SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  54
Télécharger pour lire hors ligne
1. ที่มาและความสาคัญ











วัตถุประสงค์
ขอบเขตโครงงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครืองมือและอุปกรณ์ทใช้
่
ี่
งบประมาณ
ขันตอนและแผนดาเนินงาน
้
ผลทีคาดว่าจะได้รบ
่
ั
สถานทีดาเนินการ
่
กลุมสาระการเรียนรูทเกียวข้อง
่
้ ี่ ่
แหล่งอ้างอิง

2.ประวัตคอมพิวเตอร์
ิ
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
 อินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์เริ่มเข้ามามีส่วนกับวิถชีวิตและความเป็นอยู่มากขึ้น
ี

สถาบันการศึกษาทุกแห่งให้ความสนใจในเรื่องการประยุกต์เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา
การเรียนการสอนในปัจจุบันจึงเปลี่ยนสภาพไปค่อนข้างมาก ล้วนแล้วแต่ต้องใช้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบ การเรียนการสอนทาให้ ปัจจุบันมีแหล่งความรู้เกิดขึ้น
มากมาย การเรียนรูสมัยใหม่ต้องใช้เวลาน้อย เรียนรู้ได้เร็ว มีการใช้ประโยชน์ จาก
้
ทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกัน รวมถึงการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันด้วย
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันตอบสนองต่อการประยุกต์เข้ากับการเรียนการ
สอนได้เป็นอย่างดี
 ปัจจุบันได้มีการนาสื่อการเรียนการสอนผ่านทางอินเตอร์เน็ตมากมาย ส่วนใหญ่จะอยู่

ในรูปแบบของเว็บไซต์ ผู้ใช้งานสามารถศึกษาเรียนรู้ต่าง ๆ จากแหล่งข้อมูลได้โดยตรง
ผู้ศึกษาข้อมูลมีอสระและความคล่องตัวในการค้นคว้าหาข้อมูลในเรื่องที่ตนสนใจได้ทุก
ิ
เวลาหรือ สถานที่
 จากเหตุผลข้างต้นผู้ศึกษาจึงสร้างโครงงานพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประวัติ
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ที่ประกอบด้วยหลักการเขียนโครงการหลัก การเขียน
รายงานโครงการ และตัวอย่างการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เพื่อนาไปใช้ประกอบการ
จัดการเรียนการสอนในรายวิชาโครงการ ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการ
เรียนรูด้วยตนเองที่แตกต่างระหว่างบุคคล และเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
้
นอกเหนือจากการนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ
วัตถุประสงค์




1. เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
2. เพื่อพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล
3. เพื่อฝึกการทางานเป็นทีม

ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงยุคปัจจุบัน
แนวทางการดาเนินงาน
 เสนอหัวข้อโครงงาน
 ศึกษาคุณสมบัติของโครงงาน
 ศึกษาประวัติของคอมพิวเตอร์
 ใช้โปรแกรมสร้างเว็บไซต์ในแบบทีต้องการ
่

 ปรับปรุงรูปแบบและพัฒนาให้เหมาะสม
 รายงานผลการดาเนินงาน
 จัดทาเอกสาร
เครื่องมือและอุปกรณ์ทใช้
ี่
1. หนังสือคู่มือการสร้างเว็บไซต์
2. อินเตอร์เน็ต

งบประมาณ
รูปเล่มโครงงาน 40 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่

ขั้นตอน

สั ปดาห์ ที่
1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

ผู้รับผิดชอบ
11

12

13

14

15

16

17

1

คิดหัวข้อโครงงาน

พีรณัฐ

2

ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล

นัทนวีน

3

จัดทาโครงร่ างงาน

พีรณัฐ

4

ปฏิบติการสร้างโครงงาน
ั

5

ปรับปรุ งทดสอบ

นัทนวีน

6

การทาเอกสารรายงาน

พีรณัฐ

7

ประเมินผลงาน

นัทนวีน,พีรณัฐ

8

นาเสนอโครงงาน

นัทนวีน,พีรณัฐ

นัทนวีน,พีรณัฐ
 ผลทีคาดว่าจะได้รบ
่
ั

1. ได้รับความรู้ความเข้าใจ และสามารถเผยแพร่ประวัตความเป็นมาของ
ิ

คอมพิวเตอร์

2. มีทักษะการสร้างเว็บไซต์ทดียิ่งขึ้น
ี่

3. ได้เรียนรู้กระบวนการทางานเป็นทีม

 สถานทีดาเนินการ
่
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
 กลุมสาระการเรียนรูทเกียวข้อง
่
้ ี่ ่
 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 ประวัตศาสตร์
ิ

