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่มีขีดความ สามารถเฉพาะ ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ การเฝ้าระวัง นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วยเหลือและครูมีการติดตาม นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ( X = 4.83, S.D. = 0.41) และการคัดกรอง นักเรียนของครูประจำาชั้นสามารถระบุนักเรียนที่มีปัญหาได้ ( X = 4.67, S.D. = 0.52)
  • 29. 85 ตาราง 22 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ บุคลากรในโรงเรียน ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. การบริการตรวจสุขภาพประจำา ปีของครูและบุคลากรในโรงเรียน 4.83 0.41 มากที่สุด 2. การได้รับข้อมูล ข่าวสารเรื่อ 5.00 0.00 มากที่สุด สุขภาพจากโรงเรียน 4.83 0.41 มากที่สุด 3. มาตรการการป้องกันการสูบ บุหรี่ในโรงเรียน 5.00 0.00 มากที่สุด 4. มาตรการการป้องกันการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในโรงเรียน 5.00 0.00 มากที่สุด 5. การร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการ 4.92 0.20 มากที่สุด ส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรใน โรงเรียน เฉลี่ยรวม จากตาราง 22 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน โรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.92, S.D. = 0.20) และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่ครูมีความ พึงพอใจมากที่สุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องสุขภาพจากโรงเรียน มาตรการการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในโรงเรียนและการร่วม กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน ( X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ การบริการตรวจสุขภาพประจำาปีของครูและ บุคลากรในโรงเรียนและมาตรการป้องกันการสูบบุหรี่ในโรงเรียน ( X = 4.83, S.D. = 0.41)
  • 30. 86 ตาราง 23 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของครูต่อ ผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพรวมทุกด้าน ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1. ด้านการกำาหนดนโยบายส่ง 4.92 0.20 มากที่สุด เสริมสุขภาพ 4.88 0.31 มากที่สุด 2. ด้านการบริหารจัดการใน 4.83 0.31 มากที่สุด โรงเรียน 3. ด้านโครงการร่วมระหว่าง 4.82 0.35 มากที่สุด โรงเรียนกับชุมชน 4.92 0.13 มากที่สุด 4. ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมใน 4.88 0.27 มากที่สุด โรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ 4.80 0.29 มากที่สุด 5. ด้านบริการอนามัยโรงเรียน 4.83 0.33 มากที่สุด 6. ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน 4.83 0.33 มากที่สุด 7. ด้านโภชนาการและอาหารที่ 4.92 0.20 มากที่สุด ปลอดภัย 4.86 0.28 มากที่สุด 8. ด้านการออกกำาลังกาย กีฬา และนันทนาการ 9. ด้านการให้คำาปรึกษาและ สนับสนุนสังคม 10. ด้านการส่งเสริมสุขภาพ บุคลากรในโรงเรียน เฉลี่ยรวม จากตาราง 23 ความพึงพอใจของครูต่อการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพรวมทุกด้าน พบว่า ครูมีความพึงพอใจ โดยรวมระดับมากที่สุด ( X = 4.86, S.D. = 0.28) และเมื่อพิจารณาตาม รายด้าน พบว่า ด้านที่ครูมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการกำาหนด นโยบายส่งเสริมสุขภาพด้านบริการอนามัยโรงเรียนและด้านการส่ง
  • 31. 87 เสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน ( X = 4.92, S.D. = 0.20, 0.13) รอง ลงมา คือ ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียนและด้านสุขศึกษาในโรงเรียน ( X = 4.88, S.D. = 0.31, 0.27) และด้านโครงการร่วมระหว่าง โรงเรียนกับชุมชน ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการและด้าน การให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม ( X = 4.83, S.D. = 0.31, 0.33) ตอนที่ 4 ผลการวิเ คราะห์ค วามพึง พอใจของนัก เรีย นต่อ ผลการ ดำา เนิน งานตามโครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ ตามตาราง 24 ดัง นี้ ตาราง 24 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของ นักเรียนต่อผลการดำาเนินงาน ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 1.การปฏิบัติหน้าที่ของผู้นำา นักเรียนส่งเสริมสุขภาพตาม 4.33 0.70 มาก บทบาทหน้าที่กำาหนด 2. ความร่วมมือระหว่างโรงเรียน 4.56 0.53 มากที่สุด กับชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพ 4.32 0.74 มาก นักเรียน 3. ความสะอาดบริเวณอาคาร 4.49 0.53 มาก เรียน อาคารประกอบ 4. ห้องเรียนสะอาด มีอากาศ 4.34 0.51 มาก ถ่ายเทและแสงสว่างเพียงพอ 4.31 0.70 มาก 5. โต๊ะเก้าอี้ มีขนาดเหมาะสมกับ นักเรียน เพียงพอและสภาพดี 4.49 .061 มาก 6. สนามกีฬาสะอาดและปลอดภัย 4.20 0.70 มาก 7. สนามเด็กเล่น เครื่องเล่นจัด เป็นสัดส่วนและปลอดภัย 4.68 0.50 มากที่สุด 8. การจัดบริเวณพักผ่อนเป็น ระเบียบ สวยงาม 4.72 0.59 มากที่สุด
  • 32. 88 9. ห้องพยาบาลจัดเป็นสัดส่วน 4.51 0.50 มากที่สุด อุปกรณ์ของใช้สะอาดอยู่ในสภาพ 4.32 0.61 มาก ดี 4.07 0.71 มาก 10. ยา เวชภัณฑ์ และวัสดุ 4.40 0.65 มาก อุปกรณ์ที่จำาเป็น จัดเก็บเป็น 4.51 0.56 มากที่สุด ระเบียบ 11. ความสะอาดของนำ้าดื่ม นำ้าใช้ 4.19 0.74 มาก 12. สถานที่บริการนำ้าดื่มมีความ เพียงพอกับนักเรียน 3.97 0.65 มาก 13. ความเพียงพอของส้วมต่อ นักเรียน 14. ส้วมมีความสะอาด ไม่มีกลิ่น เหม็น 15. บริเวณส้วมมีอ่างล้างมือ สะอาด สภาพดี 16. มีถังรองรับขยะเพียงพอ ไม่มี ขยะบริเวณโรงเรียน 17. การกำาจัดหรือป้องกันแมลง และสัตว์พาหะนำาโรคภายใน บริเวณโรงเรียน ระดับความพึงพอใจ รายการ X S.D. แปลความ หมาย 18. การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ 4.20 0.66 ภายในโรงเรียน มาก 19. การตรวจสุขภาพประจำาปี 4.63 0.57 ของนักเรียนจากเจ้าหน้าที่ 4.19 0.43 มากที่สุด สาธารณสุขหรือด้วยตนเอง 4.22 0.48 มาก 20. นักเรียนไม่เป็นโรคฟันผุ 4.04 0.68 21. นักเรียนไม่เป็นโรคเหงือก 4.52 0.53 มากที่สุด อักเสบ 22. การรักษานักเรียนที่เป็นเหา 4.47 0.65 มาก หรือพยาธิ 4.61 0.60 มากที่สุด 23. ความสะอาดของร่างกายและ เสื้อผ้าของนักเรียน 4.75 0.44 มากที่สุด 24.การรู้จักเลือกซื้ออาหารที่เป็น 4.77 0.42 มากที่สุด ประโยชน์ของนักเรียน 4.47 0.56 มาก