SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
เพื่อให้การศึกษาเกี่ยวกับการย้อมสีธรรมชาติของชุมชนที่อาศัยอยู่ในแถบป่ายาวหรือปรีย์ทม
ตาบลสาโรง และตาบลตาอ็อง อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นไปอย่างรอบด้านและลึกซึ้ง
จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกล่าวถึงขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ ทั้งนี้เพราะความรู้และข้อมูลดังกล่าว
จะช่วยให้การศึกษาวิเคราะห์ เกี่ยวกับการขั้นตอนย้อมสีธรรมชาติมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยจะได้
กล่าวถึงการย้อมสีธรรมชาติ ภูมิปัญญาการย้อมสีธรรมชาติและขั้นตอนผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
ในชุมชนปรีย์ทม ดังนี้
การย้อมสีธรรมชาติ
การย้อมสีธรรมชาติ คือการนาเอาวัตถุดิบในธรรมชาติที่ได้จากพืช สัตว์ จุลินทรีย์ และ
แร่ธาตุต่าง ๆ มาย้อมกับเส้นไหม เพื่อนามาทอเป็นผ้า เพื่อเพิ่มสีสันและความสวยงามบนผืนผ้า
อันเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษสู่คนรุ่นหลัง โดยการนาวัสดุจากธรรมชาติที่ให้สีมาทา
การย้อมสีธรรมชาติย้อมผ้า และแต่งสีอาหาร สีธรรมชาติมีส่วนที่ดีไม่ฉูดฉาด สีอ่อนเย็นตากว่าสี
สังเคราะห์ ปัจจุบันมีการตื่นตัวเกี่ยวกับการใช้สีธรรมชาติมากขึ้น เพราะสีสัง เคราะห์เพียงบางตัว
เท่านั้นที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อม ตรงข้ามกับสีธรรมชาติที่น้อยชนิดจะเป็นพิษ
ส่วนใหญ่จะเป็นสีที่ปลอดภัย บางชนิดใช้เป็นอาหารและยาได้ด้วย
ภูมิปัญญาการย้อมสีธรรมชาติ
ภูมิปัญญาการย้อมสีธรรมชาติ คือ ความรู้การย้อมสีธรรมชาติ เป็นความรู้พื้นบ้านที่ได้รับ
การเรียนรู้ ถ่ายทอดสืบต่อจากคนรุ่นหนึ่งมาสู่อีกรุ่นหนึ่ง ควบคู่กับกรรมวิธีการทอผ้าพื้นบ้านมานาน
และดูเหมือนว่าการย้อมสีธรรมชาติ เป็นกระบวนการที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่สีธรรมชาติเป็นความ
ภาคภูมิอย่างหนึ่งของคนทา เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่ยังคงร่วมสมัยอยู่เสมอ
กรรมวิธีการย้อม
การย้อมสีธรรมชาติ มีกรรมวิธีที่นิยมทากันอยู่ 2 แบบคือ การย้อมร้อน และการย้อมเย็น
โดยกรรมวิธีการย้อมร้อนคือ การใช้ความร้อนที่เกิดจากการต้มในการสกัดสีจากวัตถุดิบธรรมชาติ
ในขั้นตอนการย้อม ส่วนกรรมวิธีการย้อมเย็น คือ การนาเอาวัตถุดิบธรรมชาติที่ให้สีนั้นมาสกัดสี
โดยวิธีการหมัก และใช้แสงแดดป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการย้อมให้ติดสี เช่น การย้อมด้วยคราม
ฮ่อม และมะเกลือ เป็นต้น (ปิยาภรณ์ เพชรสูงเนิน. 2539 : 1 - 2)
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
การเตรียมเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่นไม้ ผลหรือเมล็ด
ในการเตรียมเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่นไม้ ผลหรือเมล็ด เพื่อใช้ในการย้อมสี ต้องมี
จิตสานึกในการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนจะทาให้ต้นไม้ที่ให้สีไม่ถูกทาลาย โดยเน้นความประหยัด
และมีแนวทางยั่งยืนในการใช้ประหยัดวัตถุดิบในการย้อมสีธรรมชาติ ดังนี้
1. เปลือกไม้ ตัดเปลือกชิ้นเดียว แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ให้มากที่สุด สีจะออกมา
มากกว่าเปลือกอันใหญ่ ไม่จาเป็นต้องตัดต้นไม้ด้วย
2. ใบไม้ ควรใช้ใบไม้ไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป และต้นไม้ควรมีอายุ 5 ปีข้ึนไป
หั่นซอยเป็นชิ้นเล็ก ๆ สีจะออกมาก
3. ดอกไม้ ไม่แนะนาให้ใช้เพราะต้องใช้ปริมาณมาก และการใช้ดอกไม้จะทาให้ต้นไม้
ไม่สามารถขยายพันธุ์ได้
4. รากไม้ รากไม้เป็นแหล่งดูดอาหาร เพราะต้องตัดต้นไม้ทั้งต้น บางคนอยากได้สีขนุน
ต้องตัดต้นขนุนทิ้งทั้งต้น รออีก 20 ปี กว่าต้นขนุนจะโตขึ้นมาแม้จะได้เงินมากก็ไม่มีประโยชน์
(มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 2546 : 52 - 53)