แหล่งอ้างอิง
http://computer.kapook.com/history.php
http://www.pataravitaya.ac.th/computer%202010

/Untitled-3.html
http://www.hellomyweb.com/
ประวัติและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร์

ประเภทของคอมพิวเตอร์

www.themegallery.com

Logo
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
มนุษย์พยายามสร้างเครืองมือเพือช่วยการคานวณมา
่
่
ตังแต่สมัยโบราณแล้ว จึงได้พยายามพัฒนาเครืองมือต่าง ๆ ให้
้
่
สามารถใช้งานได้ง่ายเพิมขึนตามลาดับ ในระยะ 5,000 ปี ทีผ่านมา
่ ้
่
มนุษย์เริมรูจกการใช้นวมือและนิวเท้าของตน เพือช่วยในการคานวณ
่ ้ั
ิ้
้
่
และพัฒนาเป็นอุปกรณ์อน ๆ
ื่

www.themegallery.com

Logo
 วิวฒนาการของคอมพิวเตอร์ เริ่มต้นจาก
ั

วิวฒนาการของการคานวณ อุปกรณ์ที่ใช้ใน
ั
การคานวณ หรือเครื่องคานวณต่าง ๆ
เนื่องจากถือได้วาคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่อง
่
คานวณรูปแบบหนึงนั่นเอง โดยอาจจะเริ่มได้
่
จากการนับจานวนด้วยก้อนหิน, เศษไม้, กิง
่
ไม้, การใช้ถานขีดเป็นสัญลักษณ์ตามฝาผนัง
่
ทั้งนีเครื่องคานวณที่นบเป็นต้นแบบของ
้
ั
คอมพิวเตอร์ทงานในปัจจุบันได้แก่ ลูกคิด
ี่
(Abacus) นั่นเอง
ลูกคิด (Abacus)
ลูกคิด เป็ นเครื่องคานวณเครื่องแรก ทีมนุษย์ ได้ ประดิษฐ์ คดค้ นขึนมา
่
ิ
้
โดยชาวตะวันออก (ชาวจีน) และยังมีใช้ งานอยู่ในปัจจุบน มีลกษณะต่ างๆ
ั ั
ออกไป เช่ นลักษณะลูกคิดของจีน ซึ่งมีตัวนับรางบน สองแถว ขณะทีลกคิด
ู่
ของญีปุ่นมีตวนับรางบนเพียงแถวเดียว แม้ เป็ นอุปกรณ์ สมัยเก่า แต่ กมี
่
ั
็
ความสามารถในการคานวณเลขได้ ทุกระบบ

ในปัจจุบนการคานวณบางอย่าง ยังใช้ลกคิดอยูถงแม้นจะมีคอมพิวเตอร์
ั
ู
่ ึ
www.themegallery.com

Logo
เครื่องจักรคานวณ (Mechanical Calculator)
ค.ศ. 1500 มีเครืองคานวณ (Mechanical Calculator) ของลีโอนาโด
่
ดาวินซี่ (Leonardo da Vinci) ชาวอิตาลี ใช้สาหรับการคานวณทาง
คณิตศาสตร์พนฐาน
ื้

www.themegallery.com

Logo
แท่ งเนเปี ยร์ (Napier's bones)
แท่งเนเปียร์ อุปกรณ์คานวณทีชวยคูณเลข คิดค้นโดย จอห์น เนเปียร์ (John
่่
Napier : 1550 - 1617) นักคณิตศาสตร์ชาวสก๊อต มีลกษณะเป็นแท่งไม้ที่ ตีเป็นตาราง
ั
และช่องสามเหลี่ยม มีเลขเขียนอยู่บนตารางเหล่านี้ เมือต้องการคูณเลขจานวนใด ก็หยิบ
่
แท่งทีใช้ระบุเลขแต่ละหลักมาเรียงกัน แล้วจึงอ่านตัวเลขบนแท่งนั้น ตรงแถวที่ตรงกับ
่
เลขตัวคูณ ก็จะได้คาตอบทีต้องการ โดยก่อนหน้านี้เนเปียร์ ได้ทาตารางลอการิทึม เพือ
่
่
ช่วยในการคูณและหารเลข โดยอาศัยหลักการบวก และลบเลขมาช่วยในการคานวณ

