SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
ข้อคิดเห็นบางประการ
สําหรับการวิจัยเพื่อการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม
- Photography / Painting / Sculpture
- Published Literature and Books
- Computer Software
- etc.
- Theatre Arts
- Music- etc.CULTURAL CREATION
- Film- Architecture
OBJECTS / MOVABLEPLACES / UNMOVABLE
- etc.- People
- etc.
- Techniques and Wisdom- Archaeological Objects
- Cuisine- Cultural Landscapes
- Oral History- Historic SettlementsCULTURAL HERITAGE
- Ballads and Poetry- Ancient Monuments
- Traditional Arts and Crafts- Archaeological Sites
INTANGIBLEPHYSICAL / TANGIBLECUTURAL RESOURCE TYPE
Types of Cultural Resource
โครงสร้างของข้อเสนอโครงการวิจัย
• 1. บทนํา
• 2. วัตถุประสงค์
• 3. การทบทวนวรรณกรรม
• 4. วิธีการ
• 5. แผนการดําเนินงาน
• 6. ทรัพยากร / งบประมาณที่ต้องใช้ในการดําเนินการ
บางขั้นตอนสําคัญ
ในกระบวนการจัดทําโครงการศึกษา / วิจัย
เพื่อจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม
1. การจัดทําเอกสารเสนอโครงการวิจัย
2. การจัดทําฐานข้อมูล หรือทะเบียนข้อมูลทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
3. การระบุความสําคัญ (Evaluating Resource Significance)
4. การคาดคะเนผลกระทบ (Impact Assessment) อาจทําในกรณีที่จําเป็น
5. การจัดทําแผนแม่บท (Master Plan Developing) / การจัดทําแผนการ
จัดการ (Management Plan Developing)
เนื้อหาสาระสําคัญของเอกสารเสนอโครงการจัดการแหล่งโบราณคดี /
โบราณสถาน / ทรัพยากรวัฒนธรรม
- ความสําคัญและที่มาของโครงการ
- วัตถุประสงค์ของโครงการ
- ขอบเขตของการดําเนินการ
- นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการดําเนินการ
- ข้อมูล / ฐานข้อมูลองค์ประกอบของแหล่งเป้าหมายของโครงการ
- วิธีการ / แนวทางการดําเนินการ
- กิจกรรมต่างๆ ในโครงการ
- ประโยชน์ของการดําเนินการ
ข้อมูล(Data) หมายถึง ตัวอักษร ตัวเลข สัญญลักษณ์ หรือข้อความต่างๆ ที่ใช้แทน
ข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่งของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่อาจเป็น คน สัตว์ สิ่งของ งานสร้างสรรค์
สิ่งก่อสร้าง รวมทั้ง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม ฯลฯ
ฐานข้อมูล(Database) หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่ไม่ซ้ํากัน แต่มีความสัมพันธ์กันและ
นํามาเก็บรวมไว้ในที่เดียวกันอย่างเป็นระเบียบและเป็นระบบ เพื่อให้สามารถค้นหา แก้ไขและ
จัดการได้โดยสะดวกและประหยัด ตัวอย่างของฐานข้อมูล ได้แก่ แฟ้มประวัตินักศึกษา แฟ้ม
รายการสินค้า แฟ้มทะเบียนหนังสือ แฟ้มทะเบียนโบราณวัตถุ ทะเบียนแหล่งโบราณคดี
ทะเบียนทรัพยากรทางวัฒนธรรมประเภทต่าง ๆ ฯลฯ
ในการจัดทําฐานข้อมูลนั้น ผู้จัดทําต้องกําหนดหรือออกแบบเขตข้อมูลที่เห็นว่า
จําเป็นไว้ก่อนล่วงหน้า
ข้อมูลและฐานข้อมูลคืออะไร
การจัดทําฐานข้อมูล
ข้อมูล อาจแบ่งได้เป็น
- ข้อมูลคุณลักษณะ แบ่งเป็น
- ข้อความอรรถาธิบายลักษณะองค์ประกอบย่อยส่วนต่าง ๆ
- ภาพ (ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว)
- เสียง
- ตัวเลข
- ข้อมูลบอกตําแหน่ง
- ตําแหน่งตามการปกครอง
- ตําแหน่งทางภูมิศาสตร์
การระบุความสําคัญของทรัพยากรทางวัฒนธรรม
Evaluating Cultural Resource Significance
ในงานวิจัยบางกรณี การระบุ “ความสําคัญ” เป็นขั้นตอนสําคัญ โดยเฉพาะในการ
วิจัยเพื่อทําแผนงานการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม
ระดับ “ความสําคัญ” ที่ระบุหรือกําหนดออกมาได้นั้น เป็นปัจจัยที่ช่วยประกอบการ
ตัดสินว่าแหล่งทรัพยากรใดควรได้รับการดําเนินการอย่างไร รวมทั้งช่วยกําหนดว่าต้องรวบรวม
“ข้อมูล” (data) และ “ข้อสนเทศ” (information) ชนิดใด
ตัวอย่างประเภทของ “ความสําคัญ” (Some Categories of “Significance”)
1. ความสําคัญด้านประวัติศาสตร์ (Historical Significance)
2. ความสําคัญด้านวิชาการ (Scientific (or Research) Significance)
3. ความสําคัญด้านชาติพันธุ์ (Ethnic Significance)
4. ความสําคัญต่อสาธารณชน (Public Significance)
5. ความสําคัญทางการพาณิชย์ (Monetary / Commercial Significance)
การคาดคะเนผลกระทบต่อทรัพยากรวัฒนธรรม
Cultural Resource Impact Assessment
ในงานวิจัยบางกรณี การคาดคะเน “ผลกระทบต่อทรัพยากรวัฒนธรรม” เป็นขั้นตอน
สําคัญ โดยเฉพาะในการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบ หรือเพื่อทําแผนงานการจัดการทรัพยากร
ทางวัฒนธรรม
“ผลกระทบ” หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่วัดได้ ซึ่งปรากฏในคุณลักษณะหรือ
คุณสมบัติของทรัพยากร เมื่อเทียบกับคุณลักษณะหรือคุณสมบัติดั้งเดิม
Leslie Wildesen (1982 : 54)* เสนอว่า
“ผลกระทบ” แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือ
1. ผลกระทบโดยตรง (direct impact) หมายถึง ผลกระทบจากกิจกรรมหนึ่ง ๆ ซึ่ง
เกิดขึ้นในเวลาเดียวและ ณ ทําเลเดียวกับการทํากิจกรรมนั้น
2. ผลกระทบโดยอ้อม (indirect impact) หมายถึง ผลกระทบจากกิจกรรมหนึ่ง ๆ
ซึ่ง เกิดขึ้นในเวลาหลังจากการทํากิจกรรมนั้น หรือเกิด ณ ทําเลที่ห่างไปจากที่ทํากิจกรรมนั้น
* Wildesen, Leslie, 1982, “The Study of Impacts on Archaeological Sites, in
ed., Michael B. Schiffer, Advances in Archaeological Method and Theory, Vol.
