SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
(ก)




                                กิตติกรรมประกาศ


        การวิจัยเพือศึกษาความต้ องการของนิสิตบรรพชิตชันปี ที ต่อการจัดการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลยเล่มนีสําเร็จลงด้ วยดี
ต้ องขอขอบคุณนิสิตชันปี ที ทีตอบแบบสอบถาม และขอบคุณคณะผู้บริหารทีสนับสนุนทุน
เพือการวิจัย


                                                                      คณะผู้วิจัย
(ข)


ชือเรืองงานวิจัย :     ความต้ องการของนิสิตบรรพชิต ชันปี ที ต่อการจัดการศึกษาระดับ
                       ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
ผูวิจัย :
  ้                    พระไพรเวศน์ จิตตทนฺโต
                                       ฺ
                       นายธงชัย สิงอุดม
                       นายประสงค์ หัสรินทร์
ปี การศึกษา :

                                         บทคัดย่อ

            การศึกษาครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาความต้ องการของนิสิตชันปี ที ต่อการจัด
การศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
            กลุ่มประชากรทีใช้ ในการศึกษาเป็ นนิสิตระดับปริญญาตรี ชันปี ที จํานวน คน
            เครืองมือทีใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา
ค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี
            ด้ านการเรียนการสอน นิสิตเห็นว่าหลักสูตรมีมาตรฐานดี สามารถนําความรู้ไป
สร้ างสรรค์ในทุกด้ าน การจัดรูปแบบกิจกรรมทีเกียวข้องกับการเรียน นําไปประยุกต์ใช้ ได้ ในชีวิต
จริง
            ด้ านความคิดเห็นเกียวกับการจัดการศึกษา ต้ องการเรียนรู้และมีการฝึ กทักษะเพือ
นําไปใช้ ในการทํางาน การให้ คาแนะนําในการแก้ ปัญหาระหว่างการศึกษา นิสิตคาดหวังว่าจะ
                                ํ
ได้ รับการเรียนรู้และฝึ กทักษะในด้ านต่างๆ ได้ แก่ ความรู้และทักษะด้ านวิชาการ การทํางาน
เทคโนโลยีรวมทังทัศนคติทดีในการดํารงชีวิตการทํางานและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
                             ี
(ค)


Research Title: The needs of students 1st year on the education management:
                Academic year 2011 Bachelor degree in
                Mahachulalongkornrajavidyalaya
                University, Loei Campus.
Researcher      Phra Phraivett Jittatanto
                Thongchai Singudom
                Prasong Hutsaring
Academic year : 2011 (2554)


                                       Abstract

            This study aims to study needs of students towards the management of first
year, bachelor degree in Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Loei Campus.
The population in the study consists of the 48 first year undergraduates. Research
tool employed in the study is questionnaire and the data analysis is done with
average and standard deviations. The findings are as follows:
            i) Teaching and learning: Curriculum is good and can be adapted and
applied in every creative way.
            ii) Activities: The forms and types of activities related to teaching and
learning are useful and can be applied in actual life.
            iii) Management: Students want to be trained with skills which can be used
in real situation. They also need to know more about academic skills, knowledge,
working skills, technology including positive attitude towards life, work and whole life
learning.
บทที 1
                                            ปฐมบท

 . ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา

         ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ (            ) กําหนดแนวการจัดการศึกษาต้ องยึด
หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่ าผู้เรียนมีความสําคัญ
ทีสุด โดยต้ องเน้ นความสําคัญทังความรู้ คุณธรรมกระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความ
เหมาะสม มีความสําคัญต่อคุณลักษณะของประชาชนของชาติทีเน้ นการพัฒนาคุณภาพของคน
เพือการพัฒนาสังคมในทุกมิติ ดังนัน การสอนทักษะการเรียน (Study Skills) รูปแบบต่างๆ ซึง
รวมถึงทักษะการจัดการตนเอง (Self-Management) และการเน้ นกระบวนการอภิปัญญา
(Met cognition) ย่อ มจะทําให้ ผ้ ูเรียนสามารถ เรียนรู้ได้ ด้วยตนเองเป็ นอย่างดีและเรียนรู้ไ ด้
อย่างมีประสิทธิภาพตลอดชีวิต หลักการนีจึงสนับสนุนแนวความคิดทีว่ าการให้ การศึกษากั บ
ผู้เรียนของสถานศึกษาเป็ นการบริการสังคมทีมีเอกลักษณ์เป็ นอย่างยิง เรืองของหลักสูตรและ
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ กับเยาวชนหรือกลุ่มบุคคลต่างๆ จําเป็ นต้ องพิจารณาสภาพ
บริบทและความต้ องการของชุมชนและประเทศชาติ รวมทังตัวผู้เรียนและสถาบันครอบครัวของ
ผู้เรียนเอง ดังนันจึงจําเป็ นต้ องให้ ความสําคัญกับการสือความเข้ าใจและการประสาน แนวคิด
ให้ กั บทังบุ คลากรในสถานศึก ษาเองและบุค ลากรในหน่วยงานหรื อองค์ก รต่ างๆในชุ มชนทุ ก
ระดับ เพื อความรั บ ผิดชอบร่ วมกันในงานด้ านการจัดการศึก ษา ซึ งเป็ นงานทีทุ ก สังคมต้ อ ง
ตระหนักในความสําคัญผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการ
ศึกษาทังหลายจึงควรได้ รับการเตรียมให้ เป็ นผู้ทมีความเข้ มแข็ง ทังในด้ านองค์ความรู้และทาง
                                                  ี
วิชาการ และวิชาชีพ มีคุณสมบัติทพึงประสงค์ เพือนําพาสังคมไปสู่สังคมแห่ งคุณภาพได้ อย่าง
                                       ี
สมบูรณ์ เพือให้ สอดรับกับแนวทางการจัดการศึกษา
              ฉะนันจากเหตุผลข้ างต้ น ผู้ศึกษามีความสนใจทีจะทําการศึกษาความต้ องการของ
นิสิตชันปี ที ทีเป็ นบรรพชิตของมหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
ต่ อ การจั ดการเรี ยนการสอนประจําปี การศึ ก ษา            เพื อนําไปเป็ นข้ อ มู ลนําเสนอต่ อ ผู้ ที
เกียวข้ องต่อไป
. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
      เพือศึกษาความต้ องการของนิสิตชันปี ที ของนิสิตบรรพชิตต่อการจัดการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย

   . ขอบเขตของการศึกษา
       ในการศึ ก ษาความต้ อ งการของนิสิต บรรพชิ ต ชั นปี ที ต่ อ การจัดการศึ ก ษาระดั บ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ผู้ ศึกษาได้ กาหนดํ
ขอบเขตการศึกษาไว้ ดังนี
        . ด้านประชากร
       ประชากรในการศึกษาครังนีได้ แก่ นิสิตบรรพชิต ทีกําลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีชัน
ปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย

         . ด้านเนือหา
        การศึก ษาครั งนีมุ่ งศึ ก ษาความต้ อ งการของนิสิตชันปี ที ต่ อ การจัดการศึ กษาระดับ
ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ทยาลั ยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ทยาลั ย วิ ทยาลั ยสงฆ์เลยโดยแบ่ งการศึ ก ษา
ออกเป็ น ด้ านคือ
         . ด้ านการเรียนการสอน
         . ด้ านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของนิสิต
         . ด้ านความสัมพันธ์ของผู้เรียนกับบุคลากรในสาขาวิชา
         . ด้ านสถานทีและสิงอํานวยความสะดวกต่างๆในการศึกษา
         . ด้ านการประกอบอาชีพ

   . นิยามศัพท์เฉพาะ
         ความต้องการ หมายถึง สิงทีนิสิตมีความต้ องการจะได้ รับในการศึกษาระดับปริญญาตรี
ชั นปี ที มหาวิ ทยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาลั ยสงฆ์เ ลย การจั ดการศึ ก ษา
หมายถึง การเรียนการสอน การจัดสภาพแวดล้ อม สถานที และกิจกรรมระดับปริญญาตรีชันปี ที
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
         นิสิต หมายถึง นิสิตบรรพชิตระดับปริญญาตรี ชันปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
. ประโยชน์ทีได้รบจากการศึกษา
                 ั
        . ทราบความต้ องการของนิสิตบรรพชิตชันปี ที ต่อการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย

        . เพื อเป็ นแนวทางในการพัฒนาการสอนในการศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรี ชันปี ที
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
บทที
                                      เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง

       ผู้ศึกษาได้ ศึกษาค้ นคว้ าเอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้ องเพือใช้ ในการศึกษาความต้ องการ
ของนิสิตต่อการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีบรรพชิตชันปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ตามลําดับหัวข้ อดังนี
         . การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
         . ความเป็ นมาของวิทยาลัยสงฆ์เลย
         . แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
         . แนวคิดความต้ องการของมนุษย์
         . งานวิจัยทีเกียวข้ อง
         . กรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัย

    . การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

          มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย เป็ นสถาบันการศึกษา
ชั นสู ง ของคณะสงฆ์ ซึ งสมเด็จ บรมบพิ ต ร พระราชสมภารเจ้ า สมเด็จ พระปรมิ น ทรมหา
จุ ฬ าลงกรณ์ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ ท รงสถาปนาขึ นเมื อ พ.ศ.        มี ชื อเดิ ม ว่ า
"มหาธาตุวิทยาลัย" และมีพระบรมราชโองการเปลียนนามใหม่ว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย"
เมื อ วั นที กั น ยายน พ.ศ.                โดยมีพ ระราชประสงค์ จ ะให้ เ ป็ นอนุ ส รณ์ เฉลิ ม พระ
เกียรติยศของพระองค์สืบไป ดังปรากฏในประกาศพระราชปรารภในการก่อพระฤกษ์สังฆิกเส
นาศน์ราชวิทยาลัยต่อไปนี 1
          พระราชปรารถในการก่อพระฦกษ์สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย
          พระพิมลธรรม พระพิมลธรรม (ช้ อย ฐานทตฺตเถร) สนองพระราชปรารถ
          ยุคริเริมการจัดการศึกษา
          ยุคปรับปรุงและขยายการศึกษา
          ยุครับรองปริญญาบัตรและสถานะของมหาวิทยาลัย




