SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร
ภารกิจที่ 1
สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้ง
เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
ภารกิจที่ 2
จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาว่ามีความสาคัญต่อ
การจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร
ภารกิจที่ 3
Educational Technology และ Instructional Technology มีความเหมือน ความ
แตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร
ภารกิจที่ 4
การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ
เรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
1. สรุป สาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี
และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
เทคโนโลยี หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ
เทคนิค วิธีการ กระบวนการผลิตผล ทางวิทยาศาสตร์มา
ประยุกต์ใช้ในระบบงาน เพื่อปรับปรุงระบบงานให้ดีขึ้น
และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงการแก้ปัญหาในการ
ปฏิบัติงาน
สื่อการศึกษา (Instructionalmedia)
สื่อที่ใช้ในด้านการศึกษา อาจจะเป็นของจริงภาพวาด หรือสื่อ
อื่นๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของการสอน เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น
สื่อ อาจเป็นสื่อที่ให้สารสนเทศในตัวเอง หรือ อาจเป็น
เครื่องมือ อุปกรณ์ในการนาเสนอ การเรียน การสอนในชั้นเรียน
ศูนย์สารสนเทศ จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง เทคนิค วิธีการ ให้
ทันกับความก้าวหน้าและวิทยาการของโลก
พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษา
• เริ่มจากกลุ่มโซฟิสต์เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาวกรีก ได้ออกสอนความรู้ให้กับชนรุ่น
เยาว์มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการ
ขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก
• โจฮัน อะมอส คอมินิ เป็นผู้ที่ใช้วัสดุ สิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพมาช่วย
ในการสอน ได้แต่งหนังสือที่สาคัญ คือ Obis Sensualium Pictus หรือที่เรียกว่า
โลกในรูปภาพ ซึ่งเป็นหนังสือที่มีภาพประกอบบทเรียนต่างๆ ผลงานของคอมินิ
อุส ได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนาตลอดมา จนได้รับการขนานนามว่า เป็น
“บิดาแห่งโสตทัศนศึกษา”
• ธอร์นไดค์(thorndike) เขาได้ออกแบบสื่อการสอน เพื่อให้ตอบสนองเรื่อง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนแบบโปรแกรมจึงได้
ชื่อว่า เป็นคนแรกที่ริเริ่มเทคโนโลยีการศึกษาแนวใหม่
• ต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งสามารถจาแนกออกเป็น
ด้านต่างๆ
2. จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทาง
การศึกษาว่ามีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบัน
อย่างไร
องค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาเกี่ยวข้องกับการ
ออกแบบ การพัฒนา การใช้การจัดการ และประเมินผล
 การออกแบบ (Design)
เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่างที่แสดงความ
เชื่อมโยงระหว่างหลักการและทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ที่จะนาไปสร้างและพัฒนา
งานทางด้านเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม
 การพัฒนา (Development)
เป็นขอบข่ายของการสร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆ
โดยนาพื้นฐานที่ได้ออกมาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ
 การประเมิน (Evaluation)
ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative
Evaluation)ที่มีอิทธิพลและส่งผลต่อการเรียนรู้ โดยเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลการเรียนรู้
 การจัดการ (Management)
เป็นขอบข่ายหลักสาคัญของสาขาเทคโนโลยีการศึกษา เพราะจะต้อง
เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องนาไปสนับสนุนในทุกๆ
ขอบข่าย
 การใช้ (Utilization)
เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
