SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  42
90
                            บทที่ 5
             สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ
        รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ผู้รายงานเสนอลำาดับขั้นตอนและผล
การดำาเนินงาน โดยสรุปดังนี้
วัต ถุป ระสงค์
        1.เพื่อศึกษาผลสำาเร็จของการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
        2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน
ต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด
โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
วิธ ีก ารดำา เนิน การ
        การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด
โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ได้ดำาเนินการตามโครงการดังนี้
        1.ประชุมคณะครูเพื่อพิจารณาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความ
ต้องการเข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
        2. แต่งตั้งคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบโครงการ
        3. ผู้บริหารสถานศึกษาเพื่ออนุมัติโครงการ
        4. แจ้งสาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง ผู้รับผิดชอบโครงการระดับ
อำาเภอเพื่อสมัครเข้าร่วมโครงการ
        5. คัดเลือกผู้นำานักเรียนเข้าค่ายผู้นำานักเรียนโรงเรียนส่งเสริมสุข
ภาพ
        6. ผู้นำานักเรียนจัดตั้งชมรม
        7. ผู้นำานักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นกลุ่มสีต่างๆ
จำานวน 5 กลุ่มสี
        8.สมาชิกลุ่มสีต่างๆ ปฏิบัติหน้าที่ตามรายละเอียดของโครงการ
        9. สมาชิกกลุ่มสีประเมินผลการปฏิบัติงานของทุกกิจกรรมเสนอครู
ผู้รับผิดชอบโครงการ
        10. แจ้งคณะกรรมการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ระดับอำาเภอ เพื่อขอรับการประเมินโครงการ
        11. ประเมินผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ด้านความพึงพอใจในการดำาเนินงานของผู้ที่เกี่ยวข้อง
        12. สรุปและรายงานผล
ประชากรและกลุ่ม ตัว อย่า ง
        1.ประชากรในการรายงานครั้งนี้ ได้แก่ ครูจำานวน 6 คน นักเรียน
จำานวน 61 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำานวน 61 คน ของโรงเรียนวัด
โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ปีการศึกษา 2554
91
      2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้จากการกำาหนดขนาดของกลุ่ม
ตัวอย่างโดยใช้แบบเลือกเจาะจง (ยุทธพงษ์ กัยวรรณ.2543 : 78) ได้
จำานวนกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ครู จำานวน 6 คน นักเรียน จำานวน 61 คน และ
ผู้ปกครองนักเรียน จำานวน 61 คน
เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการเก็บ ข้อ มูล
      รายงานการประเมินผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ครั้งนี้ ผู้รายงานได้กำาหนดเครื่องมือ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้
      ฉบับที่ 1 แบบประเมินผลตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตามองค์ประกอบ 10 ด้าน
      ฉบับที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงาน
ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท (Likert)                 จำานวน
63 ข้อ
      ฉบับที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการดำาเนิน
งานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท (Likert) จำานวน 36 ข้อ
      ฉบับที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อผล
การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท (Likert)
จำานวน 33 ข้อ
การสร้า งเครื่อ งมือ
      เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รายงานได้ดำาเนินการสร้าง
ตามขั้นตอนดังนี้
      1.ศึกษาเอกสาร ตำาราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
      2. กำาหนดกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสอบถามโดยใช้กรอบ
แนวคิดการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของกรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุข
      3. สร้างแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดและขอบเขตของการศึกษาที่
กำาหนด
      4. สร้างข้อคำาถามเป็นแบบสำารวจรายการและมาตราส่วนประมาณ
ค่า (Rating Scale) ให้ครอบคลุมกรอบแนวคิดและขอบเขตที่ศึกษา
      5. นำาแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จำานวน 5 ท่าน ที่มีความรู้
ความเข้าใจการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
พิจารณาตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content Validity) และความ
ถูกต้องในการ ใช้ภาษา
      6. ตรวจสอบความตรงของเครื่องมือ ด้วยวิธีการดังนี้
92
          6.1 เครื่องมือที่ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแล้ว มีเกณฑ์การพิจารณา
ตามคะแนนแต่ละข้อคำาถามดังนี้
          6.2 นำาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความ
สอดคล้อง (IOC : Index of Item Objective Congruence) (พวงรัตน์
ทวีรัตน์. 2545 : 124)
          เกณฑ์การพิจารณาข้อคำาถามที่นำามาสร้างเครื่องมือ คือ ค่า IOC
มีค่ามากกว่า .50 ขึ้นไป ซึ่งเครื่องมือนี้มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.80-1.00
      7. ปรับปรุงเครื่องมือให้สมบูรณ์ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ

       8. นำาเครื่องมือทั้งสามฉบับ ไปทดลองใช้ (try out) กับครูจำานวน 5
คน นักเรียนจำานวน 20 คนและผู้ปกครองจำานวน 20 คน ของโรงเรียนวัด
คำาหยาด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง จากนั้นนำามา
วิเคราะห์หาค่าความเที่ยง (Reliability) โดยใช้วิธีคำานวณหาค่า
สัมประสิทธิ์แอลฟ่า (α – Alpha Coefficient) ของ Cronbach ได้ค่า
ความเที่ยงเท่ากับ 0.92-0.98
       9. จัดทำาและนำาเครื่องมือไปเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
การเก็บ รวบรวมข้อ มูล
       ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รายงานได้ดำาเนินการดังนี้
       บันทึกเสนอผู้อำานวยการโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) เพื่อขอความร่วมมือครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียน
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ในการตอบแบบสอบถามฉบับผู้
ปกครองนักเรียนได้ส่งผ่านทางนักเรียน เพื่อนำาส่งผู้ปกครองของตนเอง
พร้อมรับแบบสอบถามืนได้แบบสอบถามคืน คิดเป็นร้อยละ 100
การวิเ คราะห์ข ้อ มูล
       ผู้รายงานได้ดำาเนินการวิเคราะห์ผลตามขั้นตอนดังนี้
       1.วิเคราะห์ผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ
คณะกรรมการประเมินจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยเทียบ
เกณฑ์ดังนี้ (กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2548 : 4)
            ร้อยละ 75 ขึ้นไป ของคะแนนสูงสุด ถือว่าผ่านเกณฑ์ประเมิน
ขั้นดีมาก
            ร้อยละ 65-74         ของคะแนนสูงสุด ถือว่าผ่านเกณฑ์
ประเมินขั้นดี
            ร้อยละ 55-64         ของคะแนนสูงสุด ถือว่าผ่านเกณฑ์
ประเมินขั้นพื้นฐาน
            น้อยกว่าร้อยละ 55 ของคะแนนสูงสุด ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์
ประเมิน (ควรพัฒนาต่อไป)
93
      2. การวิเคราะห์ผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจของครู นักเรียน
ผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข
ภาพ ผู้รายงานได้ดำาเนินการดังนี้
          2.1 ตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม
คัดเฉพาะฉบับที่สมบูรณ์
          2.2 วิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำา
มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 103)
           4.50-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด
           3.50-4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมาก
           2.50-3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับปานกลาง
           1.50-2.49 หมายถึง มีความพึงพอในระดับน้อย
           1.00-1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด



สถิต ิท ี่ใ ช้ใ นการวิเ คราะห์ข ้อ มูล
       ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้รายงานใช้การคำานวณด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์สำาเร็จรูป โดยคำานวณ              หาค่าความถี่ (Frequency) ค่า
ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic) และค่าส่วนเบี่ยง
เบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
สรุป ผล
       รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน
วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ผู้รายงานขอสรุปผลในประเด็นที่
สำาคัญดังนี้
       1.ผลสำาเร็จของการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข
ภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง                (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) สรุปผลได้
ดังนี้
             การประเมินผลของคณะกรรมการประเมินโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) จากกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข พบว่า การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) มีผลการ
ประเมินระดับดีมาก และเมื่อพิจารณาตามรายด้าน พบว่า ด้านที่มีคะแนนดี
มากที่สุด คือ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม และเมื่อพิจารณา
ตามรายด้านสรุปผล ได้ดังนี้
94
           1.1 ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ พบว่า ผลการ
ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการ ที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ
บุคลากรในโรงเรียนทราบว่านโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ
           1.2 ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า ผลการประเมินได้
คะแนนระดับดีมาก รายการ                ที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ ผู้นำา
นักเรียนส่งเสริมสุขภาพหรือผู้นำาเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียนหรือแกน
นำานักเรียนด้านสุขภาพปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่
           1.3 ด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน พบว่า ผลการ
ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ นักเรียน
มีความพึงพอใจต่อโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
           1.4 ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ พบว่า
ผลการประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
           1.5 ด้านการบริการอนามัยในโรงเรียน พบว่า ผลการประเมิน
ได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ นักเรียนได้รับ
การตรวจสุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นักเรียน
ได้รับทดสอบการได้ยิน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก นักเรียน
ได้รับวัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน       คางทูม นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกัน
วัณโรค BCG นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน
นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ ได้รับการรักษาและ
นักเรียนที่เจ็บป่วยเกินขอบเขตการบริการของห้องพยาบาลได้รับการส่งต่อ
เพื่อรักษา
           1.6 ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน พบว่า ผลการประเมินได้คะแนน
ระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ การหลีกเลี่ยงการพนันหรือ
เที่ยวกลางคืนของนักเรียนความปลอดภัยในชีวิตและการถูกล่วงละเมิดทาง
เพศ และมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
           1.7 ด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย พบว่า ผลการ
ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการ              ที่ได้รับคะแนนดีมากที่สุด คือ
นักเรียนที่พบว่ามีภาวการณ์เจริญเติบโตผิดปกติได้รับการแก้ไข นักเรียน
ได้ดื่มนมทุกวัน (ยกเว้นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน)
           1.8 ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า ผลการ
ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ ให้คำา
ปรึกษาแก่นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทดสอบสมรรถภาพทางกายและติดตาม
ความก้าวหน้า
           1.9 ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า ผลการ
ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ ครู
ประจำาชั้นคัดกรองนักเรียนและสามารถระบุนักเรียนที่มีปัญหาได้ นักเรียน
ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังและได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้น
95
นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความสามารถ ของโรงเรียนได้รับการส่งต่อ
นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วยเหลือหรือส่งต่อได้รับการ
ติดตาม จากครูและนักเรียนสามารถปรึกษาเพื่อน พ่อแม่ ญาติพี่น้อง ครูทุก
ครั้งที่มีปัญหา
            1.10 ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน พบว่า ผล
การประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้รับคะแนนดีมากที่สุด คือ
การสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน
        2. ความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการ
ดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิ
ศิษฐ์ประชานุเคราะห์) สรุปผลได้ดังนี้
            2.1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม
             พบว่า ครูส่วนมากเป็นเพศชาย ทุกคนมีวุฒิทางการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ปฏิบัติหน้าที่ในการสอนส่วนมากสอนระดับช่วงชั้นที่ 2
นักเรียน พบว่า เป็นเพศชายและเพศหญิงในจำานวนที่เท่ากันส่วนมากกำาลัง
ศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ 2 ส่วนผู้ปกครองนักเรียน ส่วนมากเป็นเพศหญิง
ส่วนมากมีความสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นพ่อหรือแม่ ส่วนมากมีอายุระหว่าง
21-40 ปี ส่วนมากมีวุฒิทางการศึกษาตำ่ากว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 และส่วน
มากประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป
            2.2 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน          วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด และด้านที่มี
ความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ ด้าน
บริการอนามัยในโรงเรียนและด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน
โรงเรียน ซึ่งแต่ละด้านมีผลสรุปได้ดังนี้
             ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ พบว่า ครูมีความพึง
พอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี
ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ นโยบายการส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้ นโยบายการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพและนโยบายการ
คุ้มครองผู้บริโภค
             ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจ
ระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณา       ตามรายการ พบว่า รายการที่มีความ
พึงพอใจระดับมากที่สุด คือ ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพปฏิบัติงาน
ตามบทบาทหน้าที่ที่กำาหนด
             ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ พบว่า ครูมี
ความพึงพอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า
รายการที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ ความสะอาดของอาคารเรียน
และบริเวณโรงเรียนและสภาพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์สะอาด อยู่ในสภาพดี
ไม่มีกลิ่นเหม็น
96
          ด้านบริการอนามัยในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจระดับ
มากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึงพอใจ
ระดับมากที่สุด คือ การตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนจากบุคลากร
สาธารณสุข การทดสอบสายตาของนักเรียน การทดสอบการได้ยินของ
นักเรียน การตรวจสุขภาพช่องปาก ของนักเรียน จำานวนนักเรียนที่มี
ฟันแท้ไม่ผุ และการรักษา ดูแลนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ
ฯลฯ
          ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจระดับมาก
ที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึงพอใจระดับ
มากที่สุด คือ นักเรียนรู้จักการป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย นักเรียนมีการ
จัดการอารมณ์ตนเองและโรงเรียนมีการเผยแพร่ความรู้ ด้านสุขภาพแก่
นักเรียน
          ด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย พบว่า ครูมีความพึงพอใจ
ระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึง
พอใจระดับมากที่สุด คือ การบริการนักเรียนในเรื่องอาหารเสริม (นม)
โดยเฉพาะนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการและโรงอาหารของโรงเรียน
มีมาตรฐานสุขาภิบาล
          ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า ครูมีความพึง
พอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี
ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การจัดชุมนุม ชมรม การออกกำาลังกาย
ของโรงเรียน
          ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า ครูมีความพึง
พอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี
ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความสามารถ
ของโรงเรียนได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่มีขีดความสามารถเฉพาะ
          ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน พบว่า ครูมีความ
พึงพอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี
ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องสุขภาพจาก
โรงเรียน มาตรการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในโรงเรียนและ
การร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน
       2.3 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
สรุปผลได้ดังนี้
          นักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน           วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) โดยรวมในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการพบว่า
รายการที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การบริการอาหารเสริม (นม)
สำาหรับนักเรียน
97
       2.4 ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) สรุปผลได้ดังนี้
            ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) โดยรวมระดับมาก และเมื่อพิจารณาตามรายการพบว่า รายการ
ที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ โรงเรียนไม่มีการจำาหน่ายอาหารที่มี
ผลเสียต่อสุขภาพของนักเรียน
อภิป รายผล
       รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด
โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ผู้รายงานได้อภิปรายผลในประเด็นที่
สำาคัญ ดังนี้
       การประเมินผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด
โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)         ของคณะกรรมการ กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรงเรียนได้ดำาเนินการตามโครงการโรงเรียน
ส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ได้คะแนน
ระดับดีมากซึ่งสอดคล้องกับภาคิไนย บำารุงเชื้อ (2547) ได้วิจัยเรื่อง การ
ศึกษาสภาพการดำาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนประถม
ศึกษาในอำาเภอหนองเรือ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ขอนแก่น เขต 5 โดยพบว่า การดำาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ
โรงเรียนประถมศึกษา อำาเภอหนองเรือ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาขอนแก่นเขต 5 ได้จัดกิจกรรมต่างๆ ตามองค์ประกอบ 10
ประการ ของการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยภาพรวมและรายด้าน
โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนในระดับช่วงชั้นที่ 1-2 ทุกโรงเรียนใน
อำาเภอหนองเรือ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน และยังสอดคล้องกับ
อนุพงษ์ พันธุ์วาณิช (2548) ได้วิจัยเรื่อง สภาพและปัญหาการดำาเนินงาน
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ สังกัด
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร พบว่า สภาพ
การดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพใน 10 ด้าน ในระดับมาก
ที่สุด ทั้งนี้ผู้รายงานเห็นว่าการดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข
ภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) มีมาตรฐาน ตัวบ่งชี้
ชัดเจน สามารถดำาเนินงานได้ทุกมาตรฐานตามศักยภาพที่มีความพร้อมทุก
ด้านและยังได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภาค
รัฐ เอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษา
คณะครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตำาบล
คำาหยาด สาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพโรง
พยาบาลโพธิ์ทอง ส่งผลให้การดำาเนินงานตามโครงการบรรลุวัตถุประสงค์
ในระดับดีมาก
98
        ผลการประเมินด้านที่ได้คะแนนระดับมากที่สุด คือ ด้านการให้คำา
ปรึกษาและสนับสนุนสังคม               ซึ่งสอดคล้องกับอนุพงษ์ พันธุ์วาณิช
(2548) ได้วิจัยเรื่อง สภาพและปัญหาการดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร พบว่า สภาพการดำาเนินงานโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม
จัดให้มีครูแนะแนวให้คำาปรึกษานักเรียนที่มีปัญหามากที่สุด และยัง
สอดคล้องกับธิดา ฉิมพลี (2549) ได้วิจัยเรื่อง การประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ชลบุรี ผลงานเกี่ยวกับความสอดคล้องของผลการดำาเนินงานโครงการกับ
วัตถุประสงค์ของโครงการ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครู
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา มีความ
สอดคล้องกับผลการดำาเนินงานอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ทั้งนี้ผู้รายงานเห็นว่า การดำาเนินการตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข
ภาพ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคมนั้น ครูทุกคนมีความรู้ ความ
เข้าใจในเรื่องการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคมเป็นอย่างดี และนำาเอา
ไปใช้ในการปฏิบัติงานเป็นไปตามตัวบ่งชี้ของการดำาเนินงานตาม
โครงการ นักเรียนได้รับบริการอย่างทั่วถึงและตรงกับสภาพปัญหาที่เกิด
ขึ้นกับนักเรียน จึงส่งผลให้การช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
        ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) พบว่า ครูมี
ความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด และด้านที่มีความพึงพอใจมากที่สุด
คือ ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ ด้านบริการอนามัยใน
โรงเรียนและด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน ซึ่งสอดคล้องกับ
วิรัตน์ มะโนวัฒนา (2549) ได้ประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนวัดชัยรัตน์ (ปัญญาประชานุกูล) สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 พบว่า ครูมีความพึงพอใจต่อผลการ
ดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดชัยรัตน์ (ปัญญา
ประชานุกูล) ใน 10 องค์ประกอบ อยู่ในระดับมากทุกองค์ประกอบและยัง
สอดคล้องกับอำาพันธ์ วัดกิ่ง (2550) ได้รายงานการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” สำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 พบว่า ครูมีความพึงพอใจต่อ
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และยัง
สอดคล้องกับเฉลิม อุดมมงคล (2551) ได้รายงานการประเมินโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้านหนองเต่าสามัคคี สังกัดสำานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำาแพงเพชร เขต 1 พบว่า ครูมีความพึง
พอใจต่อโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้ผู้
99
รายงานเห็นว่า การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตาม
องค์ประกอบ ทั้ง 10 ด้าน ครูสามารถนำาไปบูรณาการ              กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่องและบังเกิดผลต่อสุขภาพของนักเรียน ถ้า
นักเรียนมีสุขภาพที่ดีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่ง
สอดคล้องกับแนวคิดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2541) ที่เสนอไว้
ว่า ในการที่จะให้การศึกษาด้านอื่นๆ นั้น สมควรให้เด็กมีสุขภาพดีเสียก่อน
       ความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน            วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ
ว่า รายการที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การบริการอาหารเสริม
(นม) สำาหรับนักเรียนสอดคล้องกับเรณู               จันทร์ประดง (2549)
รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้านบาง
เนียน สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3
พบว่า การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการบริการสุขภาพ
ของโรงเรียน ผลการประเมินโดยนักเรียนมีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่
ในระดับดีมาก และยังสอดคล้องกับเฉลิม อุดมมงคล (2551) ได้รายงาน
การประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้านหนองเต่า
สามัคคี สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษากำาแพงเพชร เขต 1 พบว่า
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลที่เกิดขึ้น
มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด และยังสอดคล้องกับอำาพันธ์ วัดกิ่ง
(2550) ได้รายงานการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม
ศึกษาสกลนคร เขต 2 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้ผู้รายงานเห็นว่า นักเรียน
เป็นผู้ที่ได้รับผลจากการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โดยตรง เนื่องจากองค์ประกอบของโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งมี
ตัวชี้วัดทุกตัวชี้วัดจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของนักเรียนเป็นหลัก นักเรียน
เห็นประโยชน์ของการดำาเนินงานตามโครงการซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของ
นักเรียนเป็นเชิงประจักษ์ จึงส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการ
ดำาเนินงานในระดับมากที่สุด
       ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตาม
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ
เคราะห์) โดยรวมระดับมาก และเมื่อพิจารณาตามรายการพบว่า รายการที่
มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ โรงเรียนไม่มีการจำาหน่ายอาหารที่มีผล
เสียต่อสุขภาพของนักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับอำาพันธ์ วัดกิ่ง (2550) ได้
รายงานการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์
ผดุงวิทยา” สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 พบ
ว่า ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข
100
ภาพ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และยังสอดคล้องกับวิรัตน์ มะโนวัฒนา
(2549) ได้ประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดชัยรัตน์
(ปัญญาประชานุกูล) สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ราชบุรี เขต 2 พบว่า ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการดำาเนินงาน
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดชัยรัตน์ (ปัญญาประชานุกูล)
ใน 10 องค์ประกอบ        อยู่ในระดับมากทุกองค์ประกอบ ซึ่งผู้รายงานเห็น
ว่าผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ได้
มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมกับทางโรงเรียนมากยิ่งขึ้นและมีส่วนร่วมในการ
ส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ทั้งด้านสุขอนามัยที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน โดย
เฉพาะการปฏิบัติตนของนักเรียนให้เป็นผู้ที่มีสุขนิสัยที่ดี และเมื่อนักเรียน
กลับไปบ้านผู้ปกครองยังช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีสุขนิสัย
สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี เพื่อที่จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของสังคม
ต่อไป