www.themegallery.com

Logo
ไม้ บรรทัดคานวณ (Slide Rule)
วิลเลียม ออทเตรด (1574 - 1660)
่
ได้ นาหลักการลอการิทึมของเนเปี ยร์ มา
พัฒนาเป็ น ไม้ บรรทัดคานวณ หรือสไลด์ รูล
โดยการนาค่ าลอการิทึม มาเขียนเป็ นสเกล
บนแท่ งไม้ สองอัน เมื่อนามาเลือนต่ อกัน ก็
่
จะอ่านค่ าเป็ นผลคูณหรือผลหารได้ โดย
อาศัยการคาดคะเนผลลัพธ์
www.themegallery.com

Logo
นาฬิ กาคานวณ (Calculating Clock)

นาฬิ กาคานวณ เป็ นเครื่อง
คานวณทีรับอิทธิพลจากแท่งเนเปี ยร์
่
โดยใช้ ตัวเลขของแท่ งเนเปี ยร์ บรรจุ
บนทรงกระบอกหกชุ ด แล้วใช้
ฟันเฟื องเป็ นตัวหมุนทดเวลาคูณเลข
ประดิษฐ์ โดย วิลเฮล์ม ชิคการ์ ด
(1592 - 1635) ซึ่งถือได้ ว่าเป็ นผู้ที่
ประดิษฐ์ เครื่องกลไกสาหรับคานวณ
ได้ เป็ นคนแรก

www.themegallery.com

Logo
เครื่องคานวณของปาสกาล
(Pascal's Pascaline Calculator)
เครื่องคานวณของปาสกาล ประดิษฐ์ ในปี 1642 โดย เบลส ปาสกาล (Blaise Pascal
:1623 - 1662) นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศษ โดยเครื่องคานวณนีมีลกษณะเป็ นกล่อง
้ ั
สี่ เหลียม มีฟันเฟื องสาหรับตั้งและหมุนตัวเลขอยู่ด้านบน ถือได้ ว่าเป็ น "เครื่องคานวณใช้
่
เฟื องเครื่องแรก"

www.themegallery.com

Logo
เครื่องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel)
กอดฟรีด ไลปนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz: 1646 - 1716) นัก
คณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักการฑูต ชาวเยอรมัน ทาการปรับปรุ งเครื่องคานวณ
ของปาสกาลให้ สามารถคูณ และหารได้ ในปี 1673 โดยการปรับฟันเฟื องให้ ดขึน
ี ้
กว่ าของปาสกาล ใช้ การบวกซ้า ๆ กันแทนการคูณเลข จึงทาให้ สามารถทาการคูณ
และหารได้ โดยตรง ซึ่งอาศัยการหมุนวงล้ อของเครื่องเอง ยังค้ นพบเลขฐานสอง
(Binary Number) คือ เลข 0 และเลข 1 ซึ่งเป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะในการคานวณ

www.themegallery.com

Logo
เครื่องผลต่ างของแบบเบจ
(Babbage's Difference Engine)
ชารลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้
ประดิษฐ์ เครื่องผลต่ าง (Difference Engine) ขึนมาในปี 1832 เป็ นเครื่องคานวณที่
้
ประกอบด้ วยฟันเฟื องจานวนมาก สามารถคานวณค่ าของตารางได้ โดยอัตโนมัติ แล้ วส่ ง
ผลลัพธ์ ไปตอกลงบนแผ่นพิมพ์สาหรับนาไปพิมพ์ได้ ทน แบบเบจได้ พฒนาเครื่องผลต่ างอีก
ั
ั
ครั้งในปี 1852 โดยได้ รับเงินอุดหนุนจากรัฐสภาอังกฤษ แต่ กต้องยุติลงเมือผลการดาเนินการ
็
่
ไม่ ได้ ดงที่หวังไว้
ั