5, New York : Academic Press, Pp. 51 – 96.
ผลกระทบหลักทั้ง 2 ชนิด สามารถแบ่งย่อยได้เป็น 2 แบบ ดังนี้
1. แบบไม่เกิดซ้ํา (discrete impact) หมายถึงผลกระทบโดยตรงหรือโดยอ้อมที่
เกิดขึ้นครั้งเดียว ทําให้สามารถแบ่งผลกระทบชนิดหลัก ออกได้ ดังนี้
1.1 - ผลกระทบโดยตรงแบบไม่เกิดซ้ํา (discrete direct impact)
1.2 - ผลกระทบโดยอ้อมแบบไม่เกิดซ้ํา (discrete indirect impact)
2. แบบเกิดซ้ํา (continuous impact) หมายถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นซ้ําอีกตาม
ช่วงเวลา เช่นทุกเดือน ทุกปี ทุกฤดู ฯลฯ ทําให้สามารถแบ่งผลกระทบชนิดหลัก ออกได้ ดังนี้
2.1 - ผลกระทบโดยตรงแบบเกิดซ้ํา (continuous direct impact)
2.2 - ผลกระทบโดยอ้อมแบบเกิดซ้ํา (continuous indirect impact)
ผลกระทบโดยตรง หรือ โดยอ้อม ทั้งแบบต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่อง ยังแบ่งย่อยออกได้
เป็น
1. ชนิดการกลบฝัง (burial)
2. ชนิดการเคลื่อนย้ายออกจากแหล่ง (removal)
3. ชนิดย้ายตําแหน่งภายในแหล่ง (transferal)
4. ชนิดเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ (alteration)
ผลกระทบชนิดย่อยต่าง ๆ ยังสามารถ แบ่งต่อไปเป็นประการย่อย ตามลักษณะต่าง
ๆ ของผลกระทบ ได้แก่
1. ตามปริมาณของพื้นที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
2. ตามระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถวัดได้เป็นลักษณะการเปลี่ยนถาวร
การเปลี่ยนชั่วคราว หรือ อัตราการเปลี่ยนต่อปี ฯลฯ
3. ตามคุณลักษณะที่สังเกตหรือวัดได้ อื่น ๆ เช่น
- ความเร็วของการเกิด
- ความเป็นไปได้ที่จะแก้ไขให้คืนสภาพ
- การเป็นปัจจัยก่อผลกระทบอื่นตามมาขึ้นใหม่
นอกจากนี้ ในการจัดทําแผนแทรกแซง หรือแก้ไขผลกระทบ (Mitigation Plan) ยัง
อาจจําเป็นที่ต้องแบ่งผลกระทบออกเป็น
- ชนิดจงใจ (intentional)
- ชนิดไม่ได้จงใจ หรือ โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ (unintentional)
ปัจจัยก่อผลกระทบ เป็นรายละเอียดอีกประการหนึ่งที่สามารถระบุได้ ในการศึกษาถึง
ผลกระทบ โดยระบุว่าเป็นกิจกรรมใด ทําโดยผู้ใด ฯลฯ
กรอบความคิดที่อาจใช้ในการพยายามอธิบาย
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในระบบธรรมชาติและระบบวัฒนธรรม
แนวทางการจัดทําแผนแม่บท (Master Plan)
องค์ประกอบและแนวทางการจัดทําแผนแม่บท (Master Plan)
1. วัตถุประสงค์ / ภารกิจ / พันธกิจ
2. ระยะเวลาดําเนินการของแผน
กําหนด :
- ระบบวิธีการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการ และการใช้
ทรัพยากรให้เหมาะสมและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย
5. แผนการบริหารจัดการ
1. วัตถุประสงค์ / ภารกิจ / พันธกิจ
2. ระยะเวลาดําเนินการของแผน
กําหนด :
- จํานวนบุคลากรประเภทต่างๆทั้งในและนอกระบบราชการ
4. แผนการจัดหาและ
จัดการด้านบุคลากร
1. ความจําเป็นต้องใช้
2. ความถี่ในการใช้
กําหนด :
- ประเภทครุภัณฑ์ โดยอาจแยกกลุ่มตาม
1 - ประเภทการใช้งาน
2 - ประเภทการจัดหา
3. แผนการจัดหาครุภัณฑ์
1. การใช้ประโยชน์พื้นที่
2. ทรัพยากรใหม่ที่จําเป็นต้องใช้
3. ทรัพยากรเดิมที่มี
4. สิ่งอํานวยความสะดวก
กําหนด :
- ความต้องการใช้ทรัพยากร เช่น อาคาร สถานที่ ฯลฯ
2. ผังกายภาพแม่บท
(Physical Plan)
1. ความต้องการของผู้รับบริการ / ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย (Stakeholder)
1. ศักยภาพขององค์กรผู้ศึกษา
2. ข้อมูล / ฐานข้อมูลประชากร
3. เป้าหมายการดําเนินงานของหน่วยงานอื่น
กําหนด :
- กิจกรรม
- เป้าหมาย
- วิธีการดําเนินงาน
- ระยะเวลาดําเนินการ
- งบประมาณ
1. แผนงานวิชาการ
(Academic Plan)
ข้อมูล / ปัจจัยประกอบการพิจารณาจัดทําแผนกระบวนการ / กิจกรรม ที่ต้องแจกแจงรายละเอียดองค์ประกอบ
การจัดการข้อมูล
- รวบรวม
- จัดจําแนก จัดระเบียบ และปรับแต่ง
- จัดทําระบบฐานข้อมูล
- นําเสนอข้อมูล (ถ้าต้องการ)
แผนแม่บทเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองดงละคร
ตัวอย่างแผนแม่บท
เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งโบราณคดี
รายงานวิจัย
การมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละครและชุมชนท้องถิ่น
ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละคร
ตําบลดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก
(The Participation of Tambon Dong Lakhon Administration Organization and
Local Community in Ecotourism Management at Ban Dong Lakhon Ancient
Town in Tambon Dong Lakhon, Amphoe Mueang, Changwat Nakhon Nayok.)