ภาพที่ 1 การเตรียมเปลือกไม้ก่อนนาไปย้อมสีธรรมชาติโดยการชั่งน้าหนัก
เพื่อให้ได้ปริมาณและอัตราส่วนที่เหมาะสม
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2551)
ภาพที่ 2 การเตรียมใบไม้ก่อนนาไปย้อมสีธรรมชาติควรเลือกใบไม้ที่ไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 10 เมษายน 2554)

ภาพที่ 3 เปลือกไม้ ตัดเปลือกชิ้นเดียว แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ให้มากที่สุด
สีจะออกมามากกว่าเปลือกอันใหญ่
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552)
การต้มสกัดนาสีจากเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่นไม้ ผลหรือเมล็ด
การต้ม สกั ดน้าสี จากเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่ นไม้ ผลหรื อเมล็ ด เป็นกรรมวิธี
การย้อมร้อน สาหรับการย้อมแบบร้อนใช้อุณหภูมิประมาณ 60 องศาเซลเซียส ในสภาพอุณหภูมิ
ร้อนเช่นนี้โมเลกุลของสีจะซึมเข้าไปในเนื้อผ้าได้ดีที่สุดและมีผลต่อความสดและความคงทนของสี
ด้วย
การสกัดสีจากส่วนต่าง ๆ ของพืชเพื่อทาน้าย้อมสามารถทาได้โดยการนาส่วนดอกหรือราก
ไปแช่น้าและคั้นเอาน้าสี ใบและกิ่งก้านนาไปหมักและคั้นเอาน้าสี ส่วนผลและเมล็ดต้องนาไป
โขลกก่อนนาไปคั้นเอาน้าสี สาหรับเปลือกและแก่นนาไปตัดทอนให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ในปริมาณที่
พอเหมาะกับน้าสะอาด นาส่วนผสมทั้งสองอย่างใส่ลงในหม้ออลูมิเนียมหรือหม้อสแตนเลส นาขึ้น
ตั้งไฟเพื่อสกัดสีออก ตั้งไว้นานประมาณหนึ่งชั่วโมง สีในเปลือกไม้ก็จะออกมาเป็นน้าย้ อม
(ยุพินศรี สายทอง. 2536 : 112)
การนากลับมาใช้ใหม่
เมื่อสกัดน้าสีจากเปลือกไม้จนได้สีที่เข้มแล้ว ตักเปลือกไม้ที่ต้มออกโดยใช้ตะแกรง เปลือก
ไม้ที่สกัดจนสีออกหมดแล้วก็อย่าทิ้งนามาเป็นเชื้อเพลิงได้อีก

ภาพที่ 4 นาเปลือกไม้ที่สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมกับน้าสะอาด ตั้งไฟไว้นาน
ประมาณหนึ่งชั่วโมง
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552)
ภาพที่ 5 สกัดน้าสีจากเปลือกไม้จนได้สีที่เข้มแล้ว ตักเปลือกไม้ที่ต้มออกโดยใช้ตะแกรง
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552)
การเตรียมผ้าและการมัดผ้าเป็นลวดลายแบบต่าง ๆ
ผ้าที่ใช้ในการทาผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติเป็นผ้าประเภทเส้นใยธรรมชาติเท่านั้น จะไม่ใช้
ผ้าที่ทาจากเส้นใยสังเคราะห์ ผ้าที่ทาจากเส้นใยธรรมชาติ หมายถึง เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าลินิน ผ้ามัสลิน
ทามาจากพืช และผ้าไหมทามาจากเส้นใยของไหม ส่วนเส้นใยสังเคราะห์หรือเส้นใยที่มนุษย์ทาขึ้น
นั้น ผ้าเหล่านี้จะย้อมไม่ได้ดี ผ้าที่ผลิตขึ้นจะลงแป้งเพื่อให้ผ้าคงรูป เวลาที่จะนามาย้อมต้องตัดผ้า
เป็นชิ้นตามที่ได้ออกแบบผลิตภัณฑ์ แล้วนามาซักหรือนามาต้มในน้าสบู่อ่อน ๆ เมื่อเนื้อผ้านิ่ม
จะทาให้ย้อมติดดีขึ้น (สมร ประทิพเนตร. 2547 : สัมภาษณ์)