www.themegallery.com

Logo
เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจ
(Babbage's Analytical Engine)
หลังจากนันแบบเบจก็หนมาออกแบบเครื่องวิเคราะห์
้
ั
(Babbage's Analytical Engine) โดยเครื่องนี้ประกอบด้วย
"หน่วยความจา" ซึงก็คอ ฟันเฟืองสาหรับนับ "หน่วยคานวณ"
่ ื
ที่สามารถบวกลบคูณหารได้ "บัตรปฏิบติ" คล้ายๆ บัตรเจาะรู
ั
ใช้เป็นตัวเลือกว่าจะคานวณอะไร "บัตรตัวแปร" ใช้เลือกว่าจะใช้
ข้อมูลจากหน่วยความจาใด และ "ส่วนแสดงผล" ซึงก็คอ
่ ื
"เครื่องพิมพ์ หรือเครื่องเจาะบัตร" แต่บคคลที่นาแนวคิดของ
ุ
แบบเบจมาสร้างเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) ก็คือ ลูก
ชายของแบบเบจชื่อ เฮนรี่ (Henry) ในปี 1910
www.themegallery.com

Logo
อย่างไรก็ตามความคิดของแบบเบจ เกี่ยวกับเครื่องผลต่าง และเครื่อง
วิเคราะห์ เป็นประโยชน์ตอวงการคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมามาก จึงได้รบสมญาว่า "บิดา
่
ั
แห่งคอมพิวเตอร์" เนื่องจากประกอบด้วยส่วนสาคัญ 4 ส่วน คือ
1. ส่วนเก็บข้อมูล เป็นส่วนทีใช้ในการเก็บข้อมูลนาเข้าและผลลัพธ์ทได้จากการคานวณ
่
ี่
2. ส่วนประมวลผล เป็นส่วนทีใช้ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์
่
3. ส่วนควบคุม เป็นส่วนทีใช้ในการเคลือนย้ายข้อมูลระหว่างส่วนเก็บข้อมูลและส่วนประมวลผล
่
่
4. ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ เป็นส่วนทีใช้รบข้อมูลจากภายนอกเครืองเข้าสูสวนเก็บข้อมูล และ
่ ั
่
่่
แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณทาให้เครืองวิเคราะห์นี้ มีลกษณะใกล้เคียงกับส่วนประกอบของระบบ
่
ั
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบน
ั

www.themegallery.com

Logo
Mark I เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ ของไอบีเอ็ม
ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business Machines Co.,) โดยโธมัส
เจ. วัตสั น (Thomas J. Watson) ได้ พฒนาเครื่องคานวณทีมีความสามารถเทียบเท่ ากับ
ั
่
คอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือ เครื่องคิดเลขทีใช้ เครื่องกลไฟฟาเป็ นตัวทางาน ประกอบด้ วยฟันเฟื อง
่
้
ในการทางาน อันเป็ นการนาเอาเทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์ แบบแบบเบจมาปรับปรุ งนั่นเอง
เครื่องนียงไม่ สามารถบันทึกคาสั่ งไว้ ในเครื่องได้ มีความสู ง 8 ฟุต ยาว 55 ฟุต ซึ่งก็คือ
้ั
เครื่อง Mark I หรือชื่อทางการว่ า Automatic Sequence Controlled Calculator

www.themegallery.com

Logo
ENIAC เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก
จอห์ น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรส
เพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ได้ รับทุนอุดหนุนจาก
กองทัพสหรัฐอเมริกา ในการสร้ างเครื่องคานวณ ENIAC
เมือปี 1946 นับว่ าเป็ น "เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ เครื่อง
่
แรกของโลก หรือคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก" ENIAC
เป็ นคาย่ อของ Electronics Numerical Integrator and
Computer อาศัยหลอดสุ ญญากาศจานวน 18,000 หลอด มี
นาหนัก 30 ตัน ใช้ เนือที่ห้อง 15,000 ตารางฟุต เวลาทางาน
้
้
ต้ องใช้ ไฟถึง 140 กิโลวัตต์ คานวณในระบบเลขฐานสิ บ
www.themegallery.com

Logo
EDVAC กับสถาปัตยกรรมฟอนนอยมานน์
EDVAC หรือ Electronics Discrete Variable Automatic Computer นับเป็ นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เครื่องแรก ทีสามารถเก็บคาสั่ งเอาไว้ ทางาน ในหน่ วยความจา พัฒนาโดย จอห์ น
่
ฟอน นอยมานน์ (Dr. John Von Neumann) นักคณิตศาสตร์ ชาวฮังการี ร่ วมกับทีมมอชลีย์
และเอคเกิรต โดยฟอน นอยมานน์ แนวคิดทีน่าสนใจเกียวกับการทางานของคอมพิวเตอร์ จน
่
่
ได้ รับการขนานนามว่ า
"สถาปัตยกรรมฟอนนอนมานน์ " ซึ่งมีรายละเอียด
ดังนี้
1. มีหน่ วยความจาสาหรับใช้ เก็บคาสั่ ง และข้ อมูลรวมกัน
2. การดาเนินการ กระทาโดยการอ่านคาสั่ งจากหน่ วยความจา มาแปลความหมาย แล้วทาตาม
ทีละคาสั่ ง
3. มีการแบ่ งส่ วนการทางาน ระหว่ างหน่ วยประมวลผล หน่ วยความจา หน่ วยควบคุม และ
หน่ วยดาเนินการรับ และส่ งข้ อมูล
www.themegallery.com