ข้อ เสนอแนะ
1.ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา
      1.1 คณะกรรมการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียน ควรนำาผลการประเมินจากทุกฝ่ายไปวางแผนในการพัฒนาทุก
กิจกรรมให้บังเกิดผลดีแก่นักเรียนให้มากที่สุด
      1.2 โรงเรียนควรส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายทุกประเภทที่เกี่ยวข้อง มี
ส่วนร่วมในการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพทุกขั้น
ตอน
2. ข้อเสนอแนะทั่วไป
      2.1 ควรศึกษาสภาพปัญหาการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง
เสริมสุขภาพโรงเรียน เพื่อนำาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนา
โครงการให้มีประสิทธิภาพและบังเกิดประสิทธิผลสูงสุด
      2.2 ควรรายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ตามรูปแบบอื่นๆ เช่น CIPP Model เพื่อจะได้ข้อมูลสารสนเทศรอบด้าน




                           บรรณานุก รม
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2545. การประกัน คุณ ภาพการ
ศึก ษาภายในสถานศึก ษา
101
       ระดับ การศึก ษาขั้น พื้น ฐาน . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
กรมอนามัย. 2545. แนวทางการดำา เนิน งานโรงเรีย นส่ง เสริม สุข
ภาพ. กรุงเทพฯ :
       ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
--------. 2546. คู่ม ือ การดำา เนิน งานโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ
สำา หรับ โรงเรีย น . กรุงเทพฯ :
       สำานักงานฯ.
--------. 2549. คู่ม ือ การดำา เนิน งานโครงการเด็ก ไทยทำา ได้ใ น
โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ . พิมพ์ครั้งที่ 4.
       นนทบุรี : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด.
กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ. 2548. เกณฑ์
มาตรฐานการประเมิน โรงเรีย น
       ส่ง เสริม สุข ภาพ สำา หรับ โรงเรีย นประถมศึก ษาและ
มัธ ยมศึก ษา ฉบับ ปรับ ปรุง 2548.
       กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
จำากัด.
คำานึง ภูริปัญญา. 2542. “การประเมินโครงการ”. จัน ทร์เ กษมสาร .
มกราคม-มิถุนายน. 42.
จีรนันท์ กัณฑวงศ์. 2545. ความพึง พอใจในการปฏิบ ัต ิง านของครู
อาจารย์ใ นโรงเรีย นทหารช่า ง
       กรมการทหารช่า ง . ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการ
ศึกษา). กรุงเทพฯ :
       บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. (ถ่าย
เอกสาร).
จีรพัฒน์ จันทร์ศรี. 2546. การศึก ษาความพึง พอใจของผู้ป กครอง
นัก เรีย นต่อ การบริห ารโรงเรีย น
       ประถมศึก ษา สัง กัด สำา นัก งานการประถมศึก ษาอำา เภอโนน
นารายณ์ จัง หวัด สุร ิน ทร์.
       วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา) วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การ
บริหารการศึกษา). สุรินทร์
       : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. (ถ่ายเอกสาร).
เฉลิม อุดมมงคล. 2551. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง
เสริม สุข ภาพโรงเรีย นบ้า นหนอง
       เต่า สามัค คี สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา
กำา แพงเพชร เขต 1.
       กำาแพงเพชร : สำานักงานฯ.
102
ทองใบ สุดชารี. 2543. ภาวะผู้น ำา และแรงจูง ใจ . อุบลราชธานี : คณะ
วิทยาการจัดการ.
ธิดา ฉิมพลี. 2549. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข
ภาพ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก าร
       ศึก ษาประถมศึก ษาชลบุร ี. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหารการ
ศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิต
       วิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. (ถ่ายเอกสาร).
ธีระพันธ์ ชวนจิตต์. 2549. การประเมิน ผลการดำา เนิน งานโรงเรีย น
ส่ง เสริม สุข ภาพของโรงเรีย น
       เทศบาล 2 (วัด ใน) เทศบาลนครสมุท รปราการ จัง หวัด
สมุท รปราการ . ปริญญานิพนธ์ ค.ม.
       (การบริหารการศึกษา)ง กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏธนบุรี.
       (ถ่ายเอกสาร).
บุญชม ศรีสะอาด. 2546. การวิจ ัย เบื้อ งต้น . พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ :
สุวีริยสาส์น.
ประชุม รอดประเสริฐ. 2547. การบริห ารโครงการ . กรุงเทพฯ : เนติ
กุลการพิมพ์.
ประทีป ทองงาม. 2549. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข
ภาพโรงเรีย นวัด ไผ่จ ระเข้
       สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษานครปฐม เขต 2.
นครปฐม : สำานักงานฯ.
พนม พงษ์ไพบูลย์และคณะ. 2546. รวมกฎหมายการศึก ษาเข้า สู่
โครงการใหม่ก ระทรวง
       ศึก ษาธิก าร . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2545. วิธ ีก ารวิจ ัย ทางพฤติก รรมศาสตร์แ ละ
สัง คมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำานักงาน
       ทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.
พัชรี ปานนิล. 2547. สภาพและปัญ หาการดำา เนิน งานโรงเรีย นส่ง
เสริม สุข ภาพต้น แบบ . ปริญญา
       นิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
       (ถ่ายเอกสาร).
พิสณุ ฟองศรี. 2551. เทคนิค วิธ ีป ระเมิน โครงการ . กรุงเทพฯ :
บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำากัด.
ภาคิไนย บำารุเงชื้อ. 2547. การศึก ษาสภาพการดำา เนิน งาน
โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพในโรงเรีย น
103
       ประถมศึก ษา ในอำา เภอหนองเรือ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่
       การศึก ษาประถมศึก ษาขอนแก่น เขต 5. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม.
       (การบริหารการศึกษา). ขอนแก่น : บัณฑิต
       วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ถ่ายเอกสาร).
มณี โพธิเสน. 2543. ความพึง พอใจของผู้ป กครองนัก เรีย นและ
บุค ลากรในโรงเรีย นต่อ การจัด
       การศึก ษาของโรงเรีย นโพธิเ สนวิท ยา อำา เภอท่า บ่อ จัง หวัด
หนองคาย. รายงานค้นคว้า
       อิสระการศึกษา ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (บริหารการศึกษา).
มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย
       มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (ถ่ายเอกสาร).
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2541. สุข ภาพเพื่อ ชีว ิต . กรุงเทพฯ : สำา
นักงานฯ.
มุทิตา แพทย์ประทุม. 2544. การประเมิน โครงการพัฒ นา
บรรยากาศและสิ่ง แวดล้อ มโรงเรีย นสตรี
       ประเสริฐ ศิล ป์ จัง หวัด ตราด. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหาร
การศึกษา). ชลบุรี :
       บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. (ถ่ายเอกสาร).
ยุทธพงษ์ กัยวรรณ. 2543. พื้น ฐานการวิจ ัย . กรุงเทพฯ : สุวีริยสาส์น.
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศรี. 2546. การประเมิน โครงการแนวคิด และ
แนวปฏิบ ัต ิ. พิมพ์ครั้งที่ 3.
       กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
รัตนะ บัวสนธ์. 2547. การประเมิน โครงการ . กรุงเทพฯ : อัดสำาเนา.
เรณู จันทร์ประดง. 2549. รายงานผลการประเมิน โครงการ
โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ โรงเรีย นบ้า น
       บางเนีย น สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา
นครศรีธ รรมราช เขต 3.
       นครศรีธรรมราช : สำานักงานฯ.
โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์). 2550. สรุป บัน ทึก
กิจ กรรมอนามัย โรงเรีย นโรงเรีย น
       ส่ง เสริม สุข ภาพ . อ่างทอง : สำานักงานฯ.
--------. 2551. แผนปฏิบ ัต ิร าชการ ประจำา ปีง บประมาณ 2550.
อ่างทอง : สำานักงานฯ.
วสันต์ ศิลปะสุวรรณและพิมพ์พรรณ ศิลปะสุวรรณ. 2542. การวางแผน
และการประเมิน โครงการ
       ส่ง เสริม สุข ภาพ : ทฤษฎีแ ละปฏิบ ัต ิ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
เจริญดีการพิมพ์.
104
วิเชียร จันทวาลย์. 2547. การดำา เนิน โครงการส่ง เสริม สุข ภาพใน
โรงเรีย นประถมศึก ษา อำา เภอ
       แม่ส าย จัง หวัด เชีย งราย . ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการ
ศึกษา). เชียงราย : บัณฑิต
       วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (ถ่ายเอกสาร).
วิรัตน์ มะโนวัฒนา. 2549. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง
เสริม สุข ภาพโรงเรีย นวัด ชัย รัต น์
       (ปัญ ญาประชานุก ูล ) สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา
ประถมศึก ษาราชบุร ี เขต 2.
       ราชบุรี : สำานักงานฯ.
วิรัตน์ สอนคำาจันทร์. 2548. ความพึง พอใจของครูต ่อ การดำา เนิน
งานโครงการโรงเรีย นส่ง เสริม
       สุข ภาพ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา
สุร ิน ทร์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม.
       (การบริหารการศึกษา). สุรินทร์ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสุรินทร์.
       (ถ่ายเอกสาร).
สดศรี คงชนะ. 2548. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข
ภาพของโรงเรีย น สัง กัด สำา นัก งาน
       เขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษากำา แพงเพชร เขต 1.
ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการ
       ศึกษา). กำาแพงเพชร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ
กำาแพงเพชร. (ถ่ายเอกสาร).
สมชาย อรุณโรจน์. 2550. การศึก ษาการดำา เนิน งานของโรงเรีย น
ส่ง เสริม สุข ภาพในเขตพื้น ที่ก าร
       ศึก ษาชุม พร เขต 2. ปริญญานิพนธฺ ค.ม. (การบริหารการศึกษา).
สุราษฎร์ธานี : บัณฑิต
       วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. (ถ่ายเอกสาร).
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. 2544. รวมบทความการประเมิน โครงการ .
กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์แห่ง
       จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สามารถ เตจ๊ะวงค์. 2551. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย น
ส่ง เสริม สุข ภาพ ของโรงเรีย นวัด
       ท่า ตุ้ม สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาลำา พูน เขต
1. ลำาพูน : สำานักงานฯ.
สำานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2547. พระ
ราชบัญ ญัต ิก ารศึก ษาแห่ง
105
      ชาติ พ.ศ.2542 แก้ไ ขเพิ่ม เติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ.2545.
กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวาน
      กราฟฟิค จำากัด.
สุพัฒน์ ศรีสัมฤทธิ์. 2545. ความพึง พอใจของผู้เ รีย นและผู้ส อน
หลัก สูต รประกาศนีย บัต รวิช าชีพ ใน
      วิท ยาลัย เทคนิค สมุท รสงคราม ที่ม ีต ่อ การเรีย นอาชีว ศึก ษา
ระบบทวิภ าคี. ปริญญานิพนธ์
      กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
      ประสานมิตร. (ถ่ายเอกสาร).
สุภาวดี ดวงจันทร์. 2551. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย น
ส่ง เสริม สุข ภาพของโรงเรีย นบ้า น
      หนองนายขุ้ย สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา
      สงขลา เขต 2. สงขลา : สำานักงานฯ
สุมาลี แก้ววิมล. 2550. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง
เสริม สุข ภาพโรงเรีย นวัด ดอน
      กระเบื้อ ง (ดอนกระเบื้อ งราษฎร์บ ำา รุง ). สงขลา : สำานักงานฯ.
อดุลศักดิ์ นารินรันทร์. 2548. การดำา เนิน งานโครงการโรงเรีย นส่ง
เสริม สุข ภาพ สัง กัด สำา นัก งานเขต
      พื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาอุบ ลราชธานี . ปริญญานิพนธ์
ค.ม. (การบริหารการศึกษา).
      อุบลราชธานี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
(ถ่ายเอกสาร).
อนุพงษ์ พันธ์วาณิช. 2548. สภาพและปัญ หาการดำา เนิน งาน
โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพใน
      โรงเรีย นมัธ ยมศึก ษาของรัฐ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก าร
      ศึก ษามัธ ยมศึก ษากรุง เทพมหานคร . ปริญญานิพนธ ศษ.ม.
      (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
      เกษตรศาสตร์.           (ถ่ายเอกสาร).
อภิสิทธิ์ กรีทรัพย์. 2549. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย น
ส่ง เสริม สุข ภาพของโรงเรีย นวัด
      ถั่ว ทอง สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาปทุม ธานี
      เขต 1. ปทุมธานี : สำานักงานฯ.
อำาพันธ์ วัดกิ่ง. 2550. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง
เสริม สุข ภาพโรงเรีย นสีค ิ้ว “สวัส ดิ์
      ผดุง วิท ยา ” สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา
สกลนคร เขต 2. สกลนคร :
      สำานักงานฯ.
106
Booth ML. Samdalo. 1977. Healthy – promoting School in
Australia : models and
     Measurement. Aust – N-Z-J-Public-Health
     West. P. Sweeting. H, Leyland, A. 2004. School Effects
on Publics Health Behaviors :
     Evidence in Support of the Health Promoting School.
http://fistsearcg.org/WebZ
     FSFETCH/fetchtype = fullrecord : scssionid = fsapp 1 –
4686 – cno 9 qenv – fmsp 6 c :
     Entitypagenum = 4:0:recno=1 : format=F1
next=html/record.html:badfetch.html :
     Entiyoprecno = 1 : entitycurrecno=1 : numrecs=1.




