SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารเผยแพร่สำหรับประชาชน	 ของคณะอนุกรรมาธิการเสริมสร้าง
ธรรมาภิบาลในคณะกรรมาธิการศึกษา	 ตรวจสอบเร่องการทุจริตและเสริมสร้าง
                                          ื
ธรรมาภิบาล	วุฒิสภา
คำนำ
	          ภายในไม่ก่ีปีม าน้ี	 ความเดือ ดร้อ นของประชาชนชาวไทยในเร่ือ งเก่ีย วกับ ราคา
น้ำมันท่ีข้ึนสูง	 อีกท้ังประเด็นเร่ืองการขาดแคลนก๊าซแอลพีจี	 ท่ีจะนำไปสู่การข้ึนราคา
ก๊าซแอลพีจี	 และ	 เอ็นจีวี	 เป็นเร่องท่มีผลกระทบไปท่วประเทศ	 และนำมาซ่งการเข้าไป
                                     ื ี                    ั                      ึ
ตรวจสอบหาข้ อ เท็ จ จริ ง เรื่อ งระบบพลั ง งาน	 ของคณะอนุ ก รรมาธิ ก ารเสริ ม สร้ า ง
ธรรมาภิบาล	 วุฒิสภา	 ในการเข้าไปศึกษาหาข้อมูลโดยการเชิญนักวิชาการ	 ข้าราชการ
บริษัทเอกชน	และผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบพลังงานไทยเข้ามาให้ข้อมูล	
	          คณะอนุกรรมาธิการได้ข้อสรุปหลายๆประการที่ประชาชนชาวไทย	ในฐานะเจ้าของ
ทรั พ ยากรธรรมชาติ ข องประเทศ	 และผู้บ ริ โ ภคพลั ง งานควรได้ รับ ทราบ	 จึ ง มี ด ำริ
จะจัด พิม พ์ห นัง สือ รายงานเร่ือ งพลัง งานไทยฉบับ ประชาชน	 เล่ม ท่ีท่า นถือ อยู่น้ี	 ในช่ือ
“พลังงานไทย พลังงานใคร?”
	          หนังสือฉบับนี้จะแสดงให้เห็นถึงข้อเท็จจริงที่ว่า	ประเทศไทยมีแหล่งน้ำมันและก๊าซ
ธรรมชาติท่อุดมสมบูรณ์และมีค่ามหาศาล	 ที่กระจายอยู่ท่วประเทศ	 โดยมีการพบมากขึ้น
               ี                                               ั
ทุ ก ปี ท้ัง บนบกและในทะเล	 ในปี 	 2551	 เราขุ ด ได้ ถึง ประมาณ	 115	 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น	
แต่ทำไมคนไทยจึงยังต้องจ่ายค่าน้ำมันแพง	เสมือนกับการส่งเข้ามาจากประเทศสิงคโปร์
                                                                   ั
ทั้งๆที่สูบขึ้นมาจากใต้พื้นดินไทยนี่เอง	
	          ทำไมคนไทยต้ อ งแบกรั บ ส่ ว นต่ า งราคาก๊ า ซแอลพี จี	 ที่น ำเข้ า จากต่ า งประเทศ
เพียงฝ่ายเดียว	 ส่วนภาคอุตสาหกรรมไม่ต้องแบกรับด้วย	และทำไมข้าราชการที่เข้าไป
เป็ นกรรมการในบริ ษัท พลั ง งานต่ า งๆ	 จึ ง ไม่ ก ระทำการใดเพื่อ รั ก ษาผลประโยชน์ ต่อ
ผู้บริโภคไทย	
	          คณะอนุก รรมาธิก ารฯ	 หวัง ว่า 	 หนัง สือ เล่ม น้ีจ ะช่ว ยให้ป ระชาชนท่ีเป็น เจ้า ของ
ทรัพยากรของชาติ	 ได้รับรู้ถึงข้อมูลและสามารถร่วมกันตัดสินใจว่าเราควรจะดำเนินการ
อย่างไรจึงจะช่วยปกป้องผลประโยชน์ของตนเอง	 ในฐานะผู้บริโภค	 และผลประโยชน์
ของชาติในฐานะประชาชนที่มีจิตสำนึก

	      	      	       	      	    	    	    รสนา		โตสิตระกูล																																						
	      	      	       	      ประธานคณะอนุกรรมาธิการเสริมสร้างธรรมาภิบาล	วุฒิสภา
ไม่ จ ริ ง เลยสั ก นิ ด เพราะทุ ก วั น น้ ี               แ ต่ ที่ น่ า ทึ่ ง ก ว่ า นั้ น ก็ คื อ
เราเป็นเจ้าของบ่อน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ                  เท่ า กั บ 1 ใน 3 ของปริ ม าณ
มากกว่า 50 แหล่ง1 เรียกว่าเราควรจะรวย                   การผลิ ต น้ ำ มั น ของ “การ์ ต า”
ติดอันดับ น้องๆ เศรษฐีน้ำมันในประเทศ                    ท่ ี เ ป็ น หนึ่ ง ในสมาชิ ก ของกล่ ุ ม
อาหรับด้วยซ้ำไป                                         โอเปก แล้วอย่างนี้จะไม่ ให้บอกได้
         ลองคิ ด ดู ว่ า เรามี ค วามสามารถ              ยั ง ไงว่ า ประเทศเราน่ า จะร่ ำ รวย
ในการผลิ ต ก๊ า ซธรรมชาติ ก๊ า ซธรรมชาติ                ติ ด อั น ดั บ น้ อ งๆเศรษฐี น้ ำ มั น
เหลว และน้ำมันดิบรวมกัน เฉพาะปี 2551                    อาหรับ
ปีเดียว ก็มากถึง 721,500 บาร์เรลต่อวัน
หรือ 115 ล้านลิตรต่อวัน2
         คิ ด เฉพาะวั ต ถุ ดิ บ ท่ ี น ำมาผลิ ต เป็ น
น้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป ก็ ไ ด้ ม ากกว่ า 40 % ของ
ปริ ม าณการใช้ น้ำ มั น สำเร็ จ รู ป ในประเทศ




                 ทีมา : 1กรมเชือเพลิงธรรมชาติ , 2สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
                  ่           ้
รู้อะไรไหม … ก่อนหน้านี้เราเคยมีสถิติส่งออกข้าวมากที่สุด แต่ปัจจุบันเราส่งออก
 น้ำมันมีรายได้มากกว่าข้าว
          เมืองไทยเรา แม้จะไม่ ใช่ประเทศผลิตน้ำมันเป็นสินค้าส่งออก แต่ทุกวันนี้
 รายได้จากการส่งออกน้ำมันของเรา สูงกว่าการส่งออกข้าวแล้ว และมีแนวโน้มจะมากขึ้น
 ทุกปีด้วยสิ เอาง่ายๆนะ ปี 2551 เพียงปีเดียว เราส่งออกพลังงานได้มากกว่า
 3 แสนล้านบาท (9,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) แต่กลับส่งออกข้าวได้เพียง 2 แสนกว่า
 ล้านบาท (6,200 ล้านเหรียญสหรัฐ) เท่านั้นเอง
          เรียกว่าขายพลังงานมีรายได้ดีกว่ากันถึง แสนกว่าล้านบาท (3,500
 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) เลยเชียว
          ที่สำคัญก็คือรายได้จากการส่งออกสินค้า
 พลังงานของไทยเรา มีมูลค่าใกล้เคียงกับ
 ประเทศส่งออกน้ำมันอย่าง “เอกวาดอร์”
 ที่อยู่ ในกลุ่มโอเปกอย่างเหลือเชื่อ




ที่มา : ข้อมูลประเทศเอกวาดอร์ ได้จาก Energy Information Asministration (EIA) ,การผลิตก๊าซ
ธรรมชาติของเอกวาดอร์มีปริมาณน้อยมาก จึงไม่ได้นำข้อมูลส่งออกก๊าซธรรมชาติของเอกวาดอร์มารวมเปรียบเทียบ
มั น ก็ น่ า จ ะ เ ป็ น อ ย่ า ง นั้ น            จริงๆแล้วเราควรจะต้องจ่ายถูก
น่ ั น แหละ แต่ ค วามจริ ง ก็ คื อ เรา            เหมือนกับการซื้อข้าวที่ผลิตในประเทศ
กลับต้อง “จ่ายแพง” เสมือนว่าเรา                   นี่แ หละ คนไทยไม่ เ คยต้ อ งซื้อ ข้ า ว
ต้ อ งนำเข้ า น้ ำ มั น จากประเทศ                 ที่ผ ลิ ต ในประเทศในราคาจากต่ า ง
สิงคโปร์ท้ง 100% ทั้งๆที่น้ำมันดิบ
               ั                                  ประเทศ เหมือนท่เี ราต้องซ้อน้ำมัน     ื
ก็ถูก สู บ ขึ้น มาจากใต้ถุน บ้า นเราเอง           ราคานำเข้าจากสิงคโปร์ท้งๆท่กล่นเอง
                                                                                ั ี ั
มากถึงวันละ 40 ล้านลิตร                           ในประเทศ แต่ ก ระทรวงพลั ง งาน
                                                  อธิบายว่าอย่างไร รู้ ไหม ?