Logo
UNIVAC เครื่องคอมพิวเตอร์ สาหรับ
ใช้ ในงานธุรกิจเครื่องแรกของโลก
มอชลีย์ และเอคเกิรต ในนามบริษัทเรมิงตัน แรนด์ (Remington Rand) ได้ สร้ างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ อกเครื่องหนึ่งในเวลาต่ อมา คือ UNIVAC (Universal Automatic Computer)
ี
เพือใช้ งานสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เป็ นเครื่องที่ทางานในระบบเลขฐานสิ บ
่
เหมือนเดิม อย่ างไรก็ตาม UNIVAC ก็ยงมีขนาดใหญ่ มาก ยาว 14 ฟุต กว้ าง 7 ฟุตครึ่ง สู ง 9
ั
ฟุต มีหลอดสุ ญญากาศ 5,000 หลอด แต่ มีความเร็วในการทางานสู ง สามารถเก็บตัวเลข หรือ
ตัวอักษรไว้ ในหน่ วยความจาได้ ถึง 12,000 ตัว

www.themegallery.com

Logo
โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
พ.ศ. 2385 สุ ภาพสตรี ชาวอังกฤษชื่อ Lady Augusta Ada Byron
ได้ทาการแปลเรื่ องราวเกี่ยวกับเครื่ อง Analytical Engine และได้
เขียนขั้นตอนของคาสังวิธีใช้เครื่ องนี้ให้ทาการคานวณที่ยงยาก
ุ่
่
่
ซับซ้อนไว้ในหนังสื อ Taylor's Scientific Memories จึงนับได้วา ออ
กุสต้ า เป็ นโปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุด
บัตรเจาะรู ที่บรรจุชุดคาสังไว้ สามารถนากลับมาทางานซ้ าใหม่ได้
่
ถ้าต้องการ นันคือหลักการทางานวนซ้ า หรื อที่เรี ยกว่า Loop
่
เครื่ องมือคานวณที่ถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 นั้น ทางานกับ
เลขฐานสิ บ (Decimal Number) แต่เมื่อเริ่ มต้นของศตวรรษที่ 20
ระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็ นลาดับ จึงทาให้มีการ
เปลี่ยนแปลงมาใช้เลขฐานสอง (Binary Number)กับระบบ
คอมพิวเตอร์
www.themegallery.com

Logo
วิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร์
 ยุคทีหนึง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501
่ ่
 ยุคทีสอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506
่
 ยุคทีสาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512
่
 ยุคทีสี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532
่
 ยุคทีหา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบน
่ ้
ั

www.themegallery.com

Logo
ลักษณะสาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง
ลักษณะเครื่อง

คอมพิวเตอร์มขนาดใหญ่ ใช้ไฟฟ้าแรงสูงจึงต้อง
ี
ติดตั้งในห้องปรับอากาศตลอดเวลา
วัสดุทใช้สร้าง
ี่
ใช้วงจรอิเล็คโทรนิคส์ และหลอดสูญญากาศ
ความเร็วในการทางาน
เป็นวินาที
สื่อข้อมูล
บัตรเจาะ
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ภาษาเครืองจักร (Machine Language)
่
ตัวอย่างเครื่อง
UNIVAC, IBM 650, IBM 701, NCR 102
www.themegallery.com