1
    เข้าถึงใน http://www.mcu.ac.th/site/history.php. ประวัติมหาวิทยาลัย. วันที ธันวาคม   .
5




 . ความเป็ นมาของวิทยาลัยสงฆ์เลย

            วิทยาลัยสงฆ์เลยเป็ นส่วนงานสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยา
เขตขอนแก่น ตังอยู่เลขที 366 อาคารกาญจนาภิเษก ชันที วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดป่ อง
อําเภอเมือง จังหวัดเลย มีประวัติการก่อตังโดยย่อคือ เมือ พ.ศ.              พระสุนทรปริยัติเมธี
(พรหมา จนฺทโสภโณ) สมณศักดิในขณะนัน ซึงเป็ นเจ้ าคณะจังหวัดเลยร่ วมกับพระสังฆาธิการ
ในเขตจังหวั ดเลย ได้ เสนอโครงการก่ อ ตังวิ ทยาลั ยสงฆ์เลยต่ อ มหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ทยาลั ย
วิทยาเขตขอนแก่น และได้ รับอนุมัติให้ ก่อตังศูนย์การศึกษาเลย สังกัดวิทยาเขตขอนแก่น ต่อมา
เมือวันที สิงหาคม พ.ศ.              ได้ รับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย มหาจุ ฬาลงกรณราช
วิทยาลัย ให้ ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลยเป็ นวิทยาลัยสงฆ์เลย
            วัตถุประสงค์ในการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลย ก็เพือตอบสนองความต้ องการของศึกษา
ของพระภิกษุสามเณร เพือสนองนโยบายของรัฐบาลในการกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ ทวถึง           ั
แก่ผ้ ูด้อยโอกาส เพือเปิ ดโอกาสให้ บุคลากรในท้องถินได้ มีส่วนร่ วมดําเนินการศึกษาระดับบาลี
อุดมศึกษาให้ เกิดประโยชน์แก่พระภิกษุสามเณรในชนบท และสามารถนําความรู้ดังกล่ าวไป
ประยุกต์ใช้ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้ อย่างพึงประสงค์ และมีประสิทธิภาพ ดังนี
              . เพื อพั ฒ นาทรั พยากรบุ ค คลทางพระพุท ธศาสนาในท้ อ งถิ น ให้ มี คุ ณ ธรรม มี
จริยธรรม มีความสามารถและมีศักยภาพในการบริหารกิจการคณะสงฆ์และสังคม
              . เพื อขยายโอกาสให้ พระสัง ฆาธิ ก าร ครู ส อนพระปริ ยั ติ ธ รรม และ พระภิ ก ษุ
สามเณรที สนองงานคณะสงฆ์ ใ นท้ อ งถิ น ได้ ศึ ก ษาวิ ช าการด้ านพระพุ ท ธศาสนาใน
ระดับอุดมศึกษา
              . เพือผลิตบัณฑิตทีมีความรู้ ความสามารถด้ านพระพุทธศาสนา
              . เพือเป็ นแหล่งบริการด้ านพระพุทธศาสนา ทํานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
                                                              ํ
            ปัจจุบันทีวิทยาลัยสงฆ์เลยได้ เปิ ดหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน สาขาวิชา คือ
            1. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
            2. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
            3. สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง
            มีโครงการหลักสูตรประกาศนียบัตร คือ
            โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)
6




           โดยมีพันธกิจตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในด้ านต่างๆ
ดังนี
          ด้านการผลิตบัณฑิต
          ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประการ คือ มีปฏิปทาน่า
เลือมใส ใฝ่ รู้ใฝ่ คิด เป็ นผู้นาด้ านจิตใจและปั ญญา มีความสามารถในการแก้ ปัญหา มีศรัทธา
                                ํ
อุทศตนเพือพระพุทธศาสนา รู้จักเสียสละเพือส่วนรวม รู้เท่าทันความเปลียนแปลงของสังคม มี
    ิ
โลกทัศน์ กว้ างไกล มีศักยภาพทีจะพัฒนาตนเอง ให้ เพียบพร้ อมด้ วยคุณธรรมและจริยธรรม

            ด้านการวิจัยและพัฒนา
            การวิจัยและค้ นคว้ า เพือสร้ างองค์ความรู้ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน เน้ น
การพั ฒนาองค์ ค วามรู้ ใ นพระไตรปิ ฎก โดยวิ ธี สหวิ ท ยาการแล้ ว นํา องค์ ค วามรู้ ทีค้ นพบมา
ประยุกต์ใช้ แก้ ปัญหา ศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทังพัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้ าน
พระพุทธศาสนา
            ด้านการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม        ั
            ส่ ง เสริ ม พระพุ ท ธศาสนาและบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม ตามปณิ ธ านการจั ด ตั ง
มหาวิ ทยาลั ย ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง กิ จ กรรมต่ า งๆ ให้ ประสานสอดคล้ อ ง เอื อต่ อ การส่ ง เสริ ม
สนับ สนุ นกิ จการคณะสงฆ์ สร้ างความรู้ ความเข้ าใจหลั ก คําสอนทางพระพุทธศาสนา สร้ าง
จิตสํานึกด้ านคุณธรรม จริ ยธรรมแก่ประชาชน จัดประชุม สัมมนา และฝึ กอบรม เพื อพัฒนา
พระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้ มีศักยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่ หลักคําสอน และเป็ น
แกนหลักในการพัฒนาจิตใจในวงกว้ าง

          ด้านการทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม
          เสริมสร้ างและพัฒนาแหล่ งการเรียนรู้ด้านการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ให้ เอือต่อ
การศึ กษา เพื อสร้ างจิตสํานึก และความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย สนับสนุนให้ มีก ารนําภู มิ
ปัญญาท้องถิน มาเป็ นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ

          เปาประสงค์ของวิทยาลัยสงฆ์เลย
            ้
              . จัดการศึก ษา ส่ งเสริ ม และพัฒนาวิ ชาการทางพระพุทธศาสนาประยุกต์เข้ ากั บ
ศาสตร์ต่างๆ เพือการผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิต และทรัพยากรมนุษย์ให้ เป็ นทียอมรับของ
สังคม
            . เพือให้ มีโครงสร้ างทีกะทัดรัดและมีระบบการบริหารทีมีความคล่ องตัว สามารถ
ดําเนินงานทุกด้ านได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล โป่ งใส ตรวจสอบได้
7




            . เพือให้ บุคลากรทุกระดับในวิทยาเขตขอนแก่น เป็ นผู้มีความรู้ความสามารถให้
ทันต่อความเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิงแวดล้ อม และเป็ นผู้ชีนําทางวิชาการ
ด้ านพระพุทธศาสนา
            . เพือให้ สามารถปฏิบัติภารกิจหลักในด้ านการบริหาร การจัดการศึกษา การวิจัย
การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมได้
ตามเป้ าหมาย
            . เพือพัฒนาวิทยาลัยสงฆ์เลยให้ เป็ นศูนย์กลางการศึกษาด้ านพุทธศาสนา สะสม
อนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิน พัฒนาองค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม เพือมุ่งสู่การ
เป็ นศูนย์กลางการพัฒนาองค์ความรู้ และเป็ นผู้นาด้ านการวิจัยด้ านพระพุทธศาสนา ปรัชญา
                                                ํ
ศิลปะและวัฒนธรรมในภูมิภาคนี
            . เพือให้ สามารถระดมทุนจากแหล่ งต่ าง ๆ ให้ เพียงพอต่อการจัดหาและพัฒนา
อาคารสถานที บุคลากร ครุภัณฑ์ทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ ภาคเอกชน
ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์เพิมมากขึน

 . แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

         ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.                   ได้ กาหนดแนวการจัดการศึกษาของ
                                                                       ํ
ชาติไว้ ในหมวดที 4 ตังแต่มาตรา ถึง มาตรา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ
      ) ซึงสรุปสาระสําคัญได้ ดังนี
            . การจัดการศึกษาต้องเน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
และประสบการณ์การเรียนรูยึดหลักดังนี ้
                       . ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ดังนันจึงต้ องจัด
         สภาวะแวดล้ อ ม บรรยากาศรวมทังแหล่ งเรี ยนรู้ ต่าง ๆ ให้ หลากหลาย เพื อเอื อต่ อ
         ความสามารถของแต่ละบุคคล เพือให้ ผ้ ูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติทสอดคล้ อง          ี
         กั บ ความถนัดและความสนใจเหมาะสมแก่ วัย และศั ก ยภาพของผู้ เรี ยน เพื อให้ ก าร
         เรี ยนรู้ เกิ ดขึนได้ ทุก เวลาทุ ก สถานทีและเป็ นการเรี ยนรู้ กั นและกั น อั นก่ อ ให้ เกิ ดการ
         แลกเปลี ยนประสบการณ์ เพื อการมีส่ วนร่ วมในการพั ฒนาตนเองชุ มชน สั งคมและ
         ประเทศชาติ โดยการประสานความร่ วมมือ ระหว่ างสถานศึ กษากั บผู้ ปกครองบุ ค คล
         ชุมชนและทุกส่วนของสังคม
                       . ผู้เรียนมีความสําคัญ ทีสุด การเรียนการสอนมุ่งเน้ นประโยชน์ของผู้เรียน
         เป็ นสําคั ญ จึงต้ องจัดให้ ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กปฏิ บัติให้ ทาได้ คิ ด
                                                                                                ํ
         เป็ น ทําเป็ น มีนิสัยรักการเรียนรู้ และเกิดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนอย่างต่อเนืองตลอดชีวิต
8