                      ภาคผนวก
107




            ภาคผนวก ก
    รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือเก็บ
แบบสอบถาม
    หนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือแบบสอบถาม
    หนังสือขอความร่วมมือครูในการตอบแบบสอบถาม
    หนังสือขอความร่วมมือผู้ปกครองนักเรียนในการตอบ
แบบสอบถาม
    แบบสอบถาม
108




               บัญ ชีร ายชื่อ ผู้เ ชี่ย วชาญในการตรวจเครื่อ ง
          มือ การเก็บ ข้อ มูล
          รายงานการประเมิน ผลการประเมิน โครงการ
                  โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ
          โรงเรีย นวัด โพธิ์ท อง (วิศ ิษ ฐ์ป ระชานุเ คราะห์)
                           ............................



5.1 นายประสงค์     รอดสมุทร์           พยาบาลวิชาชีพ
                          สำานักงานสาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง
5.2 นางสาวเสริมศรี ตระพันธ์พัฒน์       ทันตสาธารณสุขชุมชน
                          สำานักงานสาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง
5.3 นายสมปอง พึ่งเนตร                  ศึกษานิเทศก์
                          สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
                     อ่างทอง
5.4 นายรณชัย นิ่มกุล                   ผู้อำานวยการโรงเรียนแสวงหา
วิทยาคม
                          สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
อ่างทอง
5.5 นายอุดม ลิ้มบุญเจริญ        ผู้อำานวยการโรงเรียนวัดไตรรัตนาราม
109
          สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
อ่างทอง
110
111
112
113
114
115
116




                                              ฉบับ ครู
                                              ผูส อน
                                                ้
                    แบบสอบถำม
    ควำมพึง พอใจต่อ ผลกำรดำำ เนิน งำนตำม
          โครงกำรโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภำพ
        โรงเรีย นวัด โพธิ์ท อง (วิศ ิษ ฐ์ป ระชำนุ
                       เครำะห์)
คำำ ชี้แ จง 1.แบบสอบถำมฉบับนี้ ต้องกำรศึกษำควำมพึงพอใจของครูผู้
สอนต่อผลกำรดำำเนินงำนตำม
       โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ
    2. แบบสอบถำมฉบับนี้แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
       ตอนที่ 1 สถำนภำพของผู้ตอบแบบสอบถำม
       ตอนที่ 2 ควำมพึงพอใจของครูต่อผลกำรดำำเนินงำนตำม
โครงกำรโรงเรียนส่งเสริม
             สุขภำพโดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับดังนี้
             5 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ
    90 ขึ้นไป
             4 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 70-
    89
             3 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อยละ
    60-69
117
            2 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 50-
    59
             1 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับน้อยที่สุด คิดเป็นตำ่ำกว่ำ
         ร้อยละ 50




ตอนที่ 1 สถำนภำพของผู้ต อบแบบสอบถำม
คำำ ชี้แ จง โปรดทำำเครื่องหมำย / ลงในช่อง        ตรงกับสถำนภำพ
หรือคุณสมบัตของท่ำน
                 ิ
       1.เพศ
             ชำย
             หญิง
       2. วุฒ ิท ำงกำรศึก ษำ
             ตำ่ำกว่ำปริญญำตรี
             ปริญญำตรี
             สูงกว่ำปริญญำตรี
       3. ประสบกำรณ์ใ นกำรทำำ งำน
             น้อยกว่ำ 10 ปี
             11-20 ปี
             21-30 ปี
             มำกกว่ำ 30 ปีขึ้นไป
       4. ระดับ ชั้น ที่ท ำำ กำรสอน
             อนุบำล
             ช่วงชั้นที่ 1
             ช่วงชั้นที่ 2
118




ตอนที่ 2 ควำมพึง พอใจต่อ ผลกำรดำำ เนิน งำนตำมโครงกำร
โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภำพ
คำำ ชี้แ จง โปรดทำำเครื่องหมำย  ลงในช่อง            ที่ตรงกับควำมพึง
พอใจของท่ำน
                                                          ระดับ ควำม
ที่                       รำยกำร                           พึง พอใจ
                                                         1 2 3 4 5
     ด้ำ นกำรกำำ หนดนโยบำยส่ง เสริม สุข ภำพของ
1 โรงเรีย น
     ควำมรู้ ควำมเข้ำใจของคณะกรรมกำรดำำเนินงำน
     โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ
2 นโยบำยกำรส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้
3 นโยบำยกำรเฝ้ำระวังและแก้ไขปัญหำสุขภำพ
4 นโยบำยกำรพัฒนำพฤติกรรมสุขภำพตำมสุข
     บัญญัติแห่งชำติ
5 นโยบำยกำรคุ้มครองผู้บริโภค
6 นโยบำยส่งเสริมกำรออกกำำลังกำยเพื่อสุขภำพแก่
     นักเรียน บุคลำกรของโรงเรียนและชุมชน
7 นโยบำยกำรพัฒนำระบบกำรเรียนรู้ด้ำนสุขภำพโดย
     มีผู้เรียนเป็นสำำคัญ
8 นโยบำยกำรส่งเสริมสุขภำพบุคลำกรในโรงเรียน
9 นโยบำยกำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำร
     พัฒนำสุขภำพนักเรียน บุคลำกรในโรงเรียนและ
     ชุมชน
119
1 นโยบำยกำรส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียนผู้ปฏิบัติ
0 สำมำรถนำำไปปฏิบัติได้
  กำรบริห ำรจัด กำรในโรงเรีย น
1 กำรมีส่วนร่วมของทุกฝ่ำยในกำรจัดทำำโครงกำร
1 โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ
1 โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพมีควำมสอดคล้อง
2 กับสภำพปัจจุบันและปัญหำของโรงเรียน
1 โครงกำรมีกำรระบุกิจกรรมส่งเสริมสุขภำพที่
3 สอดคล้องกับกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
1 ผู้นำำนักเรียนส่งเสริมสุขภำพปฏิบัติงำนตำมบทบำท
4 หน้ำที่ที่กำำหนด
1 ควำมต่อเนื่องของคณะกรรมกำรโรงเรียนส่งเสริมสุข
5 ภำพในกำรนิเทศ ติดตำมผลกำรดำำเนินงำน
1 กำรประเมินผลโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ
6 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงกำร
  โครงกำรร่ว มระหว่ำ งโรงเรีย นกับ ชุม ชน
1 กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรส่งเสริมสุขภำพนักเรียน
7 ของชุมชน
1 ควำมต่อเนื่องกำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรส่งเสริมสุข
8 ภำพของชุมชน
1 ชุมชนตะหนักและเห็นควำมสำำคัญของโครงกำรส่ง
9 เสริมสุขภำพของนักเรียน
                                                     ระดับ ควำม
ที่                   รำยกำร                          พึง พอใจ
                                                     1 2 3 4 5
  กำรจัด สิ่ง แวดล้อ มในโรงเรีย นที่เ อื้อ ต่อ
2 สุข ภำพ
0 กำรจัดสนำมและบริเวณออกกำำลังกำยของโรงเรียน
2 ควำมสะอำดของอำคำรเรียนและบริเวณโรงเรียน
1
2 อำคำรเรียนอำคำรประกอบและบริเวณโรงเรียนมี
2 ควำมปลอดภัย
2 ห้องพยำบำลมีสัดส่วน อุปกรณ์ของใช้สะอำด สภำพ
3 ดี
2 นำ้ำดื่ม นำ้ำใช้ มีควำมสะอำดและมีเพียงพอ
4
2 สภำพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์สะอำด อยู่ในสภำพดี
120
5   ไม่มีกลิ่นเหม็น
2   ส้วมมีควำมเพียงพอต่อจำำนวนนักเรียน
6
2   ระบบกำรกำำจัดขยะบริเวณโรงเรียน
7
2   สภำพท่อ รำงระบำยนำ้ำ สภำพดี ไม่อดตัน
                                    ุ
8
2 มีระบบป้องกัน/อุปกรณ์ในกำรดับไฟและมีกำรตรวจ
9 สอบอุปกรณ์ไฟฟ้ำอยู่เสมอ
  บริก ำรอนำมัย โรงเรีย น
3 กำรตรวจสุขภำพอนำมัยของนักเรียนจำกบุคลำกร
0 สำธำรณสุข
3 กำรทดสอบสำยตำของนักเรียน
1
3 กำรทดสอบกำรได้ยินของนักเรียน
2
3 กำรตรวจสุขภำพช่องปำกของนักเรียน
3
3 จำำนวนนักเรียนที่มีฟันแท้ไม่ผุ
4
3 จำำนวนนักเรียนที่ไม่เป็นโรคเหงือกอักเสบ
5
3 กำรได้รับวัคซีนป้องกันโรคของนักเรียน
6
3 กำรรักษำ ดูแลนักเรียนที่มีปัญหำสุขภำพ เช่น เหำ
7 พยำธิ ฯลฯ
  สุข ศึก ษำในโรงเรีย น
3 ควำมสะอำดของร่ำงกำยนักเรียน
8
3 นักเรียนเลือกซื้ออำหำรที่มีประโยชน์
9
4 นักเรียนรู้จักกำรหลีกเลี่ยงสำรเสพติด
0
4 นักเรียนรู้จักกำรป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย
1
4 นักเรียนหลีกเลี่ยงกำรพนัน หรือเที่ยวกลำงคืน
2
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