ตัวอย่างงานวิจัย
เพื่อการจัดการแหล่งโบราณคดี
บทที่ 1. บทนํา
- ความสําคัญและที่มาของการวิจัย
- คําถามการวิจัย
- วัตถุประสงค์ของการวิจัย
- ขอบเขตของการวิจัย
- ประโยชน์ของการศึกษาวิจัย
- นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
บทที่ 1
บทนํา
1. ความสําคัญและที่มาของการวิจัย
- รัฐบาลใช้การท่องเที่ยวให้เป็นตัวกระตุ้นสภาพเศรษฐกิจของท้องถิ่นและของประเทศให้ประชาชนมีงานทํา มีรายได้ มี
การกินดีอยู่ดี มีสุขภาพดี มีกิจกรรมที่ใช้ทรัพยากรจากพื้นฐานของชุมชนท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่มขึ้น กับทั้งส่งเสริมให้เกิดการมี
ส่วนร่วมของชุมชน
- ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 กําหนดให้องค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจ
หน้าที่ในการพัฒนาตําบลทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมให้การคุ้มครองดูแลและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม กําหนดให้องค์การบริหารส่วนตําบลอาจจัดทํากิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลได้หลายอย่าง ส่งเสริมให้มี
อุตสาหกรรมในครัวเรือน บํารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินสามารถหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตําบลได้ ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร
จึงมีอํานาจหน้าที่ที่ต้องกระทํา
- เมื่อพื้นที่ตําบลดงละครมีสภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สําคัญและสมบูรณ์ในท้องถิ่น ประกอบกับ องค์การบริหาร
ส่วนตําบลดงละคร ได้จัดทําแผนพัฒนาการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละครเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงสมควรที่จะทํา
การวิจัย ค้นหาความพร้อมของพื้นที่ ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบมีส่วนร่วมในพื้นที่เมืองโบราณบ้านดงละคร ว่าจะ
สามารถบรรลุตามองค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทั้ง 4 ประการ คือ 1) ด้านพื้นที่ 2) ด้านการจัดการ 3) ด้าน
กิจกรรมและ กระบวนการ 4) ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนได้มากน้อยเพียงใด
2. คําถามการวิจัย
เพื่อให้การทําวิจัยสามารถดําเนินการได้ตามวิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและบรรลุ
วัตถุประสงค์ ผู้วิจัยจึงกําหนดคําถามการวิจัย เพื่อเป็นตัวนําทางกระบวนการวิจัยในครั้งนี้ไว้
ดังต่อไปนี้
2.1 เมืองโบราณบ้านดงละครน่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี การท่องเที่ยวเชิงเกษตรและ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศสําคัญของจังหวัดนครนายก แต่เพราะเหตุใดจึงมีนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมเยียนน้อย
2.2 บุคคลและหน่วยงานหรือองค์กรใดบ้างที่มีอยู่แล้ว และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสนับสนุนให้เมืองโบราณบ้าน
ดงละครเป็นแหล่งท่องเที่ยวนั้น ประกอบไปด้วยหน่วยงานใดบ้าง และให้การสนับสนุนในกิจกรรมใดบ้าง
2.3 องค์การบริหารส่วนตําบลดงละครมีความพร้อมที่จะทําให้กิจกรรมการท่องเที่ยวเมืองโบราณบ้านดงละครเป็นจุดสร้าง
เศรษฐกิจในชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี มีความสุขได้อย่างยั่งยืนนั้นจะใช้กิจกรรมใดบ้าง
2.4 องค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร จะดําเนินการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละครตามรูปแบบการมี
ส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้นั้น องค์การบริหารส่วนตําบลดงละครจะดําเนินการอย่างไรบ้าง
2.5 นอกจากเมืองโบราณบ้านดงละครแล้ว ชุมชนดงละครมีความพร้อมในด้านการให้บริการในกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง
นิเวศภายในชุมชนได้หรือไม่ และมีสิ่งใดบ้าง
3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
- เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในท้องถิ่นให้แก่บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตําบลดง
ละคร และชุมชนท้องถิ่น
- เพื่อสํารวจทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนบ้านดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก
- เพื่อพิจารณาความพร้อมของพื้นที่ว่ามีการดําเนินการไปสู่องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
4. ขอบเขตของการวิจัย
4.1 ขอบเขตด้านพื้นที่
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเนินสูง (ดงใหญ่) โดยมุ่งเน้นที่เมืองโบราณบ้านดงละคร (ดงเล็ก) กับกลุ่มบ้านที่มี
ผลิตภัณฑ์และสินค้าต่าง ๆ เพื่อจัดจําหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยวได้ ซึ่งจะเป็นจุดตําแหน่งที่องค์การบริหารส่วนตําบลดงละครพยายามจัดให้
เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีพื้นที่ท่องเที่ยวตั้งอยู่ในหมู่บ้านจํานวน 8 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 ชื่อบ้านหน้าสนาม หมู่ที่ 2 ชื่อบ้าน
หนองกะพ้อ หมู่ที่ 3 ชื่อบ้านหนองหมู หมู่ที่ 4 ชื่อบ้านหนองหัวกรวด หมู่ที่ 5 ชื่อบ้านหินสามก้อน หมู่ที่ 6 ชื่อบ้านหนองทอง
ทราย หมู่ที่ 10 ชื่อบ้านกลางดง และหมู่ที่ 11 ชื่อบ้านใต้วัด
4.2 ขอบเขตด้านวิชาการ
การวิจัยครั้งนี้จะมุ่งศึกษาการมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร
และชุมชนท้องถิ่น ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละคร ตําบลดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก โดย
จําแนกเป็นประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
4.2.1 บริบทของชุมชนบ้านดงละครและแหล่งท่องเที่ยว
4.2.2 องค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร และชุมชนท้องถิ่นมีความพร้อมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตาม
องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
4.2.3 รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเมืองโบราณบ้านดงละครที่เหมาะสม
5. ประโยชน์ของการศึกษาวิจัย
5.1 ประโยชน์ที่ชุมชนบ้านดงละครจะได้รับประกอบด้วย
1) สามารถทําให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
2) ชุมชนท้องถิ่นสามารถวิเคราะห์ปัญหาและร่วมกันหาแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างเป็นจริงเป็นจัง โดย
บุคลากรของท้องถิ่นได้
3) ชุมชนท้องถิ่นจะมีส่วนร่วมในการจัดการ การดูแลรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมและเมืองโบราณบ้านดงละครได้มากยิ่งขึ้น
4) ชุมชนท้องถิ่นจะมีเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากรายได้ตามปกติ
5.2 ประโยชน์ที่สถาบันผู้วิจัยจะได้รับ ประกอบด้วย
1) มหาวิทยาลัยได้มีบทบาทในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นอย่างแท้จริง
2) อาจารย์ของมหาวิทยาลัยจะได้องค์ความรู้ใหม่ เพื่อเป็นข้อมูลในการสอนด้านการท่องเที่ยวและการวิจัยเชิงคุณภาพ
3) นักศึกษาโปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จะได้ฝึกปฏิบัติด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจริง
5.3 ประโยชน์ที่สังคมประเทศชาติจะได้รับประกอบด้วย
1) เกิดแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในระดับชุมชน โดยมีเจ้าภาพในการดําเนินการ คือองค์การบริหารส่วนตําบลดงละครร่วมกับ