            . มุ่งปลูกฝังและสร้างลักษณะทีพึงประสงค์ให้กบผูเ้ รียน โดยเน้นความรู ้ คุณธรรม
                                                                ั
ค่านิยมทีดีงามและบู รณาการความรู ในเรืองต่าง ๆ อย่างสมดุล รวมทังการฝึ กทักษะและ
                                            ้
กระบวนการคิดการจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ใช้ความรูโดยให้ผูเ้ รียน      ้
มีความรูและประสบการณ์ในเรืองต่าง ๆ ดังนี
          ้
                     . ความรู้เรื องเกียวกับตนเองและความสัมพั นธ์ของตนเองกับสังคม ได้ แ ก่
       ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกียวกับประวัติศาสตร์ความเป็ นมา
       ของสั ง คมไทยและระบบการเมื อ งการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี
       พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
                     . ความรู้ แ ละทัก ษะด้ านวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี รวมทังความรู้ ค วาม
       เข้ า ใจและประสบการณ์ เรื องการจั ดการ การบํา รุ ง รั ก ษา และการใช้ ป ระโยชน์ จาก
       ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้ อมอย่างสมดุลยังยืน
                     . ความรู้เกียวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการ
       รู้จักประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญา
                     . ความรู้และทักษะด้ านคณิตศาสตร์และด้ านภาษา เน้ นการใช้ ภาษาไทยอย่าง
       ถูกต้ อง
                     . ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิตอย่างมีความสุข
            . กระบวนการเรียนรู ้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติได้กําหนดแนวทางใน
การจัดกระบวนการเรียนรูของสถานศึกษาและหน่วยงานทีเกียวข้อง ดังนี
                                 ้
                     . จัดเนือหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้ องกับความสนใจและความถนัดของ
       ผู้เรียน โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
                     . ให้ มีการฝึ กทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และ
       การประยุกต์ความรู้มาใช้ เพือป้ องกันและแก้ ไขปัญหา
                     . จัดกิจกรรมให้ ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึ กการปฏิบัติให้ ทาได้
                                                                                               ํ
       คิดเป็ น ทําเป็ น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่ รู้อย่างต่อเนือง
                     . จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้ สัดส่วน
       สมดุลกัน รวมทังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมทีดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ ใน
       ทุกวิชา
                     . ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผ้ ูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้ อมสือการ
       เรียนและอํานวยความสะดวก เพือให้ ผ้ ู เรี ยนเกิดการเรียนรู้แ ละมีความรอบรู้ รวมทัง
       สามารถใช้ การวิจัยเป็ นส่วนหนึงของกระบวนการเรียนรู้
                     . ผู้ เรี ยนและผู้สอนเรี ยนรู้ไปพร้ อมกันจากสือการเรียนการสอนและแหล่ ง
       วิทยาการประเภทต่าง ๆ
9




                  . การเรียนรู้เกิดขึนได้ ทุกเวลา ทุกสถานที มีการประสานความร่วมมือกับบิดา
      มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพือร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
         . การส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ ได้
                                                      ้
กําหนดบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรูของรัฐ และสถานศึกษาต่าง ๆ ดังนี
                                             ้
                  . รัฐต้ องส่งเสริมการดําเนินงาน และการจัดตังแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุก
      รูปแบบ ได้ แ ก่ ห้ องสมุดประชาชน พิ พิธภั ณฑ์ หอศิ ลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะสวน
      พฤกษศาสตร์ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ศู น ย์ ก ารกี ฬ าและนั น ทนาการ
      แหล่งข้ อมูลและแหล่งการเรียนรู้ อย่างพอเพียงและมีประสิทธิภาพ
                  . ให้ คณะกรรมการการศึ ก ษาขั นพื นฐาน กํา หนดหลั ก สู ต รแกนกลาง
      การศึกษาขันพืนฐานเพือความเป็ นไทย ความเป็ นพลเมืองดีของชาติ การดํารงชีวิตและ
      การประกอบอาชีพตลอดจนเพือการศึกษาต่อ
                  . ให้ ส ถานศึ ก ษาขั นพื นฐาน มี ห น้ า ทีจั ด ทํา สาระของหลั ก สู ต รในส่ ว นที
      เกี ยวข้ อ งกั บ สภาพปั ญ หาในชุ ม ชนและสัง คม ภู มิปั ญ ญาท้ อ งถิ นคุ ณ ลั ก ษณะอั นพึ ง
      ประสงค์ เพือเป็ นสมาชิกทีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
                  . หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ต้ องมีลักษณะหลากหลายเหมาะสมกับแต่
      ละระดับ โดยมุ่งพั ฒนาคุณ ภาพชี วิตของบุ ค คล สาระของหลัก สูตร ทังทีเป็ นวิ ชาการ
      วิชาชีพ ต้ องมุ่งพัฒนาคนให้ มีความสมดุล ทังด้ านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความ
      ดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม
                  . ให้ ส ถานศึ ก ษาร่ ว มกั บ บุ ค คล ครอบครั ว ชุ มชน องค์ ก รชุ ม ชนองค์ ก ร
      ปกครองส่ วนท้ อ งถิ น เอกชน องค์ ก รเอกชน องค์ ก รวิ ช าชี พ สถาบั นศาสนา สถาน
      ประกอบการ และสถาบันสังคมอืน ส่งเสริมความเข้ มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการ
      เรียนรู้ภายในชุมชน เพือให้ ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้ อมูล
      ข่ า วสาร และรู้ จั ก เลื อ กสรรภู มิ ปั ญ ญาและวิ ท ยาการต่ า ง ๆ เพื อพั ฒ นาชุ ม ชนให้
      สอดคล้ อ งกั บ สภาพปั ญ หาและความต้ อ งการ รวมทังหาวิ ธี ก ารสนั บ สนุ น ให้ มี ก าร
      เปลียนแปลงประสบการณ์การพัฒนาระหว่างชุมชน
                  . ให้ สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีมีประสิทธิภ าพรวมทัง
      การส่งเสริมให้ ผ้ ูสอนสามารถวิจัยเพือพัฒนากระบวนการเรียนรู้ทเหมาะสมกับผู้เรียนใน
                                                                          ี
      แต่ละระดับการศึกษา
10




          . การประเมินผลการเรียนรู ้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ได้ระบุถงวิธีการ
                                                                             ึ
ประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรู ไว้ว่า ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผลผูเ้ รียน โดย
                                       ้
พิจารณา
        จากพั ฒนาการของผู้ เรี ยน ความประพฤติ การสังเกตพฤติก รรมการเรี ยน การร่ วม
กิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดับและรูปแบบการศึก ษา นอกจากนันการประเมินผลผู้ เรี ยนยังต้ องเกียวข้ องกับหลัก การ
สําคัญคือ
                . ใช้ วิธีการทีหลากหลายในการประเมินผู้เรียน
                . ใช้ วิธีการทีหลากหลายในการจัดสรรโอกาสเข้ าศึกษาต่อ
                . ใช้ การวิจัยเพือพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีเหมาะสมกับผู้เรียน
                . มุ่งการประกันคุณภาพ โดยสถานศึกษาทําการประเมินผลภายในทุกปี และ
        รายงานผลการประเมินต่อต้ นสังกัดและสาธารณชน
                . สถานศึกษาได้ รับการประเมินภายนอกอย่างน้ อย ครัง ทุก ปี

 . แนวคิดความต้องการของมนุ ษย์

            ความต้ องการเป็ นปัจจัยสําคัญมากเมือเทียบกับปั จจัยอืน ๆ ของความแตกต่างของ
บุคคลเพราะเป็ นความรู้สึกภายในและได้ รับอิทธิพลมาจากหลาย ๆ ประการด้ วยกัน คือ ความ
ต้ องการเป็ นผลรวมของปัจจัยต่าง ๆ จากจิตทีสังออกมา การสังออกมาในรูปของความต้ องการ
นีย่อมมีผลทําให้ ร่างกายเกิดพฤติกรรมทังทีเป็ นทีพึ งปรารถนาและไม่เป็ นทีพึ งปรารถนาของ
สังคม(ลักขณา สริวัฒน์,          , หน้ า ) ทฤษฎีทเกียวข้ องกับความต้ องการได้ มีนักจิตวิทยา
                                                    ี
หลาย ๆ ท่านเสนอไว้ ดังนี
            ความหมายของความต้ องการ ความต้ องการหมายถึง ความประสงค์อย่างแรงกล้ าที
จะกระทําการบางอย่าง อาจเป็ นสิงทีเป็ นจริงหรือเป็ นสิงทีสมมติขนก็ได้ และมีโอกาสทีจะเป็ นไป
                                                                ึ
ได้ เกิดขึนได้ หรือปรากฏให้ เห็นได้ โดยสามารถชีแจงเหตุผลให้ เข้ าใจ และมีกาหนดระยะเวลา
                                                                            ํ
E-learning Consumer Behavior “ความต้ อ งการและจู งใจ” (ระบบออนไลน์) แหล่ งทีมา
http://www.bc.msu.ac.th ( เมษายน            ) ได้ ให้ ความต้ องการ หมายถึงการทีบุคคลรับรู้ถึง
ความแตกต่างระหว่ างสภาพในอุดมคติและสภาพความเป็ นจริงในปั จจุ บัน ซึงมีอิทธิพลเพียง
พอทีจะกระตุ้นให้ เกิดพฤติกรรม เราสามารถแบ่งความต้ องการออกเป็ น ลักษณะ คือ
               . ความต้ องการทางกายภาพ เป็ นระดับความต้ องการขันแรก ซึงเป็ นความต้ องการ
พืนฐานและเป็ นความต้ องการเพือให้ ชีวิตอยู่รอด
11




             . ความต้ องการทางจิตใจ หรือความต้ องการทีเป็ นความปรารถนา ซึงถือว่ าเป็ น
ความต้ องการขันทุติยภูมิ ทีเป็ นผลจากสภาพจิตใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอืนทฤษฎีความ
ต้ องการ(Need Theory) ความต้ องการของคนจะเพิมมากขึนเรือยๆ ซึงในแต่ละขันของความ
ต้ องการต้ องได้ รับการตอบสนองนันๆเสียก่อน ขันต่อๆไปจึงจะตามมา และสภาพของความตึง
เครียด ความไม่ พึงพอใจ ซึงจะกระตุ้นให้ บุคคลกระทําการเพือให้ บ รรลุวัตถุ ประสงค์ ทีเชือว่ า
ตอบสนองแรงดล(Impulse) แรงขับ(Drive = ตัณหา) Impulse หมายถึง ความโน้ มเอียงทีจะ
กระทําโดยไม่ได้ คิดถึงผลเสียอะไรไว้ ล่วงหน้ าทังสิน Drive หมายถึง ปัจจัยทีมาผลักดันให้ บุคคล
หรือสัตว์กระทําอย่างใด อย่างหนึงลงไปโดยไม่คิดถึงผลทีเกิดขึนและปั จจัยเหล่ านีมีแรงดันเกิน
กว่าทีตัวเองจะควบคุมไว้ ได้