ภาพที่ 6 ผ้าที่จะใช้ทาผ้ามัดย้อมต้องตัดเป็นชิ้น และต้องซักน้าหรือนาไปต้มเอาแป้งออกให้หมด
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 10 เมษายน 2552)
ภาพที่ 7 นาผ้าที่ซักหรือต้มเพื่อเอาแป้งออกแล้วไปตากแดดให้แห้ง
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 10 เมษายน 2552)

ภาพที่ 8 การผูกและมัดผ้าเป็นลวดลายต่าง ๆ วัสดุที่นามามัดควรมีขนาดกว้าง
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552)
กรรมวิธีการย้อมแบบร้อน
กรรมวิธีการย้อมแบบร้อนคือ การใช้ความร้อนที่เกิดจากการต้มในการสกัดสีจากวัตถุดิบ
ธรรมชาติ โดยการนาน้าสีที่สกัดขึ้นตั้งไฟ เมื่ออุณหภูมิในหม้อย้อมได้ 70 องศาเซลเซียส ให้นา
ผ้าลงย้อม ขณะย้อมหมุนกลับผ้าทุก ๆ 10 นาที อุณหภูมิในการย้อมไม่ควรเกิน 95 องศาเซลเซียส

ภาพที่ 9 นาผ้าที่ผูกและมัดแล้วไปต้มในน้าสีเปลือกไม้ ควรกลับผ้าทุก ๆ 10 นาที
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552)
สารกระตุ้นในการย้อมสีธรรมชาติ
ในการย้อมสีธรรมชาติสามารถทาให้เกิดระดับสีต่างกันด้วยการใช้สารกระตุ้นช่วยให้สีติด
ต่างชนิดกัน ตัวช่วยติดสีที่ได้จากธรรมชาติที่เป็นด่าง เช่น ปูนขาวและปูนแดง ที่ใช้กินกับหมาก
โคลนที่อยู่ในแหล่งน้าธรรมชาติ น้าสนิม ซึ่งนางศรีจันทร์ อุไร ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้สาร
ช่วยติดต่างชนิดกัน ดังเช่น การใช้ใบหูกวางกับน้าสนิม จะได้เป็นสีเขียวอ่อน ถ้าต้องการย้อม
เป็นสีเขียวอมเหลืองต้องใช้ใบหูกวางกับปูนขาว และถ้าใช้เปลือกประดู่กับโคลน จะได้สีน้าตาล
เข้ม แต่ถ้าใช้เปลือกประดู่กับปูนแดง จะได้เป็นสีน้าตาลแดง (ศรีจันทร์ อุไร. 2549 : สัมภาษณ์)
ภาพที่ 10 ผ้าย้อมสีเปลือกไม้หมักโคลน
ภาพที่ 11 ผ้าย้อมสีเปลือกไม้หมักปูนแดง
การใช้สารกระตุ้นช่วยให้สีติดผ้า นาผ้ามัดย้อมที่ย้อมกับน้าสีเปลือกไม้หรือใบไม้แล้ว
นามาหมักกับโคลน ปูนแดง หรือปูนขาวโดยหมักแยกกันเป็นชนิดไม่ให้ปนกัน ใช้เวลาในการ
หมักนานประมาณ 10 - 20 นาที

