SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
โครงการหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
จัดทาโดย
1. นางสาวณัฐณิชา จันทร์สนอง เลขที่ 14
2. นางสาวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15
3. นางสาวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16
4. นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที่ 17
5. นางสาวพิมพ์นิภา วิศิฏรัฐพงศ์ เลขที่ 23
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
วิชา IS3 (130903)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3(130903) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา เพื่อประโยชน์ส่วนรวม
ซึ่งรายงานเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้คนพิการทางสายตาโดยอ่านผ่าน AppRead for the
Blind โดยส่งไปยังมูลนิธิคนตาบอดฯ โดยทุกคนสามารถทาได้แค่มีแอพพลิเคชั่นนี้
ทั้ ง นี้ ผู้จัด ท า ห วัง ว่า ร า ย ง า น เ ล่ม นี้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ กับ ผู้อ่า น นั กเ รี ยน
นักศึกษาที่กาลังจะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด
ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
สารบัญ
คานา
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญภาพ
บทที่ 1
หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
1. หลักการและเหตุผล
จากข้อมูลสถิติจาก มูลนิธิคนตาบอดแห่งประเทศไทย มีคนไทยตาบอดกว่า 7 แสนคน
และ จาน วน ซี ดี ห นัง สื อเ สี ย ง ที่เ ปิ ดใ ห้คน ต า บ อ ดฟั ง ต อน นี้ มีเ พี ยง 7,000 แผ่น
พวกเราสามารถช่วยคนตาบอดได้โดยอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟัง ผ่านการสร้างหนังสือเสียง
เ ร า โ ช ค ดี ที่ เ กิ ด ม า อ ยู่ใ น โ ล ก ไ ด้เ ห็ น ไ ด้ยิ น ไ ด้ฟั ง ไ ด้สั มผัส ไ ด้เ รี ย น รู้
และมีความสุุขกับทุกๆสิ่งในโลกที่เรามองเห็น แต่สาหรับคนอีกกลุ่ม ที่ไม่มีโอกาสเหมือนเรา
อย่างคนตาบอดที่มองเห็นแค่สีดาสนิท อยู่ในโลกมืด เค้าต้องเรียนรู้ผ่านทางเสียง กลิ่น และการสัมผัส ต่างๆ
เราในฐานะคนธรรมดาๆคนห นึ่ ง ที่ได้เห็ น สิ่ง ต่างๆมากกว่า จะมีส่วนช่วยให้ค ว า ม รู้
สร้างความบันเทิงให้กับคนตาบอดได้ โดยช่วยกันอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟัง
กลุ่มข้าพเจ้าจึงเข้าร่วมโครงการ โดยผ่าน AppRead for the Blind อ่านหนังสือให้คนตาบอด
ซึ่งในอดีตกว่าจะได้หนังสือเสียง ต้องเดินทางไป มูลนิธิคนตาบอดฯ และข้อจากัดเกี่ยวกับห้องบันทึกเสียง
และการใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ในการสร้างหนังสือเสียงด้วย
2. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ค ว า มพ อ ป ร ะ มา ณ ไ ม่ต้อ ง เ สี ย ง ค่า ใ ช้จ่าย ใ น ก าร เ ดิ น ท า ง แ ล ะ ซื้ อ อุ ปกรณ์
เพราะสามารถนาสื่อเทคโนโลยีมาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่สังคัม
2. ความมีเหตุมีผล ทาให้เรามีจิตสาธารณะ รู้จักการเอื้อเฟื้องเผื่อแผ่การเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
3. การมีภูมิคุ้มกัน ที่ดีใ น ตัว มีการวาง แผน เ สริ มสร้าง นิ สัยรักการอ่าน ใ ห้แก่ตน เ อง
และได้แบ่งปันความรู้ให้แก่น้องๆที่ไม่มีโอกาส
เงื่อนไข
1. เงื่อนไขความรู้ พัฒนาการอ่านของตัวเองและสามารถช่วยให้คนอื่นได้รับสิ่งใหม่ๆ
2. เ งื่ อน ไขคุณธรรม ปลูกจิตใ ต้สานึ กใ นการรักการอ่านและการดูแลเอาใจใส่ผู้อื่น
เห็นถึงความเป็นเพื่อนมนุษย์
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อช่วยทาหนังสือเสียงให้แก่คนตาบอด จานวน 5เล่ม
2. เพื่อเปิดโอกาสให้คนตาบอดได้รับสิ่งใหม่ๆ
4. สถานที่ดาเนินการ
ที่บ้านและโรงเรียน
5. วิธีการดาเนินงาน
1. ติดตั้ง App Read for Blind โดย App ตัวนี้จะรองรับระบบ Android Version 2.2 เป็นต้นไป
2. เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครั้งแรกที่เราเข้า App ตัวนี้ เราก็จะพบกับหน้าจะมีการแนะนาการใช้งาน
ซึ่ ง เ พื่อน ๆ จะ ต้อง ทาการ Login เ ข้าระ บบของ Read for Blind ด้วยใ ช้ Facebook Login
ก่อนจึงจะสามารถเข้าไปใช้งานได้
3. เ ลือกห นัง สื อ ที่เ ร า ต้อง กา ร อ่าน ใ ห้ คน ตา บ อ ด จ าน วน 1 เ ล่มแล้ว บัน ทึ ก เ สี ย ง
[นอกจากการอัดเสียงหนังสือต่อจากคนอื่นแล้ว เราก็สามารถเพิ่มหนังสือ (หรือบทความที่น่าสนใจ)
เล่มอื่นๆ ที่เราต้องการได้เช่นกัน ด้วยการกดที่เครื่องหมาย + ในส่วนของเมนู โดยตัว App
จะให้เรากรอกข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือเล่มนั้น พร้อมกับให้เราใช้กล้องบนสมาร์ทโฟนหรือแท๊บเล็ต
ทาการถ่ายภาพ “หน้าปก” หนังสือเล่มนั้นเข้ามาเก็บเอาไว้ในระบบด้วย]
4. กดส่งไปทางแอพ โดยทางแอพจะกระจายข้อมูลของเราให้แก่คนตาบอดได้ฟัง
หมายเหตุ : การอ่านหนังสื อใ น App นี้ จาเป็ นต้อง อ่านใ ห้จบเ ป็ น บทๆ หรือเป็ น เ ล่ม
จึงสามารถอ่านเล่มอื่นได้ต่อ
6. ระยะเวลาดาเนินงาน
เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2558
7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ
ไม่มีค่าใช่จ่ายใดๆ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ภ า ว ะ ต า บ อ ด เ ห ตุ จ า ก ส ม อ ง
คือภ าวะ ที่มีรอยโรคของ สมอง เ กิดตรง บริ เ วณส่วน ที่ทาห น้าที่เ กี่ยวกับการมองเห็น
แ ล ะ / ห รื อ เ กิด อ ยู่ใ น เ ส้ น ท า ง ใ น ว ง จ ร ก า ร มอ ง เ ห็ น ข อ ง ส มอ ง ( Visual path way)
ซึ่งเมื่อมีรอยโรคในสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับวงจรการมองเห็นดังกล่าว ก็จะส่งผลทาให้ผู้
ป่วยมีความผิดปกติด้านการมองเห็น โดยไม่ได้มีความผิดปกติใดๆที่เกิดกับตา
ห นั ง สื อ เ สี ย ง คื อ
สื่อที่บันทึกจากหนังสือแบบเรียนหรือสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆที่นามาอ่านและบันทึกเสียงในรูปแบบต่างๆ
เพื่อให้ผู้พิการทางสายตาหรือผู้ที่บกพร่องด้านการอ่านและผู้ต้องการรับรู้เนื้อหาของหนังสือผ่านทางการฟัง
ได้มีโอกาสรับรู้ข่าวสารข้อมูลจากสื่ อสิ่ ง พิมพ์เ พิ่มขึ้ น ห นัง สื อเ สี ยง ที่คน ทั่วไปรู้จัก
มักผลิตออกมาในรู ปแบบเ ทปคาสเซ็ทหรื อแผ่น ซีดี หรือในรูปแบบ MP3 แต่ในปัจจุบัน
ได้มีการทดลองผลิตหนังสือเสียงรูปแบบใหม่สาหรับคนตาบอด เรียกว่า หนังสือเสียงระบบเดซี (DAISY-
Digital Accessible Information System) ซึ่งมีคุณลักษณะเหมือนหนังสือ แต่อยู่ในรูปแบบของแผ่นซีดี
ผู้ฟังสามารถเปิ ดฟังหน้าใดส่วนใดก็ได้ตามที่ต้องการเหมือนอ่านหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ปกติ
ห นั ง สื อ เ สี ย ง ใ น ร ะ บ บ นี้ จ ะ ส า ม า ร ถ ใ ส่ ด ร ร ช นี ไ ว้ใ น เ นื้ อ ห า ส่ ว น ต่า ง ๆ
ไ ด้ ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น
ซึ่งจะทาให้ผู้ฟังสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นชนิดพิเศษค้นหาเนื้อหาส่วนต่างๆ
ได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยา ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาในแต่ละบท หัวข้อใหญ่หัวข้อย่อย ย่อหน้า บรรทัด
หรือแม้แต่ถ้อยคา
ในประเทศไทยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติเป็นห้องสมุดที่มีหนังสือเสียงให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุด
จานวนมากทั้งหนังสือเสียงที่เป็นเทปคาสเซ็ทและที่อยู่ในรูปของแผ่นซีดี ส่วนในต่างประเทศ
ห้ อ ง ส มุ ด รั ฐ ส ภ า อ เ ม ริ กั น แ ล ะ ห้ อ ง ส มุ ด CNIB
ในแคนาดาให้บริการหนังสือเสียงฟรีแก่ผู้ที่บกพร่องด้านการมองเห็น
1. ความหมายของคนพิการ
Hammerman และ Maikowski (1981) ได้สรุปความหมายของ “ความพิการ” ไว้ดังนี้ ว่าหมายถึง
ความเสียเปรียบ (Handicap), ความพิการ (Disability), และความบกพร่อง (Impairment)สามารถอธิบายได้ว่า