                                                           เขาบอกว่าท่ต้องต้งราคาน้ำมัน
                                                                         ี ั
                                                  เสมื อ นกั บ เป็ น การสั่ง เข้ า น้ ำ มั น จาก
                                                  สิงคโปร์ท้งหมด ก็เพื่อเป็นแรงจูงใจ
                                                                ั
                                                  ให้โรงกล่นน้ำมัน และการท่ต้องสร้าง
                                                              ั                      ี
                                                  แรงจู ง ใจให้ โ รงกล่ ั น น้ ำ มั น ก็เ พ่ ือ
                                                  รักษาความม่ น คงทางพลัง งานให้กับ
                                                                  ั
                                                  คนไทยนี่แหละ
                                                           ...ความม่ ั น คงของคนไทยมี
                                                  มูลค่าปีละกว่าแสนล้านบาทท่ผ้บริโภค   ีู
                                                  ต้องควักกระเป๋าจ่ายให้โรงกล่นน้ำมัน     ั
                                                  นะจ๊ะ
ใช่แล้ว !!! เราต้องซื้อน้ำมันในราคาที่แพงกว่าที่คนสิงคโปร์ซื้อจากประเทศไทย
               สูตรราคาน้ำมันหน้าโรงกลั่นที่คนไทยต้องจ่ายเป็นแบบนี้




        สมมุติว่าราคาน้ำมันสำเร็จรูปที่ตลาดสิงคโปร์อยู่ที่ 20 บาท และค่าโสหุ้ยนำเข้า
จากสิงคโปร์อยู่ที่ 2 บาท คนไทยต้องจ่ายค่าน้ำมันหน้าโรงกลั่น 22 บาท ในขณะ
ที่คนสิงคโปร์จะซื้อน้ำมันได้ ในราคา 20 บาท
        การที่บวกค่าโสหุ้ยเหล่านี้เข้าไปนี่แหละ ที่ทำราคาขายในประเทศต้องสูงขึ้น
ทั้งๆที่กลั่นอยู่ ในกรุงเทพฯ ชลบุรี ระยอง นี่เอง พูดง่ายๆก็คือเงินที่โรงกลั่นบวกเพิ่ม
นั้นเป็นเหมือนกับ“เงินกินเปล่า” หรือเป็น “กำไร” ร้อยเปอร์เซ็นต์ของโรงกลั่น
เนื่องจากไม่ ได้มีการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปมาจริง
        โรงกลั่นอยากขายน้ำมันในประเทศ
มากกว่า เพราะขายได้ ลิตรละ 22 บาท
แต่ถ้าขายสิงคโปร์ จะได้
แค่ 18 บาท เพราะต้องจ่าย
ค่าขนส่งเองอีก 2 บาท
นอกจากคนไทยต้ อ งซื้อ น้ ำ มั น ที่             ค่าโสหุ้ยต่างๆที่ ไม่ ได้เกิดขึ้นจริง
ราคาแพงแล้ว โรงกล่นยังส่งออกน้ำมัน
                    ั                      แต่ เ มื่อ โรงกลั่น ไทยเหล่ า นี้ต้อ งขาย
ไปขายต่างประเทศด้วยราคาที่ถูกกว่าที่       น้ ำ มั น ส่ ง ออกไปสิ ง คโปร์ กลั บ ต้ อ ง
ขายให้คนไทยเสียอีก                         หัก ค่า โสห้ ุย ออก เพ่ ือ ให้เ ป็น ราคา
     ก็ เ วลาขายคนไทย ราคาน้ ำ มั น        ตลาดโลกที่ แ ท้ จ ริ ง จึ ง สามารถ
จะเป็ น ราคาหน้ า โรงกลั่ น บวกด้ ว ย      แข่งขันได้
                                                     ดั ง นั้ น ราคาที่ เ ขาขายคนไทย
                                           จึ ง เป็ น ราคาตลาดเที ย มภายใต้
                                           การสมยอมของภาครั ฐ ที่ ย อมให้
                                           โรงกลั่นไทย บวกค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ ไม่
                                           เกิ ด ขึ้ น จริ ง ให้ ค นไทยต้ อ งรั บ ภาระ
                                           ไปเสียนี่
                                                               เพราะฉะนั้น จะว่ า ไปแล้ ว
                                                               รั ฐ บาลจึ ง เป็ น ต้ น เหตุ
                                                               สำคัญที่ทำให้ “คนไทย”
                                                               ต้ อ ง จ่ า ย แ พ ง ท้ ั ง ๆ ท่ ี
                                                               ในความเป็นจริงประเทศ
                                                               ไทยสามารถกลั่นน้ำมันได้
                                                               มากกว่าความต้องการของ
                                                               คนไทยมากว่า 11 ปีแล้ว
ก็ เ พราะรั ฐ บาลให้ ค วามสำคั ญ กั บ         น้ำมันเท่ากับบางประเทศในกลุ่มโอเปก
ธุ ร กิ จ เอกชนมากกว่ า ผลประโยชน์ ข อง                 มีรายได้มากกว่าส่งออกข้าว แต่รัฐบาล
คนไทยน่ะซิ โดยอ้างว่าต้องให้แรงจูงใจ                    ยังอ้างว่าต้องให้แรงจูงใจ
กับโรงกลั่นเพื่อความมั่นคงทางพลังงาน                           เพราะฉะน้ ัน ท่ ีว่า น้ำ มัน ลอยตัว
          ด้ ว ย ก า ร ห ยิ บ ยื่ น ข้ อ เ ส น อ ว่ า   ตามราคาตลาดโลก เป็ น กลไกของ
เมื่อ กลั่น น้ ำ มั น ในประเทศ จะสามารถ                 การค้ า เสรี ก็ เ ป็ น เรื่อ งไม่ จ ริ ง ใช่ ไ หม
ขายได้ ร าคาเหมื อ นนำเข้ า น้ ำ มั น จาก               อย่ า งนี้ค วรจะเรี ย กว่ า รั ฐ บาลอนุ ญ าต
ต่างประเทศ                                              ให้ โ รงกล่ ั น มี เ สรี ในการผู ก ขาดดู จ ะ
          ถ้า เป็น ตอนเร่ ิม ต้น สร้า งโรงกล่ ัน        เข้าท่ามากกว่า
ก็พอจะรับกันได้ แต่ตอนน้โรงกล่นส่งออก
                                   ี ั
จะพู ด อย่า งน้ ัน ก็ค งได้ เพราะ    “บมจ.ปตท.” เป็นบริษัทใหญ่ท่สุดรายเดียว
                                                                                   ี
การที่ปล่อยให้ธุรกิจด้านพลังงานเป็น            จึงสามารถตัดสินใจด้านราคาและทิศทางของ
ธุ ร กิ จ กึ่ง ผู ก ขาด ทำให้ ร าคาสิ น ค้ า   ธุรกิจพลังงานได้โดยปราศจากการแข่งขัน
พลังงานไม่เป็นไปตามกลไกตลาดเสรี                แบบตลาดเสรี
          ผลท่เี ห็นได้ชัดก็คือ ราคาขาย                กระทรวงพลัง งานไม่มีห น่ว ยงาน
ปลี ก น้ ำ มั น ของไทยมั ก จะปรั บ ลงช้ า      ควบคุ ม ราคาน้ ำ มั น สิ น ค้ า อื่น ไม่ ว่า เนื้อ
กว่า ราคาน้ำ มัน ดิบ ในตลาดโลกมาก              หมู ไข่ ผก จะมราคากลางทกวน แตราคา
                                                             ั      ี           ุ ั ่
ดังนั้นราคาที่คนไทยซื้อจึงไม่ ใช่ราคา          น้ ำมั น ไม่ เคยมี ราคากลาง “บมจ.ปตท.”
ที่เหมาะสมและเป็นธรรม                          เป็น ผู้ก ำหนดราคาน้ำ มัน ได้เ องโดยอิส ระ
          จะว่ า ไปแล้ ว การปิ โ ตรเลี ย ม             นอกจากผลประโยชน์ท่ ี ได้จ ากการ
แห่งประเทศไทย หรือ “บมจ.ปตท.”                  ผูกขาดการขายน้ำมันและก๊าซให้กับภาครัฐ
ในปั จ จุ บัน ยั ง เป็ น ผู้ป ระกอบการ         การผูกขาดธุรกิจแยกก๊าซ และการผูกขาด
เพียงรายเดียวในธุรกิจโรงแยกก๊าซ                ธรกจขนสงก๊าซธรรมชาตแลว “บมจ ปตท.”
                                                 ุ ิ ่                  ิ ้
ธุรกิจก๊าซเอ็นจีวี และธุรกิจท่อขนส่ง           ยังได้ประโยชน์จากทรัพย์สินที่ถูกโอน
ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย และถึงแม้                ไปจากภาครัฐ เมื่อตอนแปรรูป
“บมจ.ปตท.” จะไม่ ไ ด้ เ ป็ น บริ ษัท           การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยด้วย
เดี ย วท่ ี ผู ก ขาดการกล่ ั น น้ ำ มั น ใน            นั่นก็คือ “กำไร” จาก
ประเทศ แต่ ในบรรดาโรงกล่ ั น                   ท่อขนส่งก๊าซธรรมชาติ
ขนาดใหญ่ทมอยู่ 6 โรงทัวประเทศนัน
                  ่ี ี           ่        ้    ซึ่งสร้างจากเงินภาษี
“บมจ.ปตท.” ก็เป็นผู้ถือห้นรายใหญ่  ุ           ของพวกเราคนไทย
ถึง 5 โรงซึ่งมีกำลังการผลิตรวมกัน              ในช่วงก่อนการแปรรูป
มากกว่า 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือ               เมื่อเดือนธันวาคม
ประมาณ 159 ล้านลิตรต่อวัน                      2544
          เพราะฉะนันเมือดูจากโครงสร้าง
                       ้ ่
การบริ ห ารพลั ง งานของประเทศที่มี
ก็ค่าไฟฟ้าไงล่ะ !!!
          รู้ ไหมว่าเราต้องจ่ายค่าไฟแพงขึ้นอย่างไม่มีเหตุผล
อันเนื่องมาจากมีการคิด “ค่าผ่านท่อ”เพิ่มขึ้นจากท่อส่งก๊าซ
ที่เป็นคดีที่ศาลปกครองสูงสุดตัดสินให้ “บมจ.ปตท.” คืนแก่รัฐ
          แต่นอกจาก “บมจ.ปตท.” จะยังคืนไม่ครบถ้วนแล้ว
ยังเอาท่อก๊าซที่ตัดค่าใช้จ่ายทางบัญชีหมดแล้ว มาตีมูลค่า
ใหม่ เพราะประเมินว่ามีอายุใช้งานเพิมขึนอีก 25 ปี ทำให้
                                      ่ ้
สามารถคิดค่าผ่านท่อเพิมเข้าไปทำให้ราคาขายของก๊าซ
                          ่
เพิ่มขึ้น มีผลให้ค่าไฟเพิ่มขึ้น
          จริงๆแล้วก่อนการแปรรูปการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย
(ปตท.) รัฐบาลได้นำเงินของประชาชนจำนวนมหาศาลไปลงทุนสร้างท่อก๊าซ
และเวนคืนท่ดินเพ่อเดินท่อก๊าซระยะทางยาวเป็นพันกิโล แต่พอปตท.แปรรูปออกไปเป็นบริษัทมหาชน
                 ี ื
ในปี 2544 ท่อส่งก๊าซก็ถูกโอนไปเป็นของ “บมจ.ปตท.” ด้วย แต่มีมติ ครม.ระบุว่าต้องคืนท่อส่งก๊าซ
ภายใน 1 ปี แต่ปรากฏว่าหลังหนึ่งปีแล้ว “บมจ.ปตท.”ก็ไม่ ได้คืนท่อก๊าซ ทำให้มีการฟ้องร้องจากภาค
ประชาชนต่อศาลปกครองสูงสุดในปี 2549 ซึ่งศาลปกครองสูงสุดมีคำพิพากษาเม่อเดือนธันวาคม 2550 ว่า
                                                                                    ื
“บมจ.ปตท.” ต้องคืนทรัพย์สินที่ ได้มาโดยการใช้อำนาจมหาชนให้กระทรวงการคลัง
          นอกจาก “บมจ.ปตท.” ยั ง ไม่ ไ ด้ คืน กรรมสิ ท ธิ ท่อ ก๊ า ซชุ ด ที่ส ร้ า งก่ อ นการแปรรู ป ปี 2544
อย่างครบถ้วนแล้ว ยังนำเอาท่อก๊าซที่ตัดมูลค่าทางบัญชีหมดแล้วมาเพิ่มมูลค่าใหม่เหมือนดั่ง “บมจ.ปตท.”
ลงทุนก่อสร้างเอง แล้วเอามูลค่านั้นกลับมาบวกเพิ่มเข้าไปเป็น “ค่าผ่านท่อ” ราคาใหม่ ที่มีราคาแพงกว่าเดิม
เหมือนเป็นการล้วงเงินจากกระเป๋าประชาชนอย่างดื้อๆ โดยความสมยอมของรัฐบาล
          อุปมาเหมือนว่า เราสร้างบ้านด้วยเงินของเรา แต่พอแปรรูปก็มีการตีมูลค่าบ้านในราคาต่ำโดยประเมิน
ว่าอายุการใช้งานของบ้านมีแค่ 25 ปี พอได้รับบ้านไปแล้ว ก็มาตีราคาใหม่ด้วยการประเมินว่าบ้านมีอายุการ
ใช้งาน 50 ปี จึงต้องคิดมูลค่าเพิ่มมาบวกเป็นค่าเช่ากับประชาชนที่เป็นผู้สร้างบ้านหลังนั้น
คำถามคือราคาบ้านที่เพิ่มขึ้นควรเป็นของใคร?
         ผู้สร้างบ้านไม่ ได้รับเงินจากมูลค่าเพิ่มของบ้าน แต่กลับต้องจ่ายค่าเช่าบ้านเพิ่ม อย่างนี้มัน
ยุติธรรมไหม ?
         ยิ่งไปกว่านั้น เวลานี้ศาลได้ตัดสินให้ “บมจ.ปตท.” คืน “บ้าน” หลังนี้ ให้กระทรวงการคลัง แต่
“บมจ.ปตท.” กลับคืนเพียงบางส่วนของบ้าน อีกทั้งในขณะที่เรื่องนี้ยังเป็นข้อโต้แย้งกันอยู่ แต่ “บมจ.
ปตท.” ก็กลับมาเพิ่มค่าเช่า “บ้าน” อีก
         อย่าลืมว่าตรงนี้ รัฐบาลเป็นผูกำกับดูแลการจัดการบ้านหลังนีอยู่ ทำไมรัฐบาลถึงได้ปล่อยให้ประชาชน
                                        ้                           ้
เป็นผู้เสียผลประโยชน์ล่ะ
เอวัง...

ยัง ...ยัง...ยังไม่หมด
      รู้ห รื อ เปล่ า ว่ า ค่ า ผ่ า นท่ อ ที่เ พิ่ม ขึ้น ทำให้ “บมจ.ปตท.” ได้ เ งิ น เพิ่ม ทั น ที
เฉพาะในปี 2552 ปีเดียวจำนวน 2,000 ล้านบาท และจะเพิ่มขึ้นทุกปี แต่ด้วย
คำสั่งศาลที่ ให้ “บมจ.ปตท.” คืนทรัพย์สินให้รัฐ ซึ่งคือท่อชุดเดียวกันนี้ “บมจ.