ภาพที่ 12 ผ้าย้อมสีเปลือกไม้หมักปูนขาว

ภาพที่ 13 นาผ้ามัดย้อมที่หมักกับโคลน
หรือปูนขาวไปต้มในน้าสีเปลือกไม้ 30 นาที
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552)
การทาความสะอาดผ้าและการแกะวัสดุที่มัดผ้าหลังการย้อมสีธรรมชาติ
การทาความสะอาดผ้าหลังการย้อมสีธรรมชาติ เมื่อยกผ้าลงแล้วควรพักผ้าไว้ให้เย็นก่อน
จึงล้างด้วยน้าสะอาดประมาณ 2 - 3 ครัง ในกระบวนการย้อมสีต้องใช้น้าในปริมาณมาก แต่วิธีการ
้
ประหยัดน้า สามารถทาได้โดยเตรียมอ่างล้างเรียงเป็น 5 - 6 อ่าง แล้วล้างน้าที่หนึ่ง สอง เรียง
ตามลาดับไป ไม่ต้องกลัวว่าสีธรรมชาติจะติดผ้าชิ้นอื่น จึงทาให้ประหยัดน้าได้มากในการแกะวัสดุ
ที่ผูกและมัดผ้าไว้ ไม่ควรใช้มีดหรือกรรไกรตัด เพราะจะทาให้มีดหรือกรรไกรตัดถูกเนื้อผ้าทาให้
ขาดได้ หรือจะใช้มีดตัดเล็บตัดวัสดุที่มัดหรือผูกผ้าก็ได้
ภาพที่ 14 ยกผ้าลงจากหม้อต้มสีเปลือกไม้พักไว้

ภาพที่ 16 แกะวัสดุที่ผูกและมัดผ้าออก

ภาพที่ 15 ล้างผ้าในน้าสะอาด 2 - 3 ครั้ง

ภาพที่ 17 นาผ้ามัดย้อมไปตากไว้ในร่ม
ให้แห้ง ไม่ควรนาผ้ามัดย้อมไปตากแดด
เพราะจะทาให้สีซีดและจางเร็ว
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552)
ตัวอย่างผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติที่ย้อมจากเปลือกไม้ ใบไม้ ราก แก่น ผลหรือเมล็ด ของพืช

ภาพที่ 18 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือก
สีเสียดแก่น หมักโคลน

ภาพที่ 20
ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกลิ้นฟ้าหมักปูนแดง

ภาพที่ 19 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือก
สีเสียดแก่นหมักปูนแดง

ภาพที่ 21
ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกลิ้นฟ้าหมักปูนขาว

ภาพที่ 22
ภาพที่ 23
ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกมะพร้าวหมักโคลน ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกยอป่าหมักโคลน
ภาพที่ 24
ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกจะบกหมักโคลน

ภาพที่ 25
ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกยูคาลิปตัสหมักโคลน

ภาพที่ 26
ภาพที่ 27
ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกนางดาหมักปูนแดง ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกนางดาหมักโคลน

ภาพที่ 28
ภาพที่ 29
ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกตะคร้อหมักโคลน ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกมะยมหมักโคลน
ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552)
เอกสารอ้างอิง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. (2546). รายงานการศึกษาเบื้องต้น โครงการวิจัยกลุ่มผลิตภัณฑ์
ผ้าทอมือในโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
ถ่ายเอกสาร.
ปิยาภรณ์ เพชรสูงเนิน. (2549). ภูมิปัญญาการย้อมสี ธรรมชาติ โครงการส่ งเสริมและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ มาตรฐานการย้อมสี ธรรมชาติ. สุรินทร์ : ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ.
ยุพินศรี สายทอง. (2532). การออกแบบลวดลายผ้าปาเต๊ะและมัดย้อม. กรุงเทพฯ : ดีดีบุ๊คสโตร์.
ศรีจันทร์ อุไร. (2549, 12 มกราคม). สัมภาษณ์โดย พนิดา ยิ่งกล้า ที่บ้านเลขที่ 86 หมู่ที่ 5
ตาบลตาอ็อง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์.
สมร ประทิพเนตร. (2547, 10 มกราคม). สัมภาษณ์โดย พนิดา ยิ่งกล้า ที่บ้านเลขที่ 46 หมู่ที่ 5
ตาบลตาอ็อง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์.

Contenu connexe

Tendances

แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
Kittiphat Chitsawang
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow14
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
Nookik
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
Duangsuwun Lasadang
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
Kansinee Kosirojhiran
 

Tendances (20)

แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 

Plus de panida428

บัตรภาพ
บัตรภาพ บัตรภาพ
บัตรภาพ
panida428
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
panida428
 

Plus de panida428 (17)

รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ  รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ
 
บัตรภาพ
บัตรภาพ บัตรภาพ
บัตรภาพ
 
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
 
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน
แผ่นพับนำเสนอโครงงานแผ่นพับนำเสนอโครงงาน
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
 
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquariumภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
 