             ทฤษฎีลําดับความต้องการ (Hierarchy of Needs Theory)
             เป็ นทฤษฎีทพัฒนาขึนโดย อับราฮัม มาสโลว์ (อ้ างใน พจน์ ศุภพิชณ์,
                          ี                                                             , หน้ า
    ) นักจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยแบรนดีส์ เป็ นทฤษฎีทีรู้จักกันมากทีสุดทฤษฎีหนึง ซึงระบุว่า
บุคคลมีความต้ องการเรียงลําดับจากระดับพืนฐานทีสุดไปยังระดับสูงสุด กรอบความคิดทีสําคัญ
ของทฤษฎีนมี ประการคือ
              ี
                . บุคคลเป็ นสิงมีชีวิตทีมีความต้ องการ ความต้ องการมีอิทธิพลหรือแรงจู งใจต่ อ
พฤติกรรมความต้ องการทียังไม่ได้ รับการตอบสนองเท่านันทีเป็ นเหตุจูงใจ ส่วนความต้ องการที
ได้ รับการตอบสนองแล้ วไม่เป็ นเหตุจูงใจอีกต่อไป
                . ความต้ องการของบุคคลเป็ นลําดับชั นเรียงตามความสําคัญ จากความต้ องการ
พืนฐานไปจนถึงความต้ องการทีซับซ้ อน
                . เมือความต้ องการลําดับตําได้ รับ การตอบสนองอย่างดีแล้ ว บุ คคลจะก้ าวไปสู่
ความต้ องการลําดับทีสูงขึนต่อไป
             ทฤษฎีความต้ องการสามประการ ของ McClelland และคณะ เสนอว่ าความต้ องการ
ของมนุษย์เกิดขึนผ่านประสบการณ์ของชีวิต ไม่ใช่ เกิดตามธรรมชาติ แบ่ งออกเป็ น ประเภท
คือ ความต้ องการอํานาจ ความต้ อ งการอํานาจสังคม และความต้ อ งการประสบความสําเร็จ
ลําดับขันความต้ องการตามแนวคิดของมาสโลว์มาสโลว์ (Abraham H. Maslow อ้ างใน พรรณี
ชูทัย เจนจิต,          , หน้ า     - ) ผู้ก่อตังจิตวิทยาสาขามนุษยนิยม เป็ นผู้หนึงทีได้ ศึกษา
ค้ นคว้ าถึ งความต้ อ งการของมนุษย์โดยมองเห็นว่ า มนุ ษย์ทุก คนล้ วนแต่ มีความต้ อ งการทีจะ
สนองความต้ อ งการให้ กั บ ตนเองทังสินซึ งความต้ อ งการของมนุ ษย์ นีมีมากมายหลายอย่ า ง
ด้ วยกัน เขาได้ นาความต้ องการเหล่านันมาจัดเรียงเป็ นลําดับขันจากขันตําสุดไปขันสูงสุดเป็ น
                  ํ
ขัน โดยทีมนุ ษย์จะแสดงความต้ อ งการในขันสูงๆ ถ้ าความต้ อ งการในขันต้ น ๆ ได้ รั บ การ
ตอบสนองเสียก่อน มาสโลว์ได้ อธิบายถึงลักษณะความต้ องการในแต่ละขันไว้ ดังนี
12




            . ความต้ องการทางกาย (Physiological Needs) เป็ นความต้ องการขันพืนฐานที
ชาวพุทธเรียกว่า ปัจจัย 4 แต่ทางตะวันตกรวมความต้ องการทางเพศ (Sex) ด้ วย
            . ความต้ อ งการความปลอดภัย (Security Needs) เป็ นความต้ อ งการทีให้ ทัง
ร่างกายและจิตใจได้ รับความปลอดภัยจากภัยต่าง ๆ ทังปวง
            . ความต้ องการทางสังคม (Social Needs) เป็ นความต้ องการส่วนหนึงของสังคม
ซึงเป็ นธรรมชาติอย่างหนึงของมนุษย์ เช่ น ความต้ องการทีได้ อยู่ในหมู่หรือพวก ต้ องการความ
รัก
            . ความต้ องการเกียรติยศชือเสียง (Esteem Needs) เมือความต้ องการทางสังคม
ได้ รับการตอบสนองแล้ ว คนเราจะต้ องการสร้ างสถานภาพของตัวเองให้ สูงเด่น มีความภูมิใจ
และสร้ างการนับ ถือ ตนเอง ชื นชมในความสําเร็จของงานทีทํา ความรู้ สึก มันใจในตัวเองและ
เกียรติยศ เช่ น ยศ ตําแหน่ ง ระดับเงินเดือนทีสูง งานทีท้ าทาย ได้ รั บการยกย่อ งจากผู้อืน มี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจในงาน ความต้ องการมีความรู้ความสามารถ เป็ นต้ น
            . ความต้ องการความสําเร็จในชีวิต (Self-actualization Needs) เป็ นความต้ องการ
ระดับสูงสุด คือ ต้ องการจะเติมเต็มศักยภาพของตนเอง ต้ องการความสําเร็จในสิงทีปรารถนา
สูงสุดความเจริญก้ าวหน้ า การพัฒนาทักษะความสามารถให้ ถึงขีดสุดยอด มีความเป็ นอิสระใน
การตัดสินใจและการคิดสร้ างสรรค์สิงต่างๆ การก้ าวสู่ตาแหน่งทีสูงขึนในอาชีพและการงาน
                                                    ํ
เป็ นต้ น

            ทฤษฎีความต้องการตามแนวความคิดของเมอร์เรย์ (Murray)
            เมอเรย์ (อ้ างใน วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ,                , หน้ า - ) มีความคิดเห็นว่ า
ความต้ อ งการเป็ นสิงทีบุค คลได้ สร้ างขึน ก่ อให้ เกิดความรู้สึกซาบซึง ความต้ องการนีบางครั ง
เกิดขึนเนืองจากแรงกระตุ้นภายในของบุคคล และบางครังอาจเกิดความต้ องการเนืองจากสภาพ
สังคมก็ได้ หรืออาจกล่าวได้ ว่า ความต้ องการเป็ นสิงทีเกิดขึน เนืองมาจากสภาพทางร่ างกายและ
สภาพจิตใจนันเอง ทฤษฎีความต้ องการตามหลักการของเมอร์เรย์ สามารถสรุปได้ ดังนี
             . ความต้ อ งการทีจะเอาชนะด้ ว ยการแสดงออกความก้ า วร้ า ว (Need for
Aggression) ความต้ องการทีจะเอาชนะผู้อืน เอาชนะต่อสิงขัดขวางทังปวงด้ วยความรุนแรง มี
การต่อ สู้ การแก้ แ ค้ น การทําร้ ายร่ างกาย หรื อฆ่ าฟั นกั น เช่ น การพูดจากระทบกระแทกกั บ
บุคคลทีไม่ชอบกันหรือมีปัญหากัน เป็ นต้ น
             . ความต้ องการทีจะเอาชนะฟั นฝ่ าอุปสรรคต่าง ๆ (Need for Counteraction)
ความต้ องการทีจะเอาชนะนีเป็ นความต้ องการทีจะฟนั ฝ่ าอุปสรรค ความล้ มเหลวต่าง ๆ ด้ วย
การสร้ างความพยายามขึนมา เช่ น เมื อได้ รั บ คํา ดูถู ก ดูหมิน ผู้ ไ ด้ รั บ จะเกิ ดความพากเพี ย ร
พยายามเพือเอาชนะคําสบประมาทจนประสบความสําเร็จ เป็ นต้ น
13




             . ความต้ องการทีจะยอมแพ้ (Need for Abasement) ความต้ องการชนิดนีเป็ น
ความต้ องการทีจะยอมแพ้ ยอมรับผิด ยอมรับคําวิจารณ์ หรือยอมรับการถูกลงโทษ เช่ น การ
เผาตัวตายเพื อประท้ วงระบบการปกครอง พั นท้ ายนรสิงห์ไ ม่ยอมรับอภัยโทษ ต้ องการจะรั บ
โทษตามกฎเกณฑ์ เป็ นต้ น
             . ความต้ องการทีจะป้ องกันตนเอง (Need for Defendant) เป็ นความต้ องการทีจะ
ป้ องกั น ตนเองจากคํา วิ พ ากย์ วิจ ารณ์ การตําหนิ ติ เ ตี ย น ซึ งเป็ นการป้ องกั น ทางด้ า นจิ ต ใจ
พยายามหาเหตุผ ลมาอธิ บ ายการกระทําของตน มีก ารป้ องกั นตนเองเพื อให้ พ้นผิ ดจากการ
กระทําต่าง ๆ เช่นให้ เหตุผลว่ าสอบตกเพราะครูสอนไม่ดี ครูอาจารย์ทีไม่มีวิญญาณครู ขีเกียจ
อบรมสังสอนศิษย์
             . ความต้ องการเป็ นอิสระ (Need for Autonomy) ความต้ องการชนิดนีเป็ นความ
ต้ อ งการทีปรารถนาจะเป็ นอิ สระจากสิงกดขีทังปวง ต้ อ งการทีจะต่ อสู้ดินรนเพื อเป็ นตัวของ
ตัวเอง
             . ความต้ องการความสําเร็จ (Need for Achievement) คือ ความต้ องการทีจะ
กระทําสิงต่าง ๆ ทียากลําบากให้ ประสบความสําเร็จ จากการศึ กษาพบว่ า เพศชายจะมีระดับ
ความต้ องการความสําเร็จมากกว่าเพศหญิง
             . ความต้ องการสร้ างมิตรภาพกับบุค คลอืน (Need for Affiliation) เป็ นความ
ต้ องการทีจะทําให้ ผ้ ูอืนรักใคร่ ต้ องการรู้จักหรือมีความสัมพันธ์กับบุคคลอืน ต้ องการเอาอกเอา
ใจ มีความซือสัตย์ต่อเพือนฝูง พยายามสร้ างความสัมพันธ์ใกล้ ชิดกับบุคคลอืน
             . ความต้ องการความสนุกสนาน (Need for Play) เป็ นความต้ องการทีจะแสดง
ความสนุกสนาน ต้ องการหัวเราะเพือการผ่อนคลายความตึงเครียด มีการสร้ างหรือเล่าเรืองตลก
ขบขัน เช่น มีการพักผ่อนหย่อนใจ มีส่วนร่วมในเกมกีฬา เป็ นต้ น
             . ความต้ องการแยกตนเองจากผู้อืน (Need for Rejection) บุคคลมักจะมีความ
ปรารถนาในการทีจะแยกตนเองออกจากผู้อืน ไม่มีความรู้สึกยินดียินร้ ายกับบุคคลอืน ต้ องการ
เมินเฉยจากผู้อืน ไม่สนใจผู้อืน
               . ความต้ องการความช่ วยเหลือจากบุคคลอืน (Need for Succedanea) ความ
ต้ องการประเภทนีจะเป็ นความต้ องการให้ บุคคลอืนมีความสนใจ เห็นอกเห็นใจ มีความสงสาร
ในตนเองต้ องการได้ รับความช่วยเหลือ การดูแล ให้ คาแนะนําดูแลจากบุคคลอืนนันเอง
                                                         ํ
               . ความต้ องการทีจะให้ ความช่ วยเหลือต่อบุคคลอืน (Need for Nurture) เป็ น
ความต้ องการทีจะเข้ าร่ วมในการทํากิจกรรมกับบุคคลอืน โดยการให้ ความช่ วยเหลือให้ บุคคล
อืนพ้ นจากภัยอันตรายต่าง ๆ
               . ความต้ องการทีจะสร้ างความประทับใจให้ กับผู้อืน (Need for Exhibition) เป็ น
ความต้ องการทีจะให้ บุคคลอืนได้ เห็น ได้ ยินเกียวกับเรืองราวของตนเอง ต้ องการให้ ผ้ ูอืนมีความ
14