บุ ค ค ล ห นึ่ ง อ า จ มี ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง
โดยไม่พิการและพิการโดยไม่เกิดการเสียเปรียบก็ได้หากได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวหรือมีสิ่งอานวย
ค ว า ม ส ะ ด ว ก ท า ง ก า ย ภ า พ
สิ่งเหล่านี้สามารถเยียวยาความบกพร่องที่มีอยู่ได้และจะไม่ส่งผลทาให้บุคคลนั้นเกิดความเสียเปรียบในการ
ด า ร ง ชี วิ ต เ ช่ น
คนตาบอดทางานที่ใช้สายตาไม่ได้แต่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่มีเสียงประกอบได้สามารถเล่นดนตรีเป็นนัก
กีฬาได้เป็นต้น
อง ค์การอน ามัยโ ลก ( WHO) ใ ห้ความห มา ย คว า มพิ กา ร ว่า คน พิ การ ห มาย ถึ ง
เป็นความเสียเปรียบของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่เกิดจากความชารุด หรือความสามารถบกพ ร่อง
เป็นผลทาให้บุคคลนั้นไม่สามารถแสดงบทบาท หรือกระทาอะไรให้เหมาะสมสอดคล้องตามวัย สังคม
วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมได้
ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ พุทธศักราช 2541 ให้ความหมาย คนพิการหรือทุพพ ลภาพ
เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าสมควรที่จะได้รับสิทธิและโอกาสในการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ
ได้รับการปกป้ องคุ้มครองจากการถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
และการเมืองด้วยความเสมอภาค ได้รับข้อมูลข่าวสารสื่อต่างๆ ที่เหมาะสมกับความพิการ
และได้รับการยอมรับในศักดิ์ศรีแห่งความเป็ นมนุษย์ องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ ( ILO)
ได้ให้คาจากัดความจากมุมมองด้านฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพและการจ้างงานคนพิการ ว่าคนพิการ
(Disabled Persons) คือ “บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่มีโอกาสด้านความมั่นคงในชีวิต สถานภาพการจ้างงาน
ห รื อ ค ว า มก้า ว ห น้ า ใ น อ า ชี พ อ ย่า ง เ ห มา ะ ส มถู ก จ า กัด ห รื อ ล ด อ ย่า ง เ ห็ น ได้ชัด
อันเป็นผลจากความบกพร่องร่างกายหรือทางจิตใจ
จากการศึกษาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า “คนพิการ” หมายถึง ความเสียเปรียบ ความพิการ และความบกพร่อง
ซึ่งมีผลทาให้บุคคลที่ไม่สามารถดูแลตนเองได้ทั้งหมดหรือบางส่วน เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น
การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์พฤติกรรมสติปัญญาการเรียนรู้และพิการทางออทิสติก
หรือความบกพร่องอื่นใดไม่ว่าจะเป็นมาแต่กาเนิดหรือไม่ก็ตามและมีความจาเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความ
ช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใดเพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังค มไ
ด้อ ย่า ง บุ ค ค ล ทั่ว ไ ป โ ด ย ไ ด้รั บ สิ ท ธิ โ อ ก า ส ใ น ก า ร พั ฒ น า อ ย่า ง เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ
และได้รับการยอมรับในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2. คนพิการกับการมีงานทา
ด้วยสภาพเศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบันคนพิการตระหนักและให้ความสาคัญกับ “งาน”
ซึ่ ง เ ป็ น สิ่ ง จ า เ ป็ น เ พื่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต อ ยู่ ร อ ด ไ ด้ ใ น สั ง ค ม
ดังนั้นคนพิการเองต้องสร้างหลักประกันให้กับตนเองและครอบครัว โดยการหางานที่มั่น คง
เพื่อให้มีรายได้ประจาเลี้ยงครอบครัว ส่งผลให้คนพิการมีความตระหนัในคุณค่าของตนเอง
เชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพที่ตนมีอยู่ว่าจะสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้จึงกล่าวได้ว่า “งาน”
มีคุณค่าและความสาคัญต่อคนพิการเป็นอย่างมากและยังกล่าวถึงความสาคัญของงากับคนพิการ
(กระทรวงศึกษาธิการ, สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา, 2543) ดังนี้ 1)
ค น พิ ก า ร แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว ต้ อ ง ก า ร มี ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ท า ง า น
คนพิการกับครอบครัวส่วนมากก็เหมือนกับครอบครัวอื่นๆ ที่มีชีวิตอยู่ไม่ได้หากไม่มีรายได้ประจา
2 )
คุณค่าของคนในสังคมอยู่ที่การทางานที่ก่อให้เกิดประโยชน์การทางานนับเป็นคุณค่าอันสูงส่งของคนทุกชา
ติ ทุ ก ภ า ษ า ทุ ก วั ฒ น ธ ร ร ม ดั ง นั้ น
เมื่อคนพิการไม่สามารถทางานได้เขาจะถูกตัดสินว่าเป็นผู้ล้มเหลวในชีวิตที่ไม่อาจเท่าเทียมกับบุคคลอื่นในสั
งคม
3 )
คนพิการมีความต้องการที่มีส่วนร่วมในการใช้ชีวิตอย่างปกติในสังคมสถานที่ทางานนับเป็นแหล่งสร้างควา
ม สั ม พั น ธ์ ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ท า ง สั ง ค ม
ถ้ า ค น พิ ก า ร ข า ด โ อ ก า ส ใ น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ดั ง ก ล่า ว
ก็เท่ากับถูกขัดขวางอย่างรุนแรงในการอยู่ร่วมกับสังคม
4 ) คุ ณ ค่ า ข อ ง ก า ร มี ง า น ท า อ ยู่ บ น พื้ น ฐ า น ค ว า ม จ ริ ง ที่ ว่ า
งานทาให้ชีวิตอยู่ในกฎเกณฑ์และเป็ นรูปร่างเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป การมีชีวิตอยู่ไปวัน ๆ
โดยปราศจากสิ่งท้าทายจากการทางานเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่ายและหงอยเหงา
3.การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ
หากพิจารณาถึง ลักษณะ ของงานที่คน พิการสามารถทาได้ในสถานประ กอ บก าร
ที่ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง บ า ร์ บ า ร่ า เ ม อ ร์ เ ร ย์ ( Barbara Marley)
ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพประจาองค์การแรงงานระหว่างประเทศชาวอเมริกัน
ไ ด้ ใ ห้ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร จ้ า ง ง า น ค น พิ ก า ร ใ น 4
ลักษณะได้แก่การจ้างงานคนพิการในโรงงานอารักษ์การจ้างงานคนพิการในระบบสนับสนุน
การจ้างงานในระบบเปิดและการประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้มี2 ลักษณะ (สุภรธรรม
มงคลสวัสดิ์, 2544:37-38)ได้แก่
1 ) ก า ร จ้ า ง ง า น ค น พิ ก า ร ใ น ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น
ก า ร จ้า ง ง า น ใ น ลัก ษ ณะ นี้ เ ป็ น ก า ร ท าง าน ที่ ค น พิก า ร จ ะ มีผู้ส อ น ง าน ( Job Coach)
ช่ว ย ดู แ ล ห รื อ อ า จ จ ะ เ ป็ น ใ น รู ป ข อ ง ก า ร ท ด ล อ ง ง า น ฝึ ก ง า น ( On the JobTraining)
เ ห ม า ะ ส า ห รั บ ค น พิ ก า ร ที่ มี ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า ห รื อ
การเรียนรู้รวมทั้งคนพิการที่ไม่มีพื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์พี่เลี้ยงจะเป็นผู้ประสานงานระหว่างสถาน
ประกอบการและ คน พิการเพื่อให้การทาง าน ดาเนิ นไปตามวัตถุประ สง ค์ของนา ย จ้าง
ง าน ใ น ลักษณะ นี้ อาจท าใ น รู ป ของ ค ณะ ท าง าน ซึ่ ง อ ยู่ภ า ยใ ต้กา ร ดูแ ลข อง พี่ เ ลี้ ย ง
ซึ่ ง จ ะ น า ค น พิ ก า ร ไ ป ท า ง า น ต่ า ง ๆ
ที่สามารถ ดู แ ลแ ละ ชี้ แ น ะ ไ ด้อ ย่าง ใ ก ล้ชิ ด ข้อ ดี ข อง กา ร จ้าง ง าน ใ น ลัก ษ ณ ะ นี้ คื อ
คนพิการจะเกิดการเรียนรู้และพัฒนางานและสามารถที่จะเข้าสู่การจ้างงานในระบบเปิดได้เนื่องจากสถานกา
รณ์และสภาพแวดล้อมในการทางานเหมือนการทางานในระบบเปิดทุกประการ
2) การจ้างงานระบบเปิ ด จากการศึกษาของวิริ ยะ นามศิริพงศ์พันธ์และคณะ (๒๕๔๖)
กล่าวว่าการจ้าง ง านระบบเ ปิ ดมีลักษณะ ของการคัดเ ลือกคนพิการที่มีความสามารถ
ซึ่งจะได้รับการจ้างงานจากสถานประกอบการทั่วไป แต่ปัญหาสาคัญในการทางานของความพิการคือ
เ จ ต ค ติ ข อ ง น า ย จ้า ง ที่ มีต่อ ค น พิก า ร ซึ่ ง ไ ม่ย อ มรั บ ค ว า มส า มา ร ถ ข อ ง ค น พิการ