สิงโตกับหมูป่า
สิงโตกับหมูป่าสิงโตกับหมูป่า
สิงโตกับหมูป่า
 
ฝูงนกกับแรดใจร้าย
ฝูงนกกับแรดใจร้ายฝูงนกกับแรดใจร้าย
ฝูงนกกับแรดใจร้าย
 
กบกับวัว
กบกับวัวกบกับวัว
กบกับวัว
 
บัตรภาพผลไม้
บัตรภาพผลไม้บัตรภาพผลไม้
บัตรภาพผลไม้
 
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
 
บทคัดย่อประเมินโครงการ
บทคัดย่อประเมินโครงการบทคัดย่อประเมินโครงการ
บทคัดย่อประเมินโครงการ
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
 
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
 

ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ เพื่อให้การศึกษาเกี่ยวกับการย้อมสีธรรมชาติของชุมชนที่อาศัยอยู่ในแถบป่ายาวหรือปรีย์ทม ตาบลสาโรง และตาบลตาอ็อง อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นไปอย่างรอบด้านและลึกซึ้ง จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกล่าวถึงขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ ทั้งนี้เพราะความรู้และข้อมูลดังกล่าว จะช่วยให้การศึกษาวิเคราะห์ เกี่ยวกับการขั้นตอนย้อมสีธรรมชาติมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยจะได้ กล่าวถึงการย้อมสีธรรมชาติ ภูมิปัญญาการย้อมสีธรรมชาติและขั้นตอนผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ ในชุมชนปรีย์ทม ดังนี้ การย้อมสีธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติ คือการนาเอาวัตถุดิบในธรรมชาติที่ได้จากพืช สัตว์ จุลินทรีย์ และ แร่ธาตุต่าง ๆ มาย้อมกับเส้นไหม เพื่อนามาทอเป็นผ้า เพื่อเพิ่มสีสันและความสวยงามบนผืนผ้า อันเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษสู่คนรุ่นหลัง โดยการนาวัสดุจากธรรมชาติที่ให้สีมาทา การย้อมสีธรรมชาติย้อมผ้า และแต่งสีอาหาร สีธรรมชาติมีส่วนที่ดีไม่ฉูดฉาด สีอ่อนเย็นตากว่าสี สังเคราะห์ ปัจจุบันมีการตื่นตัวเกี่ยวกับการใช้สีธรรมชาติมากขึ้น เพราะสีสัง เคราะห์เพียงบางตัว เท่านั้นที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อม ตรงข้ามกับสีธรรมชาติที่น้อยชนิดจะเป็นพิษ ส่วนใหญ่จะเป็นสีที่ปลอดภัย บางชนิดใช้เป็นอาหารและยาได้ด้วย ภูมิปัญญาการย้อมสีธรรมชาติ ภูมิปัญญาการย้อมสีธรรมชาติ คือ ความรู้การย้อมสีธรรมชาติ เป็นความรู้พื้นบ้านที่ได้รับ การเรียนรู้ ถ่ายทอดสืบต่อจากคนรุ่นหนึ่งมาสู่อีกรุ่นหนึ่ง ควบคู่กับกรรมวิธีการทอผ้าพื้นบ้านมานาน และดูเหมือนว่าการย้อมสีธรรมชาติ เป็นกระบวนการที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่สีธรรมชาติเป็นความ ภาคภูมิอย่างหนึ่งของคนทา เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่ยังคงร่วมสมัยอยู่เสมอ กรรมวิธีการย้อม การย้อมสีธรรมชาติ มีกรรมวิธีที่นิยมทากันอยู่ 2 แบบคือ การย้อมร้อน และการย้อมเย็น โดยกรรมวิธีการย้อมร้อนคือ การใช้ความร้อนที่เกิดจากการต้มในการสกัดสีจากวัตถุดิบธรรมชาติ ในขั้นตอนการย้อม ส่วนกรรมวิธีการย้อมเย็น คือ การนาเอาวัตถุดิบธรรมชาติที่ให้สีนั้นมาสกัดสี โดยวิธีการหมัก และใช้แสงแดดป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการย้อมให้ติดสี เช่น การย้อมด้วยคราม ฮ่อม และมะเกลือ เป็นต้น (ปิยาภรณ์ เพชรสูงเนิน. 2539 : 1 - 2)