Logo
www.themegallery.com

Logo
ลักษณะสาคัญของเครืองคอมพิวเตอร์ยุคทีสอง
่
่
ลักษณะเครื่อง
วัสดุทใช้สร้าง
ี่

มีขนาดเล็ก มีความร้อนน้อย และราคาถูกลง
ใช้หลอดทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ มี
วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยวามจา
ความเร็วในการทางาน
เป็นมิลลิเซคคัน
่
สือข้อมูล
่
บัตรเจาะและเทปแม่เหล็กเป็นส่วนใหญ่
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ภาษาสัญลักษณ์ (symbolic Language) และ
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN)
ตัวอย่างเครื่อง
IBM 1620, IBM 1401, CDC 1604, Honeywell
200, NCR 315

www.themegallery.com

Logo
www.themegallery.com

Logo
ลักษณะสาคัญของเครืองคอมพิวเตอร์ยุคทีสาม
่
่
ลักษณะเครื่อง
เล็กลงกว่าเดิม ความเร็วเพิ่มขึน ใช้ความร้อนน้อย
้
วัสดุทใช้สร้าง
ี่
ใช้ไอซี (Integrated Circuit) ซึงสามารถทางานได้เท่ากับ
่
ทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัว (จึงทาให้ขนาดเล็ก)
ความเร็วในการทางาน
เป็นไมโครเซคคัน
่
สือข้อมูล
่
บัตรเจาะ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้
เริ่มมีภาษาโคบอลและภาษาพีแอลวัน (PL/1) ภาษาโคบอลเป็น
ภาษาที่แพร่หลายมากในยุคนี้
ตัวอย่างเครื่อง
IBM 360, CDC 3300, NCR 395, UNIVAC 9400
www.themegallery.com

Logo
www.themegallery.com

Logo
ลักษณะสาคัญของเครืองคอมพิวเตอร์ยุคทีสี่
่
่
ลักษณะเครื่อง มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือไมโครคอมพิวเตอร์ ซึงไม่จาเป็นต้องอยูใน
่
่
ห้องปรับอากาศ ทางานเร็วขึนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
้
วัสดุทใช้สร้าง
ี่
ใช้วงจรรวมขนาดใหญ่ที่เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated)
ความเร็วในการทางาน
เป็นนาโนเซคคัน
่
สือข้อมูล เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก ส่วนบัตรเจาะจะใช้น้อยลง
่
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เริ่มมีภาษาใหม่ ๆ เช่น ภาษาเบสิค ภาษาปาสคาล และภาษาซี
เกิดขึน
้
ตัวอย่างเครื่อง IBM 370, IBM 3033, UNIVAC 9700,CDC 7600,IBM PC(XT
และ AT)
www.themegallery.com

Logo
www.themegallery.com

Logo
ลักษณะสาคัญของเครืองคอมพิวเตอร์ยุคทีหา
่
่ ้
•มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการจัดการ และสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารมาก
้
ยิ่งขึน
้
•มีภาษาเชิงวัตถุ (Object-Oriented)
•ความเร็วในการทางาน เป็นพิคโคเซคคัน หนึงในล้านล้านวินาที
่
่

www.themegallery.com

Logo
คอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่า
- ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
- เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข
- การคานวณในดิจิตอลคอมพิวเตอร์เป็นระบบเลขฐานสอง

www.themegallery.com

Logo
การคานวณภายในดิจิตอลคอมพิวเตอร์
จะเป็นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้น
เลขฐานสิบและตัวอักษรที่เราใช้อยู่ จะถูกแปลงไปเป็นระบบ
เลขฐานสองเพื่อการคานวณภายในคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็
เป็นเลขฐานสองซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงเป็นเลขฐานสิบ

www.themegallery.com

Logo
สั ญญาณไฟกับเลขฐานสอง (เลข 0 = ไม่ มีไฟ และเลข 1 = มีไฟ)





www.themegallery.com

Logo




1.2 คุณสมบัตของคอมพิวเตอร์
ิ
คอมพิวเตอร์ มคุณสมบัตพนฐานที่สาคัญได้แก่
ี
ิ ื้
- การทางานและผลลัพธ์มีความเชื่อถือได้(Reliability)
- มีความรวดเร็ วในการประมวลผล(Speed)
- สามารถเก็บข้อมูลได้จานวนมาก(Storage Capacity)
- เพิมผลผลิต (Productivity)
่
- ช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจ(Decision Making)
- ช่วยลดต้นทุนในการทาธุรกิจอีกด้วย (Cost Reduction)
www.themegallery.com

Logo
แสดงรหัส ASCII เลขฐานสอง 8 หลักที่ใช้ แทนตัวอักษรและตัวเลข
www.themegallery.com