จุดมุ่งหมายของการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการก็เพื่อให้คนพิการดารงชีวิตอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่าง
มีศักดิ์ศรีมีบทบาทในสังคมได้เท่าเทียมบุคคลทั่วไปและสามารถประกอบอาชีพมีรายได้ที่มั่นคง
ฉะนั้นจึงต้องรณรง ค์เพื่อให้สัง คมเ ปลี่ยนเ จตคติที่มีต่อคนพิการให้เ ป็ นไปใน ทาง บ วก
แ ล ะ ย อ ม รั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ค น พิ ก า ร
ถือว่าคนพิการเป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคมมีส่วนร่วมและบทบาทเช่นบุคคลทั่วไปอย่างมีศักดิ์ศรีและประ
สิทธิภาพ
4. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในด้านการจ้างงาน
จ า ก ก า ร ที่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ห็ น ค ว า มส า คัญ ข อ ง คุ ณ ภ า พ ชี วิต ค น พิ ก า ร
จึงจัดตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบในการดูแลคุณภาพชีวิตคนพิการมาตั้งแต่พ.ศ. ๒๔๘๓
อี ก ทั้ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ฟื้ น ฟู ส ม ร ร ถ ภ า พ ค น พิ ก า ร พ . ศ . 2 5 3 4
ซึ่ ง ต่อมาจึง มีพ ระ ราช บัญญัติส่ง เ สริ มและ พัฒนาคุณภ าพชีวิตคน พิการพ . ศ. ๒๕๕๐
เ พ ร า ะ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ฟื้ น ฟู ส ม ร ร ถ ภ า พ ค น พิ ก า ร พ . ศ . ๒ ๕ ๓ ๔
ใช้บังคับมาเป็นเวลานานสาระสาคัญและรายละเอียดเกี่ยวกับการสงเคราะห์และการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิก
า ร ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ภ า พ สั ง ค ม ปั จ จุ บั น
สมควรกาหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้มีความเหมาะ
ส ม ยิ่ ง ขึ้ น
และกาหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองคนพิการเพื่อมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เ
ป็ น ธ ร ร ม เ พ ร า ะ เ ห ตุ ส ภ า พ ท า ง ก า ย ห รื อ สุ ข ภ า พ
รวมทั้งให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ
ตลอดจน ใ ห้ รั ฐ ต้อ ง ส ง เ คร าะ ห์ ค น พิ กา รใ ห้ มีคุณภ าพ ชี วิต ที่ ดีแ ละ พึ่ ง ตน เ อ ง ไ ด้
( พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ค น พิ ก า ร , ๒ ๕ ๕ ๐ :
๗๗)และปัจจุบันเป็นพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖
ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมจากกฎหมายที่ว่าด้วยหน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภา
พชีวิตของคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
เ พื่ อ ใ ห้ ค น พิ ก า ร ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด
ดังนั้นในเรื่องของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการจึงมีวิวัฒนาการตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๘๓ – ปัจจุบัน
ซึ่งมีรายละเอียดตามตารางที่ ๔ ดังนี้
แสดงวิวัฒนาการของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2483- 2250 พ.ศ. 2483
- รัฐจัดตั้งกรมประชาสงเคราะห์สังกัดกระทรวงมหาดไทย ที่ตั้งกรมฯอยู่ในพี้นที่วังสราญรมย์เขตพระนคร
- กรมประชาสงเคราะห์ได้ตั้งหน่วยงานรับผิดชอบดูแลเรื่องคนพิการ ในระดับ กลุ่มงาน เป็นงานคนพิการ
ในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง กองสวัสดิการสงเคราะห์
- ในระยะเริ่มแรก เน้นการให้บริการ ด้านสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการพ.ศ.2493
ก ร ม ก ร ม ป ร ะ ช า ส ง เ ค ร า ะ ห์ ย้ า ย ม า ตั้ ง ที่ วั ง ส ะ พ า น ข า ว
และคงดาเนินงานสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการโดยยกระดับงานคนพิการเป็นฝ่ายสงเคราะห์คนพิการ
ใ น ก อ ง ส วั ส ดิ ก า ร ส ง เ ค ร า ะ ห์ พ . ศ . 2 5 2 4
ก ร มป ร ะ ช า ส ง เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร เ อ ก ช น ด้า น ค น พิ ก า ร เ ล็ ง เ ห็ น ค ว า มส า คัญ
ใ น เ รื่ อ ง สิ ท ธิ แ ล ะ โ อ ก า ส ข อ ง ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ค น พิ ก า ร
จึ ง ไ ด้ ร่ ว ม กั น ผ ลั ก ดั น ก ฎ ห ม า ย เ กี่ ย ว กั บ ค น พิ ก า ร พ . ศ . 2 5 3 4 -
รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการ พ.ศ.2534
- พ.ร.บ. ดังกล่าวให้จัดตั้ง “สานักงานคณะกรรมการฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ” (สฟก.)
ขึ้นเป็นหน่วยงานระดับกอง สังกัด กรมประชาสงเคราะห์กระทรวงมหาดไทย
- กรมประชาสงเคราะห์ได้โอนงานคนพิการในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งกองสวัสดิการสังคมมารวมที่ สฟก.
โดย สฟก. ทาหน้าที่
-เป็นสานักงานเลขานุการการของคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
-เป็นสานักทะเบียนกลางสาหรับคนพิการ
-ดาเนินการทั้งงานด้านวิชาการการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
-สนับสนับสนุนหน่วยงานสถาบันที่ให้บริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
พ . ศ . 2 5 3 6 มีก า ร ป ร บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร เ มื่ อ เ ดื อ น กัน ย า ย น
โดยโอนสานักงานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการกรมประชาสงเคราะห์จากสังกัดกระทรวงมหาด
ไทยไปสังกัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมพ.ศ. 2545 - มีการปฏิรูป ระบบราชการ
โดยปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงทบวงกรมขึ้นใหม่
- “ส า นั ก ค ณ ะ ก ร ร มก า ร ฟื้ น ฟู ส มร ร ถ ภ า พ ค น พิ ก า ร ”(ส ฟ ก ) ถู ก เ ป ลี่ ย น ชื่ อ เ ป็ น
“สานักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ (สทก.)”สังกัดสานักงานส่งเสริมสวัสดิการและพิทักษ์เด็กเยาวชน
ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)
- สทก. ทาหน้าที่เช่นเดียวกับ สฟก. โดยเน้นงานวิชาการและการจดทาองค์ความรู้ด้านคนพิการ
สาหรับงานการบริ การ และการให้สวัสดิการสงเ คราะห์ แก่คนพิการ ดาเนินการโ ดย
ส า นั ก บ ริ ก า ร ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม ก ร ม พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ส วั ส ดิ ก า ร
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- ย้าย สทก. มาตั้งในบริเวณสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถีเขตราชเทวีพ.ศ 2550 –
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่
27 กันยายน พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2550
- จัดตั้ง “สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ”ขึ้น เป็นส่วนราชการในกระทรวง
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- มีเลขาธิการ ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และบุคลากรของสานักงาน
- สาระสาคัญ ของ พระราชบัญญัติคือ คนพิการได้รับสิทธิตามกฎหมายมากขึ้น อย่างทั่วถึง
และเท่าเทียมมีการลดหย่อนภาษีให้ผู้ดูแลคนพิการ และให้กระทรวงต่างๆ เข้ามาดูแลคนพิการมากขึ้น
ซึ่ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง
การยกฐานะสานักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นสานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
แห่งชาติ เป็นส่วนราชการเทียบเท่ากรม ทาให้สานักงานสงเสรริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
ดาเนินงานด้านคนพิการทั้งในเชิงนโยบายและการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
- บทบาทหน้าที่ของสานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติคือ
- เ ส น อ น โ ย บ า ย แ ผ น ห ลั ก แ ล ะ โ ค ร ง ก า ร ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม
และ พัฒน าคุณภ าพ ชีวิตคน พิการต่อค ณะ รัฐ มน ตรี เ พื่อพิ จาร ณาใ ห้ค วา มเ ห็ น ช อ บ
และมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการ
ตามอานาจหน้าที่ต่อไป
- ป ร ะ ส า น ง า น แ ล ะ ร่ ว ม มื อ ใ น ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย
ยุทธศาสตร์และแผนงานที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการกับหน่วยงานของรัฐบาลแล
ะเอกชนที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ศึ ก ษ า วิ เ ค ร า ะ ห์ พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ส า ร ว จ ร ว บ ร ว ม
เก็บรักษาข้อมูลเกี่ยวกับคนพิการและสถานการณ์คนพิการเพื่อก่อประโยชน์ต่อการส่งเสริมและคุณภาพชีวิต
คนพิการ
-
สนับสนุนให้มีการจัดตั้งการดาเนินงานการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการเพื่อให้สามารถทาห
น้าที่พิทักษ์สิทธิคนพิการตลอดจนสนับสนุน และประสานงานให้หน่วยงานของรัฐจดงบประมาณ
ให้แก่องค์การด้านคนพิการ เพื่อดาเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
- ศึ ก ษ า รู ป แ บ บ สิ ท ธิ แ ล ะ ส วั ส ดิ ก า ร อื่ น ๆ เ พื่ อ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ศั ก ย ภ า พ
และการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิคนพิการตลอดจนสนับสนุนการขับเคลื่อนทางสังคมในการบูรณาการให้คนพิก
ารเข้าสู่สังคมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ
- เ ส น อ ป รั บ ป รุ ง
พัฒนากฎหมายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้ทันสมัยรวมทั้งให้คาปรึกษาและดาเนินงานเกี่ยวกับค
วามรับผิดทางแพ่ง อาญา และงานคดีปกครอง รวมถึงงานคดีอื่นที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของสานักงาน
- บริหารจัดการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
- เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
-
ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติหรือตามกฎหมายอื่นหรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือคณะก
รรมการมอบหมาย
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
กลุ่มข้าพเจ้าได้ร่วมกันจัดทาโครงการเพื่อสังคม"Readfor the Blind" นี้ขึ้นมา เพื่อชวนเพื่อนๆ
ทุกคนที่มีจิตอาสา สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างหนังสือเสียงผ่าน App ตัวนี้ ได้แบบง่ายๆ
ไม่ต่างจากการไปเข้าห้องอัดหนังสือเสียงที่สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย หรือตามร้านหนังสือใ หญ่ๆ
ที่มีบริการเพื่อผู้พิการ ส่วนวิธีการใช้งาน App Read for theBlind ดังนี้
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา
3.1.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ tablet i-pod
3.1.2 app Read for the Blind
3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานและนาไปเสนอครูที่ปรึกษา
3.2.2 เริ่มต้นการใช้งาน
3.2.2.1 ดาวน์โหลดแอพพลิเคชัน Read for theBlind บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตได้ที่ Google
Play Storeหรือ App Store
3.2.2.2 เปิดแอพพลิเคชันและอ่านข้อมูลแนะนาการใช้งานเบื้องต้น จากนั้นคลิ๊ก agree ในหน้า
Disclaimer
3 . 2 . 2 . 3 เ มื่อ ต้อ ง ก า ร ส ร้ า ง ห นั ง สื อ เ สี ย ง ใ ห้ ท า ก า ร Login เ ข้า Facebook
เฉพาะครั้งแรกของการใช้งานแอพพลิเคชันเท่านั้น
3.2.3 ขั้นตอนการอัดเสียง
3.2.3.1 กดอ่านเพิ่มบทใหม่
3.2.3.2 เริ่มการบันทึกเสียง เมื่อบันทึกเสียงเสร็จสิ้นตามต้องการแล้วให้กดเครื่องหมายถูก
3.2.3.3 ใส่ข้อมูลรายละเอียดข้อมูลของบทที่อ่านและกดปุ่ มบันทึกเสียงบนหนัง สือ
เพื่ออัพโหลดเสียงขึ้นระบบ
3.2.3.4 ในระหว่างการอัดเสียง ถ้าต้องการหยุดให้กดปุ่ม หยุด และกด play เมื่อต้องการฟังซ้า
สามารถเลื่อนแถบ สีเขียว เพื่อไปยังจุดที่ต้องการอัดทับและกดอัดเสียงอีกครั้ง เพื่ออัดทับในจุดที่อ่านผิด
3.2.3.5 ใ น กรณีที่ออกจา กแ อพ พ ลิเ คชั่น ไฟ ล์เ สี ยง ล่าสุ ดที่เ คย อั ด ไ ว้
จะถูกเซฟไว้ในแอพพลิเคชั่น สามารถกลับมาอ่านหนังสื อ หรือบทความต่อจากเ ดิ มไ ด้
แต่ถ้าต้องการอ่านเล่มใหม่ ต้องอ่านหนังสือหรือบทความเดิม ให้เสร็จก่อน
3.2.4 การสร้างบทความใหม่
3.2.4.1 กดเลือกบทความ จากเมนูเลือกประเภทหนังสือ
3.2.4.2 เลือกประเภทหรือหัวข้อของบทความที่ต้องการสร้างใหม่ มีทั้งหมด 12 หัวข้อ
3.2.4.3 กดอ่านเพิ่มบทใหม่ เพื่อเริ่มอัดเสียง กดเครื่องหมายถูกเมื่ออัดเสร็จสิ้น
3.2.4.4 ใส่ข้อมูลของบทความที่อ่าน ชื่อบทความ แหล่งที่มา วันเผยแพร่บทความ
กดปุ่มบันทึกข้อมูลเสียงบนหนังสือเพื่ออัพโหลดขึ้นระบบ
3.2.5 จัดทาโครง ร่าง เ พื่อน าเ สน อครู ที่ปรึ กษาผ่าน เ ว็บบล็อก ของ ตัว เ อ ง
โดยนาไฟล์ข้อมูลไปฝากไว้ที่เว็บไซต์ชื่อhttp://www.slideshare.net/
3.2.6 นาเสนอความก้าวหน้าของงานเป็นระยะๆ
3 . 2 . 7 จั ด ท า เ อ ก ส า ร ร า ย ง า น โ ค ร ง ง า น
โดยนาเสนอในรูปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์และนาฝากข้อมูลดังกล่าวไว้ที่เว็บ http://www.slideshare.net/
แล้วนามาเชื่อมโยงผ่านเว็บบล็อกที่สร้างขึ้น
3.2.8 ประเมินผลงาน โดยการนาเสนอผ่านเว็บบล็อก
3.2.9 นาเสนอผ่านเว็บบล็อกเพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
บทที่4
ผลการดาเนินงาน
จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ท า โ ค ร ง ง า น เ รื่ อ ง ห นึ่ ง เ สี ย ง เ ปิ ด โ ล ก ก ว้ า ง
ในที่นี้ เรามุ่งเน้นไปถึงผู้พิการทางสายตาเป็ นหลัก แต่เนื่องด้วยจาก app read for the blind
เ ปิ ดโอกา สใ ห้ บุ ค คล ทั่ว ไ ปเ ข้าร่ว ม กิจ ก ก ร ม ไ ด้อย่าง ห ล า กห ลา ย เ พ ราะ ฉะ นั้ น
การที่ได้จัดทาโครงงานเรื่องนี้จึงได้ประโยชน์มากมายหลายอย่าง ดังนี้
1. หนังสือเสียง เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ช่วยเปิดโลกกว้างให้กับคนตาบอดได้จริง
2. app read for the blind
เป็นตัวกลางสาคัญที่ทาให้เราใช้ชีวิตอย่างคุ้มค่าและใช้ประโยชน์มากขึ้นในเรื่องของเทคโนโลยี
3. ผู้คนทั่วไปสามารถเข้าร่วมกิจกกรมได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่าย
4. ผู้คนปกติทั่วไปสามารถเข้าไปใช้บริการได้ไม่จากัดเพียงเฉพาะคนตาบอด
5. เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้ผู้คนรู้จักการอ่านหนังสือ และอ่านเพิ่มขึ้น
6. เป็นการรวมตัวกันเพื่อช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
จากการทาโครงงานนี้พบว่าการอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟังผ่านแอพพลิเคชั่นถือเป็นประโยชน์ต่อคนที่พิก
ารทางสายตาเป็นอย่างมากซึงทาให้คนที่พิการทางสายตามีความรู้เพิ่มขึ้นได้ฟังความรู้ต่างๆที่ยังไม่เคยรู้และเ
ป็นประโยชน์ต่อตัวผู้อ่านเองด้วยซึ่งทาให้ผู้อ่านได้ทบทวนเนื้อหาในสิ่งที่อ่านไปทั้งเรื่องที่เคยอ่านไปแล้วห
รือยังไม่เคยอ่านทาให้ผู้อ่านมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมซึ่งผู้ปฏิบัติโครงงานตระหนักในการบาเพ็ญตนโดยเป็น
ผู้ให้ด้วยจิตที่อาสาที่มุ่งมั่นเสียสละช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนมีจิตใจที่พร้อมจะสละเวลาเพื่อสา
ธารณประโยชน์และเพื่อส่วนรวม
ปัญหาการทาโครงงาน
1. มีการอ่านออกเสียงที่ไม่ชัดเจนหรืออ่านออกเสียงผิดและยังมีการอ่านเว้นวรรคผิด
2. การใช้งานแอพพลิเคชั่นต้องคอยระวังในการเลือกหนังสือทีมาอ่านว่าจะโดนระเมิดลิขสิทธิ์หรือไม่
3. มีหนังสือเรื่องที่คนอ่านไปแล้วซ้าค่อนข้างเยอะ
ข้อเสนอแนะ
1. ควรฝึกอ่านออกเสียงและเว้นวรรคตอนให้ถูกต้องก่อนหลายๆรอบ
2. ควรเลือกหนังสือดีๆว่าถูกลิขสิทธิ์หรือไม่
3. ควรเลือกอ่านหนังสือในเรื่องที่คนยังไม่อ่านหรือยังอ่านไม่ค่อยเยอะ