ชุมชนบ้านดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก
2.) เกิดการทํางานร่วมกันในระดับท้องถิ่น ซึ่งจะเกิดการปรับกระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
อย่างเหมาะสม
6. นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในคําบางคําที่นํามาใช้เฉพาะในงานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยจึงกําหนดความหมายของคําหรือนิยมเฉพาะของคํา
ต่าง ๆ ไว้ดังนี้
การมีส่วนร่วมของชุมชน หมายถึง สถานการณ์ที่บุคลากรขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นเข้ามาทํากิจกรรม
การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละครร่วมกัน โดยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย การร่วมคิดค้นปัญหา ร่วมวางแผน
ร่วมดําเนินการ ร่วมติดตามประเมินผล และร่วมกับผลประโยชน์
บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตําบล หมายถึง ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตําบลและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน
ตําบล จากทุกหมู่บ้าน
ชุมชนท้องถิ่น หมายถึง ประชาชนในพื้นที่และองค์กรหรือสถาบันของทางราชการ หรือเอกชนที่มีที่ตั้งสํานักงานทําการอยู่
ภายในท้องถิ่น ได้แก่ วัด โรงเรียน สถานีอนามัย ร้านค้าในชุมชน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแปรรูปและผลิตภัณฑ์ผลไม้ เป็น
ต้น
ความพร้อมของพื้นที่ หมายถึง ความสามารถในการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของบุคลากรขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นกับ
ชุมชนท้องถิ่น เพื่อไปสู่ความครบสมบูรณ์ในองค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง ลักษณะสิ่งของที่ปรากฏและประวัติความเป็นมาของพื้นที่ได้แก่ โบราณสถาน ตํานาน
ต้นไม้โบราณ หรือสิ่งก่อสร้างใด ๆ ภายในพื้นที่แหล่ง และรวมทั้งสินค้าของชุมชนที่จะเป็นของฝากจากการท่องเที่ยว
องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง ความพร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่อจัดดําเนินการการท่องเที่ยวได้ ซึ่ง
ประกอบด้วยองค์ประกอบด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมและกระบวนการ และด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน
องค์ประกอบด้านพื้นที่ หมายถึง สภาพพื้นที่และชื่อเสียงที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวไปเที่ยวชมสภาพโบราณสถาน คูน้ําคันดิน
ซึ่งเป็นคุณค่าทางประวัติศาสตร์ พันธุ์ไม้ดั้งเดิม วัดสําคัญ การจัดศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว การจัดพื้นที่จอดรถ การจัดอาคาร
อเนกประสงค์ให้นักท่องเที่ยวได้รับประทานอาหารและเครื่องดื่ม สวนผลไม้และแหล่งผลิตสินค้าของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน รวมทั้ง
จําหน่ายของที่ระลึกที่เป็นผลผลิตจากชุมชนท้องถิ่น
องค์ประกอบด้านการจัดการ หมายถึง การจัดการด้านโครงสร้างพื้นฐานภายในแหล่ง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความ
สะดวก ปลอดภัย ตามที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น การดําเนินการโดยองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นร่วมกับชุมชนท้องถิ่นให้ได้รับ
ความรู้ในลักษณะการจัดการท่องเที่ยวที่ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม การใช้ยุวมัคคุเทศก์ของท้องถิ่นและจัดให้ได้ซื้อของที่
ระลึกซึ่งเป็นสินค้าของท้องถิ่นจากกลุ่มแม่บ้านของชุมชน
องค์ประกอบด้านกิจกรรมและกระบวนการ หมายถึง การจัดหรือการกําหนดกิจกรรมต่าง ๆ ในการเดินทางเข้าถึงแหล่ง
ได้แก่การใช้พาหนะต่างๆ เช่น รถจักรยาน หรือรถยนต์ลากจูงขนาดเล็ก หรือรถรางบริการนักท่องเที่ยวในพื้นที่แหล่ง การฟังบรรยายสรุป
การชมวีดิทัศน์ กิจกรรมการบรรยายของยุวมัคคุเทศก์ กิจกรรมการชมองค์ประกอบต่างๆของแหล่ง และแหล่งผลิตของแปรรูปชนิดต่าง ๆ
หรือร้านจําหน่ายสินค้าของฝาก
องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน หมายถึง การทํางานร่วมกันหรือร่วมดําเนินการโดยองค์การบริหารส่วน
ท้องถิ่นร่วมกับชุมชนท้องถิ่น และหน่วยงานด้านการท่องเที่ยวของรัฐ การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น เพื่อการ
ได้รับผลประโยชน์จากผลการดําเนินงานทุก ๆ ขั้นตอน
บทที่ 2. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ประวัติและความเป็นมาของพื้นที่บริเวณเมืองโบราณบ้านดงละคร
- ความหมายแนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
- แนวความคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม
- กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 3. รายงานผลการดําเนินกิจกรรม
การศึกษาบริบทชุมชนดงละครและทรัพยากรการท่องเที่ยว
- สภาพทั่วไป
- เมืองโบราณบ้านดงละคร
- ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ
- ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
- ลักษณะทางด้านการศึกษา
- ลักษณะทางด้านสาธารณสุข
- ลักษณะความเชื่ออื่น ๆ
- การจัดประชุมแบบมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์
- ผลการจัดทํากระบวนการวิเคราะห์สภาพการณ์และสภาพแวดล้อม
- ผลการศึกษาดูงานเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปดูเขา เพื่อพัฒนาเราในด้านการจัดการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
- การให้ความรู้และอบรมยุวมัคุเทศก์
- การประชุมเพื่อพิจารณาการใช้พื้นที่และการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมือง
โบราณบ้านดงละคร
- การแสดงความเห็นของกลุ่มผู้นําขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร
บทที่ 4. วิเคราะห์ผลที่ได้จากการทํากิจกรรม
- การสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในท้องถิ่น
- การสํารวจทรัพยากรท่องเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนบ้านดงละคร
- การพิจารณาความพร้อมของพื้นที่เมืองโบราณบ้านดงละครในด้านองค์ประกอบ
หลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
บทที่ 5. สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
- บทเรียนที่ได้จากการวิจัย
- การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและข้อมูลใหม่
- ความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละครต่อการเป็นเจ้าภาพหลัก
- ในการดําเนินการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละคร
- ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณ
บ้านดงละคร
- ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยครั้งต่อไป
การทดสอบความรู้ ครั้งที่ ๒ (๒๐ คะแนน)
• คิดหัวข้อโครงการวิจัย ๑ เรื่อง
• เขียนบทนําของโครงการ ความยาวไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ
• ค้นงานวิจัยหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการของนักศึกษา ให้มากที่สุด
• นํางานวิจัยหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่ค้นมาได้มาเขียนในรูปแบบของ Literature
Review ความยาวไม่เกิน ๓ หน้ากระดาษ A4
• จัดทํารายการเอกสารอ้างอิง
ส่งงาน วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น.