ปตท.” ต้องจ่ายเงินชดเชยที่เอาท่อก๊าซไปใช้โดยไม่มีสิทธิตามกฎหมายในเวลา
6 ปี ด้วยมูลค่าเพียง 1,335 ล้านบาท
       ดูสิ เอาของหลวงไปใช้ 6 ปี
จ่ายเงินคืนแค่ 1,335 ล้านบาท
แต่เอาของหลวงมาทำมาหากิน
ได้เงินคืนทันที 2,000
ล้านบาทใน 1 ปี
ก็ เ พราะเป็ น การทำกั น อย่ า งรวบรั ด น่ ะ สิ
                                             การคิ ด ค่ า ผ่ า นท่ อ นั้ น ทำตามคู่ มื อ ที่
                                             เ รี ย ก ว่ า “ คู่ มื อ ก า ร ค ำ น ว ณ ร า ค า
                                             ก๊ า ซธรรมชาติ แ ละอั ต ราค่ า บริ ก ารส่ ง
                                             ก๊าซธรรมชาติ” ที่จัดทำขึ้นโดยสำนักงาน
                                             นโยบายและแผนพลั ง งาน และอนุ มัติ
                                                           โดยรัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน
                                                           ซึ่งทำกันอย่างรวบรัดเพียงแค่
                                                           2 เดือนเศษเท่าน้น ประชาชน
                                                                                ั
                                                       ตาดำๆ ส่ว นใหญ่อ ย่า งเราๆ
                                  แทบไม่ทันได้รับรู้ และมีส่วนร่วมอะไรเลย แม้แต่การรับ
                             ฟังความคิดเห็นก็ทำกันอย่างรวบรัดทั้งๆที่ส่งผลต่อการสร้าง
ภาระให้กับประชาชน 63 ล้านคน ไม่ว่าจะเป็นค่าไฟฟ้าบ้าน หรือค่าสินค้าที่มีต้นทุน
จากค่าไฟในการผลิต
      ท่น่าสังเกตก็คือ ช่วงเวลาท่มีการจัดทำคู่มือคู่มือการคำนวณราคาก๊าซธรรมชาติ
        ี                           ี
และอัต ราค่า บริก ารส่ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใกล้เ คีย งกับ เวลาท่ ีศ าลปกครองสู ง สุด กำลัง
พิจารณาคดีทวงคืนท่อก๊าซของ “บมจ.ปตท.” และได้ออกประกาศใช้หลังจากศาล
ตัดสินออกมาไม่ถึงหนึ่งเดือน
      ดังนั้นเราจึงควรตั้งคำถามดังๆว่า เรื่องที่จะเป็นภาระต่อประชาชนในระยะยาว
อย่างนี้ ทำไมจึงไม่เปิดโอกาสรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนอย่างกว้างขวาง
      เพราะกระบวนการรับฟังความคิดเห็นที่จัดผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตนั้น มีคน
จำนวนเล็กน้อยเท่านั้นที่สามารถเข้าถึง และรับรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้
มันขาดแคลนจริงหรือ?
      ทุกวันนี้คนที่ ใช้ก๊าซแอลพีจี ไม่ ได้มีเพียงประชาชนอย่างเราๆ ที่ต้องใช้ก๊าซ
เป็นเช้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน กับใช้เติมรถยนต์ รถแท๊กซ่เี ท่าน้นนะ แต่ยังมี
       ื                                                          ั
ภาคอุตสาหกรรมและปิโตรเคมีด้วยที่นำไปใช้
และภาคปิโตรเคมีนี่แหละที่ ใช้ก๊าซแอลพีจีเพิ่มขึ้นมากที่สุด !!!
        ข้ อ มู ล จากสำนั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน กระทรวงพลั ง งานเห็ น
ได้ชัดเจนเลยว่าในระหว่างปี 2549 ถึง 2551 ภาคปิโตรเคมี ใช้ก๊าซแอลพีจีเพิ่มขึ้น
403,000 ตัน ขณะท่ภาคครัว เรือนซึ่งก็คือคนไทยท้งประเทศ ใช้ก๊าซแอลพีจี
                             ี                             ั
เพิ่มขึ้นรวมกัน 402,000 ตัน
        ยิ่งไปกว่านั้น ภาคยานยนต์ที่ถูกอ้างว่าเป็นตัวทำให้เกิดการขาดแคลนแอลพีจี
ก็ใช้เพิ่มขึ้นเพียง 317,000 ตัน น้อยกว่าที่ภาคปิโตรเคมี ใช้เพิ่มขึ้นเสียอีก
        “บมจ.ปตท.” ต้องการให้รัฐบาลประกาศลอยตัวก๊าซแอลพีจีตามราคาตลาด
โลก ไม่อย่างนั้นก็ไม่มีแรงจูงใจที่จะผลักดันสร้างโรงแยกก๊าซเร็วๆ ฟังดูคล้ายๆ
โรงกลั่นน้ำมันที่ต้องการแรงจูงใจจากรัฐบาลตลอดกาล ทั้งๆที่ธุรกิจน้ำมันมีกำไร
มหาศาล
        การที่โ รงแยกก๊ า ซสร้ า งไม่ เ สร็ จ ทำให้ ป ตท.ไม่ ส ามารถผลิ ต ก๊ า ซแอลพี จี
ได้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
        ทำให้ถึงแม้ว่าจะมีก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยเพียงพอ และมีแนวโน้มเพ่มขึ้น      ิ
อย่างต่อเน่อง แต่ก็ไม่สามารถป้อนเข้าโรงแยกก๊าซได้อยู่ดี น่เี ลยเป็นข้ออ้างว่า
                ื
แอลพีจีขาดแคลน ต้องนำเข้าจากต่างประเทศในราคาตลาดโลก
        ปัจจุบันก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยมีปริมาณ 2,360 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน
แต่โรงแยกก๊าซ 5 โรง แยกได้เพียง 1,770 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน จึงมีก๊าซ
ธรรมชาติเกือบ 600 ล้านลูกบาศก์ฟุตท่ถูกเอาไปรวมกับก๊าซมีเทนท่มีคุณภาพต่ำ
                                              ี                           ี
กว่า เพื่อเผาเป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าทุกๆวัน
ผู้บริหารในกระทรวงพลังงานอ้างว่า ดีกว่าไปใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง
ในโรงไฟฟ้า เพราะราคาแพงกว่าก๊าซธรรมชาติเหมือนเอาไม้สักมาทำฟืน แล้วอ้างว่า
เป็นเพราะถ่านจากไม้โกงกางมีราคาแพงกว่า...น่าเสียดายไหมล่ะ
แล้วทำไมไม่มีเอกชนรายอื่นคิดสร้างโรงแยกก๊าซ
เพิ่มขึ้นล่ะ?
        และถามต่อว่าถ้าสมมุติมีคนอื่น
สร้างโรงแยกก๊าซ แล้วจะเอาก๊าซ
มาขึ้นที่ ไหน ก็ในเมื่อ “บมจ.ปตท.”
เขาผูกขาดท่อก๊าซในทะเลที่เคย
เป็นสมบัติส่วนรวมของชาติ
ไปแล้วน่ะซิ !!!
ภาคอุตสาหกรรมควรรับภาระสิ !
      แต่ตอนนี้คนที่รับภาระส่วนต่างราคาระหว่างราคาตลาดโลก กับราคาในประเทศ
ของก๊าซแอลพีจีที่นำเข้า คือกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ที่เป็นหนี้ “บมจ.ปตท.”
ถึง 8,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นเงินของประชาชนเพียงฝ่ายเดียวอยู่ดี ขณะที่ธุรกิจ
ปิโตรเคมี ไม่ต้องรับภาระในส่วนนี้เลย
      ถ้าการกำหนดราคาก๊าซแอลพีจี ยึดหลักประชาชนเป็นเจ้าของทรัพยากร
ธรรมชาติ ดังนั้นรัฐบาลก็ควรแยกราคาก๊าซในส่วนของภาคอุตสาหกรรมและ
ปิโตรเคมี ออกจากภาคประชาชน ทั้งในส่วนที่ ใช้ ในครัวเรือน และยานยนต์
เพราะภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะปิโตรเคมี ใช้ก๊าซเพื่อสร้างผลกำไรทางธุรกิจ และ
ส่วนใหญ่ก็เป็น                               การผลิตเพือการส่งออกเปรียบเสมือน
                                                         ่
การนำทรัพยากร                                    ธรรมชาติของไทยไปขายให้กับ
ต่างชาติ ในราคาถูก
      ดังนั้น                               ภาคธุรกิจก็ควรจะรับภาระราคาก๊าซ
แอลพีจี                                        ตามราคาตลาดโลกถึงจะถูกต้อง
                                              ตรงกันข้ามกับภาคประชาชนที่ ใช้
                                              ก๊าซในการดำรงชีวิตประจำวัน
                                              ไม่ว่าจะใช้หุงต้มหรือเป็นเชื้อเพลิง
                                                 เติมรถยนต์ ก็ควรจะซื้อในราคา
                                                 ต้นทุนจากอ่าวไทยซึ่งเป็นราคา
                                                 ที่ถูกกว่า
ก็นั่นน่ะสิ ทำไมคนไทยถึงใช้น้ำมันในราคาที่ผลิตในประเทศไม่ ได้ ?
ทำไมประชาชนต้องใช้ก๊าซแอลพีจี ในราคาตลาดโลก ?
        และทำไมเรายังต้องรับภาระค่าผ่านท่อก๊าซในรูปของค่าเอฟทีที่เพิ่มขึ้น ? ทั้งๆ
ที่เราเป็นเจ้าของเงินสร้างท่อก๊าซนั่นแท้ๆ
        ถึงเวลาที่เราจะต้องตั้งคำถามกับนักการเมืองและข้าราชการชั้นผู้ ใหญ่ของเรา
เสียทีว่า “ได้ทำหน้าที่ดีเพียงพอหรือยัง”
        ทำไมย่งนานวันเข้า เราพบก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดิบเพ่มขึ้นทุกปี แต่ราคา
                ิ                                              ิ
น้ำมันที่คนไทยต้องซื้อยังเป็นราคานำเข้าจากประเทศสิงค์โปร์อยู่
        ขณะท่ผลประโยชน์ของ “บมจ.ปตท.” ก็ย่งมีมูลค่าเพ่มขึ้นมากมายมหาศาล
              ี                                  ิ          ิ
ถ้ายังเป็นแบบนี้ หมายถึงประชาชนยังไม่ ได้ประโยชน์อะไร นอกจากคำอ้างที่สวย
หรูเรื่องความมั่นคงทางพลังงาน เราก็ควรจะเลิกขุดน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ แล้วนำ
เข้าพลังงานกันจริงๆ ไม่ดีกว่าหรือ                     อย่างน้อยที่สุด เรายังได้
เก็บรักษาแหล่งพลังงานใต้ดิน                         ไว้ ให้ลูกหลานได้ ในอนาคต
และไม่ต้องทำลาย                                    สิ่งแวดล้อมอีกด้วย...จริงไหม
ดู จ ะยากเอาการอยู่น ะ เพราะแม้รัฐ บาลจะเป็น ผู้ถือ ห้ ุน ใหญ่ ใน
“บมจ.ปตท.” และได้ส่งข้าราชการระดับสูงเข้าไปเป็นกรรมการ ซึ่งความ
จริงแล้วการได้เข้าไปเป็นกรรมการน่าจะมีส่วนในการช่วยกำหนดนโยบาย
และกำกับดูแลเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเราๆได้
     แต่กลับปรากฏว่า “บมจ.ปตท.” ได้ตอบแทนกรรมการอย่างอู้ฟ่ใู น
รูปเบ้ยประชุมประจำเดือน บวกเบ้ยประชุมรายคร้ง แถมด้วยโบนัส
      ี                            ี                   ั
หลัก ล้า น ซึ่ง ปัน มาจากผลกำไรมหาศาล ท่ ีม าจากกระเป๋า สตางค์
พวกเราๆนี่แหละ
     เรียกได้ว่าย่ง “บมจ.ปตท.” ได้กำไรมากเท่าไหร่ ข้าราชการท่เี ป็น
                  ิ
                             กรรมการก็จะได้ผลประโยชน์มากขึ้นเท่านั้น
                             แล้ว อย่า งน้ ีข้า ราชการจะควบคุม ราคา
                                       พลังงานไม่ ให้สงเกินไปได้ละหรือ?
                                                         ู
                                        ในเม่อกำไรจากราคาพลังงาน
                                                 ื
                                        มี ผ ล โ ด ย ต ร ง ต่ อ โ บ นั ส
                                        แล้วน่จะเรียกว่าผลประโยชน์
                                                   ี
                                        ทับซ้อนได้หรือไม่? และเป็น
                                        สาเหตุท่ ีท ำให้ข้า ราชการไทย
                                                   มองข้า มผลประโยชน์
                                                           ประชาชนหรอของ
                                                                    ื
                                                      ประเทศหรื อ เปล่ า
จะยกตัวอย่างให้ดูสักประเทศหนึ่งนะ…
      บริษัท Statoil Hydro ที่ประเทศ
นอร์เวย์ มีกำไรเมื่อปี 2550 จำนวน
2.7 แสนล้านบาท ขณะที่ บมจ.ปตท.
มีกำไร 9.8 หมื่นล้านบาท
      บ.Statoil จ่ายเงินให้แก่กรรมการ
รวมทั้งสิ้นเพียง 19.5 ล้านบาท แต่
บมจ.ปตท. จ่ายให้มากถึง 42.1 ล้านบาท
      บ.Statoil มีกรรมการเพียง 10 คน
ขณะที่ บมจ.ปตท. มีกรรมการมากถึง 15 คน
      กรรมการของ บ.Statoil ได้ค่าตอบแทน
เฉลี่ยต่อคนต่อปี เท่ากับ 1.9 ล้านบาท
แต่กรรมการของ “บมจ.ปตท.” ได้สูงถึง
2.8 ล้านบาทต่อคนต่อปี ห่างกันร่วมหนึ่งล้านบาท
ทั้งๆที่ประเทศนอร์เวย์มีค่าครองชีพสูงกว่า
ประเทศไทยมาก
      เพราะฉะนั้นการที่ “บมจ.ปตท.” ทุ่มเงินให้
กรรมการเยอะๆ ขนาดนี้ มันก็น่าสงสัยว่าจะทำให้
ข้าราชการไทยที่เป็นกรรมการ มีโอกาสถูกครอบงำ
การตัดสินนโยบายเพื่อพิทักษ์ประโยชน์ประชาชน
หรือไม่
ใครว่า...