Contenu connexe

Tendances

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีTeach Singing
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนNontaporn Pilawut
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 

Tendances (20)

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลี
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 

Similaire à รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามrbsupervision
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรีMayuree Kung
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 

Similaire à รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) (20)

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
File1
File1File1
File1
 
B1
B1B1
B1
 
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนาAi ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 

รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์)

  • 1. 90 บทที่ 5 สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ผู้รายงานเสนอลำาดับขั้นตอนและผล การดำาเนินงาน โดยสรุปดังนี้ วัต ถุป ระสงค์ 1.เพื่อศึกษาผลสำาเร็จของการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน ต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) วิธ ีก ารดำา เนิน การ การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ได้ดำาเนินการตามโครงการดังนี้ 1.ประชุมคณะครูเพื่อพิจารณาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความ ต้องการเข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบโครงการ 3. ผู้บริหารสถานศึกษาเพื่ออนุมัติโครงการ 4. แจ้งสาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง ผู้รับผิดชอบโครงการระดับ อำาเภอเพื่อสมัครเข้าร่วมโครงการ 5. คัดเลือกผู้นำานักเรียนเข้าค่ายผู้นำานักเรียนโรงเรียนส่งเสริมสุข ภาพ 6. ผู้นำานักเรียนจัดตั้งชมรม 7. ผู้นำานักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นกลุ่มสีต่างๆ จำานวน 5 กลุ่มสี 8.สมาชิกลุ่มสีต่างๆ ปฏิบัติหน้าที่ตามรายละเอียดของโครงการ 9. สมาชิกกลุ่มสีประเมินผลการปฏิบัติงานของทุกกิจกรรมเสนอครู ผู้รับผิดชอบโครงการ 10. แจ้งคณะกรรมการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับอำาเภอ เพื่อขอรับการประเมินโครงการ 11. ประเมินผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านความพึงพอใจในการดำาเนินงานของผู้ที่เกี่ยวข้อง 12. สรุปและรายงานผล ประชากรและกลุ่ม ตัว อย่า ง 1.ประชากรในการรายงานครั้งนี้ ได้แก่ ครูจำานวน 6 คน นักเรียน จำานวน 61 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำานวน 61 คน ของโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ปีการศึกษา 2554
  • 2. 91 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้จากการกำาหนดขนาดของกลุ่ม ตัวอย่างโดยใช้แบบเลือกเจาะจง (ยุทธพงษ์ กัยวรรณ.2543 : 78) ได้ จำานวนกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ครู จำานวน 6 คน นักเรียน จำานวน 61 คน และ ผู้ปกครองนักเรียน จำานวน 61 คน เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการเก็บ ข้อ มูล รายงานการประเมินผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ครั้งนี้ ผู้รายงานได้กำาหนดเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ ฉบับที่ 1 แบบประเมินผลตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตามองค์ประกอบ 10 ด้าน ฉบับที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงาน ตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท (Likert) จำานวน 63 ข้อ ฉบับที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการดำาเนิน งานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท (Likert) จำานวน 36 ข้อ ฉบับที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อผล การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท (Likert) จำานวน 33 ข้อ การสร้า งเครื่อ งมือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รายงานได้ดำาเนินการสร้าง ตามขั้นตอนดังนี้ 1.ศึกษาเอกสาร ตำาราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 2. กำาหนดกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสอบถามโดยใช้กรอบ แนวคิดการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของกรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข 3. สร้างแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดและขอบเขตของการศึกษาที่ กำาหนด 4. สร้างข้อคำาถามเป็นแบบสำารวจรายการและมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) ให้ครอบคลุมกรอบแนวคิดและขอบเขตที่ศึกษา 5. นำาแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จำานวน 5 ท่าน ที่มีความรู้ ความเข้าใจการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ พิจารณาตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content Validity) และความ ถูกต้องในการ ใช้ภาษา 6. ตรวจสอบความตรงของเครื่องมือ ด้วยวิธีการดังนี้
  • 3. 92 6.1 เครื่องมือที่ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแล้ว มีเกณฑ์การพิจารณา ตามคะแนนแต่ละข้อคำาถามดังนี้ 6.2 นำาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนีความ สอดคล้อง (IOC : Index of Item Objective Congruence) (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2545 : 124) เกณฑ์การพิจารณาข้อคำาถามที่นำามาสร้างเครื่องมือ คือ ค่า IOC มีค่ามากกว่า .50 ขึ้นไป ซึ่งเครื่องมือนี้มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 7. ปรับปรุงเครื่องมือให้สมบูรณ์ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 8. นำาเครื่องมือทั้งสามฉบับ ไปทดลองใช้ (try out) กับครูจำานวน 5 คน นักเรียนจำานวน 20 คนและผู้ปกครองจำานวน 20 คน ของโรงเรียนวัด คำาหยาด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง จากนั้นนำามา วิเคราะห์หาค่าความเที่ยง (Reliability) โดยใช้วิธีคำานวณหาค่า สัมประสิทธิ์แอลฟ่า (α – Alpha Coefficient) ของ Cronbach ได้ค่า ความเที่ยงเท่ากับ 0.92-0.98 9. จัดทำาและนำาเครื่องมือไปเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง การเก็บ รวบรวมข้อ มูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รายงานได้ดำาเนินการดังนี้ บันทึกเสนอผู้อำานวยการโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) เพื่อขอความร่วมมือครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ในการตอบแบบสอบถามฉบับผู้ ปกครองนักเรียนได้ส่งผ่านทางนักเรียน เพื่อนำาส่งผู้ปกครองของตนเอง พร้อมรับแบบสอบถามืนได้แบบสอบถามคืน คิดเป็นร้อยละ 100 การวิเ คราะห์ข ้อ มูล ผู้รายงานได้ดำาเนินการวิเคราะห์ผลตามขั้นตอนดังนี้ 1.วิเคราะห์ผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ คณะกรรมการประเมินจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยเทียบ เกณฑ์ดังนี้ (กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2548 : 4) ร้อยละ 75 ขึ้นไป ของคะแนนสูงสุด ถือว่าผ่านเกณฑ์ประเมิน ขั้นดีมาก ร้อยละ 65-74 ของคะแนนสูงสุด ถือว่าผ่านเกณฑ์ ประเมินขั้นดี ร้อยละ 55-64 ของคะแนนสูงสุด ถือว่าผ่านเกณฑ์ ประเมินขั้นพื้นฐาน น้อยกว่าร้อยละ 55 ของคะแนนสูงสุด ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ ประเมิน (ควรพัฒนาต่อไป)
  • 4. 93 2. การวิเคราะห์ผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข ภาพ ผู้รายงานได้ดำาเนินการดังนี้ 2.1 ตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม คัดเฉพาะฉบับที่สมบูรณ์ 2.2 วิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำา มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 103) 4.50-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด 3.50-4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมาก 2.50-3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง มีความพึงพอในระดับน้อย 1.00-1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด สถิต ิท ี่ใ ช้ใ นการวิเ คราะห์ข ้อ มูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้รายงานใช้การคำานวณด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์สำาเร็จรูป โดยคำานวณ หาค่าความถี่ (Frequency) ค่า ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic) และค่าส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สรุป ผล รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ผู้รายงานขอสรุปผลในประเด็นที่ สำาคัญดังนี้ 1.ผลสำาเร็จของการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข ภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) สรุปผลได้ ดังนี้ การประเมินผลของคณะกรรมการประเมินโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) มีผลการ ประเมินระดับดีมาก และเมื่อพิจารณาตามรายด้าน พบว่า ด้านที่มีคะแนนดี มากที่สุด คือ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม และเมื่อพิจารณา ตามรายด้านสรุปผล ได้ดังนี้
  • 5. 94 1.1 ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ พบว่า ผลการ ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการ ที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ บุคลากรในโรงเรียนทราบว่านโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ 1.2 ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า ผลการประเมินได้ คะแนนระดับดีมาก รายการ ที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ ผู้นำา นักเรียนส่งเสริมสุขภาพหรือผู้นำาเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียนหรือแกน นำานักเรียนด้านสุขภาพปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ 1.3 ด้านโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน พบว่า ผลการ ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ นักเรียน มีความพึงพอใจต่อโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 1.4 ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ พบว่า ผลการประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 1.5 ด้านการบริการอนามัยในโรงเรียน พบว่า ผลการประเมิน ได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ นักเรียนได้รับ การตรวจสุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นักเรียน ได้รับทดสอบการได้ยิน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก นักเรียน ได้รับวัคซีนป้องกันหัดเยอรมัน คางทูม นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกัน วัณโรค BCG นักเรียนได้รับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ ได้รับการรักษาและ นักเรียนที่เจ็บป่วยเกินขอบเขตการบริการของห้องพยาบาลได้รับการส่งต่อ เพื่อรักษา 1.6 ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน พบว่า ผลการประเมินได้คะแนน ระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ การหลีกเลี่ยงการพนันหรือ เที่ยวกลางคืนของนักเรียนความปลอดภัยในชีวิตและการถูกล่วงละเมิดทาง เพศ และมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ 1.7 ด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย พบว่า ผลการ ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการ ที่ได้รับคะแนนดีมากที่สุด คือ นักเรียนที่พบว่ามีภาวการณ์เจริญเติบโตผิดปกติได้รับการแก้ไข นักเรียน ได้ดื่มนมทุกวัน (ยกเว้นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน) 1.8 ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า ผลการ ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ ให้คำา ปรึกษาแก่นักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทดสอบสมรรถภาพทางกายและติดตาม ความก้าวหน้า 1.9 ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า ผลการ ประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้คะแนนดีมากที่สุด คือ ครู ประจำาชั้นคัดกรองนักเรียนและสามารถระบุนักเรียนที่มีปัญหาได้ นักเรียน ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังและได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้น