สนใจ สนุกสนาน แปลกใจ หรือตกใจในเรืองราวของตนเอง เช่ น เล่ าเรืองตลกขบขันให้ บุคคล
อืนฟังเพือบุคคลอืนจะเกิดความประทับใจในตนเอง เป็ นต้ น
               . ความต้ องการมีอิทธิพลเหนือบุคคลอืน (Need for Dominance) เป็ นความ
ต้ องการทีจะให้ บุคคลอืนมีการกระทําตามคําสังหรือความคิด ความต้ องการของตน ทําให้ เกิด
ความรู้สึกว่าตนมีอิทธิพลเหนือกว่าบุคคลอืน
               . ความต้ องการทีจะยอมรับนับถือผู้อาวุโสกว่า (Need for Deference) เป็ นความ
ต้ อ งการทียอมรั บ นับ ถื อ ผู้ทีอาวุ โสกว่ าด้ วยความยินดี รวมทังนิยมชมชื นในบุค คลทีมีอานาจ
                                                                                         ํ
เหนือกว่าพร้ อมทีจะให้ ความร่วมมือกับบุคคลดังกล่าวด้ วยความยินดี
               . ความต้ อ งการหลี ก เลี ยงความรู้ สึก ล้ มเหลว (Need for Avoidance of
Inferiority) ความต้ องการจะหลีกเลียงให้ พ้นจากความอับอายทังหลาย ต้ องการหลีกเลียงการดู
ถูก หรือการกระทําต่าง ๆ ทีก่อให้ เกิดความละอายใจ รู้สึกอับอายล้ มเหลว พ่ายแพ้
               . ความต้ องการทีจะหลีกเลียงจากอันตราย (Need for Avoidance Harm)ความ
ต้ องการนีเป็ นความต้ องการทีจะหลีกเลียงความเจ็บปวดทางด้ านร่ างกาย ต้ องการได้ รับความ
ปลอดภัยจากอันตรายทังปวง
               . ความต้ อ งการทีจะหลี ก เลี ยงจากการถู ก ตําหนิหรื อ ถู ก ลงโทษ (Need for
Avoidance of Blame) เป็ นความต้ องการทีจะหลีกเลียงการลงโทษด้ วยการคล้ อยตามกลุ่ม หรือ
ยอมรับคําสังหรือปฏิบัติตามกฎข้ อบังคับของกลุ่ม เพราะกลัวถูกลงโทษ
               . ความต้ องการความเป็ นระเบียบเรียบร้ อย (Need for Orderliness) เป็ นความ
ต้ องการทีจะจัดสิงของต่าง ๆ ให้ อยู่ในสภาพทีเป็ นระเบียบเรียบร้ อย มีความประณีต งดงาม
               . ความต้ องการทีจะรักษาชือเสียง เป็ นความต้ องการทีจะรักษาชือเสียงของตนทีมี
อยู่ไว้ จนสุดความสามารถ เช่น การไม่ยอมขโมย แม้ ว่าตนเองจะหิว หรือไม่ยอมทําความผิดไม่
คดโกงผู้ใดเพือชือเสียงวงศ์ตระกูล เป็ นต้ น
                . ความต้ อ งการให้ ต นเองมี ค วามแตกต่ า งจากบุ ค คลอื น (Need for
Contrariness) เป็ นความต้ องการทีอยากจะเด่น นําสมัย ไม่เหมือนใคร ความต้ องการเป็ นแรง
กระตุ้นทีทําให้ ทากิจกรรมต่าง ๆ เพือตอบสนองความต้ องการนัน การแสดงออกของความ
                  ํ
ต้ องการในแต่ละสังคมจะแตกต่างกันออกไปตามขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของ
สังคมของตน ยิงไปกว่ านันคนในสังคมเดียวกันยังมีพฤติก รรมในการแสดงความต้ อ งการที
ต่างกันอีกด้ วย เพราะสิงเหล่านีเกิดจากการเรียนรู้ของตน ซึงความต้ องการอย่างเดียวกันทําให้
บุคคลมีพฤติกรรมทีแตกต่างกันได้ และพฤติกรรมอาจสนองความต้ องการได้ หลาย ๆ ทางและ
มากกว่าหนึงอย่างในเวลาเดียวกัน เช่น ตังใจทํางาน เพือไว้ ขนเงินเดือนและได้ ชือเสียงเกียรติยศ
                                                               ึ
ความยกย่องและยอมรับจากผู้อืน
15




             ทฤษฎีสองปั จจัยของเฮอร์สเบอร์ก (Herzberg’s Two-Factor Theory)
             เฮอร์เบอร์ก (Herzberg) ได้ ร่วมกับมอร์สเนอร์และซินเดอร์แมน (Mausner and
Snyderman) (อ้ างใน ลักขณา สริวัฒน์,           , หน้ า ) ศึกษาความต้ องการของคนเกียวกับ
การทํางาน (Herzberg’s Two-Factor Theory) และสรุปความต้ องการของคนเราในการทํางาน
ได้ เป็ น     ชนิด โดยเรียงตามลําดับจากมากไปหาน้ อย แบ่ งออกเป็ น พวก คือ ปั จจัยเพือ
สุขภาพทีจําเป็ นสําหรับทุกคน (Hygiene Factors) และปั จจัยเพือการจู งใจให้ ขยันตังใจทํางาน
(Motivator Factors) ปัจจัยทัง 2 พวกนียังแบ่ งออกเป็ นปั จจัยทีได้ รับการกระตุ้นจากภายนอก
และปัจจัยทีได้ รับการกระตุ้นจากภายในให้ ต่อสู้งาน ดังรายละเอียดต่อไปนี
              . ปัจจัยจูงใจภายนอก (Extrinsic Factors) เช่ น ค่ าตอบแทน เงินเดือน ได้ รับการ
สอนงานหรือเทคนิค หรือมีหัวหน้ าทีเก่ง มีความสัมพันธ์อันดีกับเพือนร่ วมงานและเจ้ านายหรือ
ลูกน้ องและสภาพการทํางานทีดีมีความมันคงในการทํางาน
              . ปั จจัยจู งใจภายใน (Intrinsic Factors) เช่ น ความสัมฤทธิผลในงานทีทํา การ
ยอมรับหรือการได้ รับการยกย่องจากเพือนร่ วมงาน การได้ รับผิดชอบในงานทีทําหรืองานของ
ผู้อื นความก้ าวหน้ าในตําแหน่ งงานหรื อ ในหน้ าที ได้ ทางานทีถนัดหรือ ชอบ และมีโอกาสได้
                                                         ํ
ประสบการณ์ใหม่ ๆ จากงานทีทํา
             มาสโลว์ แบ่ งความต้ อ งการเหล่ านีออกเป็ นสองกลุ่ม คื อ ความต้ องการทีเกิดจาก
ความขาดแคลน ( Deficiency needs) เป็ นความต้ องการระดับตํา ได้ แก่ความต้ องการทางกาย
และความต้ องการความปลอดภั ย อีก กลุ่ มหนึงเป็ นความต้ อ งการก้ าวหน้ าและพั ฒนาตนเอง
(Growth need)ได้ แก่ความต้ องการทางสังคม เกียรติยศชือเสียง และความต้ องการเติมความ
สมบูรณ์ให้ ชีวิตจัดเป็ นความต้ องการระดับสูง และอธิบายว่า ความต้ องการระดับตําจะได้ รับการ
ตอบสนองจากปัจจัยภายนอกตัวบุคคล ส่วนความต้ องการระดับสูงจะได้ รับการสนองตอบจาก
ปัจจัยในตัวบุคคลเอง
             ตามทฤษฎีของมาสโลว์ ความต้ องการทีได้ รับการตอบสนองอย่างดีแล้ วจะไม่สามารถ
เป็ นเงือนไขจูงใจบุคคลได้ อีกต่อไป แม้ ผลวิจัยในเวลาต่อมาไม่สนับสนุนแนวคิดทังหมดของมาส
โลว์ แ ต่ ท ฤษฎี ลํา ดั บ ความต้ อ งการของมาสโลว์ ก็เ ป็ นทฤษฎี ทีเป็ นพื นฐานในการอธิ บ าย
องค์ประกอบของแรงจูงใจ ซึงมีการพัฒนาในระยะหลังๆ