3. Educational Technology และ Instructional Technology
มีความเหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร
 Educational Technology เป็นกระบวนการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน
เกี่ยวกับกรรมวิธี บุคคล แนวคิด เครื่องมือ และองค์กร เพื่อนาไปใช้ในการ
วิเคราะห์ปัญหา สร้าง ประยุกต์ใช้ประเมินผล และจัดการแก้ปัญหาต่างๆ
ดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับการ เรียนรู้ของมนุษย์ในทุกลักษณะ
 Instructional Technology หมายถึงทฤษฎี และการปฏิบัติเกี่ยวกับการ
ออกแบบ การพัฒนา การใช้การจัดการ และการ ประเมินของกระบวนการ
และแหล่งเรียนรู้ สาหรับการเรียนรู้
 ความเหมือนกัน
มีการใช้เครื่องมือ การปฏิบัติ มีกรรมวิธี มีการประเมินผล
กระบวนการและแหล่งเรียนรู้ สาหรับการเรียนรู้
 ความแตกต่าง
Instructional Technology ได้มีการขยายแนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยี
การศึกษาเพราะการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจาก การเปลี่ยนกระบวนทัศน์จาก
พื้นฐานทางทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสู่ พุทธิปัญญา
นิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism)
หรืออาจกล่าวได้ว่า Instructional Technology เป็นการขยาย
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให้ครอบคลุมถึงเทคโนโลยีใหม่ๆที่
เกิดขึ้น
 Barbara และ Rita (1994) ได้กล่าวไว้2 ประการ คือ
1) คาว่า Instructional Technology เป็นคาที่มีความเหมาะสมกับ
Technologyในการอธิบายส่วนประกอบของเทคโนโลยีได้ครอบคลุมชัดเจนมา
กว่า
2) คาว่า Educational Technology มีความหมายโดยทั่วไปที่ใช้กับโรงเรียน
หรือระบบ การศึกษา แต่คาว่า Instructional นั้นไม่เพียงแต่สอดคล้องกับระบบ
การศึกษาเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสถานการณ์การฝึกอบรมได้เช่นกัน
 แนวคิดที่ว่า Instructional Technology เป็นส่วนหนึ่ง ของ Educational
Technology มาจากหลักเหตุผลที่ว่า การสอน (Instruction) เป็นส่วนหนึ่ง
(subset) ของการศึกษา (Education) ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเรียนรู้ ซึ่งเป็น
เป้ าหมายของการศึกษานั่นเอง (AECT 1977)
4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหา
เกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็ นรูปธรรมได้อย่างไร
 เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาเป็นสิ่งที่บุคลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งครูจาเป็นจะต้องใช้เพื่อการสอนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้
ของผู้เรียน ครูจึงจาเป็นต้องมีความเข้าใจใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการศึกษาในโรงเรียน ตั้งแต่การออกแบบ การพัฒนา การใช้
การจัดการและการประเมิน ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
เกิดขึ้นอย่างไม่สิ้นสุด ส่งผลให้วิถีชีวิตจะต้องใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นเพื่อ
สร้างประโยชน์และสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง
 ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ ข้อมูลข่าวสารมีมากมาย มีสื่อการเรียนการสอนที่
ครบถ้วน ตามอินเตอร์เน็ต หากเรามีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา
แล้วจะช่วยให้เราหาสื่อหรือข้อมูลต่างๆได้ง่ายขึ้น รวมถึงการจัดการ
ออกแบบ และประเมินแหล่งเรียนรู้ว่ามีความน่าเชื่อถือแค่ไหนได้อีกด้วย
อ้างอิง
http://media-g5.blogspot.com
http://www.moe.go.th/main2/plan/p-r-
b42-01.htm#18
http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/212300/in
tro3.html
http://www.rtafa.ac.th/techsubdiv/
http://www.nmc.ac.th/database/file_scienc
e/unit1.doc
สมาชิก
 น.ส. นนทพร สาลี 553050083-1
 น.ส.พรรณิศา สิงห์คา 553050303-3
 น.ส.อรณิชา ศรีสุชาติ 553050329-5
 น.ส.อังค์วรา สายแสงจันทร์ 553050331-8
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Contenu connexe