  • 6. 95 นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความสามารถ ของโรงเรียนได้รับการส่งต่อ นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและได้รับการช่วยเหลือหรือส่งต่อได้รับการ ติดตาม จากครูและนักเรียนสามารถปรึกษาเพื่อน พ่อแม่ ญาติพี่น้อง ครูทุก ครั้งที่มีปัญหา 1.10 ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน พบว่า ผล การประเมินได้คะแนนระดับดีมาก รายการที่ได้รับคะแนนดีมากที่สุด คือ การสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน 2. ความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการ ดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิ ศิษฐ์ประชานุเคราะห์) สรุปผลได้ดังนี้ 2.1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ครูส่วนมากเป็นเพศชาย ทุกคนมีวุฒิทางการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ปฏิบัติหน้าที่ในการสอนส่วนมากสอนระดับช่วงชั้นที่ 2 นักเรียน พบว่า เป็นเพศชายและเพศหญิงในจำานวนที่เท่ากันส่วนมากกำาลัง ศึกษาอยู่ในช่วงชั้นที่ 2 ส่วนผู้ปกครองนักเรียน ส่วนมากเป็นเพศหญิง ส่วนมากมีความสัมพันธ์กับนักเรียนเป็นพ่อหรือแม่ ส่วนมากมีอายุระหว่าง 21-40 ปี ส่วนมากมีวุฒิทางการศึกษาตำ่ากว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3 และส่วน มากประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป 2.2 ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) พบว่า ครูมีความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด และด้านที่มี ความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ ด้าน บริการอนามัยในโรงเรียนและด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน โรงเรียน ซึ่งแต่ละด้านมีผลสรุปได้ดังนี้ ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ พบว่า ครูมีความพึง พอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ นโยบายการส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ นโยบายการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพและนโยบายการ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านการบริหารจัดการในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจ ระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณา ตามรายการ พบว่า รายการที่มีความ พึงพอใจระดับมากที่สุด คือ ผู้นำานักเรียนส่งเสริมสุขภาพปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าที่ที่กำาหนด ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ พบว่า ครูมี ความพึงพอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ ความสะอาดของอาคารเรียน และบริเวณโรงเรียนและสภาพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์สะอาด อยู่ในสภาพดี ไม่มีกลิ่นเหม็น
  • 7. 96 ด้านบริการอนามัยในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจระดับ มากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึงพอใจ ระดับมากที่สุด คือ การตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนจากบุคลากร สาธารณสุข การทดสอบสายตาของนักเรียน การทดสอบการได้ยินของ นักเรียน การตรวจสุขภาพช่องปาก ของนักเรียน จำานวนนักเรียนที่มี ฟันแท้ไม่ผุ และการรักษา ดูแลนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น เหา พยาธิ ฯลฯ ด้านสุขศึกษาในโรงเรียน พบว่า ครูมีความพึงพอใจระดับมาก ที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึงพอใจระดับ มากที่สุด คือ นักเรียนรู้จักการป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย นักเรียนมีการ จัดการอารมณ์ตนเองและโรงเรียนมีการเผยแพร่ความรู้ ด้านสุขภาพแก่ นักเรียน ด้านโภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย พบว่า ครูมีความพึงพอใจ ระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มีความพึง พอใจระดับมากที่สุด คือ การบริการนักเรียนในเรื่องอาหารเสริม (นม) โดยเฉพาะนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการและโรงอาหารของโรงเรียน มีมาตรฐานสุขาภิบาล ด้านการออกกำาลังกาย กีฬาและนันทนาการ พบว่า ครูมีความพึง พอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การจัดชุมนุม ชมรม การออกกำาลังกาย ของโรงเรียน ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคม พบว่า ครูมีความพึง พอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ นักเรียนที่มีปัญหาเกินขีดความสามารถ ของโรงเรียนได้รับการส่งต่อไปยังหน่วยงานที่มีขีดความสามารถเฉพาะ ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน พบว่า ครูมีความ พึงพอใจระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบว่า รายการที่มี ความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องสุขภาพจาก โรงเรียน มาตรการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในโรงเรียนและ การร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน 2.3 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) สรุปผลได้ดังนี้ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) โดยรวมในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการพบว่า รายการที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การบริการอาหารเสริม (นม) สำาหรับนักเรียน
  • 8. 97 2.4 ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) สรุปผลได้ดังนี้ ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) โดยรวมระดับมาก และเมื่อพิจารณาตามรายการพบว่า รายการ ที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ โรงเรียนไม่มีการจำาหน่ายอาหารที่มี ผลเสียต่อสุขภาพของนักเรียน อภิป รายผล รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ผู้รายงานได้อภิปรายผลในประเด็นที่ สำาคัญ ดังนี้ การประเมินผลโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัด โพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ของคณะกรรมการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรงเรียนได้ดำาเนินการตามโครงการโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ได้คะแนน ระดับดีมากซึ่งสอดคล้องกับภาคิไนย บำารุงเชื้อ (2547) ได้วิจัยเรื่อง การ ศึกษาสภาพการดำาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนประถม ศึกษาในอำาเภอหนองเรือ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่น เขต 5 โดยพบว่า การดำาเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ โรงเรียนประถมศึกษา อำาเภอหนองเรือ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาขอนแก่นเขต 5 ได้จัดกิจกรรมต่างๆ ตามองค์ประกอบ 10 ประการ ของการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยภาพรวมและรายด้าน โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนในระดับช่วงชั้นที่ 1-2 ทุกโรงเรียนใน อำาเภอหนองเรือ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน และยังสอดคล้องกับ อนุพงษ์ พันธุ์วาณิช (2548) ได้วิจัยเรื่อง สภาพและปัญหาการดำาเนินงาน โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร พบว่า สภาพ การดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพใน 10 ด้าน ในระดับมาก ที่สุด ทั้งนี้ผู้รายงานเห็นว่าการดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข ภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) มีมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ชัดเจน สามารถดำาเนินงานได้ทุกมาตรฐานตามศักยภาพที่มีความพร้อมทุก ด้านและยังได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภาค รัฐ เอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตำาบล คำาหยาด สาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพโรง พยาบาลโพธิ์ทอง ส่งผลให้การดำาเนินงานตามโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ในระดับดีมาก
  • 9. 98 ผลการประเมินด้านที่ได้คะแนนระดับมากที่สุด คือ ด้านการให้คำา ปรึกษาและสนับสนุนสังคม ซึ่งสอดคล้องกับอนุพงษ์ พันธุ์วาณิช (2548) ได้วิจัยเรื่อง สภาพและปัญหาการดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร พบว่า สภาพการดำาเนินงานโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม จัดให้มีครูแนะแนวให้คำาปรึกษานักเรียนที่มีปัญหามากที่สุด และยัง สอดคล้องกับธิดา ฉิมพลี (2549) ได้วิจัยเรื่อง การประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชลบุรี ผลงานเกี่ยวกับความสอดคล้องของผลการดำาเนินงานโครงการกับ วัตถุประสงค์ของโครงการ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา มีความ สอดคล้องกับผลการดำาเนินงานอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทั้งนี้ผู้รายงานเห็นว่า การดำาเนินการตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข ภาพ ด้านการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคมนั้น ครูทุกคนมีความรู้ ความ เข้าใจในเรื่องการให้คำาปรึกษาและสนับสนุนสังคมเป็นอย่างดี และนำาเอา ไปใช้ในการปฏิบัติงานเป็นไปตามตัวบ่งชี้ของการดำาเนินงานตาม โครงการ นักเรียนได้รับบริการอย่างทั่วถึงและตรงกับสภาพปัญหาที่เกิด ขึ้นกับนักเรียน จึงส่งผลให้การช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ความพึงพอใจของครูต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) พบว่า ครูมี ความพึงพอใจโดยรวมระดับมากที่สุด และด้านที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านการกำาหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพ ด้านบริการอนามัยใน โรงเรียนและด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน ซึ่งสอดคล้องกับ วิรัตน์ มะโนวัฒนา (2549) ได้ประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดชัยรัตน์ (ปัญญาประชานุกูล) สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 พบว่า ครูมีความพึงพอใจต่อผลการ ดำาเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดชัยรัตน์ (ปัญญา ประชานุกูล) ใน 10 องค์ประกอบ อยู่ในระดับมากทุกองค์ประกอบและยัง สอดคล้องกับอำาพันธ์ วัดกิ่ง (2550) ได้รายงานการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” สำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 พบว่า ครูมีความพึงพอใจต่อ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และยัง สอดคล้องกับเฉลิม อุดมมงคล (2551) ได้รายงานการประเมินโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้านหนองเต่าสามัคคี สังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำาแพงเพชร เขต 1 พบว่า ครูมีความพึง พอใจต่อโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้ผู้