  • 2. ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ การเตรียมเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่นไม้ ผลหรือเมล็ด ในการเตรียมเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่นไม้ ผลหรือเมล็ด เพื่อใช้ในการย้อมสี ต้องมี จิตสานึกในการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนจะทาให้ต้นไม้ที่ให้สีไม่ถูกทาลาย โดยเน้นความประหยัด และมีแนวทางยั่งยืนในการใช้ประหยัดวัตถุดิบในการย้อมสีธรรมชาติ ดังนี้ 1. เปลือกไม้ ตัดเปลือกชิ้นเดียว แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ให้มากที่สุด สีจะออกมา มากกว่าเปลือกอันใหญ่ ไม่จาเป็นต้องตัดต้นไม้ด้วย 2. ใบไม้ ควรใช้ใบไม้ไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป และต้นไม้ควรมีอายุ 5 ปีข้ึนไป หั่นซอยเป็นชิ้นเล็ก ๆ สีจะออกมาก 3. ดอกไม้ ไม่แนะนาให้ใช้เพราะต้องใช้ปริมาณมาก และการใช้ดอกไม้จะทาให้ต้นไม้ ไม่สามารถขยายพันธุ์ได้ 4. รากไม้ รากไม้เป็นแหล่งดูดอาหาร เพราะต้องตัดต้นไม้ทั้งต้น บางคนอยากได้สีขนุน ต้องตัดต้นขนุนทิ้งทั้งต้น รออีก 20 ปี กว่าต้นขนุนจะโตขึ้นมาแม้จะได้เงินมากก็ไม่มีประโยชน์ (มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 2546 : 52 - 53) ภาพที่ 1 การเตรียมเปลือกไม้ก่อนนาไปย้อมสีธรรมชาติโดยการชั่งน้าหนัก เพื่อให้ได้ปริมาณและอัตราส่วนที่เหมาะสม ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2551)
  • 3. ภาพที่ 2 การเตรียมใบไม้ก่อนนาไปย้อมสีธรรมชาติควรเลือกใบไม้ที่ไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 10 เมษายน 2554) ภาพที่ 3 เปลือกไม้ ตัดเปลือกชิ้นเดียว แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ให้มากที่สุด สีจะออกมามากกว่าเปลือกอันใหญ่ ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552)
  • 4. การต้มสกัดนาสีจากเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่นไม้ ผลหรือเมล็ด การต้ม สกั ดน้าสี จากเปลือกไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่ นไม้ ผลหรื อเมล็ ด เป็นกรรมวิธี การย้อมร้อน สาหรับการย้อมแบบร้อนใช้อุณหภูมิประมาณ 60 องศาเซลเซียส ในสภาพอุณหภูมิ ร้อนเช่นนี้โมเลกุลของสีจะซึมเข้าไปในเนื้อผ้าได้ดีที่สุดและมีผลต่อความสดและความคงทนของสี ด้วย การสกัดสีจากส่วนต่าง ๆ ของพืชเพื่อทาน้าย้อมสามารถทาได้โดยการนาส่วนดอกหรือราก ไปแช่น้าและคั้นเอาน้าสี ใบและกิ่งก้านนาไปหมักและคั้นเอาน้าสี ส่วนผลและเมล็ดต้องนาไป โขลกก่อนนาไปคั้นเอาน้าสี สาหรับเปลือกและแก่นนาไปตัดทอนให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ในปริมาณที่ พอเหมาะกับน้าสะอาด นาส่วนผสมทั้งสองอย่างใส่ลงในหม้ออลูมิเนียมหรือหม้อสแตนเลส นาขึ้น ตั้งไฟเพื่อสกัดสีออก ตั้งไว้นานประมาณหนึ่งชั่วโมง สีในเปลือกไม้ก็จะออกมาเป็นน้าย้ อม (ยุพินศรี สายทอง. 2536 : 112) การนากลับมาใช้ใหม่ เมื่อสกัดน้าสีจากเปลือกไม้จนได้สีที่เข้มแล้ว ตักเปลือกไม้ที่ต้มออกโดยใช้ตะแกรง เปลือก ไม้ที่สกัดจนสีออกหมดแล้วก็อย่าทิ้งนามาเป็นเชื้อเพลิงได้อีก ภาพที่ 4 นาเปลือกไม้ที่สับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมกับน้าสะอาด ตั้งไฟไว้นาน ประมาณหนึ่งชั่วโมง ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552)