           รัฐวิสาหกิจในรูปบริษทหลายๆ ประเทศจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการในรูปของ
                               ั
   เบี้ย ประชุ ม และเงิ น เดื อ น แต่ ไ ม่ จ่า ยเงิ น โบนั ส ที่เ กิ ด ขึ้น จากผลกำไรโดยตรง
   เพื่อป้องกันไม่ ให้กรรมการตัดสินใจใดๆ เพียงเพื่อประโยชน์ของบริษัทอย่างเดียว
   เท่านั้น
           แต่สำหรับ “บมจ.ปตท.” เจ๋งกว่า ประเคนให้ทงเบียประจำเดือน เบียประชุม
                                                                ้ั ้                 ้
   และโบนัส !!!
           แถมยัง ให้ก รรมการท่ ีเ ป็น ข้า ราชการ เข้า ไปเป็น กรรมการในบริษัท เอกชน
   ในเครือ “บมจ.ปตท.” อีก ทำให้ ได้ค่าตอบแทนดับเบิ้ล

ตารางแสดงค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ปตท. ปี ๒๕๕๑
หน่วย		:	บาท
               รายนาม                ตำแหน่ง     โบนัสจ่ายจริง				 ค่าเบี้ยประชุม  รวมค่า
                                               ๕	มกราคม	๒๕๕๒                      ตอบแทน
๑ นายณอคุณ		สิทธิพงศ์	              ประธาน     ๒,๒๑๒,๘๕๑.๒๐ ๗๗๐,๘๘๗.๑๐ ๒,๙๘๓,๗๓๘.๓๐
  รองปลัดกระทรวงพลังงาน             กรรมการ
๒ นายจุลยุทธ	หิรัณยะวสิต	           กรรมการ ๑,๒๙๓,๗๗๙.๕๒         ๕๔๔,๒๕๘.๐๖     ๑,๘๓๘,๐๓๗.๕๘
  อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี	        อิสระ
  (พ.ศ.๒๕๔๙)
  อดีตประธานกรรมการประปา
  ส่วนภูมิภาค
  กรรมการธ.ก.ส.
  และกรรมการประปานครหลวง
ตารางแสดงค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ปตท. ปี ๒๕๕๑
หน่วย		:	บาท
               รายนาม                 ตำแหน่ง  โบนัสจ่ายจริง				 ค่าเบี้ยประชุม  รวมค่า
                                             ๕	มกราคม	๒๕๕๒                      ตอบแทน
๓ นายจักรมณฑ์	ผาสุกวนิช	             กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๗๕๐,๐๐๐.๐๐ ๒,๕๓๖,๘๘๐.๔๐
  อดีตเลขาธิการสำนักงาน              อิสระ
  คณะกรรมการพัฒนาการ
  เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ	(สศช.)	
  และคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
  (BOI)	
  อดีตปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม	
  (พ.ศ.๒๕๔๗)
๔ พลเอก	สมทัต	อัตตะนันทน์	           กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๖๙๘,๐๐๐.๐๐   ๒,๔๘๔,๘๘๐.๔๐
  อดีตผู้บัญชาการทหารบก	             อิสระ
  (ต.ค.	๒๕๔๕	–	ก.ย.	๒๕๔๖),	
  อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด	
  (ต.ค.	๒๕๔๖	–	ก.ย.	๒๕๔๗)
๕ ม.ล.	ปาณสาร	หัสดินทร	              กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๖๗๒,๐๐๐.๐๐   ๒,๔๕๘,๘๘๐.๔๐
  อดีตรองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี       อิสระ
๖ นายอำพน	กิตติอำพน	                 กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๗๕๐,๐๐๐.๐๐   ๒,๕๓๖,๘๘๐.๔๐
  เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ        อิสระ
  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งช
  าติ	(สศช.)	,ประธานกรรมการบริษัท	
  การบินไทย	จำกัด
๗ คุณพรทิพย์	จาละ	                   กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๘๒๒,๕๐๐.๐๐   ๒,๖๐๙,๓๘๐.๔๐
  เลขาธิการคระกรรมการกฤษฎีกา         อิสระ
๘ นายพานิช	พงศ์พิโรดม	               กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๖๐๐,๐๐๐.๐๐   ๒,๓๘๖,๘๘๐.๔๐
  อธิบดีกรมพลังงานทดแทนและ
  อนุรักษ์พลังงาน
๙ คุณหญิงชฎา	วัฒนศิริธรรม	           กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๙๕๙,๕๖๔.๕๒   ๒,๗๔๖,๔๔๔.๙๒
   กรรมการตลาดหลักทรัพย์             อิสระ
   แห่งประเทศไทย
๑๐ นายนริศ	ชัยสูตร	                  กรรมกราร ๑,๒๙๓,๗๗๙.๕๒    ๔๔๐,๐๐๐.๐๐   ๑,๗๓๓,๗๗๙.๕๒
   อดีตผู้อำนวยการสำนักงาน
   เศรษฐกิจการคลัง
ตารางแสดงค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ปตท. ปี ๒๕๕๑
หน่วย		:	บาท
                  รายนาม           ตำแหน่ง   โบนัสจ่ายจริง				 ค่าเบี้ยประชุม  รวมค่า
                                           ๕	มกราคม	๒๕๕๒                      ตอบแทน
๑๑ นายชัยเกษม	นิติสิริ	            กรรมการ ๔๙๓,๑๐๐.๘๘          ๑๘๓,๐๐๐.๐๐ ๖๗๖,๑๐๐.๘๘
   อัยการสูงสุด                    อิสระ

๑๒ นายอนุวัฒน์	เมธีวิบูลวุฒิ	      กรรมการ ๒๐๐,๑๖๙.๖๖       ๖๐,๐๐๐.๐๐     ๒๖๐,๑๖๙.๖๖
   อธิบดีกรมที่ดิน                 อิสระ

๑๓ นางพรรณี	สถาวโรดม	              กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๖๔๔,๐๐๐.๐๐    ๒,๔๓๐,๘๘๐.๔๐
   ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้
   สาธารณะ

๑๔ นายประเสริฐ	บุญสัมพันธ์	        กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐     ๖๒๐,๐๐๐.๐๐    ๒,๔๐๖,๘๘๐.๔๐
   กรรมการผู้จัดการใหญ่		บมจ.	ปตท. ผู้จัดการ
                                   ใหญ่

                                                ที่มา : รายงานประจำปีของ บมจ. ปตท.
ก็แน่ล่ะซิ เพราะมีการแก้กฎหมายการให้ข้าราชการระดับสูงที่มีหน้าที่กำกับดูแล
หรือเกี่ยวข้องกับนโยบายด้านพลังงานหลายคนเข้าไปเป็นกรรมการ “บมจ.ปตท.”
และบริษัท ในเครือ “บมจ.ปตท.” หรือ บริษัท ในเครือ ของการไฟฟ้า ฝ่า ยผลิต
แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ทั้งๆที่บริษัทเหล่านี้เป็นบริษัทเอกชนที่รัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
อย่าง ปตท. หรือ กฟผ. ถือหุ้นไม่ถึงร้อยละ ๕๐ ได้
      พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ
(ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๕๕๐ ได้กำหนดข้อยกเว้นไว้ว่าnกรรมการของรัฐวิสาหกิจสามารถ
ที่จะเป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผู้บริหารของบริษัทที่รัฐวิสาหกิจมีห้นอยูุ่
ด้วยได้ หากรัฐวิสาหกิจนั้นได้มอบหมายให้ ไปดำรงตำแหน่งด้วย
      ข้อยกเว้นที่ว่านี้ จึงทำให้ข้าราชการระดับสูงที่เป็น
กรรมการใน “บมจ.ปตท.” หรือ กฟผ. และมีบทบาท
เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายด้านพลังงานเข้าไปเป็น
กรรมการและรับผลประโยชน์ตอบแทนจากบริษัท
เอกชนหลายราย ก่อให้
เกิดความขัดแย้งทาง
ผลประโยชน์ระหว่าง
รัฐกับเอกชน
และปัญหา
ธรรมาภิบาลอย่างร้ายแรง
      ข้าราชการจึงเสมือนเป็น
แนวร่วมที่สำคัญในการปกป้อง
ผลประโยชน์ ให้กับ “บมจ.ปตท.”
แทนที่จะพิทักษ์รักษาผลประโยชน์
ของประเทศชาติและประชาชน
ก็เป็นธรรมาภิบาลเฉพาะกับผู้ถือหุ้นและพนักงานบริษัทเท่านั้นแหละ ไม่ ใช่
ธรรมาภิบาลในการดูแลคุ้มครองผู้บริโภคคนไทยเลยสักนิด
      “คนไทย” ทั้งในฐานะผู้บริโภค เจ้าของทรัพยากรธรรมชาติ และเจ้าของ
ทรัพย์สิน ไม่ ได้รับการดูแลตามหลักธรรมาภิบาลเลย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการรับรู้ถึง
ความโปร่งใสในการกำหนดราคา รวมถึงการกำหนดนโยบายด้านพลังงานที่เป็น
แก่ประโยชน์ของผู้บริโภค
      แล้วที่สำคัญนะ การที่ “บมจ.ปตท.”หยิบยื่นผลประโยชน์ตอบแทนให้แก
ข้าราชการระดับสูงของรัฐ ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแลนโยบายพลังงานของประเทศ ในรูป
                                                  ของเงิ น ประจำตำแหน่ ง ทั้ง ใน
                                                  ฐานะประธานและกรรมการใน
                                                   “บมจ.ปตท.” ก็ยงทำให้ธรรมาภิบาล
                                                                  ่ิ
                                          เสือมลงตามไปด้วย
                                             ่
                                                  เพราะผลประโยชน์ ทั บ ซ้ อ นที่
                                             ข้าราชการได้รับ มันมากพอที่จะทำให้
                                          “บมจ.ปตท.”ได้เปรียบบริษัทคู่แข่งทาง
                                          ธุรกิจของ “บมจ.ปตท.” รวมถึงทำให้
                                          ความไม่ เ ป็ น ธรรมเกิ ด ขึ้น แก่ ผู้บ ริ โ ภคที่
                                                     เป็น คนไทยได้อ ย่า งง่า ยดาย
ก็รัฐบาลของเรานะซิ !!
       รู้ ไหมว่า ในหลายประเทศโดยเฉพาะ
ประเทศที่มีแหล่งพลังงาน
เป็นของตัวเอง
นโยบายด้านพลังงาน
นั้นต้องมีประชาชนเข้าไป
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
หรือไม่ก็ต้องผ่านรัฐสภา หากเอกชน
กระทำการใดๆ ที่มีผลกระทบด้านพลังงานกับ
ประชาชน นโยบายนั้นๆ อาจโดนระงับได้
       ยกตัวอย่าง ตอนท่บริษัทยูโนแคลกำลังจะขายห้นให้บริษัทซีนุกของประเทศ
                            ี                         ุ
จีน สภาคองเกรสของสหรัฐ มีมติไม่อนุมัติ จนบริษัทยูโนแคลต้องขายหุ้นให้กับ
บริษัท เชฟร่อน แทน
       แล้วรู้ ไหมล่ะว่า สัมปทานของยูโนแคลไม่ ใช่อยู่ ในประเทศสหรัฐ แต่อยู่ ใน
ประเทศไทยนี่เอง สภาคองเกรสยังไม่อนุญาตเลย ทั้งๆที่สหรัฐอเมริกามักกล่าว
อ้างว่าตนเองเป็นประเทศที่สนับสนุนการค้าเสรี แต่เรื่องพลังงานดูจะไม่เสรีนะจ๊ะ
       นอกจากนั้น...ทุกครั้งก่อนจะมีการให้สัมปทานพลังงานแหล่งใหม่ ในอ่าวเม็กซิโก
ของสหรัฐอเมริกา ก็จะต้องผ่านความเห็นชอบจากสภาคองเกรสด้วยเหมือนกัน
เช่นเดียวกับกฎหมายประเทศเม็กซิโก ก็กำหนดว่ากรณีต่างชาติจะเข้ามาทำธุรกิจ
พลังงานในประเทศ ต้องผ่านการตัดสินใจของประชาชนด้วยวิธีการลง “ประชามติ”
แต่....ของไทยน่ะเหรอ
ยกให้เป็นอำนาจตัดสินใจของ “คณะรัฐมนตรี” หรือ
“รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน” แต่เพียงผู้เดียวเลยนะ...ขอบอก
เ พ ร า ะ ทั้ ง น้ ำ มั น แ ล ะ ก๊ า ซ          เ มื่ อ เ ร า ค น ไ ท ย เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง
ธรรมชาติ เป็ น หนึ่ ง ในทรั พ ยากร             ก็ ส มควรแล้ ว ที่จ ะต้ อ งมี สิท ธิ รับ รู้ข้อ มู ล
ธรรมชาติ ท่ ีเ ป็ น สมบั ติส าธารณะไม่ ว่า     ด้ า นพลั ง งานอย่ า งครบถ้ ว น ถู ก ต้ อ ง
จะอยู่บนบกหรือใต้ทะเล คนไทยทุกคน               รวมถึ ง มีส่ว นร่ว มในการกำหนดทิศ ทาง
ต่างเป็นเจ้าของร่วมกัน                         พลังงานของชาติอย่างเต็มที่
                                               ที่สำคัญเลยนะ
                                                    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                                               2550 มาตรา 67 ได้ ให้สิท ธิค นไทย
                                               ทุกคนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ คุ้มครอง
                                                          และไดประโยชนจากทรพยากร
                                                                ้             ์ ั
                                                            ธรรมชาติ ซึ่ง ก็ เ ท่ า กั บ ว่ า
                                                            คนไทยมีสิท ธิท่ ีจ ะกำหนด
                                                          นโยบายพลงงานรวมกบภาครฐ
                                                                      ั ่ ั ั
                                                                  ไดดวย “อยาปลอย
                                                                     ้้              ่ ่
                                                                        ให้ พ ลั ง งานไทย
                                                                   เป็นพลังงานของใครๆ
                                                                        ท่ ี ไม่ ใช่ของเรา”
Artwork02
Artwork02

Contenu connexe

En vedette

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Artwork02

  • 1.