นําเสนองานค้นคว้า ในวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. เป็นต้นไป
โดยใช้เวลาคนละไม่เกิน ๑๐ นาที

More Related Content

Similar to ข้อคิดเห็นบางประการสำหรับการวิจัยในสาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม

Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
การบูรณาการฯ
การบูรณาการฯการบูรณาการฯ
การบูรณาการฯssuser930700
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลwasan
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSutasinee Jakaew
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSutasinee Jakaew
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2Mam Chongruk
 
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionการเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionNECTEC, NSTDA
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integratePrachoom Rangkasikorn
 

Similar to ข้อคิดเห็นบางประการสำหรับการวิจัยในสาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม (20)

Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
การบูรณาการฯ
การบูรณาการฯการบูรณาการฯ
การบูรณาการฯ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionการเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการณ์ ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_integrate
 

ข้อคิดเห็นบางประการสำหรับการวิจัยในสาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม

  • 2. - Photography / Painting / Sculpture - Published Literature and Books - Computer Software - etc. - Theatre Arts - Music- etc.CULTURAL CREATION - Film- Architecture OBJECTS / MOVABLEPLACES / UNMOVABLE - etc.- People - etc. - Techniques and Wisdom- Archaeological Objects - Cuisine- Cultural Landscapes - Oral History- Historic SettlementsCULTURAL HERITAGE - Ballads and Poetry- Ancient Monuments - Traditional Arts and Crafts- Archaeological Sites INTANGIBLEPHYSICAL / TANGIBLECUTURAL RESOURCE TYPE Types of Cultural Resource
  • 3. โครงสร้างของข้อเสนอโครงการวิจัย • 1. บทนํา • 2. วัตถุประสงค์ • 3. การทบทวนวรรณกรรม • 4. วิธีการ • 5. แผนการดําเนินงาน • 6. ทรัพยากร / งบประมาณที่ต้องใช้ในการดําเนินการ
  • 4. บางขั้นตอนสําคัญ ในกระบวนการจัดทําโครงการศึกษา / วิจัย เพื่อจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม 1. การจัดทําเอกสารเสนอโครงการวิจัย 2. การจัดทําฐานข้อมูล หรือทะเบียนข้อมูลทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง 3. การระบุความสําคัญ (Evaluating Resource Significance) 4. การคาดคะเนผลกระทบ (Impact Assessment) อาจทําในกรณีที่จําเป็น 5. การจัดทําแผนแม่บท (Master Plan Developing) / การจัดทําแผนการ จัดการ (Management Plan Developing)
  • 5. เนื้อหาสาระสําคัญของเอกสารเสนอโครงการจัดการแหล่งโบราณคดี / โบราณสถาน / ทรัพยากรวัฒนธรรม - ความสําคัญและที่มาของโครงการ - วัตถุประสงค์ของโครงการ - ขอบเขตของการดําเนินการ - นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการดําเนินการ - ข้อมูล / ฐานข้อมูลองค์ประกอบของแหล่งเป้าหมายของโครงการ - วิธีการ / แนวทางการดําเนินการ - กิจกรรมต่างๆ ในโครงการ - ประโยชน์ของการดําเนินการ
  • 6. ข้อมูล(Data) หมายถึง ตัวอักษร ตัวเลข สัญญลักษณ์ หรือข้อความต่างๆ ที่ใช้แทน ข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่งของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่อาจเป็น คน สัตว์ สิ่งของ งานสร้างสรรค์ สิ่งก่อสร้าง รวมทั้ง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม ฯลฯ ฐานข้อมูล(Database) หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่ไม่ซ้ํากัน แต่มีความสัมพันธ์กันและ นํามาเก็บรวมไว้ในที่เดียวกันอย่างเป็นระเบียบและเป็นระบบ เพื่อให้สามารถค้นหา แก้ไขและ จัดการได้โดยสะดวกและประหยัด ตัวอย่างของฐานข้อมูล ได้แก่ แฟ้มประวัตินักศึกษา แฟ้ม รายการสินค้า แฟ้มทะเบียนหนังสือ แฟ้มทะเบียนโบราณวัตถุ ทะเบียนแหล่งโบราณคดี ทะเบียนทรัพยากรทางวัฒนธรรมประเภทต่าง ๆ ฯลฯ ในการจัดทําฐานข้อมูลนั้น ผู้จัดทําต้องกําหนดหรือออกแบบเขตข้อมูลที่เห็นว่า จําเป็นไว้ก่อนล่วงหน้า ข้อมูลและฐานข้อมูลคืออะไร การจัดทําฐานข้อมูล
  • 7. ข้อมูล อาจแบ่งได้เป็น - ข้อมูลคุณลักษณะ แบ่งเป็น - ข้อความอรรถาธิบายลักษณะองค์ประกอบย่อยส่วนต่าง ๆ - ภาพ (ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว) - เสียง - ตัวเลข - ข้อมูลบอกตําแหน่ง - ตําแหน่งตามการปกครอง - ตําแหน่งทางภูมิศาสตร์
  • 9. ในงานวิจัยบางกรณี การระบุ “ความสําคัญ” เป็นขั้นตอนสําคัญ โดยเฉพาะในการ วิจัยเพื่อทําแผนงานการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม ระดับ “ความสําคัญ” ที่ระบุหรือกําหนดออกมาได้นั้น เป็นปัจจัยที่ช่วยประกอบการ ตัดสินว่าแหล่งทรัพยากรใดควรได้รับการดําเนินการอย่างไร รวมทั้งช่วยกําหนดว่าต้องรวบรวม “ข้อมูล” (data) และ “ข้อสนเทศ” (information) ชนิดใด ตัวอย่างประเภทของ “ความสําคัญ” (Some Categories of “Significance”) 1. ความสําคัญด้านประวัติศาสตร์ (Historical Significance) 2. ความสําคัญด้านวิชาการ (Scientific (or Research) Significance) 3. ความสําคัญด้านชาติพันธุ์ (Ethnic Significance) 4. ความสําคัญต่อสาธารณชน (Public Significance) 5. ความสําคัญทางการพาณิชย์ (Monetary / Commercial Significance)
  • 10. การคาดคะเนผลกระทบต่อทรัพยากรวัฒนธรรม Cultural Resource Impact Assessment ในงานวิจัยบางกรณี การคาดคะเน “ผลกระทบต่อทรัพยากรวัฒนธรรม” เป็นขั้นตอน สําคัญ โดยเฉพาะในการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบ หรือเพื่อทําแผนงานการจัดการทรัพยากร ทางวัฒนธรรม
  • 11. “ผลกระทบ” หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่วัดได้ ซึ่งปรากฏในคุณลักษณะหรือ คุณสมบัติของทรัพยากร เมื่อเทียบกับคุณลักษณะหรือคุณสมบัติดั้งเดิม Leslie Wildesen (1982 : 54)* เสนอว่า “ผลกระทบ” แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือ 1. ผลกระทบโดยตรง (direct impact) หมายถึง ผลกระทบจากกิจกรรมหนึ่ง ๆ ซึ่ง เกิดขึ้นในเวลาเดียวและ ณ ทําเลเดียวกับการทํากิจกรรมนั้น 2. ผลกระทบโดยอ้อม (indirect impact) หมายถึง ผลกระทบจากกิจกรรมหนึ่ง ๆ ซึ่ง เกิดขึ้นในเวลาหลังจากการทํากิจกรรมนั้น หรือเกิด ณ ทําเลที่ห่างไปจากที่ทํากิจกรรมนั้น * Wildesen, Leslie, 1982, “The Study of Impacts on Archaeological Sites, in ed., Michael B. Schiffer, Advances in Archaeological Method and Theory, Vol. 5, New York : Academic Press, Pp. 51 – 96.