 . งานวิจัยทีเกียวข้อง
16




           จากการวิ จัยเอกสารและงานวิ จัยทีเกี ยวข้ อ งกั บความต้ องการจองนิสิตต่อ การจัด
การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พบว่ าส่ วนของเนือหาความต้ อ งการประกอบกั บ ความเป็ นจริ งรวมกั นนัน ผู้ ศึ ก ษายังไม่ พ บ
ผลงานศึกษาในด้ านนีเลย ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้ นประเด็นในการศึกษาเกียวกับความต้ องการในส่วน
ทีแตกต่างกันออกไป ได้ ดังนี

             กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์, สุภาพร อัศววิโรจน์, จันทิรา แก้ วสูง, คนึงนิจ ฉลาดธัญกิจ,
สุภาณี สุพิชญ์ และปิ ลันธนา สงวนบุญญพงษ์ (            ) ได้ วิจัยเรือง การศึกษาความพึงพอใจของ
นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระ
นครเหนือ ผลการวิจัยพบว่า ด้ านหลักสูตร วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนและอาจารย์
ผู้สอน นิสิตระดับบัณฑิตศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมในระดับมาก การบริการทางวิชาการ มี
ความพึงพอใจในระดับปานกลาง ส่วนด้ านอาคารสถานทีและสิงแวดล้ อม มีความพึงพอใจใน
ระดับน้ อย เมือพิจารณาแต่ละข้ อของแต่ละด้ าน พบว่า ด้ านหลักสูตร นิสิตมีความพึงพอใจมาก
ทีสุด ได้ แก่ ลักษณะโครงสร้ างของหลักสูตร ความทันสมัยของหลักสูตร และเนือหาในหลักสูตร
ด้ านการบริการทางวิชาการ นิสิตมีค วามพึงพอใจมากทีสุด ได้ แก่ การให้ บริการของห้ องสมุ ด
และแหล่งข้ อมูลในการค้ นคว้ า ด้ านอาจารย์ผ้ ูสอน นิสิตมีความพึงพอใจมากทีสุดได้ แก่ อาจารย์
ผู้สอนมีความรู้ความสามารถในวิชาทีสอน อาจารย์ให้ ความสําคัญต่อคําปรึกษาของผู้เรียน ด้ าน
อาคารสถานทีและสิงแวดล้ อม นิสิตมีความพึงพอใจปานกลาง ได้ แก่ สภาพห้ องเรียน สภาพ
ห้ องอาหาร
             จึงสรุปได้ ว่าความต้ องการ เป็ นความประสงค์ทมนุษย์ทุกคนจะกระทําการบางอย่าง
                                                              ี
อาจเป็ นสิงทีเป็ นจริ งหรื อเป็ นสิงทีสมมติขึนก็ไ ด้ และมีโอกาสทีจะเป็ นไปได้ เกิดขึนได้ หรื อ
ปรากฏให้ เห็นได้ โดยสามารถชีแจงเหตุผลให้ เข้ าใจ และมีกาหนดระยะเวลา ความต้ องการจะ
                                                                 ํ
แบ่งออกเป็ นขันลําดับจากความต้ องการขันตําสุดไปจนถึงความต้ องการขันสูงสุดของชีวิต

             ทวิท สิงห์ปลอด (     ) ได้ ศึกษาสภาพความเป็ นจริงและสภาพความต้ องการต่อ
การให้ บริก ารของบัณ ฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลั ยรามคําแหง ตามความคิดเห็นของนิสิตระดับ
บั ณ ฑิตศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยรามคํา แหง ผลการศึ ก ษาพบว่ า นิ สิตระดั บ
บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ทุกสาขาวิชามีความคิดเห็นต่อสภาพ
ความเป็ นจริงของการให้ บริ การของบัณ ฑิตวิทยาลั ย มหาวิ ทยาลั ยรามคําแหง โดยรวมอยู่ ใน
ระดั บ ปานกลาง และความต้ อ งการของการให้ บริ ก ารของบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย
รามคํา แหงโดยรวมอยู่ ใ นระดั บ มากทีสุ ด ความคิ ดเห็นของนิ สิ ตระดับ บั ณ ฑิต ศึ ก ษา คณะ
ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคําแหง ต่อสภาพความเป็ นจริงและความคิดเห็นต่อสภาพ ความ
17




ต้ อ งการของการให้ บริ ก าร ทังด้ านงานมาตรฐานการศึ กษา และด้ านงานบริ การวิช าการของ
บั ณ ฑิตวิ ทยาลั ยมหาวิ ทยาลั ยรามคําแหง แตกต่ างกั นอย่ างมีนัยสําคั ญ ทางสถิ ติทีระดับ .
สภาพความเป็ นจริงและสภาพความต้ องการของการให้ บริการด้ านงานมาตรฐานการศึกษาและ
ด้ านงานบริ การวิช าการของบัณ ฑิตวิ ทยาลั ย มหาวิทยาลั ยรามคําแหง เมือแยกตามสาขาวิ ช า
แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทระดับ .
                                      ี

            จันทรกานต์ ล้ อประเสริฐพร (          ) ได้ ศึกษาความต้ องการและอัตมโนทัศน์ของ
นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลการศึกษาพบว่า นิสิตระดับปริญญาโทโดยรวมและนิสิตระดับ
ปริญญาโททุกระบบมีความต้ องการอยู่ในระดับมาก โดยนิสิตระดับปริญญาโทระบบพิเศษ มี
ความต้ องการความรักและเป็ นเจ้ าของสูงทีสุด นิสิตระดับปริญญาโทระบบปกติ มีความต้ องการ
ทีจะเข้ าใจตนเองสูงทีสุด นิสิตระดับ ปริ ญญาโทโดยรวมและนิสิตระดับปริญ ญาโททุก ระบบมี
ความต้ องการอยู่ในระดับมาก โดยนิสิตปริญญาโททุกกลุ่มมีความต้ องการด้ านครอบครัวสูงทีสุด
และมีความต้ องการด้ านอาชีพการงานตําทีสุด ยกเว้ นนิสิตระดับปริญญาโทระบบพิเศษมีความ
ต้ องการในด้ านการเรียนตําทีสุด นิสิตระดับปริญญาโทโดยรวมทุกระบบนันมีอัตมโนทัศน์ด้าน
การเรี ยนและอารมณ์ อ ยู่ ในระดับ เป็ นจริ งมาก และด้ านความสัมพั นธ์ อ ยู่ ในระดับ ปานกลาง
ยกเว้ นนิสิตระดับปริญญาโทระบบพิเศษมีอัตมโนทัศน์ด้านอารมณ์ในระดับปานกลาง โดยนิสิต
ทุก กลุ่มมีอั ตมโนทัศ น์สูงทีสุดในด้ านการเรี ยน และตําทีสุดในด้ านความสัมพั นธ์ นิสิตระดับ
ปริ ญ ญาโทระบบปกติ มีค วามต้ อ งการด้ านกายภาพน้ อ ยกว่ า แต่ มีค วามต้ อ งการทีจะเข้ าใจ
ตนเองอย่างแท้ จริง มีอัตมโนทัศ น์ด้านการเรี ยน ด้ านอารมณ์ และด้ านความสัมพันธ์มากกว่ า
นิสิตระดับปริญญาโท ระบบพิเศษ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทระดับ .ี

           สายสิน เสวกวรรณ์ (              ) ได้ ประเมินการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขา
การบริหารการศึกษาของสถาบันราชภัฏกําแพงเพชร ผลการประเมินพบว่ า ความเหมาะสมของ
ปัจจัยเบืองต้ น ได้ แก่ ด้ านนิสิต ด้ านอาจารย์ผ้ ูสอน ด้ านผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ ด้ านบุคลากรใน
สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย ด้ านหลักสูตร ด้ านงบประมาณ ด้ านวัดสุอุปกรณ์และอาคารสถานที
ด้ านแหล่ งค้ นคว้ า และด้ านการวางแผน ผู้ ใ ห้ ข้อ มู ลมีค วามคิ ดเห็น สอดคล้ อ งกั นว่ ามีค วาม
เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินความเหมาะสมของกระบวนการดําเนินงาน พบว่ า
ด้ านการบริหารจัดการด้ านการดําเนินการตามแผน ด้ านการจัดการเรียนการสอน ด้ านการจัดทํา
วิทยานิพนธ์ ด้ านการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ผู้ให้ ข้อมูลมีความคิดเห็นสอดคล้ องกันว่ า
มีความเหมาะสม อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้ านปัญหาและอุปสรรค ผู้ให้ ข้อมูลมีความคิดเห็น
สอดคล้ องกันว่า ประธานกรรมการทีปรึกษาวิทยานิพนธ์มีจานวนไม่เพียงพอ ส่วนทีเป็ นปั ญหา
                                                                ํ
รองลงมา ได้ แก่ สํานักวิทยบริการควรมีตาราและวารสารต่างประเทศด้ วยผลการประเมินความ
                                             ํ
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย

More Related Content

What's hot

ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนkrusoon1103
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีPptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 

What's hot (20)

ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
113
113113
113
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีPptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 

Similar to ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpKamjornT
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2nakaenoi
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อยการอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อยsupaporn2590
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityDenpong Soodphakdee
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 

Similar to ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย (20)

Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อยการอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base University
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย

  • 1. (ก) กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเพือศึกษาความต้ องการของนิสิตบรรพชิตชันปี ที ต่อการจัดการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลยเล่มนีสําเร็จลงด้ วยดี ต้ องขอขอบคุณนิสิตชันปี ที ทีตอบแบบสอบถาม และขอบคุณคณะผู้บริหารทีสนับสนุนทุน เพือการวิจัย คณะผู้วิจัย
  • 2. (ข) ชือเรืองงานวิจัย : ความต้ องการของนิสิตบรรพชิต ชันปี ที ต่อการจัดการศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ผูวิจัย : ้ พระไพรเวศน์ จิตตทนฺโต ฺ นายธงชัย สิงอุดม นายประสงค์ หัสรินทร์ ปี การศึกษา : บทคัดย่อ การศึกษาครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาความต้ องการของนิสิตชันปี ที ต่อการจัด การศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย กลุ่มประชากรทีใช้ ในการศึกษาเป็ นนิสิตระดับปริญญาตรี ชันปี ที จํานวน คน เครืองมือทีใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี ด้ านการเรียนการสอน นิสิตเห็นว่าหลักสูตรมีมาตรฐานดี สามารถนําความรู้ไป สร้ างสรรค์ในทุกด้ าน การจัดรูปแบบกิจกรรมทีเกียวข้องกับการเรียน นําไปประยุกต์ใช้ ได้ ในชีวิต จริง ด้ านความคิดเห็นเกียวกับการจัดการศึกษา ต้ องการเรียนรู้และมีการฝึ กทักษะเพือ นําไปใช้ ในการทํางาน การให้ คาแนะนําในการแก้ ปัญหาระหว่างการศึกษา นิสิตคาดหวังว่าจะ ํ ได้ รับการเรียนรู้และฝึ กทักษะในด้ านต่างๆ ได้ แก่ ความรู้และทักษะด้ านวิชาการ การทํางาน เทคโนโลยีรวมทังทัศนคติทดีในการดํารงชีวิตการทํางานและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ี
  • 3. (ค) Research Title: The needs of students 1st year on the education management: Academic year 2011 Bachelor degree in Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Loei Campus. Researcher Phra Phraivett Jittatanto Thongchai Singudom Prasong Hutsaring Academic year : 2011 (2554) Abstract This study aims to study needs of students towards the management of first year, bachelor degree in Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Loei Campus. The population in the study consists of the 48 first year undergraduates. Research tool employed in the study is questionnaire and the data analysis is done with average and standard deviations. The findings are as follows: i) Teaching and learning: Curriculum is good and can be adapted and applied in every creative way. ii) Activities: The forms and types of activities related to teaching and learning are useful and can be applied in actual life. iii) Management: Students want to be trained with skills which can be used in real situation. They also need to know more about academic skills, knowledge, working skills, technology including positive attitude towards life, work and whole life learning.
  • 4. บทที 1 ปฐมบท . ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ ( ) กําหนดแนวการจัดการศึกษาต้ องยึด หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่ าผู้เรียนมีความสําคัญ ทีสุด โดยต้ องเน้ นความสําคัญทังความรู้ คุณธรรมกระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความ เหมาะสม มีความสําคัญต่อคุณลักษณะของประชาชนของชาติทีเน้ นการพัฒนาคุณภาพของคน เพือการพัฒนาสังคมในทุกมิติ ดังนัน การสอนทักษะการเรียน (Study Skills) รูปแบบต่างๆ ซึง รวมถึงทักษะการจัดการตนเอง (Self-Management) และการเน้ นกระบวนการอภิปัญญา (Met cognition) ย่อ มจะทําให้ ผ้ ูเรียนสามารถ เรียนรู้ได้ ด้วยตนเองเป็ นอย่างดีและเรียนรู้ไ ด้ อย่างมีประสิทธิภาพตลอดชีวิต หลักการนีจึงสนับสนุนแนวความคิดทีว่ าการให้ การศึกษากั บ ผู้เรียนของสถานศึกษาเป็ นการบริการสังคมทีมีเอกลักษณ์เป็ นอย่างยิง เรืองของหลักสูตรและ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ กับเยาวชนหรือกลุ่มบุคคลต่างๆ จําเป็ นต้ องพิจารณาสภาพ บริบทและความต้ องการของชุมชนและประเทศชาติ รวมทังตัวผู้เรียนและสถาบันครอบครัวของ ผู้เรียนเอง ดังนันจึงจําเป็ นต้ องให้ ความสําคัญกับการสือความเข้ าใจและการประสาน แนวคิด ให้ กั บทังบุ คลากรในสถานศึก ษาเองและบุค ลากรในหน่วยงานหรื อองค์ก รต่ างๆในชุ มชนทุ ก ระดับ เพื อความรั บ ผิดชอบร่ วมกันในงานด้ านการจัดการศึก ษา ซึ งเป็ นงานทีทุ ก สังคมต้ อ ง ตระหนักในความสําคัญผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการ ศึกษาทังหลายจึงควรได้ รับการเตรียมให้ เป็ นผู้ทมีความเข้ มแข็ง ทังในด้ านองค์ความรู้และทาง ี วิชาการ และวิชาชีพ มีคุณสมบัติทพึงประสงค์ เพือนําพาสังคมไปสู่สังคมแห่ งคุณภาพได้ อย่าง ี สมบูรณ์ เพือให้ สอดรับกับแนวทางการจัดการศึกษา ฉะนันจากเหตุผลข้ างต้ น ผู้ศึกษามีความสนใจทีจะทําการศึกษาความต้ องการของ นิสิตชันปี ที ทีเป็ นบรรพชิตของมหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ต่ อ การจั ดการเรี ยนการสอนประจําปี การศึ ก ษา เพื อนําไปเป็ นข้ อ มู ลนําเสนอต่ อ ผู้ ที เกียวข้ องต่อไป
  • 5. . วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพือศึกษาความต้ องการของนิสิตชันปี ที ของนิสิตบรรพชิตต่อการจัดการศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย . ขอบเขตของการศึกษา ในการศึ ก ษาความต้ อ งการของนิสิต บรรพชิ ต ชั นปี ที ต่ อ การจัดการศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ผู้ ศึกษาได้ กาหนดํ ขอบเขตการศึกษาไว้ ดังนี . ด้านประชากร ประชากรในการศึกษาครังนีได้ แก่ นิสิตบรรพชิต ทีกําลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีชัน ปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย . ด้านเนือหา การศึก ษาครั งนีมุ่ งศึ ก ษาความต้ อ งการของนิสิตชันปี ที ต่ อ การจัดการศึ กษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ทยาลั ยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ทยาลั ย วิ ทยาลั ยสงฆ์เลยโดยแบ่ งการศึ ก ษา ออกเป็ น ด้ านคือ . ด้ านการเรียนการสอน . ด้ านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของนิสิต . ด้ านความสัมพันธ์ของผู้เรียนกับบุคลากรในสาขาวิชา . ด้ านสถานทีและสิงอํานวยความสะดวกต่างๆในการศึกษา . ด้ านการประกอบอาชีพ . นิยามศัพท์เฉพาะ ความต้องการ หมายถึง สิงทีนิสิตมีความต้ องการจะได้ รับในการศึกษาระดับปริญญาตรี ชั นปี ที มหาวิ ทยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาลั ยสงฆ์เ ลย การจั ดการศึ ก ษา หมายถึง การเรียนการสอน การจัดสภาพแวดล้ อม สถานที และกิจกรรมระดับปริญญาตรีชันปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย นิสิต หมายถึง นิสิตบรรพชิตระดับปริญญาตรี ชันปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
  • 6. . ประโยชน์ทีได้รบจากการศึกษา ั . ทราบความต้ องการของนิสิตบรรพชิตชันปี ที ต่อการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย . เพื อเป็ นแนวทางในการพัฒนาการสอนในการศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรี ชันปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
  • 7. บทที เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง ผู้ศึกษาได้ ศึกษาค้ นคว้ าเอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้ องเพือใช้ ในการศึกษาความต้ องการ ของนิสิตต่อการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีบรรพชิตชันปี ที มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ตามลําดับหัวข้ อดังนี . การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย . ความเป็ นมาของวิทยาลัยสงฆ์เลย . แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ . แนวคิดความต้ องการของมนุษย์ . งานวิจัยทีเกียวข้ อง . กรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัย . การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย เป็ นสถาบันการศึกษา ชั นสู ง ของคณะสงฆ์ ซึ งสมเด็จ บรมบพิ ต ร พระราชสมภารเจ้ า สมเด็จ พระปรมิ น ทรมหา จุ ฬ าลงกรณ์ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ ท รงสถาปนาขึ นเมื อ พ.ศ. มี ชื อเดิ ม ว่ า "มหาธาตุวิทยาลัย" และมีพระบรมราชโองการเปลียนนามใหม่ว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย" เมื อ วั นที กั น ยายน พ.ศ. โดยมีพ ระราชประสงค์ จ ะให้ เ ป็ นอนุ ส รณ์ เฉลิ ม พระ เกียรติยศของพระองค์สืบไป ดังปรากฏในประกาศพระราชปรารภในการก่อพระฤกษ์สังฆิกเส นาศน์ราชวิทยาลัยต่อไปนี 1 พระราชปรารถในการก่อพระฦกษ์สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย พระพิมลธรรม พระพิมลธรรม (ช้ อย ฐานทตฺตเถร) สนองพระราชปรารถ ยุคริเริมการจัดการศึกษา ยุคปรับปรุงและขยายการศึกษา ยุครับรองปริญญาบัตรและสถานะของมหาวิทยาลัย 1 เข้าถึงใน http://www.mcu.ac.th/site/history.php. ประวัติมหาวิทยาลัย. วันที ธันวาคม .