  • 5. ภาพที่ 5 สกัดน้าสีจากเปลือกไม้จนได้สีที่เข้มแล้ว ตักเปลือกไม้ที่ต้มออกโดยใช้ตะแกรง ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552) การเตรียมผ้าและการมัดผ้าเป็นลวดลายแบบต่าง ๆ ผ้าที่ใช้ในการทาผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติเป็นผ้าประเภทเส้นใยธรรมชาติเท่านั้น จะไม่ใช้ ผ้าที่ทาจากเส้นใยสังเคราะห์ ผ้าที่ทาจากเส้นใยธรรมชาติ หมายถึง เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าลินิน ผ้ามัสลิน ทามาจากพืช และผ้าไหมทามาจากเส้นใยของไหม ส่วนเส้นใยสังเคราะห์หรือเส้นใยที่มนุษย์ทาขึ้น นั้น ผ้าเหล่านี้จะย้อมไม่ได้ดี ผ้าที่ผลิตขึ้นจะลงแป้งเพื่อให้ผ้าคงรูป เวลาที่จะนามาย้อมต้องตัดผ้า เป็นชิ้นตามที่ได้ออกแบบผลิตภัณฑ์ แล้วนามาซักหรือนามาต้มในน้าสบู่อ่อน ๆ เมื่อเนื้อผ้านิ่ม จะทาให้ย้อมติดดีขึ้น (สมร ประทิพเนตร. 2547 : สัมภาษณ์) ภาพที่ 6 ผ้าที่จะใช้ทาผ้ามัดย้อมต้องตัดเป็นชิ้น และต้องซักน้าหรือนาไปต้มเอาแป้งออกให้หมด ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 10 เมษายน 2552)
  • 6. ภาพที่ 7 นาผ้าที่ซักหรือต้มเพื่อเอาแป้งออกแล้วไปตากแดดให้แห้ง ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 10 เมษายน 2552) ภาพที่ 8 การผูกและมัดผ้าเป็นลวดลายต่าง ๆ วัสดุที่นามามัดควรมีขนาดกว้าง ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552)
  • 7. กรรมวิธีการย้อมแบบร้อน กรรมวิธีการย้อมแบบร้อนคือ การใช้ความร้อนที่เกิดจากการต้มในการสกัดสีจากวัตถุดิบ ธรรมชาติ โดยการนาน้าสีที่สกัดขึ้นตั้งไฟ เมื่ออุณหภูมิในหม้อย้อมได้ 70 องศาเซลเซียส ให้นา ผ้าลงย้อม ขณะย้อมหมุนกลับผ้าทุก ๆ 10 นาที อุณหภูมิในการย้อมไม่ควรเกิน 95 องศาเซลเซียส ภาพที่ 9 นาผ้าที่ผูกและมัดแล้วไปต้มในน้าสีเปลือกไม้ ควรกลับผ้าทุก ๆ 10 นาที ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552) สารกระตุ้นในการย้อมสีธรรมชาติ ในการย้อมสีธรรมชาติสามารถทาให้เกิดระดับสีต่างกันด้วยการใช้สารกระตุ้นช่วยให้สีติด ต่างชนิดกัน ตัวช่วยติดสีที่ได้จากธรรมชาติที่เป็นด่าง เช่น ปูนขาวและปูนแดง ที่ใช้กินกับหมาก โคลนที่อยู่ในแหล่งน้าธรรมชาติ น้าสนิม ซึ่งนางศรีจันทร์ อุไร ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้สาร ช่วยติดต่างชนิดกัน ดังเช่น การใช้ใบหูกวางกับน้าสนิม จะได้เป็นสีเขียวอ่อน ถ้าต้องการย้อม เป็นสีเขียวอมเหลืองต้องใช้ใบหูกวางกับปูนขาว และถ้าใช้เปลือกประดู่กับโคลน จะได้สีน้าตาล เข้ม แต่ถ้าใช้เปลือกประดู่กับปูนแดง จะได้เป็นสีน้าตาลแดง (ศรีจันทร์ อุไร. 2549 : สัมภาษณ์)
  • 8. ภาพที่ 10 ผ้าย้อมสีเปลือกไม้หมักโคลน ภาพที่ 11 ผ้าย้อมสีเปลือกไม้หมักปูนแดง การใช้สารกระตุ้นช่วยให้สีติดผ้า นาผ้ามัดย้อมที่ย้อมกับน้าสีเปลือกไม้หรือใบไม้แล้ว นามาหมักกับโคลน ปูนแดง หรือปูนขาวโดยหมักแยกกันเป็นชนิดไม่ให้ปนกัน ใช้เวลาในการ หมักนานประมาณ 10 - 20 นาที ภาพที่ 12 ผ้าย้อมสีเปลือกไม้หมักปูนขาว ภาพที่ 13 นาผ้ามัดย้อมที่หมักกับโคลน หรือปูนขาวไปต้มในน้าสีเปลือกไม้ 30 นาที ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552) การทาความสะอาดผ้าและการแกะวัสดุที่มัดผ้าหลังการย้อมสีธรรมชาติ การทาความสะอาดผ้าหลังการย้อมสีธรรมชาติ เมื่อยกผ้าลงแล้วควรพักผ้าไว้ให้เย็นก่อน จึงล้างด้วยน้าสะอาดประมาณ 2 - 3 ครัง ในกระบวนการย้อมสีต้องใช้น้าในปริมาณมาก แต่วิธีการ ้ ประหยัดน้า สามารถทาได้โดยเตรียมอ่างล้างเรียงเป็น 5 - 6 อ่าง แล้วล้างน้าที่หนึ่ง สอง เรียง ตามลาดับไป ไม่ต้องกลัวว่าสีธรรมชาติจะติดผ้าชิ้นอื่น จึงทาให้ประหยัดน้าได้มากในการแกะวัสดุ ที่ผูกและมัดผ้าไว้ ไม่ควรใช้มีดหรือกรรไกรตัด เพราะจะทาให้มีดหรือกรรไกรตัดถูกเนื้อผ้าทาให้ ขาดได้ หรือจะใช้มีดตัดเล็บตัดวัสดุที่มัดหรือผูกผ้าก็ได้
  • 9. ภาพที่ 14 ยกผ้าลงจากหม้อต้มสีเปลือกไม้พักไว้ ภาพที่ 16 แกะวัสดุที่ผูกและมัดผ้าออก ภาพที่ 15 ล้างผ้าในน้าสะอาด 2 - 3 ครั้ง ภาพที่ 17 นาผ้ามัดย้อมไปตากไว้ในร่ม ให้แห้ง ไม่ควรนาผ้ามัดย้อมไปตากแดด เพราะจะทาให้สีซีดและจางเร็ว ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 12 เมษายน 2552)
  • 10. ตัวอย่างผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติที่ย้อมจากเปลือกไม้ ใบไม้ ราก แก่น ผลหรือเมล็ด ของพืช ภาพที่ 18 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือก สีเสียดแก่น หมักโคลน ภาพที่ 20 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกลิ้นฟ้าหมักปูนแดง ภาพที่ 19 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือก สีเสียดแก่นหมักปูนแดง ภาพที่ 21 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกลิ้นฟ้าหมักปูนขาว ภาพที่ 22 ภาพที่ 23 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกมะพร้าวหมักโคลน ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกยอป่าหมักโคลน
  • 11. ภาพที่ 24 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกจะบกหมักโคลน ภาพที่ 25 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกยูคาลิปตัสหมักโคลน ภาพที่ 26 ภาพที่ 27 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกนางดาหมักปูนแดง ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกนางดาหมักโคลน ภาพที่ 28 ภาพที่ 29 ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกตะคร้อหมักโคลน ผ้ามัดย้อมที่ย้อมด้วยเปลือกมะยมหมักโคลน ที่มา : พนิดา ยิ่งกล้า (ถ่ายภาพ, 24 กรกฎาคม 2552)
  • 12. เอกสารอ้างอิง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. (2546). รายงานการศึกษาเบื้องต้น โครงการวิจัยกลุ่มผลิตภัณฑ์ ผ้าทอมือในโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ถ่ายเอกสาร. ปิยาภรณ์ เพชรสูงเนิน. (2549). ภูมิปัญญาการย้อมสี ธรรมชาติ โครงการส่ งเสริมและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ มาตรฐานการย้อมสี ธรรมชาติ. สุรินทร์ : ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ. ยุพินศรี สายทอง. (2532). การออกแบบลวดลายผ้าปาเต๊ะและมัดย้อม. กรุงเทพฯ : ดีดีบุ๊คสโตร์. ศรีจันทร์ อุไร. (2549, 12 มกราคม). สัมภาษณ์โดย พนิดา ยิ่งกล้า ที่บ้านเลขที่ 86 หมู่ที่ 5 ตาบลตาอ็อง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. สมร ประทิพเนตร. (2547, 10 มกราคม). สัมภาษณ์โดย พนิดา ยิ่งกล้า ที่บ้านเลขที่ 46 หมู่ที่ 5 ตาบลตาอ็อง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์.