  • 3. คำนำ ภายในไม่ก่ีปีม าน้ี ความเดือ ดร้อ นของประชาชนชาวไทยในเร่ือ งเก่ีย วกับ ราคา น้ำมันท่ีข้ึนสูง อีกท้ังประเด็นเร่ืองการขาดแคลนก๊าซแอลพีจี ท่ีจะนำไปสู่การข้ึนราคา ก๊าซแอลพีจี และ เอ็นจีวี เป็นเร่องท่มีผลกระทบไปท่วประเทศ และนำมาซ่งการเข้าไป ื ี ั ึ ตรวจสอบหาข้ อ เท็ จ จริ ง เรื่อ งระบบพลั ง งาน ของคณะอนุ ก รรมาธิ ก ารเสริ ม สร้ า ง ธรรมาภิบาล วุฒิสภา ในการเข้าไปศึกษาหาข้อมูลโดยการเชิญนักวิชาการ ข้าราชการ บริษัทเอกชน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบพลังงานไทยเข้ามาให้ข้อมูล คณะอนุกรรมาธิการได้ข้อสรุปหลายๆประการที่ประชาชนชาวไทย ในฐานะเจ้าของ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ข องประเทศ และผู้บ ริ โ ภคพลั ง งานควรได้ รับ ทราบ จึ ง มี ด ำริ จะจัด พิม พ์ห นัง สือ รายงานเร่ือ งพลัง งานไทยฉบับ ประชาชน เล่ม ท่ีท่า นถือ อยู่น้ี ในช่ือ “พลังงานไทย พลังงานใคร?” หนังสือฉบับนี้จะแสดงให้เห็นถึงข้อเท็จจริงที่ว่า ประเทศไทยมีแหล่งน้ำมันและก๊าซ ธรรมชาติท่อุดมสมบูรณ์และมีค่ามหาศาล ที่กระจายอยู่ท่วประเทศ โดยมีการพบมากขึ้น ี ั ทุ ก ปี ท้ัง บนบกและในทะเล ในปี 2551 เราขุ ด ได้ ถึง ประมาณ 115 ล้ า นลิ ต รต่ อ วั น แต่ทำไมคนไทยจึงยังต้องจ่ายค่าน้ำมันแพง เสมือนกับการส่งเข้ามาจากประเทศสิงคโปร์ ั ทั้งๆที่สูบขึ้นมาจากใต้พื้นดินไทยนี่เอง ทำไมคนไทยต้ อ งแบกรั บ ส่ ว นต่ า งราคาก๊ า ซแอลพี จี ที่น ำเข้ า จากต่ า งประเทศ เพียงฝ่ายเดียว ส่วนภาคอุตสาหกรรมไม่ต้องแบกรับด้วย และทำไมข้าราชการที่เข้าไป เป็ นกรรมการในบริ ษัท พลั ง งานต่ า งๆ จึ ง ไม่ ก ระทำการใดเพื่อ รั ก ษาผลประโยชน์ ต่อ ผู้บริโภคไทย คณะอนุก รรมาธิก ารฯ หวัง ว่า หนัง สือ เล่ม น้ีจ ะช่ว ยให้ป ระชาชนท่ีเป็น เจ้า ของ ทรัพยากรของชาติ ได้รับรู้ถึงข้อมูลและสามารถร่วมกันตัดสินใจว่าเราควรจะดำเนินการ อย่างไรจึงจะช่วยปกป้องผลประโยชน์ของตนเอง ในฐานะผู้บริโภค และผลประโยชน์ ของชาติในฐานะประชาชนที่มีจิตสำนึก รสนา โตสิตระกูล ประธานคณะอนุกรรมาธิการเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา
  • 4. ไม่ จ ริ ง เลยสั ก นิ ด เพราะทุ ก วั น น้ ี แ ต่ ที่ น่ า ทึ่ ง ก ว่ า นั้ น ก็ คื อ เราเป็นเจ้าของบ่อน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ เท่ า กั บ 1 ใน 3 ของปริ ม าณ มากกว่า 50 แหล่ง1 เรียกว่าเราควรจะรวย การผลิ ต น้ ำ มั น ของ “การ์ ต า” ติดอันดับ น้องๆ เศรษฐีน้ำมันในประเทศ ท่ ี เ ป็ น หนึ่ ง ในสมาชิ ก ของกล่ ุ ม อาหรับด้วยซ้ำไป โอเปก แล้วอย่างนี้จะไม่ ให้บอกได้ ลองคิ ด ดู ว่ า เรามี ค วามสามารถ ยั ง ไงว่ า ประเทศเราน่ า จะร่ ำ รวย ในการผลิ ต ก๊ า ซธรรมชาติ ก๊ า ซธรรมชาติ ติ ด อั น ดั บ น้ อ งๆเศรษฐี น้ ำ มั น เหลว และน้ำมันดิบรวมกัน เฉพาะปี 2551 อาหรับ ปีเดียว ก็มากถึง 721,500 บาร์เรลต่อวัน หรือ 115 ล้านลิตรต่อวัน2 คิ ด เฉพาะวั ต ถุ ดิ บ ท่ ี น ำมาผลิ ต เป็ น น้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป ก็ ไ ด้ ม ากกว่ า 40 % ของ ปริ ม าณการใช้ น้ำ มั น สำเร็ จ รู ป ในประเทศ ทีมา : 1กรมเชือเพลิงธรรมชาติ , 2สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ่ ้
  • 5. รู้อะไรไหม … ก่อนหน้านี้เราเคยมีสถิติส่งออกข้าวมากที่สุด แต่ปัจจุบันเราส่งออก น้ำมันมีรายได้มากกว่าข้าว เมืองไทยเรา แม้จะไม่ ใช่ประเทศผลิตน้ำมันเป็นสินค้าส่งออก แต่ทุกวันนี้ รายได้จากการส่งออกน้ำมันของเรา สูงกว่าการส่งออกข้าวแล้ว และมีแนวโน้มจะมากขึ้น ทุกปีด้วยสิ เอาง่ายๆนะ ปี 2551 เพียงปีเดียว เราส่งออกพลังงานได้มากกว่า 3 แสนล้านบาท (9,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) แต่กลับส่งออกข้าวได้เพียง 2 แสนกว่า ล้านบาท (6,200 ล้านเหรียญสหรัฐ) เท่านั้นเอง เรียกว่าขายพลังงานมีรายได้ดีกว่ากันถึง แสนกว่าล้านบาท (3,500 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) เลยเชียว ที่สำคัญก็คือรายได้จากการส่งออกสินค้า พลังงานของไทยเรา มีมูลค่าใกล้เคียงกับ ประเทศส่งออกน้ำมันอย่าง “เอกวาดอร์” ที่อยู่ ในกลุ่มโอเปกอย่างเหลือเชื่อ ที่มา : ข้อมูลประเทศเอกวาดอร์ ได้จาก Energy Information Asministration (EIA) ,การผลิตก๊าซ ธรรมชาติของเอกวาดอร์มีปริมาณน้อยมาก จึงไม่ได้นำข้อมูลส่งออกก๊าซธรรมชาติของเอกวาดอร์มารวมเปรียบเทียบ
  • 6. มั น ก็ น่ า จ ะ เ ป็ น อ ย่ า ง นั้ น จริงๆแล้วเราควรจะต้องจ่ายถูก น่ ั น แหละ แต่ ค วามจริ ง ก็ คื อ เรา เหมือนกับการซื้อข้าวที่ผลิตในประเทศ กลับต้อง “จ่ายแพง” เสมือนว่าเรา นี่แ หละ คนไทยไม่ เ คยต้ อ งซื้อ ข้ า ว ต้ อ งนำเข้ า น้ ำ มั น จากประเทศ ที่ผ ลิ ต ในประเทศในราคาจากต่ า ง สิงคโปร์ท้ง 100% ทั้งๆที่น้ำมันดิบ ั ประเทศ เหมือนท่เี ราต้องซ้อน้ำมัน ื ก็ถูก สู บ ขึ้น มาจากใต้ถุน บ้า นเราเอง ราคานำเข้าจากสิงคโปร์ท้งๆท่กล่นเอง ั ี ั มากถึงวันละ 40 ล้านลิตร ในประเทศ แต่ ก ระทรวงพลั ง งาน อธิบายว่าอย่างไร รู้ ไหม ? เขาบอกว่าท่ต้องต้งราคาน้ำมัน ี ั เสมื อ นกั บ เป็ น การสั่ง เข้ า น้ ำ มั น จาก สิงคโปร์ท้งหมด ก็เพื่อเป็นแรงจูงใจ ั ให้โรงกล่นน้ำมัน และการท่ต้องสร้าง ั ี แรงจู ง ใจให้ โ รงกล่ ั น น้ ำ มั น ก็เ พ่ ือ รักษาความม่ น คงทางพลัง งานให้กับ ั คนไทยนี่แหละ ...ความม่ ั น คงของคนไทยมี มูลค่าปีละกว่าแสนล้านบาทท่ผ้บริโภค ีู ต้องควักกระเป๋าจ่ายให้โรงกล่นน้ำมัน ั นะจ๊ะ
  • 7. ใช่แล้ว !!! เราต้องซื้อน้ำมันในราคาที่แพงกว่าที่คนสิงคโปร์ซื้อจากประเทศไทย สูตรราคาน้ำมันหน้าโรงกลั่นที่คนไทยต้องจ่ายเป็นแบบนี้ สมมุติว่าราคาน้ำมันสำเร็จรูปที่ตลาดสิงคโปร์อยู่ที่ 20 บาท และค่าโสหุ้ยนำเข้า จากสิงคโปร์อยู่ที่ 2 บาท คนไทยต้องจ่ายค่าน้ำมันหน้าโรงกลั่น 22 บาท ในขณะ ที่คนสิงคโปร์จะซื้อน้ำมันได้ ในราคา 20 บาท การที่บวกค่าโสหุ้ยเหล่านี้เข้าไปนี่แหละ ที่ทำราคาขายในประเทศต้องสูงขึ้น ทั้งๆที่กลั่นอยู่ ในกรุงเทพฯ ชลบุรี ระยอง นี่เอง พูดง่ายๆก็คือเงินที่โรงกลั่นบวกเพิ่ม นั้นเป็นเหมือนกับ“เงินกินเปล่า” หรือเป็น “กำไร” ร้อยเปอร์เซ็นต์ของโรงกลั่น เนื่องจากไม่ ได้มีการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปมาจริง โรงกลั่นอยากขายน้ำมันในประเทศ มากกว่า เพราะขายได้ ลิตรละ 22 บาท แต่ถ้าขายสิงคโปร์ จะได้ แค่ 18 บาท เพราะต้องจ่าย ค่าขนส่งเองอีก 2 บาท
  • 8. นอกจากคนไทยต้ อ งซื้อ น้ ำ มั น ที่ ค่าโสหุ้ยต่างๆที่ ไม่ ได้เกิดขึ้นจริง ราคาแพงแล้ว โรงกล่นยังส่งออกน้ำมัน ั แต่ เ มื่อ โรงกลั่น ไทยเหล่ า นี้ต้อ งขาย ไปขายต่างประเทศด้วยราคาที่ถูกกว่าที่ น้ ำ มั น ส่ ง ออกไปสิ ง คโปร์ กลั บ ต้ อ ง ขายให้คนไทยเสียอีก หัก ค่า โสห้ ุย ออก เพ่ ือ ให้เ ป็น ราคา ก็ เ วลาขายคนไทย ราคาน้ ำ มั น ตลาดโลกที่ แ ท้ จ ริ ง จึ ง สามารถ จะเป็ น ราคาหน้ า โรงกลั่ น บวกด้ ว ย แข่งขันได้ ดั ง นั้ น ราคาที่ เ ขาขายคนไทย จึ ง เป็ น ราคาตลาดเที ย มภายใต้ การสมยอมของภาครั ฐ ที่ ย อมให้ โรงกลั่นไทย บวกค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ ไม่ เกิ ด ขึ้ น จริ ง ให้ ค นไทยต้ อ งรั บ ภาระ ไปเสียนี่ เพราะฉะนั้น จะว่ า ไปแล้ ว รั ฐ บาลจึ ง เป็ น ต้ น เหตุ สำคัญที่ทำให้ “คนไทย” ต้ อ ง จ่ า ย แ พ ง ท้ ั ง ๆ ท่ ี ในความเป็นจริงประเทศ ไทยสามารถกลั่นน้ำมันได้ มากกว่าความต้องการของ คนไทยมากว่า 11 ปีแล้ว