  • 10. 99 รายงานเห็นว่า การดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตาม องค์ประกอบ ทั้ง 10 ด้าน ครูสามารถนำาไปบูรณาการ กับกลุ่มสาระการ เรียนรู้ต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่องและบังเกิดผลต่อสุขภาพของนักเรียน ถ้า นักเรียนมีสุขภาพที่ดีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่ง สอดคล้องกับแนวคิดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2541) ที่เสนอไว้ ว่า ในการที่จะให้การศึกษาด้านอื่นๆ นั้น สมควรให้เด็กมีสุขภาพดีเสียก่อน ความพึงพอใจของนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตามโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน วัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาตามรายการ พบ ว่า รายการที่มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ การบริการอาหารเสริม (นม) สำาหรับนักเรียนสอดคล้องกับเรณู จันทร์ประดง (2549) รายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้านบาง เนียน สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 พบว่า การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการบริการสุขภาพ ของโรงเรียน ผลการประเมินโดยนักเรียนมีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ ในระดับดีมาก และยังสอดคล้องกับเฉลิม อุดมมงคล (2551) ได้รายงาน การประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้านหนองเต่า สามัคคี สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษากำาแพงเพชร เขต 1 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลที่เกิดขึ้น มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด และยังสอดคล้องกับอำาพันธ์ วัดกิ่ง (2550) ได้รายงานการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาสกลนคร เขต 2 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้ผู้รายงานเห็นว่า นักเรียน เป็นผู้ที่ได้รับผลจากการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยตรง เนื่องจากองค์ประกอบของโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งมี ตัวชี้วัดทุกตัวชี้วัดจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของนักเรียนเป็นหลัก นักเรียน เห็นประโยชน์ของการดำาเนินงานตามโครงการซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของ นักเรียนเป็นเชิงประจักษ์ จึงส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการ ดำาเนินงานในระดับมากที่สุด ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อผลการดำาเนินงานตาม โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุ เคราะห์) โดยรวมระดับมาก และเมื่อพิจารณาตามรายการพบว่า รายการที่ มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด คือ โรงเรียนไม่มีการจำาหน่ายอาหารที่มีผล เสียต่อสุขภาพของนักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับอำาพันธ์ วัดกิ่ง (2550) ได้ รายงานการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ ผดุงวิทยา” สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 พบ ว่า ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุข
  • 11. 100 ภาพ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และยังสอดคล้องกับวิรัตน์ มะโนวัฒนา (2549) ได้ประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดชัยรัตน์ (ปัญญาประชานุกูล) สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 2 พบว่า ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการดำาเนินงาน โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนวัดชัยรัตน์ (ปัญญาประชานุกูล) ใน 10 องค์ประกอบ อยู่ในระดับมากทุกองค์ประกอบ ซึ่งผู้รายงานเห็น ว่าผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์) ได้ มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมกับทางโรงเรียนมากยิ่งขึ้นและมีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ทั้งด้านสุขอนามัยที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน โดย เฉพาะการปฏิบัติตนของนักเรียนให้เป็นผู้ที่มีสุขนิสัยที่ดี และเมื่อนักเรียน กลับไปบ้านผู้ปกครองยังช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี เพื่อที่จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของสังคม ต่อไป ข้อ เสนอแนะ 1.ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา 1.1 คณะกรรมการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน ควรนำาผลการประเมินจากทุกฝ่ายไปวางแผนในการพัฒนาทุก กิจกรรมให้บังเกิดผลดีแก่นักเรียนให้มากที่สุด 1.2 โรงเรียนควรส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายทุกประเภทที่เกี่ยวข้อง มี ส่วนร่วมในการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพทุกขั้น ตอน 2. ข้อเสนอแนะทั่วไป 2.1 ควรศึกษาสภาพปัญหาการดำาเนินงานตามโครงการโรงเรียนส่ง เสริมสุขภาพโรงเรียน เพื่อนำาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนา โครงการให้มีประสิทธิภาพและบังเกิดประสิทธิผลสูงสุด 2.2 ควรรายงานผลการประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ตามรูปแบบอื่นๆ เช่น CIPP Model เพื่อจะได้ข้อมูลสารสนเทศรอบด้าน บรรณานุก รม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2545. การประกัน คุณ ภาพการ ศึก ษาภายในสถานศึก ษา
  • 12. 101 ระดับ การศึก ษาขั้น พื้น ฐาน . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. กรมอนามัย. 2545. แนวทางการดำา เนิน งานโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. --------. 2546. คู่ม ือ การดำา เนิน งานโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ สำา หรับ โรงเรีย น . กรุงเทพฯ : สำานักงานฯ. --------. 2549. คู่ม ือ การดำา เนิน งานโครงการเด็ก ไทยทำา ได้ใ น โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ . พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด. กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ. 2548. เกณฑ์ มาตรฐานการประเมิน โรงเรีย น ส่ง เสริม สุข ภาพ สำา หรับ โรงเรีย นประถมศึก ษาและ มัธ ยมศึก ษา ฉบับ ปรับ ปรุง 2548. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำากัด. คำานึง ภูริปัญญา. 2542. “การประเมินโครงการ”. จัน ทร์เ กษมสาร . มกราคม-มิถุนายน. 42. จีรนันท์ กัณฑวงศ์. 2545. ความพึง พอใจในการปฏิบ ัต ิง านของครู อาจารย์ใ นโรงเรีย นทหารช่า ง กรมการทหารช่า ง . ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการ ศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. (ถ่าย เอกสาร). จีรพัฒน์ จันทร์ศรี. 2546. การศึก ษาความพึง พอใจของผู้ป กครอง นัก เรีย นต่อ การบริห ารโรงเรีย น ประถมศึก ษา สัง กัด สำา นัก งานการประถมศึก ษาอำา เภอโนน นารายณ์ จัง หวัด สุร ิน ทร์. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา) วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การ บริหารการศึกษา). สุรินทร์ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. (ถ่ายเอกสาร). เฉลิม อุดมมงคล. 2551. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพโรงเรีย นบ้า นหนอง เต่า สามัค คี สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา กำา แพงเพชร เขต 1. กำาแพงเพชร : สำานักงานฯ.
  • 13. 102 ทองใบ สุดชารี. 2543. ภาวะผู้น ำา และแรงจูง ใจ . อุบลราชธานี : คณะ วิทยาการจัดการ. ธิดา ฉิมพลี. 2549. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก าร ศึก ษาประถมศึก ษาชลบุร ี. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหารการ ศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. (ถ่ายเอกสาร). ธีระพันธ์ ชวนจิตต์. 2549. การประเมิน ผลการดำา เนิน งานโรงเรีย น ส่ง เสริม สุข ภาพของโรงเรีย น เทศบาล 2 (วัด ใน) เทศบาลนครสมุท รปราการ จัง หวัด สมุท รปราการ . ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา)ง กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี. (ถ่ายเอกสาร). บุญชม ศรีสะอาด. 2546. การวิจ ัย เบื้อ งต้น . พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาส์น. ประชุม รอดประเสริฐ. 2547. การบริห ารโครงการ . กรุงเทพฯ : เนติ กุลการพิมพ์. ประทีป ทองงาม. 2549. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพโรงเรีย นวัด ไผ่จ ระเข้ สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษานครปฐม เขต 2. นครปฐม : สำานักงานฯ. พนม พงษ์ไพบูลย์และคณะ. 2546. รวมกฎหมายการศึก ษาเข้า สู่ โครงการใหม่ก ระทรวง ศึก ษาธิก าร . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2545. วิธ ีก ารวิจ ัย ทางพฤติก รรมศาสตร์แ ละ สัง คมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำานักงาน ทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พัชรี ปานนิล. 2547. สภาพและปัญ หาการดำา เนิน งานโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพต้น แบบ . ปริญญา นิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (ถ่ายเอกสาร). พิสณุ ฟองศรี. 2551. เทคนิค วิธ ีป ระเมิน โครงการ . กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำากัด. ภาคิไนย บำารุเงชื้อ. 2547. การศึก ษาสภาพการดำา เนิน งาน โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพในโรงเรีย น
  • 14. 103 ประถมศึก ษา ในอำา เภอหนองเรือ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ การศึก ษาประถมศึก ษาขอนแก่น เขต 5. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). ขอนแก่น : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ถ่ายเอกสาร). มณี โพธิเสน. 2543. ความพึง พอใจของผู้ป กครองนัก เรีย นและ บุค ลากรในโรงเรีย นต่อ การจัด การศึก ษาของโรงเรีย นโพธิเ สนวิท ยา อำา เภอท่า บ่อ จัง หวัด หนองคาย. รายงานค้นคว้า อิสระการศึกษา ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (บริหารการศึกษา). มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (ถ่ายเอกสาร). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2541. สุข ภาพเพื่อ ชีว ิต . กรุงเทพฯ : สำา นักงานฯ. มุทิตา แพทย์ประทุม. 2544. การประเมิน โครงการพัฒ นา บรรยากาศและสิ่ง แวดล้อ มโรงเรีย นสตรี ประเสริฐ ศิล ป์ จัง หวัด ตราด. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหาร การศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. (ถ่ายเอกสาร). ยุทธพงษ์ กัยวรรณ. 2543. พื้น ฐานการวิจ ัย . กรุงเทพฯ : สุวีริยสาส์น. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศรี. 2546. การประเมิน โครงการแนวคิด และ แนวปฏิบ ัต ิ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รัตนะ บัวสนธ์. 2547. การประเมิน โครงการ . กรุงเทพฯ : อัดสำาเนา. เรณู จันทร์ประดง. 2549. รายงานผลการประเมิน โครงการ โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ โรงเรีย นบ้า น บางเนีย น สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา นครศรีธ รรมราช เขต 3. นครศรีธรรมราช : สำานักงานฯ. โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง (วิศิษฐ์ประชานุเคราะห์). 2550. สรุป บัน ทึก กิจ กรรมอนามัย โรงเรีย นโรงเรีย น ส่ง เสริม สุข ภาพ . อ่างทอง : สำานักงานฯ. --------. 2551. แผนปฏิบ ัต ิร าชการ ประจำา ปีง บประมาณ 2550. อ่างทอง : สำานักงานฯ. วสันต์ ศิลปะสุวรรณและพิมพ์พรรณ ศิลปะสุวรรณ. 2542. การวางแผน และการประเมิน โครงการ ส่ง เสริม สุข ภาพ : ทฤษฎีแ ละปฏิบ ัต ิ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เจริญดีการพิมพ์.