  • 12. ผลกระทบหลักทั้ง 2 ชนิด สามารถแบ่งย่อยได้เป็น 2 แบบ ดังนี้ 1. แบบไม่เกิดซ้ํา (discrete impact) หมายถึงผลกระทบโดยตรงหรือโดยอ้อมที่ เกิดขึ้นครั้งเดียว ทําให้สามารถแบ่งผลกระทบชนิดหลัก ออกได้ ดังนี้ 1.1 - ผลกระทบโดยตรงแบบไม่เกิดซ้ํา (discrete direct impact) 1.2 - ผลกระทบโดยอ้อมแบบไม่เกิดซ้ํา (discrete indirect impact) 2. แบบเกิดซ้ํา (continuous impact) หมายถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นซ้ําอีกตาม ช่วงเวลา เช่นทุกเดือน ทุกปี ทุกฤดู ฯลฯ ทําให้สามารถแบ่งผลกระทบชนิดหลัก ออกได้ ดังนี้ 2.1 - ผลกระทบโดยตรงแบบเกิดซ้ํา (continuous direct impact) 2.2 - ผลกระทบโดยอ้อมแบบเกิดซ้ํา (continuous indirect impact)
  • 13. ผลกระทบโดยตรง หรือ โดยอ้อม ทั้งแบบต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่อง ยังแบ่งย่อยออกได้ เป็น 1. ชนิดการกลบฝัง (burial) 2. ชนิดการเคลื่อนย้ายออกจากแหล่ง (removal) 3. ชนิดย้ายตําแหน่งภายในแหล่ง (transferal) 4. ชนิดเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ (alteration)
  • 14. ผลกระทบชนิดย่อยต่าง ๆ ยังสามารถ แบ่งต่อไปเป็นประการย่อย ตามลักษณะต่าง ๆ ของผลกระทบ ได้แก่ 1. ตามปริมาณของพื้นที่ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง 2. ตามระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถวัดได้เป็นลักษณะการเปลี่ยนถาวร การเปลี่ยนชั่วคราว หรือ อัตราการเปลี่ยนต่อปี ฯลฯ 3. ตามคุณลักษณะที่สังเกตหรือวัดได้ อื่น ๆ เช่น - ความเร็วของการเกิด - ความเป็นไปได้ที่จะแก้ไขให้คืนสภาพ - การเป็นปัจจัยก่อผลกระทบอื่นตามมาขึ้นใหม่
  • 15. นอกจากนี้ ในการจัดทําแผนแทรกแซง หรือแก้ไขผลกระทบ (Mitigation Plan) ยัง อาจจําเป็นที่ต้องแบ่งผลกระทบออกเป็น - ชนิดจงใจ (intentional) - ชนิดไม่ได้จงใจ หรือ โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ (unintentional) ปัจจัยก่อผลกระทบ เป็นรายละเอียดอีกประการหนึ่งที่สามารถระบุได้ ในการศึกษาถึง ผลกระทบ โดยระบุว่าเป็นกิจกรรมใด ทําโดยผู้ใด ฯลฯ
  • 18. องค์ประกอบและแนวทางการจัดทําแผนแม่บท (Master Plan) 1. วัตถุประสงค์ / ภารกิจ / พันธกิจ 2. ระยะเวลาดําเนินการของแผน กําหนด : - ระบบวิธีการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการ และการใช้ ทรัพยากรให้เหมาะสมและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย 5. แผนการบริหารจัดการ 1. วัตถุประสงค์ / ภารกิจ / พันธกิจ 2. ระยะเวลาดําเนินการของแผน กําหนด : - จํานวนบุคลากรประเภทต่างๆทั้งในและนอกระบบราชการ 4. แผนการจัดหาและ จัดการด้านบุคลากร 1. ความจําเป็นต้องใช้ 2. ความถี่ในการใช้ กําหนด : - ประเภทครุภัณฑ์ โดยอาจแยกกลุ่มตาม 1 - ประเภทการใช้งาน 2 - ประเภทการจัดหา 3. แผนการจัดหาครุภัณฑ์ 1. การใช้ประโยชน์พื้นที่ 2. ทรัพยากรใหม่ที่จําเป็นต้องใช้ 3. ทรัพยากรเดิมที่มี 4. สิ่งอํานวยความสะดวก กําหนด : - ความต้องการใช้ทรัพยากร เช่น อาคาร สถานที่ ฯลฯ 2. ผังกายภาพแม่บท (Physical Plan) 1. ความต้องการของผู้รับบริการ / ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย (Stakeholder) 1. ศักยภาพขององค์กรผู้ศึกษา 2. ข้อมูล / ฐานข้อมูลประชากร 3. เป้าหมายการดําเนินงานของหน่วยงานอื่น กําหนด : - กิจกรรม - เป้าหมาย - วิธีการดําเนินงาน - ระยะเวลาดําเนินการ - งบประมาณ 1. แผนงานวิชาการ (Academic Plan) ข้อมูล / ปัจจัยประกอบการพิจารณาจัดทําแผนกระบวนการ / กิจกรรม ที่ต้องแจกแจงรายละเอียดองค์ประกอบ
  • 19. การจัดการข้อมูล - รวบรวม - จัดจําแนก จัดระเบียบ และปรับแต่ง - จัดทําระบบฐานข้อมูล - นําเสนอข้อมูล (ถ้าต้องการ)
  • 21. รายงานวิจัย การมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละครและชุมชนท้องถิ่น ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละคร ตําบลดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก (The Participation of Tambon Dong Lakhon Administration Organization and Local Community in Ecotourism Management at Ban Dong Lakhon Ancient Town in Tambon Dong Lakhon, Amphoe Mueang, Changwat Nakhon Nayok.) ตัวอย่างงานวิจัย เพื่อการจัดการแหล่งโบราณคดี
  • 22. บทที่ 1. บทนํา - ความสําคัญและที่มาของการวิจัย - คําถามการวิจัย - วัตถุประสงค์ของการวิจัย - ขอบเขตของการวิจัย - ประโยชน์ของการศึกษาวิจัย - นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
  • 23. บทที่ 1 บทนํา 1. ความสําคัญและที่มาของการวิจัย - รัฐบาลใช้การท่องเที่ยวให้เป็นตัวกระตุ้นสภาพเศรษฐกิจของท้องถิ่นและของประเทศให้ประชาชนมีงานทํา มีรายได้ มี การกินดีอยู่ดี มีสุขภาพดี มีกิจกรรมที่ใช้ทรัพยากรจากพื้นฐานของชุมชนท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่มขึ้น กับทั้งส่งเสริมให้เกิดการมี ส่วนร่วมของชุมชน - ตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การบริหารส่วนตําบล พ.ศ. 2537 กําหนดให้องค์การบริหารส่วนตําบลมีอํานาจ หน้าที่ในการพัฒนาตําบลทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมให้การคุ้มครองดูแลและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กําหนดให้องค์การบริหารส่วนตําบลอาจจัดทํากิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลได้หลายอย่าง ส่งเสริมให้มี อุตสาหกรรมในครัวเรือน บํารุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณ สมบัติของแผ่นดินสามารถหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตําบลได้ ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร จึงมีอํานาจหน้าที่ที่ต้องกระทํา - เมื่อพื้นที่ตําบลดงละครมีสภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สําคัญและสมบูรณ์ในท้องถิ่น ประกอบกับ องค์การบริหาร ส่วนตําบลดงละคร ได้จัดทําแผนพัฒนาการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละครเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงสมควรที่จะทํา การวิจัย ค้นหาความพร้อมของพื้นที่ ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบมีส่วนร่วมในพื้นที่เมืองโบราณบ้านดงละคร ว่าจะ สามารถบรรลุตามองค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทั้ง 4 ประการ คือ 1) ด้านพื้นที่ 2) ด้านการจัดการ 3) ด้าน กิจกรรมและ กระบวนการ 4) ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนได้มากน้อยเพียงใด