  • 9. ก็ เ พราะรั ฐ บาลให้ ค วามสำคั ญ กั บ น้ำมันเท่ากับบางประเทศในกลุ่มโอเปก ธุ ร กิ จ เอกชนมากกว่ า ผลประโยชน์ ข อง มีรายได้มากกว่าส่งออกข้าว แต่รัฐบาล คนไทยน่ะซิ โดยอ้างว่าต้องให้แรงจูงใจ ยังอ้างว่าต้องให้แรงจูงใจ กับโรงกลั่นเพื่อความมั่นคงทางพลังงาน เพราะฉะน้ ัน ท่ ีว่า น้ำ มัน ลอยตัว ด้ ว ย ก า ร ห ยิ บ ยื่ น ข้ อ เ ส น อ ว่ า ตามราคาตลาดโลก เป็ น กลไกของ เมื่อ กลั่น น้ ำ มั น ในประเทศ จะสามารถ การค้ า เสรี ก็ เ ป็ น เรื่อ งไม่ จ ริ ง ใช่ ไ หม ขายได้ ร าคาเหมื อ นนำเข้ า น้ ำ มั น จาก อย่ า งนี้ค วรจะเรี ย กว่ า รั ฐ บาลอนุ ญ าต ต่างประเทศ ให้ โ รงกล่ ั น มี เ สรี ในการผู ก ขาดดู จ ะ ถ้า เป็น ตอนเร่ ิม ต้น สร้า งโรงกล่ ัน เข้าท่ามากกว่า ก็พอจะรับกันได้ แต่ตอนน้โรงกล่นส่งออก ี ั
  • 10. จะพู ด อย่า งน้ ัน ก็ค งได้ เพราะ “บมจ.ปตท.” เป็นบริษัทใหญ่ท่สุดรายเดียว ี การที่ปล่อยให้ธุรกิจด้านพลังงานเป็น จึงสามารถตัดสินใจด้านราคาและทิศทางของ ธุ ร กิ จ กึ่ง ผู ก ขาด ทำให้ ร าคาสิ น ค้ า ธุรกิจพลังงานได้โดยปราศจากการแข่งขัน พลังงานไม่เป็นไปตามกลไกตลาดเสรี แบบตลาดเสรี ผลท่เี ห็นได้ชัดก็คือ ราคาขาย กระทรวงพลัง งานไม่มีห น่ว ยงาน ปลี ก น้ ำ มั น ของไทยมั ก จะปรั บ ลงช้ า ควบคุ ม ราคาน้ ำ มั น สิ น ค้ า อื่น ไม่ ว่า เนื้อ กว่า ราคาน้ำ มัน ดิบ ในตลาดโลกมาก หมู ไข่ ผก จะมราคากลางทกวน แตราคา ั ี ุ ั ่ ดังนั้นราคาที่คนไทยซื้อจึงไม่ ใช่ราคา น้ ำมั น ไม่ เคยมี ราคากลาง “บมจ.ปตท.” ที่เหมาะสมและเป็นธรรม เป็น ผู้ก ำหนดราคาน้ำ มัน ได้เ องโดยอิส ระ จะว่ า ไปแล้ ว การปิ โ ตรเลี ย ม นอกจากผลประโยชน์ท่ ี ได้จ ากการ แห่งประเทศไทย หรือ “บมจ.ปตท.” ผูกขาดการขายน้ำมันและก๊าซให้กับภาครัฐ ในปั จ จุ บัน ยั ง เป็ น ผู้ป ระกอบการ การผูกขาดธุรกิจแยกก๊าซ และการผูกขาด เพียงรายเดียวในธุรกิจโรงแยกก๊าซ ธรกจขนสงก๊าซธรรมชาตแลว “บมจ ปตท.” ุ ิ ่ ิ ้ ธุรกิจก๊าซเอ็นจีวี และธุรกิจท่อขนส่ง ยังได้ประโยชน์จากทรัพย์สินที่ถูกโอน ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย และถึงแม้ ไปจากภาครัฐ เมื่อตอนแปรรูป “บมจ.ปตท.” จะไม่ ไ ด้ เ ป็ น บริ ษัท การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยด้วย เดี ย วท่ ี ผู ก ขาดการกล่ ั น น้ ำ มั น ใน นั่นก็คือ “กำไร” จาก ประเทศ แต่ ในบรรดาโรงกล่ ั น ท่อขนส่งก๊าซธรรมชาติ ขนาดใหญ่ทมอยู่ 6 โรงทัวประเทศนัน ่ี ี ่ ้ ซึ่งสร้างจากเงินภาษี “บมจ.ปตท.” ก็เป็นผู้ถือห้นรายใหญ่ ุ ของพวกเราคนไทย ถึง 5 โรงซึ่งมีกำลังการผลิตรวมกัน ในช่วงก่อนการแปรรูป มากกว่า 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือ เมื่อเดือนธันวาคม ประมาณ 159 ล้านลิตรต่อวัน 2544 เพราะฉะนันเมือดูจากโครงสร้าง ้ ่ การบริ ห ารพลั ง งานของประเทศที่มี
  • 11. ก็ค่าไฟฟ้าไงล่ะ !!! รู้ ไหมว่าเราต้องจ่ายค่าไฟแพงขึ้นอย่างไม่มีเหตุผล อันเนื่องมาจากมีการคิด “ค่าผ่านท่อ”เพิ่มขึ้นจากท่อส่งก๊าซ ที่เป็นคดีที่ศาลปกครองสูงสุดตัดสินให้ “บมจ.ปตท.” คืนแก่รัฐ แต่นอกจาก “บมจ.ปตท.” จะยังคืนไม่ครบถ้วนแล้ว ยังเอาท่อก๊าซที่ตัดค่าใช้จ่ายทางบัญชีหมดแล้ว มาตีมูลค่า ใหม่ เพราะประเมินว่ามีอายุใช้งานเพิมขึนอีก 25 ปี ทำให้ ่ ้ สามารถคิดค่าผ่านท่อเพิมเข้าไปทำให้ราคาขายของก๊าซ ่ เพิ่มขึ้น มีผลให้ค่าไฟเพิ่มขึ้น จริงๆแล้วก่อนการแปรรูปการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) รัฐบาลได้นำเงินของประชาชนจำนวนมหาศาลไปลงทุนสร้างท่อก๊าซ และเวนคืนท่ดินเพ่อเดินท่อก๊าซระยะทางยาวเป็นพันกิโล แต่พอปตท.แปรรูปออกไปเป็นบริษัทมหาชน ี ื ในปี 2544 ท่อส่งก๊าซก็ถูกโอนไปเป็นของ “บมจ.ปตท.” ด้วย แต่มีมติ ครม.ระบุว่าต้องคืนท่อส่งก๊าซ ภายใน 1 ปี แต่ปรากฏว่าหลังหนึ่งปีแล้ว “บมจ.ปตท.”ก็ไม่ ได้คืนท่อก๊าซ ทำให้มีการฟ้องร้องจากภาค ประชาชนต่อศาลปกครองสูงสุดในปี 2549 ซึ่งศาลปกครองสูงสุดมีคำพิพากษาเม่อเดือนธันวาคม 2550 ว่า ื “บมจ.ปตท.” ต้องคืนทรัพย์สินที่ ได้มาโดยการใช้อำนาจมหาชนให้กระทรวงการคลัง นอกจาก “บมจ.ปตท.” ยั ง ไม่ ไ ด้ คืน กรรมสิ ท ธิ ท่อ ก๊ า ซชุ ด ที่ส ร้ า งก่ อ นการแปรรู ป ปี 2544 อย่างครบถ้วนแล้ว ยังนำเอาท่อก๊าซที่ตัดมูลค่าทางบัญชีหมดแล้วมาเพิ่มมูลค่าใหม่เหมือนดั่ง “บมจ.ปตท.” ลงทุนก่อสร้างเอง แล้วเอามูลค่านั้นกลับมาบวกเพิ่มเข้าไปเป็น “ค่าผ่านท่อ” ราคาใหม่ ที่มีราคาแพงกว่าเดิม เหมือนเป็นการล้วงเงินจากกระเป๋าประชาชนอย่างดื้อๆ โดยความสมยอมของรัฐบาล อุปมาเหมือนว่า เราสร้างบ้านด้วยเงินของเรา แต่พอแปรรูปก็มีการตีมูลค่าบ้านในราคาต่ำโดยประเมิน ว่าอายุการใช้งานของบ้านมีแค่ 25 ปี พอได้รับบ้านไปแล้ว ก็มาตีราคาใหม่ด้วยการประเมินว่าบ้านมีอายุการ ใช้งาน 50 ปี จึงต้องคิดมูลค่าเพิ่มมาบวกเป็นค่าเช่ากับประชาชนที่เป็นผู้สร้างบ้านหลังนั้น คำถามคือราคาบ้านที่เพิ่มขึ้นควรเป็นของใคร? ผู้สร้างบ้านไม่ ได้รับเงินจากมูลค่าเพิ่มของบ้าน แต่กลับต้องจ่ายค่าเช่าบ้านเพิ่ม อย่างนี้มัน ยุติธรรมไหม ? ยิ่งไปกว่านั้น เวลานี้ศาลได้ตัดสินให้ “บมจ.ปตท.” คืน “บ้าน” หลังนี้ ให้กระทรวงการคลัง แต่ “บมจ.ปตท.” กลับคืนเพียงบางส่วนของบ้าน อีกทั้งในขณะที่เรื่องนี้ยังเป็นข้อโต้แย้งกันอยู่ แต่ “บมจ. ปตท.” ก็กลับมาเพิ่มค่าเช่า “บ้าน” อีก อย่าลืมว่าตรงนี้ รัฐบาลเป็นผูกำกับดูแลการจัดการบ้านหลังนีอยู่ ทำไมรัฐบาลถึงได้ปล่อยให้ประชาชน ้ ้ เป็นผู้เสียผลประโยชน์ล่ะ
  • 12. เอวัง... ยัง ...ยัง...ยังไม่หมด รู้ห รื อ เปล่ า ว่ า ค่ า ผ่ า นท่ อ ที่เ พิ่ม ขึ้น ทำให้ “บมจ.ปตท.” ได้ เ งิ น เพิ่ม ทั น ที เฉพาะในปี 2552 ปีเดียวจำนวน 2,000 ล้านบาท และจะเพิ่มขึ้นทุกปี แต่ด้วย คำสั่งศาลที่ ให้ “บมจ.ปตท.” คืนทรัพย์สินให้รัฐ ซึ่งคือท่อชุดเดียวกันนี้ “บมจ. ปตท.” ต้องจ่ายเงินชดเชยที่เอาท่อก๊าซไปใช้โดยไม่มีสิทธิตามกฎหมายในเวลา 6 ปี ด้วยมูลค่าเพียง 1,335 ล้านบาท ดูสิ เอาของหลวงไปใช้ 6 ปี จ่ายเงินคืนแค่ 1,335 ล้านบาท แต่เอาของหลวงมาทำมาหากิน ได้เงินคืนทันที 2,000 ล้านบาทใน 1 ปี
  • 13. ก็ เ พราะเป็ น การทำกั น อย่ า งรวบรั ด น่ ะ สิ การคิ ด ค่ า ผ่ า นท่ อ นั้ น ทำตามคู่ มื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า “ คู่ มื อ ก า ร ค ำ น ว ณ ร า ค า ก๊ า ซธรรมชาติ แ ละอั ต ราค่ า บริ ก ารส่ ง ก๊าซธรรมชาติ” ที่จัดทำขึ้นโดยสำนักงาน นโยบายและแผนพลั ง งาน และอนุ มัติ โดยรัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน ซึ่งทำกันอย่างรวบรัดเพียงแค่ 2 เดือนเศษเท่าน้น ประชาชน ั ตาดำๆ ส่ว นใหญ่อ ย่า งเราๆ แทบไม่ทันได้รับรู้ และมีส่วนร่วมอะไรเลย แม้แต่การรับ ฟังความคิดเห็นก็ทำกันอย่างรวบรัดทั้งๆที่ส่งผลต่อการสร้าง ภาระให้กับประชาชน 63 ล้านคน ไม่ว่าจะเป็นค่าไฟฟ้าบ้าน หรือค่าสินค้าที่มีต้นทุน จากค่าไฟในการผลิต ท่น่าสังเกตก็คือ ช่วงเวลาท่มีการจัดทำคู่มือคู่มือการคำนวณราคาก๊าซธรรมชาติ ี ี และอัต ราค่า บริก ารส่ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใกล้เ คีย งกับ เวลาท่ ีศ าลปกครองสู ง สุด กำลัง พิจารณาคดีทวงคืนท่อก๊าซของ “บมจ.ปตท.” และได้ออกประกาศใช้หลังจากศาล ตัดสินออกมาไม่ถึงหนึ่งเดือน ดังนั้นเราจึงควรตั้งคำถามดังๆว่า เรื่องที่จะเป็นภาระต่อประชาชนในระยะยาว อย่างนี้ ทำไมจึงไม่เปิดโอกาสรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนอย่างกว้างขวาง เพราะกระบวนการรับฟังความคิดเห็นที่จัดผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตนั้น มีคน จำนวนเล็กน้อยเท่านั้นที่สามารถเข้าถึง และรับรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้
  • 14. มันขาดแคลนจริงหรือ? ทุกวันนี้คนที่ ใช้ก๊าซแอลพีจี ไม่ ได้มีเพียงประชาชนอย่างเราๆ ที่ต้องใช้ก๊าซ เป็นเช้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน กับใช้เติมรถยนต์ รถแท๊กซ่เี ท่าน้นนะ แต่ยังมี ื ั ภาคอุตสาหกรรมและปิโตรเคมีด้วยที่นำไปใช้ และภาคปิโตรเคมีนี่แหละที่ ใช้ก๊าซแอลพีจีเพิ่มขึ้นมากที่สุด !!! ข้ อ มู ล จากสำนั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน กระทรวงพลั ง งานเห็ น ได้ชัดเจนเลยว่าในระหว่างปี 2549 ถึง 2551 ภาคปิโตรเคมี ใช้ก๊าซแอลพีจีเพิ่มขึ้น 403,000 ตัน ขณะท่ภาคครัว เรือนซึ่งก็คือคนไทยท้งประเทศ ใช้ก๊าซแอลพีจี ี ั เพิ่มขึ้นรวมกัน 402,000 ตัน ยิ่งไปกว่านั้น ภาคยานยนต์ที่ถูกอ้างว่าเป็นตัวทำให้เกิดการขาดแคลนแอลพีจี ก็ใช้เพิ่มขึ้นเพียง 317,000 ตัน น้อยกว่าที่ภาคปิโตรเคมี ใช้เพิ่มขึ้นเสียอีก “บมจ.ปตท.” ต้องการให้รัฐบาลประกาศลอยตัวก๊าซแอลพีจีตามราคาตลาด โลก ไม่อย่างนั้นก็ไม่มีแรงจูงใจที่จะผลักดันสร้างโรงแยกก๊าซเร็วๆ ฟังดูคล้ายๆ โรงกลั่นน้ำมันที่ต้องการแรงจูงใจจากรัฐบาลตลอดกาล ทั้งๆที่ธุรกิจน้ำมันมีกำไร มหาศาล การที่โ รงแยกก๊ า ซสร้ า งไม่ เ สร็ จ ทำให้ ป ตท.ไม่ ส ามารถผลิ ต ก๊ า ซแอลพี จี ได้เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน ทำให้ถึงแม้ว่าจะมีก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยเพียงพอ และมีแนวโน้มเพ่มขึ้น ิ อย่างต่อเน่อง แต่ก็ไม่สามารถป้อนเข้าโรงแยกก๊าซได้อยู่ดี น่เี ลยเป็นข้ออ้างว่า ื แอลพีจีขาดแคลน ต้องนำเข้าจากต่างประเทศในราคาตลาดโลก ปัจจุบันก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยมีปริมาณ 2,360 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน แต่โรงแยกก๊าซ 5 โรง แยกได้เพียง 1,770 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน จึงมีก๊าซ ธรรมชาติเกือบ 600 ล้านลูกบาศก์ฟุตท่ถูกเอาไปรวมกับก๊าซมีเทนท่มีคุณภาพต่ำ ี ี กว่า เพื่อเผาเป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าทุกๆวัน
  • 15. ผู้บริหารในกระทรวงพลังงานอ้างว่า ดีกว่าไปใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง ในโรงไฟฟ้า เพราะราคาแพงกว่าก๊าซธรรมชาติเหมือนเอาไม้สักมาทำฟืน แล้วอ้างว่า เป็นเพราะถ่านจากไม้โกงกางมีราคาแพงกว่า...น่าเสียดายไหมล่ะ แล้วทำไมไม่มีเอกชนรายอื่นคิดสร้างโรงแยกก๊าซ เพิ่มขึ้นล่ะ? และถามต่อว่าถ้าสมมุติมีคนอื่น สร้างโรงแยกก๊าซ แล้วจะเอาก๊าซ มาขึ้นที่ ไหน ก็ในเมื่อ “บมจ.ปตท.” เขาผูกขาดท่อก๊าซในทะเลที่เคย เป็นสมบัติส่วนรวมของชาติ ไปแล้วน่ะซิ !!!
  • 16. ภาคอุตสาหกรรมควรรับภาระสิ ! แต่ตอนนี้คนที่รับภาระส่วนต่างราคาระหว่างราคาตลาดโลก กับราคาในประเทศ ของก๊าซแอลพีจีที่นำเข้า คือกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ที่เป็นหนี้ “บมจ.ปตท.” ถึง 8,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นเงินของประชาชนเพียงฝ่ายเดียวอยู่ดี ขณะที่ธุรกิจ ปิโตรเคมี ไม่ต้องรับภาระในส่วนนี้เลย ถ้าการกำหนดราคาก๊าซแอลพีจี ยึดหลักประชาชนเป็นเจ้าของทรัพยากร ธรรมชาติ ดังนั้นรัฐบาลก็ควรแยกราคาก๊าซในส่วนของภาคอุตสาหกรรมและ ปิโตรเคมี ออกจากภาคประชาชน ทั้งในส่วนที่ ใช้ ในครัวเรือน และยานยนต์ เพราะภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะปิโตรเคมี ใช้ก๊าซเพื่อสร้างผลกำไรทางธุรกิจ และ ส่วนใหญ่ก็เป็น การผลิตเพือการส่งออกเปรียบเสมือน ่ การนำทรัพยากร ธรรมชาติของไทยไปขายให้กับ ต่างชาติ ในราคาถูก ดังนั้น ภาคธุรกิจก็ควรจะรับภาระราคาก๊าซ แอลพีจี ตามราคาตลาดโลกถึงจะถูกต้อง ตรงกันข้ามกับภาคประชาชนที่ ใช้ ก๊าซในการดำรงชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะใช้หุงต้มหรือเป็นเชื้อเพลิง เติมรถยนต์ ก็ควรจะซื้อในราคา ต้นทุนจากอ่าวไทยซึ่งเป็นราคา ที่ถูกกว่า
  • 17. ก็นั่นน่ะสิ ทำไมคนไทยถึงใช้น้ำมันในราคาที่ผลิตในประเทศไม่ ได้ ? ทำไมประชาชนต้องใช้ก๊าซแอลพีจี ในราคาตลาดโลก ? และทำไมเรายังต้องรับภาระค่าผ่านท่อก๊าซในรูปของค่าเอฟทีที่เพิ่มขึ้น ? ทั้งๆ ที่เราเป็นเจ้าของเงินสร้างท่อก๊าซนั่นแท้ๆ ถึงเวลาที่เราจะต้องตั้งคำถามกับนักการเมืองและข้าราชการชั้นผู้ ใหญ่ของเรา เสียทีว่า “ได้ทำหน้าที่ดีเพียงพอหรือยัง” ทำไมย่งนานวันเข้า เราพบก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดิบเพ่มขึ้นทุกปี แต่ราคา ิ ิ น้ำมันที่คนไทยต้องซื้อยังเป็นราคานำเข้าจากประเทศสิงค์โปร์อยู่ ขณะท่ผลประโยชน์ของ “บมจ.ปตท.” ก็ย่งมีมูลค่าเพ่มขึ้นมากมายมหาศาล ี ิ ิ ถ้ายังเป็นแบบนี้ หมายถึงประชาชนยังไม่ ได้ประโยชน์อะไร นอกจากคำอ้างที่สวย หรูเรื่องความมั่นคงทางพลังงาน เราก็ควรจะเลิกขุดน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ แล้วนำ เข้าพลังงานกันจริงๆ ไม่ดีกว่าหรือ อย่างน้อยที่สุด เรายังได้ เก็บรักษาแหล่งพลังงานใต้ดิน ไว้ ให้ลูกหลานได้ ในอนาคต และไม่ต้องทำลาย สิ่งแวดล้อมอีกด้วย...จริงไหม
  • 18. ดู จ ะยากเอาการอยู่น ะ เพราะแม้รัฐ บาลจะเป็น ผู้ถือ ห้ ุน ใหญ่ ใน “บมจ.ปตท.” และได้ส่งข้าราชการระดับสูงเข้าไปเป็นกรรมการ ซึ่งความ จริงแล้วการได้เข้าไปเป็นกรรมการน่าจะมีส่วนในการช่วยกำหนดนโยบาย และกำกับดูแลเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเราๆได้ แต่กลับปรากฏว่า “บมจ.ปตท.” ได้ตอบแทนกรรมการอย่างอู้ฟ่ใู น รูปเบ้ยประชุมประจำเดือน บวกเบ้ยประชุมรายคร้ง แถมด้วยโบนัส ี ี ั หลัก ล้า น ซึ่ง ปัน มาจากผลกำไรมหาศาล ท่ ีม าจากกระเป๋า สตางค์ พวกเราๆนี่แหละ เรียกได้ว่าย่ง “บมจ.ปตท.” ได้กำไรมากเท่าไหร่ ข้าราชการท่เี ป็น ิ กรรมการก็จะได้ผลประโยชน์มากขึ้นเท่านั้น แล้ว อย่า งน้ ีข้า ราชการจะควบคุม ราคา พลังงานไม่ ให้สงเกินไปได้ละหรือ? ู ในเม่อกำไรจากราคาพลังงาน ื มี ผ ล โ ด ย ต ร ง ต่ อ โ บ นั ส แล้วน่จะเรียกว่าผลประโยชน์ ี ทับซ้อนได้หรือไม่? และเป็น สาเหตุท่ ีท ำให้ข้า ราชการไทย มองข้า มผลประโยชน์ ประชาชนหรอของ ื ประเทศหรื อ เปล่ า
  • 19. จะยกตัวอย่างให้ดูสักประเทศหนึ่งนะ… บริษัท Statoil Hydro ที่ประเทศ นอร์เวย์ มีกำไรเมื่อปี 2550 จำนวน 2.7 แสนล้านบาท ขณะที่ บมจ.ปตท. มีกำไร 9.8 หมื่นล้านบาท บ.Statoil จ่ายเงินให้แก่กรรมการ รวมทั้งสิ้นเพียง 19.5 ล้านบาท แต่ บมจ.ปตท. จ่ายให้มากถึง 42.1 ล้านบาท บ.Statoil มีกรรมการเพียง 10 คน ขณะที่ บมจ.ปตท. มีกรรมการมากถึง 15 คน กรรมการของ บ.Statoil ได้ค่าตอบแทน เฉลี่ยต่อคนต่อปี เท่ากับ 1.9 ล้านบาท แต่กรรมการของ “บมจ.ปตท.” ได้สูงถึง 2.8 ล้านบาทต่อคนต่อปี ห่างกันร่วมหนึ่งล้านบาท ทั้งๆที่ประเทศนอร์เวย์มีค่าครองชีพสูงกว่า ประเทศไทยมาก เพราะฉะนั้นการที่ “บมจ.ปตท.” ทุ่มเงินให้ กรรมการเยอะๆ ขนาดนี้ มันก็น่าสงสัยว่าจะทำให้ ข้าราชการไทยที่เป็นกรรมการ มีโอกาสถูกครอบงำ การตัดสินนโยบายเพื่อพิทักษ์ประโยชน์ประชาชน หรือไม่
  • 20. ใครว่า... รัฐวิสาหกิจในรูปบริษทหลายๆ ประเทศจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการในรูปของ ั เบี้ย ประชุ ม และเงิ น เดื อ น แต่ ไ ม่ จ่า ยเงิ น โบนั ส ที่เ กิ ด ขึ้น จากผลกำไรโดยตรง เพื่อป้องกันไม่ ให้กรรมการตัดสินใจใดๆ เพียงเพื่อประโยชน์ของบริษัทอย่างเดียว เท่านั้น แต่สำหรับ “บมจ.ปตท.” เจ๋งกว่า ประเคนให้ทงเบียประจำเดือน เบียประชุม ้ั ้ ้ และโบนัส !!! แถมยัง ให้ก รรมการท่ ีเ ป็น ข้า ราชการ เข้า ไปเป็น กรรมการในบริษัท เอกชน ในเครือ “บมจ.ปตท.” อีก ทำให้ ได้ค่าตอบแทนดับเบิ้ล ตารางแสดงค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ปตท. ปี ๒๕๕๑ หน่วย : บาท รายนาม ตำแหน่ง โบนัสจ่ายจริง ค่าเบี้ยประชุม รวมค่า ๕ มกราคม ๒๕๕๒ ตอบแทน ๑ นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ประธาน ๒,๒๑๒,๘๕๑.๒๐ ๗๗๐,๘๘๗.๑๐ ๒,๙๘๓,๗๓๘.๓๐ รองปลัดกระทรวงพลังงาน กรรมการ ๒ นายจุลยุทธ หิรัณยะวสิต กรรมการ ๑,๒๙๓,๗๗๙.๕๒ ๕๔๔,๒๕๘.๐๖ ๑,๘๓๘,๐๓๗.๕๘ อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี อิสระ (พ.ศ.๒๕๔๙) อดีตประธานกรรมการประปา ส่วนภูมิภาค กรรมการธ.ก.ส. และกรรมการประปานครหลวง