Contenu connexe

Tendances

โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลนโครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
พัน พัน
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
พัน พัน
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
Sirilag Maknaka
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
Khuanruthai Pomjun
 
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดนโครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
พัน พัน
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
Natthawut Sutthi
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
Siriluk Singka
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
panomkon
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
N'Pop Intrara
 

Tendances (19)

โครงงาน53
โครงงาน53โครงงาน53
โครงงาน53
 
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลนโครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
 
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
Isโครงการหมาน้อยร้อยฝันแก้ไข2
 
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสางานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
งานนำเสนอโครงงานจิตอาสา
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
 
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดนโครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
โครงการปันน้ำใจให้น้องชายแดน
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้านเว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
 

Similaire à โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง

ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
princess Thirteenpai
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
sirirak Ruangsak
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
Thanich Suwannabutr
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
Nattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
Plam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
Plam Preeya
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
Pisan Chueachatchai
 

Similaire à โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง (20)

ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
 
Social problem analysis - Workshop
Social problem analysis - WorkshopSocial problem analysis - Workshop
Social problem analysis - Workshop
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 

โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง

  • 1. โครงการหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง จัดทาโดย 1. นางสาวณัฐณิชา จันทร์สนอง เลขที่ 14 2. นางสาวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15 3. นางสาวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16 4. นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที่ 17 5. นางสาวพิมพ์นิภา วิศิฏรัฐพงศ์ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา วิชา IS3 (130903) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3(130903) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งรายงานเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้คนพิการทางสายตาโดยอ่านผ่าน AppRead for the Blind โดยส่งไปยังมูลนิธิคนตาบอดฯ โดยทุกคนสามารถทาได้แค่มีแอพพลิเคชั่นนี้ ทั้ ง นี้ ผู้จัด ท า ห วัง ว่า ร า ย ง า น เ ล่ม นี้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ กับ ผู้อ่า น นั กเ รี ยน นักศึกษาที่กาลังจะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
  • 5.
  • 6. บทที่ 1 หนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง 1. หลักการและเหตุผล จากข้อมูลสถิติจาก มูลนิธิคนตาบอดแห่งประเทศไทย มีคนไทยตาบอดกว่า 7 แสนคน และ จาน วน ซี ดี ห นัง สื อเ สี ย ง ที่เ ปิ ดใ ห้คน ต า บ อ ดฟั ง ต อน นี้ มีเ พี ยง 7,000 แผ่น พวกเราสามารถช่วยคนตาบอดได้โดยอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟัง ผ่านการสร้างหนังสือเสียง เ ร า โ ช ค ดี ที่ เ กิ ด ม า อ ยู่ใ น โ ล ก ไ ด้เ ห็ น ไ ด้ยิ น ไ ด้ฟั ง ไ ด้สั มผัส ไ ด้เ รี ย น รู้ และมีความสุุขกับทุกๆสิ่งในโลกที่เรามองเห็น แต่สาหรับคนอีกกลุ่ม ที่ไม่มีโอกาสเหมือนเรา อย่างคนตาบอดที่มองเห็นแค่สีดาสนิท อยู่ในโลกมืด เค้าต้องเรียนรู้ผ่านทางเสียง กลิ่น และการสัมผัส ต่างๆ เราในฐานะคนธรรมดาๆคนห นึ่ ง ที่ได้เห็ น สิ่ง ต่างๆมากกว่า จะมีส่วนช่วยให้ค ว า ม รู้ สร้างความบันเทิงให้กับคนตาบอดได้ โดยช่วยกันอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟัง กลุ่มข้าพเจ้าจึงเข้าร่วมโครงการ โดยผ่าน AppRead for the Blind อ่านหนังสือให้คนตาบอด ซึ่งในอดีตกว่าจะได้หนังสือเสียง ต้องเดินทางไป มูลนิธิคนตาบอดฯ และข้อจากัดเกี่ยวกับห้องบันทึกเสียง และการใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ในการสร้างหนังสือเสียงด้วย 2. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ค ว า มพ อ ป ร ะ มา ณ ไ ม่ต้อ ง เ สี ย ง ค่า ใ ช้จ่าย ใ น ก าร เ ดิ น ท า ง แ ล ะ ซื้ อ อุ ปกรณ์ เพราะสามารถนาสื่อเทคโนโลยีมาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่สังคัม 2. ความมีเหตุมีผล ทาให้เรามีจิตสาธารณะ รู้จักการเอื้อเฟื้องเผื่อแผ่การเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน 3. การมีภูมิคุ้มกัน ที่ดีใ น ตัว มีการวาง แผน เ สริ มสร้าง นิ สัยรักการอ่าน ใ ห้แก่ตน เ อง และได้แบ่งปันความรู้ให้แก่น้องๆที่ไม่มีโอกาส
  • 7. เงื่อนไข 1. เงื่อนไขความรู้ พัฒนาการอ่านของตัวเองและสามารถช่วยให้คนอื่นได้รับสิ่งใหม่ๆ 2. เ งื่ อน ไขคุณธรรม ปลูกจิตใ ต้สานึ กใ นการรักการอ่านและการดูแลเอาใจใส่ผู้อื่น เห็นถึงความเป็นเพื่อนมนุษย์ 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อช่วยทาหนังสือเสียงให้แก่คนตาบอด จานวน 5เล่ม 2. เพื่อเปิดโอกาสให้คนตาบอดได้รับสิ่งใหม่ๆ 4. สถานที่ดาเนินการ ที่บ้านและโรงเรียน 5. วิธีการดาเนินงาน 1. ติดตั้ง App Read for Blind โดย App ตัวนี้จะรองรับระบบ Android Version 2.2 เป็นต้นไป 2. เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครั้งแรกที่เราเข้า App ตัวนี้ เราก็จะพบกับหน้าจะมีการแนะนาการใช้งาน ซึ่ ง เ พื่อน ๆ จะ ต้อง ทาการ Login เ ข้าระ บบของ Read for Blind ด้วยใ ช้ Facebook Login ก่อนจึงจะสามารถเข้าไปใช้งานได้ 3. เ ลือกห นัง สื อ ที่เ ร า ต้อง กา ร อ่าน ใ ห้ คน ตา บ อ ด จ าน วน 1 เ ล่มแล้ว บัน ทึ ก เ สี ย ง [นอกจากการอัดเสียงหนังสือต่อจากคนอื่นแล้ว เราก็สามารถเพิ่มหนังสือ (หรือบทความที่น่าสนใจ) เล่มอื่นๆ ที่เราต้องการได้เช่นกัน ด้วยการกดที่เครื่องหมาย + ในส่วนของเมนู โดยตัว App จะให้เรากรอกข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือเล่มนั้น พร้อมกับให้เราใช้กล้องบนสมาร์ทโฟนหรือแท๊บเล็ต ทาการถ่ายภาพ “หน้าปก” หนังสือเล่มนั้นเข้ามาเก็บเอาไว้ในระบบด้วย] 4. กดส่งไปทางแอพ โดยทางแอพจะกระจายข้อมูลของเราให้แก่คนตาบอดได้ฟัง หมายเหตุ : การอ่านหนังสื อใ น App นี้ จาเป็ นต้อง อ่านใ ห้จบเ ป็ น บทๆ หรือเป็ น เ ล่ม จึงสามารถอ่านเล่มอื่นได้ต่อ
  • 8. 6. ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2558 7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ ไม่มีค่าใช่จ่ายใดๆ