Tendances

โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติsiriyakorn saratho
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06Poo-Chom Siriwut
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Pari Za
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
Chapter 1 innovation technology and educational media
Chapter 1 innovation technology and  educational mediaChapter 1 innovation technology and  educational media
Chapter 1 innovation technology and educational mediaKanpirom Trangern
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)siri123001
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 

Tendances (16)

โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06เทคโนโลยีสารสนเทศ06
เทคโนโลยีสารสนเทศ06
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Chapter 1 innovation technology and educational media
Chapter 1 innovation technology and  educational mediaChapter 1 innovation technology and  educational media
Chapter 1 innovation technology and educational media
 
cai
cai cai
cai
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similaire à งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ

งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6Sineenartt
 
201700 problem based learning
201700 problem based learning201700 problem based learning
201700 problem based learningIsaiah Thuesayom
 
201700 problem based learning
201700 problem based learning201700 problem based learning
201700 problem based learningDao Msu
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6Bee Bie
 
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningIntroduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningSuthakorn Chatsena
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learningSathapron Wongchiranuwat
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลDuangnapa Inyayot
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...Naruepon Seenoilkhaw
 
Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2chatruedi
 
Learning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newLearning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newchatruedi
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Dee Arna'
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 

Similaire à งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ (20)

งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
201700 problem based learning
201700 problem based learning201700 problem based learning
201700 problem based learning
 
201700 problem based learning
201700 problem based learning201700 problem based learning
201700 problem based learning
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningIntroduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
3.2.2 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู...
 
Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2
 
Learning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newLearning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 new
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 

งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ

  • 2. ภารกิจที่ 1 สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้ง เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ ภารกิจที่ 2 จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาว่ามีความสาคัญต่อ การจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร ภารกิจที่ 3 Educational Technology และ Instructional Technology มีความเหมือน ความ แตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร ภารกิจที่ 4 การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ เรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
  • 3. 1. สรุป สาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทาง เทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ เทคโนโลยี หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการผลิตผล ทางวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์ใช้ในระบบงาน เพื่อปรับปรุงระบบงานให้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงการแก้ปัญหาในการ ปฏิบัติงาน
  • 4. สื่อการศึกษา (Instructionalmedia) สื่อที่ใช้ในด้านการศึกษา อาจจะเป็นของจริงภาพวาด หรือสื่อ อื่นๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของการสอน เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น สื่อ อาจเป็นสื่อที่ให้สารสนเทศในตัวเอง หรือ อาจเป็น เครื่องมือ อุปกรณ์ในการนาเสนอ การเรียน การสอนในชั้นเรียน ศูนย์สารสนเทศ จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง เทคนิค วิธีการ ให้ ทันกับความก้าวหน้าและวิทยาการของโลก
  • 5. พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษา • เริ่มจากกลุ่มโซฟิสต์เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาวกรีก ได้ออกสอนความรู้ให้กับชนรุ่น เยาว์มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการ ขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก • โจฮัน อะมอส คอมินิ เป็นผู้ที่ใช้วัสดุ สิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพมาช่วย ในการสอน ได้แต่งหนังสือที่สาคัญ คือ Obis Sensualium Pictus หรือที่เรียกว่า โลกในรูปภาพ ซึ่งเป็นหนังสือที่มีภาพประกอบบทเรียนต่างๆ ผลงานของคอมินิ อุส ได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนาตลอดมา จนได้รับการขนานนามว่า เป็น “บิดาแห่งโสตทัศนศึกษา”
  • 6. • ธอร์นไดค์(thorndike) เขาได้ออกแบบสื่อการสอน เพื่อให้ตอบสนองเรื่อง ความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนแบบโปรแกรมจึงได้ ชื่อว่า เป็นคนแรกที่ริเริ่มเทคโนโลยีการศึกษาแนวใหม่ • ต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งสามารถจาแนกออกเป็น ด้านต่างๆ
  • 7. 2. จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทาง การศึกษาว่ามีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบัน อย่างไร องค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาเกี่ยวข้องกับการ ออกแบบ การพัฒนา การใช้การจัดการ และประเมินผล  การออกแบบ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่างที่แสดงความ เชื่อมโยงระหว่างหลักการและทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ที่จะนาไปสร้างและพัฒนา งานทางด้านเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม  การพัฒนา (Development) เป็นขอบข่ายของการสร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆ โดยนาพื้นฐานที่ได้ออกมาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ
  • 8.  การประเมิน (Evaluation) ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation)ที่มีอิทธิพลและส่งผลต่อการเรียนรู้ โดยเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลการเรียนรู้  การจัดการ (Management) เป็นขอบข่ายหลักสาคัญของสาขาเทคโนโลยีการศึกษา เพราะจะต้อง เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องนาไปสนับสนุนในทุกๆ ขอบข่าย  การใช้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 9. 3. Educational Technology และ Instructional Technology มีความเหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร  Educational Technology เป็นกระบวนการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับกรรมวิธี บุคคล แนวคิด เครื่องมือ และองค์กร เพื่อนาไปใช้ในการ วิเคราะห์ปัญหา สร้าง ประยุกต์ใช้ประเมินผล และจัดการแก้ปัญหาต่างๆ ดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับการ เรียนรู้ของมนุษย์ในทุกลักษณะ  Instructional Technology หมายถึงทฤษฎี และการปฏิบัติเกี่ยวกับการ ออกแบบ การพัฒนา การใช้การจัดการ และการ ประเมินของกระบวนการ และแหล่งเรียนรู้ สาหรับการเรียนรู้
  • 10.  ความเหมือนกัน มีการใช้เครื่องมือ การปฏิบัติ มีกรรมวิธี มีการประเมินผล กระบวนการและแหล่งเรียนรู้ สาหรับการเรียนรู้  ความแตกต่าง Instructional Technology ได้มีการขยายแนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยี การศึกษาเพราะการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจาก การเปลี่ยนกระบวนทัศน์จาก พื้นฐานทางทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสู่ พุทธิปัญญา นิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) หรืออาจกล่าวได้ว่า Instructional Technology เป็นการขยาย ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให้ครอบคลุมถึงเทคโนโลยีใหม่ๆที่ เกิดขึ้น
  • 11.  Barbara และ Rita (1994) ได้กล่าวไว้2 ประการ คือ 1) คาว่า Instructional Technology เป็นคาที่มีความเหมาะสมกับ Technologyในการอธิบายส่วนประกอบของเทคโนโลยีได้ครอบคลุมชัดเจนมา กว่า 2) คาว่า Educational Technology มีความหมายโดยทั่วไปที่ใช้กับโรงเรียน หรือระบบ การศึกษา แต่คาว่า Instructional นั้นไม่เพียงแต่สอดคล้องกับระบบ การศึกษาเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสถานการณ์การฝึกอบรมได้เช่นกัน  แนวคิดที่ว่า Instructional Technology เป็นส่วนหนึ่ง ของ Educational Technology มาจากหลักเหตุผลที่ว่า การสอน (Instruction) เป็นส่วนหนึ่ง (subset) ของการศึกษา (Education) ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเรียนรู้ ซึ่งเป็น เป้ าหมายของการศึกษานั่นเอง (AECT 1977)
  • 12. 4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหา เกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็ นรูปธรรมได้อย่างไร  เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาเป็นสิ่งที่บุคลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งครูจาเป็นจะต้องใช้เพื่อการสอนและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรียน ครูจึงจาเป็นต้องมีความเข้าใจใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการศึกษาในโรงเรียน ตั้งแต่การออกแบบ การพัฒนา การใช้ การจัดการและการประเมิน ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เกิดขึ้นอย่างไม่สิ้นสุด ส่งผลให้วิถีชีวิตจะต้องใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นเพื่อ สร้างประโยชน์และสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง
  • 13.  ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ ข้อมูลข่าวสารมีมากมาย มีสื่อการเรียนการสอนที่ ครบถ้วน ตามอินเตอร์เน็ต หากเรามีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา แล้วจะช่วยให้เราหาสื่อหรือข้อมูลต่างๆได้ง่ายขึ้น รวมถึงการจัดการ ออกแบบ และประเมินแหล่งเรียนรู้ว่ามีความน่าเชื่อถือแค่ไหนได้อีกด้วย
  • 15. สมาชิก  น.ส. นนทพร สาลี 553050083-1  น.ส.พรรณิศา สิงห์คา 553050303-3  น.ส.อรณิชา ศรีสุชาติ 553050329-5  น.ส.อังค์วรา สายแสงจันทร์ 553050331-8 นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น