  • 21. ตารางแสดงค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ปตท. ปี ๒๕๕๑ หน่วย : บาท รายนาม ตำแหน่ง โบนัสจ่ายจริง ค่าเบี้ยประชุม รวมค่า ๕ มกราคม ๒๕๕๒ ตอบแทน ๓ นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๗๕๐,๐๐๐.๐๐ ๒,๕๓๖,๘๘๐.๔๐ อดีตเลขาธิการสำนักงาน อิสระ คณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) อดีตปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (พ.ศ.๒๕๔๗) ๔ พลเอก สมทัต อัตตะนันทน์ กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๖๙๘,๐๐๐.๐๐ ๒,๔๘๔,๘๘๐.๔๐ อดีตผู้บัญชาการทหารบก อิสระ (ต.ค. ๒๕๔๕ – ก.ย. ๒๕๔๖), อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ต.ค. ๒๕๔๖ – ก.ย. ๒๕๔๗) ๕ ม.ล. ปาณสาร หัสดินทร กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๖๗๒,๐๐๐.๐๐ ๒,๔๕๘,๘๘๐.๔๐ อดีตรองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี อิสระ ๖ นายอำพน กิตติอำพน กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๗๕๐,๐๐๐.๐๐ ๒,๕๓๖,๘๘๐.๔๐ เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ อิสระ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งช าติ (สศช.) ,ประธานกรรมการบริษัท การบินไทย จำกัด ๗ คุณพรทิพย์ จาละ กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๘๒๒,๕๐๐.๐๐ ๒,๖๐๙,๓๘๐.๔๐ เลขาธิการคระกรรมการกฤษฎีกา อิสระ ๘ นายพานิช พงศ์พิโรดม กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๖๐๐,๐๐๐.๐๐ ๒,๓๘๖,๘๘๐.๔๐ อธิบดีกรมพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน ๙ คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๙๕๙,๕๖๔.๕๒ ๒,๗๔๖,๔๔๔.๙๒ กรรมการตลาดหลักทรัพย์ อิสระ แห่งประเทศไทย ๑๐ นายนริศ ชัยสูตร กรรมกราร ๑,๒๙๓,๗๗๙.๕๒ ๔๔๐,๐๐๐.๐๐ ๑,๗๓๓,๗๗๙.๕๒ อดีตผู้อำนวยการสำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง
  • 22. ตารางแสดงค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ปตท. ปี ๒๕๕๑ หน่วย : บาท รายนาม ตำแหน่ง โบนัสจ่ายจริง ค่าเบี้ยประชุม รวมค่า ๕ มกราคม ๒๕๕๒ ตอบแทน ๑๑ นายชัยเกษม นิติสิริ กรรมการ ๔๙๓,๑๐๐.๘๘ ๑๘๓,๐๐๐.๐๐ ๖๗๖,๑๐๐.๘๘ อัยการสูงสุด อิสระ ๑๒ นายอนุวัฒน์ เมธีวิบูลวุฒิ กรรมการ ๒๐๐,๑๖๙.๖๖ ๖๐,๐๐๐.๐๐ ๒๖๐,๑๖๙.๖๖ อธิบดีกรมที่ดิน อิสระ ๑๓ นางพรรณี สถาวโรดม กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๖๔๔,๐๐๐.๐๐ ๒,๔๓๐,๘๘๐.๔๐ ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้ สาธารณะ ๑๔ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการ ๑,๗๘๖,๘๘๐.๔๐ ๖๒๐,๐๐๐.๐๐ ๒,๔๐๖,๘๘๐.๔๐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ปตท. ผู้จัดการ ใหญ่ ที่มา : รายงานประจำปีของ บมจ. ปตท.
  • 23. ก็แน่ล่ะซิ เพราะมีการแก้กฎหมายการให้ข้าราชการระดับสูงที่มีหน้าที่กำกับดูแล หรือเกี่ยวข้องกับนโยบายด้านพลังงานหลายคนเข้าไปเป็นกรรมการ “บมจ.ปตท.” และบริษัท ในเครือ “บมจ.ปตท.” หรือ บริษัท ในเครือ ของการไฟฟ้า ฝ่า ยผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ทั้งๆที่บริษัทเหล่านี้เป็นบริษัทเอกชนที่รัฐหรือรัฐวิสาหกิจ อย่าง ปตท. หรือ กฟผ. ถือหุ้นไม่ถึงร้อยละ ๕๐ ได้ พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๕๕๐ ได้กำหนดข้อยกเว้นไว้ว่าnกรรมการของรัฐวิสาหกิจสามารถ ที่จะเป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผู้บริหารของบริษัทที่รัฐวิสาหกิจมีห้นอยูุ่ ด้วยได้ หากรัฐวิสาหกิจนั้นได้มอบหมายให้ ไปดำรงตำแหน่งด้วย ข้อยกเว้นที่ว่านี้ จึงทำให้ข้าราชการระดับสูงที่เป็น กรรมการใน “บมจ.ปตท.” หรือ กฟผ. และมีบทบาท เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายด้านพลังงานเข้าไปเป็น กรรมการและรับผลประโยชน์ตอบแทนจากบริษัท เอกชนหลายราย ก่อให้ เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ระหว่าง รัฐกับเอกชน และปัญหา ธรรมาภิบาลอย่างร้ายแรง ข้าราชการจึงเสมือนเป็น แนวร่วมที่สำคัญในการปกป้อง ผลประโยชน์ ให้กับ “บมจ.ปตท.” แทนที่จะพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ ของประเทศชาติและประชาชน
  • 24. ก็เป็นธรรมาภิบาลเฉพาะกับผู้ถือหุ้นและพนักงานบริษัทเท่านั้นแหละ ไม่ ใช่ ธรรมาภิบาลในการดูแลคุ้มครองผู้บริโภคคนไทยเลยสักนิด “คนไทย” ทั้งในฐานะผู้บริโภค เจ้าของทรัพยากรธรรมชาติ และเจ้าของ ทรัพย์สิน ไม่ ได้รับการดูแลตามหลักธรรมาภิบาลเลย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการรับรู้ถึง ความโปร่งใสในการกำหนดราคา รวมถึงการกำหนดนโยบายด้านพลังงานที่เป็น แก่ประโยชน์ของผู้บริโภค แล้วที่สำคัญนะ การที่ “บมจ.ปตท.”หยิบยื่นผลประโยชน์ตอบแทนให้แก ข้าราชการระดับสูงของรัฐ ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแลนโยบายพลังงานของประเทศ ในรูป ของเงิ น ประจำตำแหน่ ง ทั้ง ใน ฐานะประธานและกรรมการใน “บมจ.ปตท.” ก็ยงทำให้ธรรมาภิบาล ่ิ เสือมลงตามไปด้วย ่ เพราะผลประโยชน์ ทั บ ซ้ อ นที่ ข้าราชการได้รับ มันมากพอที่จะทำให้ “บมจ.ปตท.”ได้เปรียบบริษัทคู่แข่งทาง ธุรกิจของ “บมจ.ปตท.” รวมถึงทำให้ ความไม่ เ ป็ น ธรรมเกิ ด ขึ้น แก่ ผู้บ ริ โ ภคที่ เป็น คนไทยได้อ ย่า งง่า ยดาย
  • 25. ก็รัฐบาลของเรานะซิ !! รู้ ไหมว่า ในหลายประเทศโดยเฉพาะ ประเทศที่มีแหล่งพลังงาน เป็นของตัวเอง นโยบายด้านพลังงาน นั้นต้องมีประชาชนเข้าไป มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ หรือไม่ก็ต้องผ่านรัฐสภา หากเอกชน กระทำการใดๆ ที่มีผลกระทบด้านพลังงานกับ ประชาชน นโยบายนั้นๆ อาจโดนระงับได้ ยกตัวอย่าง ตอนท่บริษัทยูโนแคลกำลังจะขายห้นให้บริษัทซีนุกของประเทศ ี ุ จีน สภาคองเกรสของสหรัฐ มีมติไม่อนุมัติ จนบริษัทยูโนแคลต้องขายหุ้นให้กับ บริษัท เชฟร่อน แทน แล้วรู้ ไหมล่ะว่า สัมปทานของยูโนแคลไม่ ใช่อยู่ ในประเทศสหรัฐ แต่อยู่ ใน ประเทศไทยนี่เอง สภาคองเกรสยังไม่อนุญาตเลย ทั้งๆที่สหรัฐอเมริกามักกล่าว อ้างว่าตนเองเป็นประเทศที่สนับสนุนการค้าเสรี แต่เรื่องพลังงานดูจะไม่เสรีนะจ๊ะ นอกจากนั้น...ทุกครั้งก่อนจะมีการให้สัมปทานพลังงานแหล่งใหม่ ในอ่าวเม็กซิโก ของสหรัฐอเมริกา ก็จะต้องผ่านความเห็นชอบจากสภาคองเกรสด้วยเหมือนกัน เช่นเดียวกับกฎหมายประเทศเม็กซิโก ก็กำหนดว่ากรณีต่างชาติจะเข้ามาทำธุรกิจ พลังงานในประเทศ ต้องผ่านการตัดสินใจของประชาชนด้วยวิธีการลง “ประชามติ” แต่....ของไทยน่ะเหรอ ยกให้เป็นอำนาจตัดสินใจของ “คณะรัฐมนตรี” หรือ “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน” แต่เพียงผู้เดียวเลยนะ...ขอบอก
  • 26. เ พ ร า ะ ทั้ ง น้ ำ มั น แ ล ะ ก๊ า ซ เ มื่ อ เ ร า ค น ไ ท ย เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง ธรรมชาติ เป็ น หนึ่ ง ในทรั พ ยากร ก็ ส มควรแล้ ว ที่จ ะต้ อ งมี สิท ธิ รับ รู้ข้อ มู ล ธรรมชาติ ท่ ีเ ป็ น สมบั ติส าธารณะไม่ ว่า ด้ า นพลั ง งานอย่ า งครบถ้ ว น ถู ก ต้ อ ง จะอยู่บนบกหรือใต้ทะเล คนไทยทุกคน รวมถึ ง มีส่ว นร่ว มในการกำหนดทิศ ทาง ต่างเป็นเจ้าของร่วมกัน พลังงานของชาติอย่างเต็มที่ ที่สำคัญเลยนะ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 67 ได้ ให้สิท ธิค นไทย ทุกคนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ คุ้มครอง และไดประโยชนจากทรพยากร ้ ์ ั ธรรมชาติ ซึ่ง ก็ เ ท่ า กั บ ว่ า คนไทยมีสิท ธิท่ ีจ ะกำหนด นโยบายพลงงานรวมกบภาครฐ ั ่ ั ั ไดดวย “อยาปลอย ้้ ่ ่ ให้ พ ลั ง งานไทย เป็นพลังงานของใครๆ ท่ ี ไม่ ใช่ของเรา”