  • 15. 104 วิเชียร จันทวาลย์. 2547. การดำา เนิน โครงการส่ง เสริม สุข ภาพใน โรงเรีย นประถมศึก ษา อำา เภอ แม่ส าย จัง หวัด เชีย งราย . ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการ ศึกษา). เชียงราย : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (ถ่ายเอกสาร). วิรัตน์ มะโนวัฒนา. 2549. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพโรงเรีย นวัด ชัย รัต น์ (ปัญ ญาประชานุก ูล ) สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา ประถมศึก ษาราชบุร ี เขต 2. ราชบุรี : สำานักงานฯ. วิรัตน์ สอนคำาจันทร์. 2548. ความพึง พอใจของครูต ่อ การดำา เนิน งานโครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา สุร ิน ทร์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). สุรินทร์ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรินทร์. (ถ่ายเอกสาร). สดศรี คงชนะ. 2548. การประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพของโรงเรีย น สัง กัด สำา นัก งาน เขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษากำา แพงเพชร เขต 1. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการ ศึกษา). กำาแพงเพชร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ กำาแพงเพชร. (ถ่ายเอกสาร). สมชาย อรุณโรจน์. 2550. การศึก ษาการดำา เนิน งานของโรงเรีย น ส่ง เสริม สุข ภาพในเขตพื้น ที่ก าร ศึก ษาชุม พร เขต 2. ปริญญานิพนธฺ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). สุราษฎร์ธานี : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. (ถ่ายเอกสาร). สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. 2544. รวมบทความการประเมิน โครงการ . กรุงเทพฯ : สำานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สามารถ เตจ๊ะวงค์. 2551. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย น ส่ง เสริม สุข ภาพ ของโรงเรีย นวัด ท่า ตุ้ม สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาลำา พูน เขต 1. ลำาพูน : สำานักงานฯ. สำานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2547. พระ ราชบัญ ญัต ิก ารศึก ษาแห่ง
  • 16. 105 ชาติ พ.ศ.2542 แก้ไ ขเพิ่ม เติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวาน กราฟฟิค จำากัด. สุพัฒน์ ศรีสัมฤทธิ์. 2545. ความพึง พอใจของผู้เ รีย นและผู้ส อน หลัก สูต รประกาศนีย บัต รวิช าชีพ ใน วิท ยาลัย เทคนิค สมุท รสงคราม ที่ม ีต ่อ การเรีย นอาชีว ศึก ษา ระบบทวิภ าคี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. (ถ่ายเอกสาร). สุภาวดี ดวงจันทร์. 2551. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย น ส่ง เสริม สุข ภาพของโรงเรีย นบ้า น หนองนายขุ้ย สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา สงขลา เขต 2. สงขลา : สำานักงานฯ สุมาลี แก้ววิมล. 2550. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพโรงเรีย นวัด ดอน กระเบื้อ ง (ดอนกระเบื้อ งราษฎร์บ ำา รุง ). สงขลา : สำานักงานฯ. อดุลศักดิ์ นารินรันทร์. 2548. การดำา เนิน งานโครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ สัง กัด สำา นัก งานเขต พื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาอุบ ลราชธานี . ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). อุบลราชธานี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. (ถ่ายเอกสาร). อนุพงษ์ พันธ์วาณิช. 2548. สภาพและปัญ หาการดำา เนิน งาน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพใน โรงเรีย นมัธ ยมศึก ษาของรัฐ สัง กัด สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก าร ศึก ษามัธ ยมศึก ษากรุง เทพมหานคร . ปริญญานิพนธ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. (ถ่ายเอกสาร). อภิสิทธิ์ กรีทรัพย์. 2549. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย น ส่ง เสริม สุข ภาพของโรงเรีย นวัด ถั่ว ทอง สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษาปทุม ธานี เขต 1. ปทุมธานี : สำานักงานฯ. อำาพันธ์ วัดกิ่ง. 2550. รายงานการประเมิน โครงการโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพโรงเรีย นสีค ิ้ว “สวัส ดิ์ ผดุง วิท ยา ” สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาประถมศึก ษา สกลนคร เขต 2. สกลนคร : สำานักงานฯ.
  • 17. 106 Booth ML. Samdalo. 1977. Healthy – promoting School in Australia : models and Measurement. Aust – N-Z-J-Public-Health West. P. Sweeting. H, Leyland, A. 2004. School Effects on Publics Health Behaviors : Evidence in Support of the Health Promoting School. http://fistsearcg.org/WebZ FSFETCH/fetchtype = fullrecord : scssionid = fsapp 1 – 4686 – cno 9 qenv – fmsp 6 c : Entitypagenum = 4:0:recno=1 : format=F1 next=html/record.html:badfetch.html : Entiyoprecno = 1 : entitycurrecno=1 : numrecs=1. ภาคผนวก
  • 18. 107 ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือเก็บ แบบสอบถาม หนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือแบบสอบถาม หนังสือขอความร่วมมือครูในการตอบแบบสอบถาม หนังสือขอความร่วมมือผู้ปกครองนักเรียนในการตอบ แบบสอบถาม แบบสอบถาม
  • 19. 108 บัญ ชีร ายชื่อ ผู้เ ชี่ย วชาญในการตรวจเครื่อ ง มือ การเก็บ ข้อ มูล รายงานการประเมิน ผลการประเมิน โครงการ โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภาพ โรงเรีย นวัด โพธิ์ท อง (วิศ ิษ ฐ์ป ระชานุเ คราะห์) ............................ 5.1 นายประสงค์ รอดสมุทร์ พยาบาลวิชาชีพ สำานักงานสาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง 5.2 นางสาวเสริมศรี ตระพันธ์พัฒน์ ทันตสาธารณสุขชุมชน สำานักงานสาธารณสุขอำาเภอโพธิ์ทอง 5.3 นายสมปอง พึ่งเนตร ศึกษานิเทศก์ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อ่างทอง 5.4 นายรณชัย นิ่มกุล ผู้อำานวยการโรงเรียนแสวงหา วิทยาคม สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อ่างทอง 5.5 นายอุดม ลิ้มบุญเจริญ ผู้อำานวยการโรงเรียนวัดไตรรัตนาราม
  • 20. 109 สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อ่างทอง
  • 21. 110
  • 22. 111
  • 23. 112
  • 24. 113
  • 25. 114
  • 26. 115
  • 27. 116 ฉบับ ครู ผูส อน ้ แบบสอบถำม ควำมพึง พอใจต่อ ผลกำรดำำ เนิน งำนตำม โครงกำรโรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภำพ โรงเรีย นวัด โพธิ์ท อง (วิศ ิษ ฐ์ป ระชำนุ เครำะห์) คำำ ชี้แ จง 1.แบบสอบถำมฉบับนี้ ต้องกำรศึกษำควำมพึงพอใจของครูผู้ สอนต่อผลกำรดำำเนินงำนตำม โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ 2. แบบสอบถำมฉบับนี้แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 สถำนภำพของผู้ตอบแบบสอบถำม ตอนที่ 2 ควำมพึงพอใจของครูต่อผลกำรดำำเนินงำนตำม โครงกำรโรงเรียนส่งเสริม สุขภำพโดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับดังนี้ 5 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90 ขึ้นไป 4 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 70- 89 3 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับปำนกลำง คิดเป็นร้อยละ 60-69
  • 28. 117 2 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 50- 59 1 หมำยถึง มีควำมพึงพอใจระดับน้อยที่สุด คิดเป็นตำ่ำกว่ำ ร้อยละ 50 ตอนที่ 1 สถำนภำพของผู้ต อบแบบสอบถำม คำำ ชี้แ จง โปรดทำำเครื่องหมำย / ลงในช่อง ตรงกับสถำนภำพ หรือคุณสมบัตของท่ำน ิ 1.เพศ ชำย หญิง 2. วุฒ ิท ำงกำรศึก ษำ ตำ่ำกว่ำปริญญำตรี ปริญญำตรี สูงกว่ำปริญญำตรี 3. ประสบกำรณ์ใ นกำรทำำ งำน น้อยกว่ำ 10 ปี 11-20 ปี 21-30 ปี มำกกว่ำ 30 ปีขึ้นไป 4. ระดับ ชั้น ที่ท ำำ กำรสอน อนุบำล ช่วงชั้นที่ 1 ช่วงชั้นที่ 2
  • 29. 118 ตอนที่ 2 ควำมพึง พอใจต่อ ผลกำรดำำ เนิน งำนตำมโครงกำร โรงเรีย นส่ง เสริม สุข ภำพ คำำ ชี้แ จง โปรดทำำเครื่องหมำย  ลงในช่อง ที่ตรงกับควำมพึง พอใจของท่ำน ระดับ ควำม ที่ รำยกำร พึง พอใจ 1 2 3 4 5 ด้ำ นกำรกำำ หนดนโยบำยส่ง เสริม สุข ภำพของ 1 โรงเรีย น ควำมรู้ ควำมเข้ำใจของคณะกรรมกำรดำำเนินงำน โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ 2 นโยบำยกำรส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ 3 นโยบำยกำรเฝ้ำระวังและแก้ไขปัญหำสุขภำพ 4 นโยบำยกำรพัฒนำพฤติกรรมสุขภำพตำมสุข บัญญัติแห่งชำติ 5 นโยบำยกำรคุ้มครองผู้บริโภค 6 นโยบำยส่งเสริมกำรออกกำำลังกำยเพื่อสุขภำพแก่ นักเรียน บุคลำกรของโรงเรียนและชุมชน 7 นโยบำยกำรพัฒนำระบบกำรเรียนรู้ด้ำนสุขภำพโดย มีผู้เรียนเป็นสำำคัญ 8 นโยบำยกำรส่งเสริมสุขภำพบุคลำกรในโรงเรียน 9 นโยบำยกำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำร พัฒนำสุขภำพนักเรียน บุคลำกรในโรงเรียนและ ชุมชน
  • 30. 119 1 นโยบำยกำรส่งเสริมสุขภำพของโรงเรียนผู้ปฏิบัติ 0 สำมำรถนำำไปปฏิบัติได้ กำรบริห ำรจัด กำรในโรงเรีย น 1 กำรมีส่วนร่วมของทุกฝ่ำยในกำรจัดทำำโครงกำร 1 โรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ 1 โครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพมีควำมสอดคล้อง 2 กับสภำพปัจจุบันและปัญหำของโรงเรียน 1 โครงกำรมีกำรระบุกิจกรรมส่งเสริมสุขภำพที่ 3 สอดคล้องกับกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน 1 ผู้นำำนักเรียนส่งเสริมสุขภำพปฏิบัติงำนตำมบทบำท 4 หน้ำที่ที่กำำหนด 1 ควำมต่อเนื่องของคณะกรรมกำรโรงเรียนส่งเสริมสุข 5 ภำพในกำรนิเทศ ติดตำมผลกำรดำำเนินงำน 1 กำรประเมินผลโครงกำรโรงเรียนส่งเสริมสุขภำพ 6 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงกำร โครงกำรร่ว มระหว่ำ งโรงเรีย นกับ ชุม ชน 1 กำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรส่งเสริมสุขภำพนักเรียน 7 ของชุมชน 1 ควำมต่อเนื่องกำรเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรส่งเสริมสุข 8 ภำพของชุมชน 1 ชุมชนตะหนักและเห็นควำมสำำคัญของโครงกำรส่ง 9 เสริมสุขภำพของนักเรียน ระดับ ควำม ที่ รำยกำร พึง พอใจ 1 2 3 4 5 กำรจัด สิ่ง แวดล้อ มในโรงเรีย นที่เ อื้อ ต่อ 2 สุข ภำพ 0 กำรจัดสนำมและบริเวณออกกำำลังกำยของโรงเรียน 2 ควำมสะอำดของอำคำรเรียนและบริเวณโรงเรียน 1 2 อำคำรเรียนอำคำรประกอบและบริเวณโรงเรียนมี 2 ควำมปลอดภัย 2 ห้องพยำบำลมีสัดส่วน อุปกรณ์ของใช้สะอำด สภำพ 3 ดี 2 นำ้ำดื่ม นำ้ำใช้ มีควำมสะอำดและมีเพียงพอ 4 2 สภำพห้องส้วม พื้น สุขภัณฑ์สะอำด อยู่ในสภำพดี
  • 31. 120 5 ไม่มีกลิ่นเหม็น 2 ส้วมมีควำมเพียงพอต่อจำำนวนนักเรียน 6 2 ระบบกำรกำำจัดขยะบริเวณโรงเรียน 7 2 สภำพท่อ รำงระบำยนำ้ำ สภำพดี ไม่อดตัน ุ 8 2 มีระบบป้องกัน/อุปกรณ์ในกำรดับไฟและมีกำรตรวจ 9 สอบอุปกรณ์ไฟฟ้ำอยู่เสมอ บริก ำรอนำมัย โรงเรีย น 3 กำรตรวจสุขภำพอนำมัยของนักเรียนจำกบุคลำกร 0 สำธำรณสุข 3 กำรทดสอบสำยตำของนักเรียน 1 3 กำรทดสอบกำรได้ยินของนักเรียน 2 3 กำรตรวจสุขภำพช่องปำกของนักเรียน 3 3 จำำนวนนักเรียนที่มีฟันแท้ไม่ผุ 4 3 จำำนวนนักเรียนที่ไม่เป็นโรคเหงือกอักเสบ 5 3 กำรได้รับวัคซีนป้องกันโรคของนักเรียน 6 3 กำรรักษำ ดูแลนักเรียนที่มีปัญหำสุขภำพ เช่น เหำ 7 พยำธิ ฯลฯ สุข ศึก ษำในโรงเรีย น 3 ควำมสะอำดของร่ำงกำยนักเรียน 8 3 นักเรียนเลือกซื้ออำหำรที่มีประโยชน์ 9 4 นักเรียนรู้จักกำรหลีกเลี่ยงสำรเสพติด 0 4 นักเรียนรู้จักกำรป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย 1 4 นักเรียนหลีกเลี่ยงกำรพนัน หรือเที่ยวกลำงคืน 2