  • 24. 2. คําถามการวิจัย เพื่อให้การทําวิจัยสามารถดําเนินการได้ตามวิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและบรรลุ วัตถุประสงค์ ผู้วิจัยจึงกําหนดคําถามการวิจัย เพื่อเป็นตัวนําทางกระบวนการวิจัยในครั้งนี้ไว้ ดังต่อไปนี้ 2.1 เมืองโบราณบ้านดงละครน่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี การท่องเที่ยวเชิงเกษตรและ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศสําคัญของจังหวัดนครนายก แต่เพราะเหตุใดจึงมีนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมเยียนน้อย 2.2 บุคคลและหน่วยงานหรือองค์กรใดบ้างที่มีอยู่แล้ว และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสนับสนุนให้เมืองโบราณบ้าน ดงละครเป็นแหล่งท่องเที่ยวนั้น ประกอบไปด้วยหน่วยงานใดบ้าง และให้การสนับสนุนในกิจกรรมใดบ้าง 2.3 องค์การบริหารส่วนตําบลดงละครมีความพร้อมที่จะทําให้กิจกรรมการท่องเที่ยวเมืองโบราณบ้านดงละครเป็นจุดสร้าง เศรษฐกิจในชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี มีความสุขได้อย่างยั่งยืนนั้นจะใช้กิจกรรมใดบ้าง 2.4 องค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร จะดําเนินการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละครตามรูปแบบการมี ส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่นได้นั้น องค์การบริหารส่วนตําบลดงละครจะดําเนินการอย่างไรบ้าง 2.5 นอกจากเมืองโบราณบ้านดงละครแล้ว ชุมชนดงละครมีความพร้อมในด้านการให้บริการในกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง นิเวศภายในชุมชนได้หรือไม่ และมีสิ่งใดบ้าง
  • 25. 3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย - เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในท้องถิ่นให้แก่บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตําบลดง ละคร และชุมชนท้องถิ่น - เพื่อสํารวจทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนบ้านดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก - เพื่อพิจารณาความพร้อมของพื้นที่ว่ามีการดําเนินการไปสู่องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
  • 26. 4. ขอบเขตของการวิจัย 4.1 ขอบเขตด้านพื้นที่ การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเนินสูง (ดงใหญ่) โดยมุ่งเน้นที่เมืองโบราณบ้านดงละคร (ดงเล็ก) กับกลุ่มบ้านที่มี ผลิตภัณฑ์และสินค้าต่าง ๆ เพื่อจัดจําหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยวได้ ซึ่งจะเป็นจุดตําแหน่งที่องค์การบริหารส่วนตําบลดงละครพยายามจัดให้ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีพื้นที่ท่องเที่ยวตั้งอยู่ในหมู่บ้านจํานวน 8 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 ชื่อบ้านหน้าสนาม หมู่ที่ 2 ชื่อบ้าน หนองกะพ้อ หมู่ที่ 3 ชื่อบ้านหนองหมู หมู่ที่ 4 ชื่อบ้านหนองหัวกรวด หมู่ที่ 5 ชื่อบ้านหินสามก้อน หมู่ที่ 6 ชื่อบ้านหนองทอง ทราย หมู่ที่ 10 ชื่อบ้านกลางดง และหมู่ที่ 11 ชื่อบ้านใต้วัด 4.2 ขอบเขตด้านวิชาการ การวิจัยครั้งนี้จะมุ่งศึกษาการมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร และชุมชนท้องถิ่น ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละคร ตําบลดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก โดย จําแนกเป็นประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 4.2.1 บริบทของชุมชนบ้านดงละครและแหล่งท่องเที่ยว 4.2.2 องค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร และชุมชนท้องถิ่นมีความพร้อมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตาม องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 4.2.3 รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเมืองโบราณบ้านดงละครที่เหมาะสม
  • 27. 5. ประโยชน์ของการศึกษาวิจัย 5.1 ประโยชน์ที่ชุมชนบ้านดงละครจะได้รับประกอบด้วย 1) สามารถทําให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน 2) ชุมชนท้องถิ่นสามารถวิเคราะห์ปัญหาและร่วมกันหาแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างเป็นจริงเป็นจัง โดย บุคลากรของท้องถิ่นได้ 3) ชุมชนท้องถิ่นจะมีส่วนร่วมในการจัดการ การดูแลรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมและเมืองโบราณบ้านดงละครได้มากยิ่งขึ้น 4) ชุมชนท้องถิ่นจะมีเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากรายได้ตามปกติ 5.2 ประโยชน์ที่สถาบันผู้วิจัยจะได้รับ ประกอบด้วย 1) มหาวิทยาลัยได้มีบทบาทในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นอย่างแท้จริง 2) อาจารย์ของมหาวิทยาลัยจะได้องค์ความรู้ใหม่ เพื่อเป็นข้อมูลในการสอนด้านการท่องเที่ยวและการวิจัยเชิงคุณภาพ 3) นักศึกษาโปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จะได้ฝึกปฏิบัติด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจริง 5.3 ประโยชน์ที่สังคมประเทศชาติจะได้รับประกอบด้วย 1) เกิดแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในระดับชุมชน โดยมีเจ้าภาพในการดําเนินการ คือองค์การบริหารส่วนตําบลดงละครร่วมกับ ชุมชนบ้านดงละคร อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 2.) เกิดการทํางานร่วมกันในระดับท้องถิ่น ซึ่งจะเกิดการปรับกระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อย่างเหมาะสม