  • 9. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ภ า ว ะ ต า บ อ ด เ ห ตุ จ า ก ส ม อ ง คือภ าวะ ที่มีรอยโรคของ สมอง เ กิดตรง บริ เ วณส่วน ที่ทาห น้าที่เ กี่ยวกับการมองเห็น แ ล ะ / ห รื อ เ กิด อ ยู่ใ น เ ส้ น ท า ง ใ น ว ง จ ร ก า ร มอ ง เ ห็ น ข อ ง ส มอ ง ( Visual path way) ซึ่งเมื่อมีรอยโรคในสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับวงจรการมองเห็นดังกล่าว ก็จะส่งผลทาให้ผู้ ป่วยมีความผิดปกติด้านการมองเห็น โดยไม่ได้มีความผิดปกติใดๆที่เกิดกับตา ห นั ง สื อ เ สี ย ง คื อ สื่อที่บันทึกจากหนังสือแบบเรียนหรือสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆที่นามาอ่านและบันทึกเสียงในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ผู้พิการทางสายตาหรือผู้ที่บกพร่องด้านการอ่านและผู้ต้องการรับรู้เนื้อหาของหนังสือผ่านทางการฟัง ได้มีโอกาสรับรู้ข่าวสารข้อมูลจากสื่ อสิ่ ง พิมพ์เ พิ่มขึ้ น ห นัง สื อเ สี ยง ที่คน ทั่วไปรู้จัก มักผลิตออกมาในรู ปแบบเ ทปคาสเซ็ทหรื อแผ่น ซีดี หรือในรูปแบบ MP3 แต่ในปัจจุบัน ได้มีการทดลองผลิตหนังสือเสียงรูปแบบใหม่สาหรับคนตาบอด เรียกว่า หนังสือเสียงระบบเดซี (DAISY- Digital Accessible Information System) ซึ่งมีคุณลักษณะเหมือนหนังสือ แต่อยู่ในรูปแบบของแผ่นซีดี ผู้ฟังสามารถเปิ ดฟังหน้าใดส่วนใดก็ได้ตามที่ต้องการเหมือนอ่านหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ปกติ ห นั ง สื อ เ สี ย ง ใ น ร ะ บ บ นี้ จ ะ ส า ม า ร ถ ใ ส่ ด ร ร ช นี ไ ว้ใ น เ นื้ อ ห า ส่ ว น ต่า ง ๆ ไ ด้ ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น ซึ่งจะทาให้ผู้ฟังสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นชนิดพิเศษค้นหาเนื้อหาส่วนต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และแม่นยา ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาในแต่ละบท หัวข้อใหญ่หัวข้อย่อย ย่อหน้า บรรทัด หรือแม้แต่ถ้อยคา ในประเทศไทยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติเป็นห้องสมุดที่มีหนังสือเสียงให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุด จานวนมากทั้งหนังสือเสียงที่เป็นเทปคาสเซ็ทและที่อยู่ในรูปของแผ่นซีดี ส่วนในต่างประเทศ
  • 10. ห้ อ ง ส มุ ด รั ฐ ส ภ า อ เ ม ริ กั น แ ล ะ ห้ อ ง ส มุ ด CNIB ในแคนาดาให้บริการหนังสือเสียงฟรีแก่ผู้ที่บกพร่องด้านการมองเห็น 1. ความหมายของคนพิการ Hammerman และ Maikowski (1981) ได้สรุปความหมายของ “ความพิการ” ไว้ดังนี้ ว่าหมายถึง ความเสียเปรียบ (Handicap), ความพิการ (Disability), และความบกพร่อง (Impairment)สามารถอธิบายได้ว่า บุ ค ค ล ห นึ่ ง อ า จ มี ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง โดยไม่พิการและพิการโดยไม่เกิดการเสียเปรียบก็ได้หากได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวหรือมีสิ่งอานวย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ท า ง ก า ย ภ า พ สิ่งเหล่านี้สามารถเยียวยาความบกพร่องที่มีอยู่ได้และจะไม่ส่งผลทาให้บุคคลนั้นเกิดความเสียเปรียบในการ ด า ร ง ชี วิ ต เ ช่ น คนตาบอดทางานที่ใช้สายตาไม่ได้แต่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่มีเสียงประกอบได้สามารถเล่นดนตรีเป็นนัก กีฬาได้เป็นต้น อง ค์การอน ามัยโ ลก ( WHO) ใ ห้ความห มา ย คว า มพิ กา ร ว่า คน พิ การ ห มาย ถึ ง เป็นความเสียเปรียบของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่เกิดจากความชารุด หรือความสามารถบกพ ร่อง เป็นผลทาให้บุคคลนั้นไม่สามารถแสดงบทบาท หรือกระทาอะไรให้เหมาะสมสอดคล้องตามวัย สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมได้ ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ พุทธศักราช 2541 ให้ความหมาย คนพิการหรือทุพพ ลภาพ เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าสมควรที่จะได้รับสิทธิและโอกาสในการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ ได้รับการปกป้ องคุ้มครองจากการถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองด้วยความเสมอภาค ได้รับข้อมูลข่าวสารสื่อต่างๆ ที่เหมาะสมกับความพิการ และได้รับการยอมรับในศักดิ์ศรีแห่งความเป็ นมนุษย์ องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ ( ILO) ได้ให้คาจากัดความจากมุมมองด้านฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพและการจ้างงานคนพิการ ว่าคนพิการ (Disabled Persons) คือ “บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่มีโอกาสด้านความมั่นคงในชีวิต สถานภาพการจ้างงาน ห รื อ ค ว า มก้า ว ห น้ า ใ น อ า ชี พ อ ย่า ง เ ห มา ะ ส มถู ก จ า กัด ห รื อ ล ด อ ย่า ง เ ห็ น ได้ชัด อันเป็นผลจากความบกพร่องร่างกายหรือทางจิตใจ
  • 11. จากการศึกษาข้างต้น จึงสรุปได้ว่า “คนพิการ” หมายถึง ความเสียเปรียบ ความพิการ และความบกพร่อง ซึ่งมีผลทาให้บุคคลที่ไม่สามารถดูแลตนเองได้ทั้งหมดหรือบางส่วน เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์พฤติกรรมสติปัญญาการเรียนรู้และพิการทางออทิสติก หรือความบกพร่องอื่นใดไม่ว่าจะเป็นมาแต่กาเนิดหรือไม่ก็ตามและมีความจาเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความ ช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใดเพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังค มไ ด้อ ย่า ง บุ ค ค ล ทั่ว ไ ป โ ด ย ไ ด้รั บ สิ ท ธิ โ อ ก า ส ใ น ก า ร พั ฒ น า อ ย่า ง เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ และได้รับการยอมรับในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2. คนพิการกับการมีงานทา ด้วยสภาพเศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบันคนพิการตระหนักและให้ความสาคัญกับ “งาน” ซึ่ ง เ ป็ น สิ่ ง จ า เ ป็ น เ พื่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต อ ยู่ ร อ ด ไ ด้ ใ น สั ง ค ม ดังนั้นคนพิการเองต้องสร้างหลักประกันให้กับตนเองและครอบครัว โดยการหางานที่มั่น คง เพื่อให้มีรายได้ประจาเลี้ยงครอบครัว ส่งผลให้คนพิการมีความตระหนัในคุณค่าของตนเอง เชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพที่ตนมีอยู่ว่าจะสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมได้จึงกล่าวได้ว่า “งาน” มีคุณค่าและความสาคัญต่อคนพิการเป็นอย่างมากและยังกล่าวถึงความสาคัญของงากับคนพิการ (กระทรวงศึกษาธิการ, สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษา, 2543) ดังนี้ 1) ค น พิ ก า ร แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว ต้ อ ง ก า ร มี ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ท า ง า น คนพิการกับครอบครัวส่วนมากก็เหมือนกับครอบครัวอื่นๆ ที่มีชีวิตอยู่ไม่ได้หากไม่มีรายได้ประจา 2 ) คุณค่าของคนในสังคมอยู่ที่การทางานที่ก่อให้เกิดประโยชน์การทางานนับเป็นคุณค่าอันสูงส่งของคนทุกชา ติ ทุ ก ภ า ษ า ทุ ก วั ฒ น ธ ร ร ม ดั ง นั้ น เมื่อคนพิการไม่สามารถทางานได้เขาจะถูกตัดสินว่าเป็นผู้ล้มเหลวในชีวิตที่ไม่อาจเท่าเทียมกับบุคคลอื่นในสั งคม 3 ) คนพิการมีความต้องการที่มีส่วนร่วมในการใช้ชีวิตอย่างปกติในสังคมสถานที่ทางานนับเป็นแหล่งสร้างควา ม สั ม พั น ธ์ ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ท า ง สั ง ค ม
  • 12. ถ้ า ค น พิ ก า ร ข า ด โ อ ก า ส ใ น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ดั ง ก ล่า ว ก็เท่ากับถูกขัดขวางอย่างรุนแรงในการอยู่ร่วมกับสังคม 4 ) คุ ณ ค่ า ข อ ง ก า ร มี ง า น ท า อ ยู่ บ น พื้ น ฐ า น ค ว า ม จ ริ ง ที่ ว่ า งานทาให้ชีวิตอยู่ในกฎเกณฑ์และเป็ นรูปร่างเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป การมีชีวิตอยู่ไปวัน ๆ โดยปราศจากสิ่งท้าทายจากการทางานเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่ายและหงอยเหงา 3.การสนับสนุนการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ หากพิจารณาถึง ลักษณะ ของงานที่คน พิการสามารถทาได้ในสถานประ กอ บก าร ที่ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง บ า ร์ บ า ร่ า เ ม อ ร์ เ ร ย์ ( Barbara Marley) ผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพประจาองค์การแรงงานระหว่างประเทศชาวอเมริกัน ไ ด้ ใ ห้ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร จ้ า ง ง า น ค น พิ ก า ร ใ น 4 ลักษณะได้แก่การจ้างงานคนพิการในโรงงานอารักษ์การจ้างงานคนพิการในระบบสนับสนุน การจ้างงานในระบบเปิดและการประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้มี2 ลักษณะ (สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์, 2544:37-38)ได้แก่ 1 ) ก า ร จ้ า ง ง า น ค น พิ ก า ร ใ น ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร จ้า ง ง า น ใ น ลัก ษ ณะ นี้ เ ป็ น ก า ร ท าง าน ที่ ค น พิก า ร จ ะ มีผู้ส อ น ง าน ( Job Coach) ช่ว ย ดู แ ล ห รื อ อ า จ จ ะ เ ป็ น ใ น รู ป ข อ ง ก า ร ท ด ล อ ง ง า น ฝึ ก ง า น ( On the JobTraining) เ ห ม า ะ ส า ห รั บ ค น พิ ก า ร ที่ มี ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า ห รื อ การเรียนรู้รวมทั้งคนพิการที่ไม่มีพื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์พี่เลี้ยงจะเป็นผู้ประสานงานระหว่างสถาน ประกอบการและ คน พิการเพื่อให้การทาง าน ดาเนิ นไปตามวัตถุประ สง ค์ของนา ย จ้าง ง าน ใ น ลักษณะ นี้ อาจท าใ น รู ป ของ ค ณะ ท าง าน ซึ่ ง อ ยู่ภ า ยใ ต้กา ร ดูแ ลข อง พี่ เ ลี้ ย ง ซึ่ ง จ ะ น า ค น พิ ก า ร ไ ป ท า ง า น ต่ า ง ๆ ที่สามารถ ดู แ ลแ ละ ชี้ แ น ะ ไ ด้อ ย่าง ใ ก ล้ชิ ด ข้อ ดี ข อง กา ร จ้าง ง าน ใ น ลัก ษ ณ ะ นี้ คื อ คนพิการจะเกิดการเรียนรู้และพัฒนางานและสามารถที่จะเข้าสู่การจ้างงานในระบบเปิดได้เนื่องจากสถานกา รณ์และสภาพแวดล้อมในการทางานเหมือนการทางานในระบบเปิดทุกประการ 2) การจ้างงานระบบเปิ ด จากการศึกษาของวิริ ยะ นามศิริพงศ์พันธ์และคณะ (๒๕๔๖) กล่าวว่าการจ้าง ง านระบบเ ปิ ดมีลักษณะ ของการคัดเ ลือกคนพิการที่มีความสามารถ