Logo
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์

www.themegallery.com

Logo
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
ซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมสมรรถนะในการทางานสู งกว่ า
ี่ ี
คอมพิวเตอร์ แบบอืน ดังนั้นจึงมีผู้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่ า คอมพิวเตอร์ สมรรถนะสู ง (High Performance
่
Computer) คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ สามารถคานวนเลขทีมจุดทศนิยม ด้ วยความเร็วสู งมาก ขนาดหลายร้ อย
่ ี
ล้ านจานวนต่ อวินาที งานที่ให้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนีทาแค่ 1 วินาที ถ้ าหากเอามาให้ คนอย่ างเราคิด อาจจะต้ อง
้
ใช้ เวลานานกว่ าร้ อยปี ด้ วยเหตุนี้ จึงเหมาะทีจะใช้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ เมือต้ องมีการคานวนมากๆ อย่ างเช่ น
่
่
งานวิเคราะห์ ภาพถ่ าย จากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หรือดาวเทียมสารวจทรัพยากร งานวิเคราะห์ พยากรณ์
อากาศ งานทาแบบจาลองโมเลกุล ของสารเคมี งานวิเคราะห์ โครงสร้ างอาคาร ทีซับซ้ อน คอมพิวเตอร์ ประเภท
่
นี้ มีราคาค่ อนข้ างแพง ปัจจุบนประเทศไทย มีเครื่องซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใช้ ในงานวิจัย อยู่ที่
ั
ห้ องปฏิบติการคอมพิวเตอร์ สมรรถภาพสู ง (HPCC) ศูนย์ เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ
ั
ผู้ใช้ เป็ นนักวิจัยด้ านวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ ทวประเทศ บริษัทผู้ผลิตทีเ่ ด่ นๆ ได้ แก่ บริษทเครย์ รีเสิ ร์ซ,
ั่
ั
บริษท เอ็นอีซี เป็ นต้ น
ั
www.themegallery.com

Logo
www.themegallery.com

Logo
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาก แต่ยังต่ากว่า
ซู เ ปอร์ ค อมพิ ว เตอร์ เหมาะกั บ การใช้ ง าน ทั้ ง ในด้ า น
วิ ศ วกรรม วิ ท ยาศาสตร์ และธุ ร กิ จ โดยเฉพาะงานที่
เกี่ยวข้องกับข้อมูลจานวนมากๆ เช่น งานธนาคาร ซึ่งต้อง
ตรวจสอบบัญชีลูกค้าหลายคน งานของสานักงานทะเบียน
ราษฎร์ ที่เก็บรายชื่อประชาชนประมาณ 60 ล้านคน พร้อม
รายละเอี ย ดต่ า งๆ งานจั ด การบั น ทึ ก การส่ ง เงิ น ของผู้
ประกั บ ตนหลายล้ า นคน ของส านั ก งานประกั น สั ง คม
กระทรวงแรงงาน คอมพิวเตอร์เมนเฟรม ที่มีชื่อเสียงมาก
คือ เครื่องของบริษัท IBM
www.themegallery.com

Logo
มินคอมพิวเตอร์ (Mini-Computer)
ิ
เป็นคอมพิวเตอร์ทมีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม คือทางานได้ชากว่า และ
ี่
้
ควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า อย่างไรก็ตามจุดเด่นสาคัญ ของเครืองมินคอมพิวเตอร์
่
ิ
ก็คอ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม การใช้งานก็ไม่ต้องใช้ บุคลากรมากนัก นอกจากนัน ยังมีผู้
ื
้
ที่รวธีใช้มากกว่าด้วย เพราะเครื่องประเภทนี้ มีใช้ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลาย
ู้ ิ
แห่ง
มินคอมพิวเตอร์ เหมาะกับงานหลากหลายประเภท คือใช้ได้ทงในงานวิศวกรรม
ิ
ั้
วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม เครื่องที่มีใช้ตามหน่วยงานราชการระดับกรมส่วนใหญ่ มักจะ
เป็นเครื่องประเภทนี้

www.themegallery.com

Logo
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro-Computer)

เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีสวนของหน่วยความจาและ
่
ความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สด สามารถใช้งานได้ดวยคนเดียว จึงมักถูก
ุ
้
เรียกว่า คอมพิวเตอร์สวนบุคคล (Personal Computer : PC) ราคาถูก ดังนัน
่
้
จึงเป็นทีนยมใช้มาก ทังตามหน่วยงานและบริษทห้างร้าน ตลอดจนตาม
่ ิ
้
ั
โรงเรียน สถานศึกษา และบ้านเรือน บริษทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์
ั
ออกจาหน่ายจนประสบความสาเร็จเป็นบริษทแรก คือ บริษทแอปเปิล
ั
ั
คอมพิวเตอร์

www.themegallery.com

Logo
Notebook/Laptop

www.themegallery.com

Logo

ความต้องการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ในทุก ๆ สถานที่
นันทาให้มการพัฒนาเครือง
้
ี
่
คอมพิวเตอร์ทสามารถนาพกติด
ี่
ตัวไปด้วย เรียกว่า Notebook
หรือ Laptop ซึ่งมีประสิทธิภาพ
และการใช้งานเทียบเท่ากับระดับ
พีซี
Handheld : Pocket PC / Palm
คอมพิวเตอร์ถกพัฒนาให้สามารถใช้งานได้สะดวกมากขึ้น โดยการออกแบบในมี
ู
รูปแบบการใช้งานอยูเพียงบนฝ่ามือเท่านั้น มีนาหนักเบา และพกพาสะดวก
่
้
ในปัจจุบนคอมพิวเตอร์แบบแฮนด์เฮลได้รบการพัฒนาให้มีความสามารถมาก
ั
ั
ขึนเรือย ๆ โดยบางรุ่นใช้กบโทรศัพท์มือถือ
้ ่
ั

www.themegallery.com

Logo
Tablet
คอมพิวเตอร์ทสามารถป้อนข้อมูลทางจอภาพได้ และสามารถใช้ซอฟต์แวร์ชนิด
ี่
เดียวกันกับที่ตดตังบนคอมพิวเตอร์แบบพีซได้
ิ ้
ี

www.themegallery.com

Logo

Contenu connexe

Tendances

ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
Muntana Pannil
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์
พัน พัน
 
สถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
สถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
สถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
Be SK
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 

Tendances (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
สถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
สถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
สถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 

Similaire à โครงงานคอมพิวเตอร์ ประวัติคอมพิวเตอร์

ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
uthenmada
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
Bansit Deelom
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Peeranut Poungsawud
 
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
ms-word2010-preface
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
Supaporn Pakdeemee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Dexloei Prawza
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
New Tomza
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปรียาพร ศิริวัฒน์
 
ศิราภรณ์ วังคีรี
ศิราภรณ์    วังคีรีศิราภรณ์    วังคีรี
ศิราภรณ์ วังคีรี
Siraporn Wangkeeree
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kittichai Pinlert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kittichai Pinlert
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 

Similaire à โครงงานคอมพิวเตอร์ ประวัติคอมพิวเตอร์ (20)

ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสีแก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
 
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ศิราภรณ์ วังคีรี
ศิราภรณ์    วังคีรีศิราภรณ์    วังคีรี
ศิราภรณ์ วังคีรี
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 

Plus de Peeranut Poungsawud (20)

Com project
Com projectCom project
Com project
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
คณิต 53
คณิต 53คณิต 53
คณิต 53
 
54
5454
54
 
53
5353
53
 
50
5050
50
 
เฉลย คณิต 53
เฉลย คณิต 53เฉลย คณิต 53
เฉลย คณิต 53
 
51
5151
51
 
52
5252
52
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เค าโครง
เค าโครงเค าโครง
เค าโครง
 
ใบงาน 9 15
ใบงาน 9 15ใบงาน 9 15
ใบงาน 9 15
 
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
ใบงานคอมพ วเตอร  2-8 ใบงานคอมพ วเตอร  2-8
ใบงานคอมพ วเตอร 2-8
 
ใบงานคอมพิวเตอร 2-8
ใบงานคอมพิวเตอร  2-8ใบงานคอมพิวเตอร  2-8
ใบงานคอมพิวเตอร 2-8
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 8
 
ข้อสอบ O net2553 สังคม
ข้อสอบ O net2553  สังคมข้อสอบ O net2553  สังคม
ข้อสอบ O net2553 สังคม
 
เฉลย สังคม
เฉลย สังคมเฉลย สังคม
เฉลย สังคม
 
เฉลย วิทยย์
เฉลย วิทยย์เฉลย วิทยย์
เฉลย วิทยย์
 
เฉลย ไทย
เฉลย ไทยเฉลย ไทย
เฉลย ไทย
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ ประวัติคอมพิวเตอร์