  • 28. 6. นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจในคําบางคําที่นํามาใช้เฉพาะในงานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยจึงกําหนดความหมายของคําหรือนิยมเฉพาะของคํา ต่าง ๆ ไว้ดังนี้ การมีส่วนร่วมของชุมชน หมายถึง สถานการณ์ที่บุคลากรขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นเข้ามาทํากิจกรรม การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละครร่วมกัน โดยวิธีการต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย การร่วมคิดค้นปัญหา ร่วมวางแผน ร่วมดําเนินการ ร่วมติดตามประเมินผล และร่วมกับผลประโยชน์ บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตําบล หมายถึง ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตําบลและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน ตําบล จากทุกหมู่บ้าน ชุมชนท้องถิ่น หมายถึง ประชาชนในพื้นที่และองค์กรหรือสถาบันของทางราชการ หรือเอกชนที่มีที่ตั้งสํานักงานทําการอยู่ ภายในท้องถิ่น ได้แก่ วัด โรงเรียน สถานีอนามัย ร้านค้าในชุมชน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแปรรูปและผลิตภัณฑ์ผลไม้ เป็น ต้น ความพร้อมของพื้นที่ หมายถึง ความสามารถในการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของบุคลากรขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นกับ ชุมชนท้องถิ่น เพื่อไปสู่ความครบสมบูรณ์ในองค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง ลักษณะสิ่งของที่ปรากฏและประวัติความเป็นมาของพื้นที่ได้แก่ โบราณสถาน ตํานาน ต้นไม้โบราณ หรือสิ่งก่อสร้างใด ๆ ภายในพื้นที่แหล่ง และรวมทั้งสินค้าของชุมชนที่จะเป็นของฝากจากการท่องเที่ยว องค์ประกอบหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง ความพร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่อจัดดําเนินการการท่องเที่ยวได้ ซึ่ง ประกอบด้วยองค์ประกอบด้านพื้นที่ ด้านการจัดการ ด้านกิจกรรมและกระบวนการ และด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์ประกอบด้านพื้นที่ หมายถึง สภาพพื้นที่และชื่อเสียงที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวไปเที่ยวชมสภาพโบราณสถาน คูน้ําคันดิน ซึ่งเป็นคุณค่าทางประวัติศาสตร์ พันธุ์ไม้ดั้งเดิม วัดสําคัญ การจัดศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว การจัดพื้นที่จอดรถ การจัดอาคาร อเนกประสงค์ให้นักท่องเที่ยวได้รับประทานอาหารและเครื่องดื่ม สวนผลไม้และแหล่งผลิตสินค้าของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน รวมทั้ง จําหน่ายของที่ระลึกที่เป็นผลผลิตจากชุมชนท้องถิ่น
  • 29. องค์ประกอบด้านการจัดการ หมายถึง การจัดการด้านโครงสร้างพื้นฐานภายในแหล่ง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความ สะดวก ปลอดภัย ตามที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น การดําเนินการโดยองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นร่วมกับชุมชนท้องถิ่นให้ได้รับ ความรู้ในลักษณะการจัดการท่องเที่ยวที่ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม การใช้ยุวมัคคุเทศก์ของท้องถิ่นและจัดให้ได้ซื้อของที่ ระลึกซึ่งเป็นสินค้าของท้องถิ่นจากกลุ่มแม่บ้านของชุมชน องค์ประกอบด้านกิจกรรมและกระบวนการ หมายถึง การจัดหรือการกําหนดกิจกรรมต่าง ๆ ในการเดินทางเข้าถึงแหล่ง ได้แก่การใช้พาหนะต่างๆ เช่น รถจักรยาน หรือรถยนต์ลากจูงขนาดเล็ก หรือรถรางบริการนักท่องเที่ยวในพื้นที่แหล่ง การฟังบรรยายสรุป การชมวีดิทัศน์ กิจกรรมการบรรยายของยุวมัคคุเทศก์ กิจกรรมการชมองค์ประกอบต่างๆของแหล่ง และแหล่งผลิตของแปรรูปชนิดต่าง ๆ หรือร้านจําหน่ายสินค้าของฝาก องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน หมายถึง การทํางานร่วมกันหรือร่วมดําเนินการโดยองค์การบริหารส่วน ท้องถิ่นร่วมกับชุมชนท้องถิ่น และหน่วยงานด้านการท่องเที่ยวของรัฐ การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น เพื่อการ ได้รับผลประโยชน์จากผลการดําเนินงานทุก ๆ ขั้นตอน
  • 30. บทที่ 2. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ประวัติและความเป็นมาของพื้นที่บริเวณเมืองโบราณบ้านดงละคร - ความหมายแนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - แนวความคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม - กรอบแนวคิดในการวิจัย
  • 31. บทที่ 3. รายงานผลการดําเนินกิจกรรม การศึกษาบริบทชุมชนดงละครและทรัพยากรการท่องเที่ยว - สภาพทั่วไป - เมืองโบราณบ้านดงละคร - ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ - ลักษณะทางด้านสังคมและวัฒนธรรม - ลักษณะทางด้านการศึกษา - ลักษณะทางด้านสาธารณสุข - ลักษณะความเชื่ออื่น ๆ - การจัดประชุมแบบมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ - ผลการจัดทํากระบวนการวิเคราะห์สภาพการณ์และสภาพแวดล้อม - ผลการศึกษาดูงานเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปดูเขา เพื่อพัฒนาเราในด้านการจัดการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - การให้ความรู้และอบรมยุวมัคุเทศก์ - การประชุมเพื่อพิจารณาการใช้พื้นที่และการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมือง โบราณบ้านดงละคร - การแสดงความเห็นของกลุ่มผู้นําขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละคร
  • 32. บทที่ 4. วิเคราะห์ผลที่ได้จากการทํากิจกรรม - การสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในท้องถิ่น - การสํารวจทรัพยากรท่องเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนบ้านดงละคร - การพิจารณาความพร้อมของพื้นที่เมืองโบราณบ้านดงละครในด้านองค์ประกอบ หลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
  • 33. บทที่ 5. สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ - บทเรียนที่ได้จากการวิจัย - การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและข้อมูลใหม่ - ความพร้อมขององค์การบริหารส่วนตําบลดงละครต่อการเป็นเจ้าภาพหลัก - ในการดําเนินการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณบ้านดงละคร - ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเมืองโบราณ บ้านดงละคร - ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยครั้งต่อไป
  • 34. การทดสอบความรู้ ครั้งที่ ๒ (๒๐ คะแนน) • คิดหัวข้อโครงการวิจัย ๑ เรื่อง • เขียนบทนําของโครงการ ความยาวไม่เกิน ๑ หน้ากระดาษ • ค้นงานวิจัยหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการของนักศึกษา ให้มากที่สุด • นํางานวิจัยหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่ค้นมาได้มาเขียนในรูปแบบของ Literature Review ความยาวไม่เกิน ๓ หน้ากระดาษ A4 • จัดทํารายการเอกสารอ้างอิง ส่งงาน วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. นําเสนองานค้นคว้า ในวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. เป็นต้นไป โดยใช้เวลาคนละไม่เกิน ๑๐ นาที