  • 13. ซึ่งจะได้รับการจ้างงานจากสถานประกอบการทั่วไป แต่ปัญหาสาคัญในการทางานของความพิการคือ เ จ ต ค ติ ข อ ง น า ย จ้า ง ที่ มีต่อ ค น พิก า ร ซึ่ ง ไ ม่ย อ มรั บ ค ว า มส า มา ร ถ ข อ ง ค น พิการ จุดมุ่งหมายของการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการก็เพื่อให้คนพิการดารงชีวิตอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่าง มีศักดิ์ศรีมีบทบาทในสังคมได้เท่าเทียมบุคคลทั่วไปและสามารถประกอบอาชีพมีรายได้ที่มั่นคง ฉะนั้นจึงต้องรณรง ค์เพื่อให้สัง คมเ ปลี่ยนเ จตคติที่มีต่อคนพิการให้เ ป็ นไปใน ทาง บ วก แ ล ะ ย อ ม รั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ค น พิ ก า ร ถือว่าคนพิการเป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคมมีส่วนร่วมและบทบาทเช่นบุคคลทั่วไปอย่างมีศักดิ์ศรีและประ สิทธิภาพ 4. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในด้านการจ้างงาน จ า ก ก า ร ที่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ห็ น ค ว า มส า คัญ ข อ ง คุ ณ ภ า พ ชี วิต ค น พิ ก า ร จึงจัดตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบในการดูแลคุณภาพชีวิตคนพิการมาตั้งแต่พ.ศ. ๒๔๘๓ อี ก ทั้ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ฟื้ น ฟู ส ม ร ร ถ ภ า พ ค น พิ ก า ร พ . ศ . 2 5 3 4 ซึ่ ง ต่อมาจึง มีพ ระ ราช บัญญัติส่ง เ สริ มและ พัฒนาคุณภ าพชีวิตคน พิการพ . ศ. ๒๕๕๐ เ พ ร า ะ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ฟื้ น ฟู ส ม ร ร ถ ภ า พ ค น พิ ก า ร พ . ศ . ๒ ๕ ๓ ๔ ใช้บังคับมาเป็นเวลานานสาระสาคัญและรายละเอียดเกี่ยวกับการสงเคราะห์และการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิก า ร ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ภ า พ สั ง ค ม ปั จ จุ บั น สมควรกาหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้มีความเหมาะ ส ม ยิ่ ง ขึ้ น และกาหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองคนพิการเพื่อมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เ ป็ น ธ ร ร ม เ พ ร า ะ เ ห ตุ ส ภ า พ ท า ง ก า ย ห รื อ สุ ข ภ า พ รวมทั้งให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตลอดจน ใ ห้ รั ฐ ต้อ ง ส ง เ คร าะ ห์ ค น พิ กา รใ ห้ มีคุณภ าพ ชี วิต ที่ ดีแ ละ พึ่ ง ตน เ อ ง ไ ด้ ( พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ค น พิ ก า ร , ๒ ๕ ๕ ๐ : ๗๗)และปัจจุบันเป็นพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมจากกฎหมายที่ว่าด้วยหน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภา พชีวิตของคนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ เ พื่ อ ใ ห้ ค น พิ ก า ร ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด
  • 14. ดังนั้นในเรื่องของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการจึงมีวิวัฒนาการตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๘๓ – ปัจจุบัน ซึ่งมีรายละเอียดตามตารางที่ ๔ ดังนี้ แสดงวิวัฒนาการของการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2483- 2250 พ.ศ. 2483 - รัฐจัดตั้งกรมประชาสงเคราะห์สังกัดกระทรวงมหาดไทย ที่ตั้งกรมฯอยู่ในพี้นที่วังสราญรมย์เขตพระนคร - กรมประชาสงเคราะห์ได้ตั้งหน่วยงานรับผิดชอบดูแลเรื่องคนพิการ ในระดับ กลุ่มงาน เป็นงานคนพิการ ในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง กองสวัสดิการสงเคราะห์ - ในระยะเริ่มแรก เน้นการให้บริการ ด้านสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการพ.ศ.2493 ก ร ม ก ร ม ป ร ะ ช า ส ง เ ค ร า ะ ห์ ย้ า ย ม า ตั้ ง ที่ วั ง ส ะ พ า น ข า ว และคงดาเนินงานสวัสดิการสงเคราะห์ให้แก่คนพิการโดยยกระดับงานคนพิการเป็นฝ่ายสงเคราะห์คนพิการ ใ น ก อ ง ส วั ส ดิ ก า ร ส ง เ ค ร า ะ ห์ พ . ศ . 2 5 2 4 ก ร มป ร ะ ช า ส ง เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร เ อ ก ช น ด้า น ค น พิ ก า ร เ ล็ ง เ ห็ น ค ว า มส า คัญ ใ น เ รื่ อ ง สิ ท ธิ แ ล ะ โ อ ก า ส ข อ ง ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ค น พิ ก า ร จึ ง ไ ด้ ร่ ว ม กั น ผ ลั ก ดั น ก ฎ ห ม า ย เ กี่ ย ว กั บ ค น พิ ก า ร พ . ศ . 2 5 3 4 - รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการ พ.ศ.2534 - พ.ร.บ. ดังกล่าวให้จัดตั้ง “สานักงานคณะกรรมการฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ” (สฟก.) ขึ้นเป็นหน่วยงานระดับกอง สังกัด กรมประชาสงเคราะห์กระทรวงมหาดไทย - กรมประชาสงเคราะห์ได้โอนงานคนพิการในฝ่ายสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่งกองสวัสดิการสังคมมารวมที่ สฟก. โดย สฟก. ทาหน้าที่ -เป็นสานักงานเลขานุการการของคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ -เป็นสานักทะเบียนกลางสาหรับคนพิการ -ดาเนินการทั้งงานด้านวิชาการการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ -สนับสนับสนุนหน่วยงานสถาบันที่ให้บริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
  • 15. พ . ศ . 2 5 3 6 มีก า ร ป ร บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร เ มื่ อ เ ดื อ น กัน ย า ย น โดยโอนสานักงานคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการกรมประชาสงเคราะห์จากสังกัดกระทรวงมหาด ไทยไปสังกัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมพ.ศ. 2545 - มีการปฏิรูป ระบบราชการ โดยปรับปรุงโครงสร้างกระทรวงทบวงกรมขึ้นใหม่ - “ส า นั ก ค ณ ะ ก ร ร มก า ร ฟื้ น ฟู ส มร ร ถ ภ า พ ค น พิ ก า ร ”(ส ฟ ก ) ถู ก เ ป ลี่ ย น ชื่ อ เ ป็ น “สานักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ (สทก.)”สังกัดสานักงานส่งเสริมสวัสดิการและพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) - สทก. ทาหน้าที่เช่นเดียวกับ สฟก. โดยเน้นงานวิชาการและการจดทาองค์ความรู้ด้านคนพิการ สาหรับงานการบริ การ และการให้สวัสดิการสงเ คราะห์ แก่คนพิการ ดาเนินการโ ดย ส า นั ก บ ริ ก า ร ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม ก ร ม พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ส วั ส ดิ ก า ร กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - ย้าย สทก. มาตั้งในบริเวณสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถีเขตราชเทวีพ.ศ 2550 – พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2550 - จัดตั้ง “สานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ”ขึ้น เป็นส่วนราชการในกระทรวง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - มีเลขาธิการ ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และบุคลากรของสานักงาน - สาระสาคัญ ของ พระราชบัญญัติคือ คนพิการได้รับสิทธิตามกฎหมายมากขึ้น อย่างทั่วถึง และเท่าเทียมมีการลดหย่อนภาษีให้ผู้ดูแลคนพิการ และให้กระทรวงต่างๆ เข้ามาดูแลคนพิการมากขึ้น ซึ่ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง การยกฐานะสานักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นสานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แห่งชาติ เป็นส่วนราชการเทียบเท่ากรม ทาให้สานักงานสงเสรริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ดาเนินงานด้านคนพิการทั้งในเชิงนโยบายและการปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น - บทบาทหน้าที่ของสานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติคือ
  • 16. - เ ส น อ น โ ย บ า ย แ ผ น ห ลั ก แ ล ะ โ ค ร ง ก า ร ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม และ พัฒน าคุณภ าพ ชีวิตคน พิการต่อค ณะ รัฐ มน ตรี เ พื่อพิ จาร ณาใ ห้ค วา มเ ห็ น ช อ บ และมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องรับไปดาเนินการ ตามอานาจหน้าที่ต่อไป - ป ร ะ ส า น ง า น แ ล ะ ร่ ว ม มื อ ใ น ร ะ ดั บ น โ ย บ า ย ยุทธศาสตร์และแผนงานที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการกับหน่วยงานของรัฐบาลแล ะเอกชนที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ - ศึ ก ษ า วิ เ ค ร า ะ ห์ พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ส า ร ว จ ร ว บ ร ว ม เก็บรักษาข้อมูลเกี่ยวกับคนพิการและสถานการณ์คนพิการเพื่อก่อประโยชน์ต่อการส่งเสริมและคุณภาพชีวิต คนพิการ - สนับสนุนให้มีการจัดตั้งการดาเนินงานการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการเพื่อให้สามารถทาห น้าที่พิทักษ์สิทธิคนพิการตลอดจนสนับสนุน และประสานงานให้หน่วยงานของรัฐจดงบประมาณ ให้แก่องค์การด้านคนพิการ เพื่อดาเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ - ศึ ก ษ า รู ป แ บ บ สิ ท ธิ แ ล ะ ส วั ส ดิ ก า ร อื่ น ๆ เ พื่ อ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ศั ก ย ภ า พ และการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิคนพิการตลอดจนสนับสนุนการขับเคลื่อนทางสังคมในการบูรณาการให้คนพิก ารเข้าสู่สังคมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ - เ ส น อ ป รั บ ป รุ ง พัฒนากฎหมายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้ทันสมัยรวมทั้งให้คาปรึกษาและดาเนินงานเกี่ยวกับค วามรับผิดทางแพ่ง อาญา และงานคดีปกครอง รวมถึงงานคดีอื่นที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของสานักงาน - บริหารจัดการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ - เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
  • 17. - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติหรือตามกฎหมายอื่นหรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือคณะก รรมการมอบหมาย บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน กลุ่มข้าพเจ้าได้ร่วมกันจัดทาโครงการเพื่อสังคม"Readfor the Blind" นี้ขึ้นมา เพื่อชวนเพื่อนๆ ทุกคนที่มีจิตอาสา สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างหนังสือเสียงผ่าน App ตัวนี้ ได้แบบง่ายๆ ไม่ต่างจากการไปเข้าห้องอัดหนังสือเสียงที่สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย หรือตามร้านหนังสือใ หญ่ๆ ที่มีบริการเพื่อผู้พิการ ส่วนวิธีการใช้งาน App Read for theBlind ดังนี้ 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 3.1.1 โทรศัพท์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ tablet i-pod 3.1.2 app Read for the Blind 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานและนาไปเสนอครูที่ปรึกษา
  • 18. 3.2.2 เริ่มต้นการใช้งาน 3.2.2.1 ดาวน์โหลดแอพพลิเคชัน Read for theBlind บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตได้ที่ Google Play Storeหรือ App Store 3.2.2.2 เปิดแอพพลิเคชันและอ่านข้อมูลแนะนาการใช้งานเบื้องต้น จากนั้นคลิ๊ก agree ในหน้า Disclaimer 3 . 2 . 2 . 3 เ มื่อ ต้อ ง ก า ร ส ร้ า ง ห นั ง สื อ เ สี ย ง ใ ห้ ท า ก า ร Login เ ข้า Facebook เฉพาะครั้งแรกของการใช้งานแอพพลิเคชันเท่านั้น 3.2.3 ขั้นตอนการอัดเสียง 3.2.3.1 กดอ่านเพิ่มบทใหม่ 3.2.3.2 เริ่มการบันทึกเสียง เมื่อบันทึกเสียงเสร็จสิ้นตามต้องการแล้วให้กดเครื่องหมายถูก 3.2.3.3 ใส่ข้อมูลรายละเอียดข้อมูลของบทที่อ่านและกดปุ่ มบันทึกเสียงบนหนัง สือ เพื่ออัพโหลดเสียงขึ้นระบบ 3.2.3.4 ในระหว่างการอัดเสียง ถ้าต้องการหยุดให้กดปุ่ม หยุด และกด play เมื่อต้องการฟังซ้า สามารถเลื่อนแถบ สีเขียว เพื่อไปยังจุดที่ต้องการอัดทับและกดอัดเสียงอีกครั้ง เพื่ออัดทับในจุดที่อ่านผิด 3.2.3.5 ใ น กรณีที่ออกจา กแ อพ พ ลิเ คชั่น ไฟ ล์เ สี ยง ล่าสุ ดที่เ คย อั ด ไ ว้ จะถูกเซฟไว้ในแอพพลิเคชั่น สามารถกลับมาอ่านหนังสื อ หรือบทความต่อจากเ ดิ มไ ด้ แต่ถ้าต้องการอ่านเล่มใหม่ ต้องอ่านหนังสือหรือบทความเดิม ให้เสร็จก่อน 3.2.4 การสร้างบทความใหม่ 3.2.4.1 กดเลือกบทความ จากเมนูเลือกประเภทหนังสือ 3.2.4.2 เลือกประเภทหรือหัวข้อของบทความที่ต้องการสร้างใหม่ มีทั้งหมด 12 หัวข้อ 3.2.4.3 กดอ่านเพิ่มบทใหม่ เพื่อเริ่มอัดเสียง กดเครื่องหมายถูกเมื่ออัดเสร็จสิ้น
  • 19. 3.2.4.4 ใส่ข้อมูลของบทความที่อ่าน ชื่อบทความ แหล่งที่มา วันเผยแพร่บทความ กดปุ่มบันทึกข้อมูลเสียงบนหนังสือเพื่ออัพโหลดขึ้นระบบ 3.2.5 จัดทาโครง ร่าง เ พื่อน าเ สน อครู ที่ปรึ กษาผ่าน เ ว็บบล็อก ของ ตัว เ อ ง โดยนาไฟล์ข้อมูลไปฝากไว้ที่เว็บไซต์ชื่อhttp://www.slideshare.net/ 3.2.6 นาเสนอความก้าวหน้าของงานเป็นระยะๆ 3 . 2 . 7 จั ด ท า เ อ ก ส า ร ร า ย ง า น โ ค ร ง ง า น โดยนาเสนอในรูปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์และนาฝากข้อมูลดังกล่าวไว้ที่เว็บ http://www.slideshare.net/ แล้วนามาเชื่อมโยงผ่านเว็บบล็อกที่สร้างขึ้น 3.2.8 ประเมินผลงาน โดยการนาเสนอผ่านเว็บบล็อก 3.2.9 นาเสนอผ่านเว็บบล็อกเพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป บทที่4 ผลการดาเนินงาน จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ท า โ ค ร ง ง า น เ รื่ อ ง ห นึ่ ง เ สี ย ง เ ปิ ด โ ล ก ก ว้ า ง ในที่นี้ เรามุ่งเน้นไปถึงผู้พิการทางสายตาเป็ นหลัก แต่เนื่องด้วยจาก app read for the blind เ ปิ ดโอกา สใ ห้ บุ ค คล ทั่ว ไ ปเ ข้าร่ว ม กิจ ก ก ร ม ไ ด้อย่าง ห ล า กห ลา ย เ พ ราะ ฉะ นั้ น การที่ได้จัดทาโครงงานเรื่องนี้จึงได้ประโยชน์มากมายหลายอย่าง ดังนี้ 1. หนังสือเสียง เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ช่วยเปิดโลกกว้างให้กับคนตาบอดได้จริง 2. app read for the blind เป็นตัวกลางสาคัญที่ทาให้เราใช้ชีวิตอย่างคุ้มค่าและใช้ประโยชน์มากขึ้นในเรื่องของเทคโนโลยี 3. ผู้คนทั่วไปสามารถเข้าร่วมกิจกกรมได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่าย 4. ผู้คนปกติทั่วไปสามารถเข้าไปใช้บริการได้ไม่จากัดเพียงเฉพาะคนตาบอด
  • 20. 5. เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้ผู้คนรู้จักการอ่านหนังสือ และอ่านเพิ่มขึ้น 6. เป็นการรวมตัวกันเพื่อช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา จากการทาโครงงานนี้พบว่าการอ่านหนังสือให้คนตาบอดฟังผ่านแอพพลิเคชั่นถือเป็นประโยชน์ต่อคนที่พิก ารทางสายตาเป็นอย่างมากซึงทาให้คนที่พิการทางสายตามีความรู้เพิ่มขึ้นได้ฟังความรู้ต่างๆที่ยังไม่เคยรู้และเ ป็นประโยชน์ต่อตัวผู้อ่านเองด้วยซึ่งทาให้ผู้อ่านได้ทบทวนเนื้อหาในสิ่งที่อ่านไปทั้งเรื่องที่เคยอ่านไปแล้วห รือยังไม่เคยอ่านทาให้ผู้อ่านมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมซึ่งผู้ปฏิบัติโครงงานตระหนักในการบาเพ็ญตนโดยเป็น ผู้ให้ด้วยจิตที่อาสาที่มุ่งมั่นเสียสละช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนมีจิตใจที่พร้อมจะสละเวลาเพื่อสา ธารณประโยชน์และเพื่อส่วนรวม
  • 21. ปัญหาการทาโครงงาน 1. มีการอ่านออกเสียงที่ไม่ชัดเจนหรืออ่านออกเสียงผิดและยังมีการอ่านเว้นวรรคผิด 2. การใช้งานแอพพลิเคชั่นต้องคอยระวังในการเลือกหนังสือทีมาอ่านว่าจะโดนระเมิดลิขสิทธิ์หรือไม่ 3. มีหนังสือเรื่องที่คนอ่านไปแล้วซ้าค่อนข้างเยอะ ข้อเสนอแนะ 1. ควรฝึกอ่านออกเสียงและเว้นวรรคตอนให้ถูกต้องก่อนหลายๆรอบ 2. ควรเลือกหนังสือดีๆว่าถูกลิขสิทธิ์หรือไม่ 3. ควรเลือกอ่านหนังสือในเรื่องที่คนยังไม่อ่านหรือยังอ่านไม่ค่อยเยอะ