  • 8. 5 . ความเป็ นมาของวิทยาลัยสงฆ์เลย วิทยาลัยสงฆ์เลยเป็ นส่วนงานสังกัดมหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยา เขตขอนแก่น ตังอยู่เลขที 366 อาคารกาญจนาภิเษก ชันที วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดป่ อง อําเภอเมือง จังหวัดเลย มีประวัติการก่อตังโดยย่อคือ เมือ พ.ศ. พระสุนทรปริยัติเมธี (พรหมา จนฺทโสภโณ) สมณศักดิในขณะนัน ซึงเป็ นเจ้ าคณะจังหวัดเลยร่ วมกับพระสังฆาธิการ ในเขตจังหวั ดเลย ได้ เสนอโครงการก่ อ ตังวิ ทยาลั ยสงฆ์เลยต่ อ มหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ทยาลั ย วิทยาเขตขอนแก่น และได้ รับอนุมัติให้ ก่อตังศูนย์การศึกษาเลย สังกัดวิทยาเขตขอนแก่น ต่อมา เมือวันที สิงหาคม พ.ศ. ได้ รับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย มหาจุ ฬาลงกรณราช วิทยาลัย ให้ ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลยเป็ นวิทยาลัยสงฆ์เลย วัตถุประสงค์ในการก่อตังวิทยาลัยสงฆ์เลย ก็เพือตอบสนองความต้ องการของศึกษา ของพระภิกษุสามเณร เพือสนองนโยบายของรัฐบาลในการกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ ทวถึง ั แก่ผ้ ูด้อยโอกาส เพือเปิ ดโอกาสให้ บุคลากรในท้องถินได้ มีส่วนร่ วมดําเนินการศึกษาระดับบาลี อุดมศึกษาให้ เกิดประโยชน์แก่พระภิกษุสามเณรในชนบท และสามารถนําความรู้ดังกล่ าวไป ประยุกต์ใช้ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้ อย่างพึงประสงค์ และมีประสิทธิภาพ ดังนี . เพื อพั ฒ นาทรั พยากรบุ ค คลทางพระพุท ธศาสนาในท้ อ งถิ น ให้ มี คุ ณ ธรรม มี จริยธรรม มีความสามารถและมีศักยภาพในการบริหารกิจการคณะสงฆ์และสังคม . เพื อขยายโอกาสให้ พระสัง ฆาธิ ก าร ครู ส อนพระปริ ยั ติ ธ รรม และ พระภิ ก ษุ สามเณรที สนองงานคณะสงฆ์ ใ นท้ อ งถิ น ได้ ศึ ก ษาวิ ช าการด้ านพระพุ ท ธศาสนาใน ระดับอุดมศึกษา . เพือผลิตบัณฑิตทีมีความรู้ ความสามารถด้ านพระพุทธศาสนา . เพือเป็ นแหล่งบริการด้ านพระพุทธศาสนา ทํานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ํ ปัจจุบันทีวิทยาลัยสงฆ์เลยได้ เปิ ดหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย 2. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 3. สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง มีโครงการหลักสูตรประกาศนียบัตร คือ โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)
  • 9. 6 โดยมีพันธกิจตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในด้ านต่างๆ ดังนี ด้านการผลิตบัณฑิต ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประการ คือ มีปฏิปทาน่า เลือมใส ใฝ่ รู้ใฝ่ คิด เป็ นผู้นาด้ านจิตใจและปั ญญา มีความสามารถในการแก้ ปัญหา มีศรัทธา ํ อุทศตนเพือพระพุทธศาสนา รู้จักเสียสละเพือส่วนรวม รู้เท่าทันความเปลียนแปลงของสังคม มี ิ โลกทัศน์ กว้ างไกล มีศักยภาพทีจะพัฒนาตนเอง ให้ เพียบพร้ อมด้ วยคุณธรรมและจริยธรรม ด้านการวิจัยและพัฒนา การวิจัยและค้ นคว้ า เพือสร้ างองค์ความรู้ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน เน้ น การพั ฒนาองค์ ค วามรู้ ใ นพระไตรปิ ฎก โดยวิ ธี สหวิ ท ยาการแล้ ว นํา องค์ ค วามรู้ ทีค้ นพบมา ประยุกต์ใช้ แก้ ปัญหา ศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทังพัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้ าน พระพุทธศาสนา ด้านการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สงคม ั ส่ ง เสริ ม พระพุ ท ธศาสนาและบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม ตามปณิ ธ านการจั ด ตั ง มหาวิ ทยาลั ย ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง กิ จ กรรมต่ า งๆ ให้ ประสานสอดคล้ อ ง เอื อต่ อ การส่ ง เสริ ม สนับ สนุ นกิ จการคณะสงฆ์ สร้ างความรู้ ความเข้ าใจหลั ก คําสอนทางพระพุทธศาสนา สร้ าง จิตสํานึกด้ านคุณธรรม จริ ยธรรมแก่ประชาชน จัดประชุม สัมมนา และฝึ กอบรม เพื อพัฒนา พระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้ มีศักยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่ หลักคําสอน และเป็ น แกนหลักในการพัฒนาจิตใจในวงกว้ าง ด้านการทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม เสริมสร้ างและพัฒนาแหล่ งการเรียนรู้ด้านการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ให้ เอือต่อ การศึ กษา เพื อสร้ างจิตสํานึก และความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย สนับสนุนให้ มีก ารนําภู มิ ปัญญาท้องถิน มาเป็ นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ เปาประสงค์ของวิทยาลัยสงฆ์เลย ้ . จัดการศึก ษา ส่ งเสริ ม และพัฒนาวิ ชาการทางพระพุทธศาสนาประยุกต์เข้ ากั บ ศาสตร์ต่างๆ เพือการผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิต และทรัพยากรมนุษย์ให้ เป็ นทียอมรับของ สังคม . เพือให้ มีโครงสร้ างทีกะทัดรัดและมีระบบการบริหารทีมีความคล่ องตัว สามารถ ดําเนินงานทุกด้ านได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล โป่ งใส ตรวจสอบได้
  • 10. 7 . เพือให้ บุคลากรทุกระดับในวิทยาเขตขอนแก่น เป็ นผู้มีความรู้ความสามารถให้ ทันต่อความเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิงแวดล้ อม และเป็ นผู้ชีนําทางวิชาการ ด้ านพระพุทธศาสนา . เพือให้ สามารถปฏิบัติภารกิจหลักในด้ านการบริหาร การจัดการศึกษา การวิจัย การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมได้ ตามเป้ าหมาย . เพือพัฒนาวิทยาลัยสงฆ์เลยให้ เป็ นศูนย์กลางการศึกษาด้ านพุทธศาสนา สะสม อนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิน พัฒนาองค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม เพือมุ่งสู่การ เป็ นศูนย์กลางการพัฒนาองค์ความรู้ และเป็ นผู้นาด้ านการวิจัยด้ านพระพุทธศาสนา ปรัชญา ํ ศิลปะและวัฒนธรรมในภูมิภาคนี . เพือให้ สามารถระดมทุนจากแหล่ งต่ าง ๆ ให้ เพียงพอต่อการจัดหาและพัฒนา อาคารสถานที บุคลากร ครุภัณฑ์ทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ ภาคเอกชน ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์เพิมมากขึน . แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ได้ กาหนดแนวการจัดการศึกษาของ ํ ชาติไว้ ในหมวดที 4 ตังแต่มาตรา ถึง มาตรา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ ) ซึงสรุปสาระสําคัญได้ ดังนี . การจัดการศึกษาต้องเน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และประสบการณ์การเรียนรูยึดหลักดังนี ้ . ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ดังนันจึงต้ องจัด สภาวะแวดล้ อ ม บรรยากาศรวมทังแหล่ งเรี ยนรู้ ต่าง ๆ ให้ หลากหลาย เพื อเอื อต่ อ ความสามารถของแต่ละบุคคล เพือให้ ผ้ ูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติทสอดคล้ อง ี กั บ ความถนัดและความสนใจเหมาะสมแก่ วัย และศั ก ยภาพของผู้ เรี ยน เพื อให้ ก าร เรี ยนรู้ เกิ ดขึนได้ ทุก เวลาทุ ก สถานทีและเป็ นการเรี ยนรู้ กั นและกั น อั นก่ อ ให้ เกิ ดการ แลกเปลี ยนประสบการณ์ เพื อการมีส่ วนร่ วมในการพั ฒนาตนเองชุ มชน สั งคมและ ประเทศชาติ โดยการประสานความร่ วมมือ ระหว่ างสถานศึ กษากั บผู้ ปกครองบุ ค คล ชุมชนและทุกส่วนของสังคม . ผู้เรียนมีความสําคัญ ทีสุด การเรียนการสอนมุ่งเน้ นประโยชน์ของผู้เรียน เป็ นสําคั ญ จึงต้ องจัดให้ ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กปฏิ บัติให้ ทาได้ คิ ด ํ เป็ น ทําเป็ น มีนิสัยรักการเรียนรู้ และเกิดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนอย่างต่อเนืองตลอดชีวิต
  • 11. 8 . มุ่งปลูกฝังและสร้างลักษณะทีพึงประสงค์ให้กบผูเ้ รียน โดยเน้นความรู ้ คุณธรรม ั ค่านิยมทีดีงามและบู รณาการความรู ในเรืองต่าง ๆ อย่างสมดุล รวมทังการฝึ กทักษะและ ้ กระบวนการคิดการจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ใช้ความรูโดยให้ผูเ้ รียน ้ มีความรูและประสบการณ์ในเรืองต่าง ๆ ดังนี ้ . ความรู้เรื องเกียวกับตนเองและความสัมพั นธ์ของตนเองกับสังคม ได้ แ ก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกียวกับประวัติศาสตร์ความเป็ นมา ของสั ง คมไทยและระบบการเมื อ งการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข . ความรู้ แ ละทัก ษะด้ านวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี รวมทังความรู้ ค วาม เข้ า ใจและประสบการณ์ เรื องการจั ดการ การบํา รุ ง รั ก ษา และการใช้ ป ระโยชน์ จาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้ อมอย่างสมดุลยังยืน . ความรู้เกียวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการ รู้จักประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญา . ความรู้และทักษะด้ านคณิตศาสตร์และด้ านภาษา เน้ นการใช้ ภาษาไทยอย่าง ถูกต้ อง . ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิตอย่างมีความสุข . กระบวนการเรียนรู ้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติได้กําหนดแนวทางใน การจัดกระบวนการเรียนรูของสถานศึกษาและหน่วยงานทีเกียวข้อง ดังนี ้ . จัดเนือหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้ องกับความสนใจและความถนัดของ ผู้เรียน โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล . ให้ มีการฝึ กทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และ การประยุกต์ความรู้มาใช้ เพือป้ องกันและแก้ ไขปัญหา . จัดกิจกรรมให้ ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึ กการปฏิบัติให้ ทาได้ ํ คิดเป็ น ทําเป็ น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่ รู้อย่างต่อเนือง . จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้ สัดส่วน สมดุลกัน รวมทังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมทีดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ ใน ทุกวิชา . ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผ้ ูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้ อมสือการ เรียนและอํานวยความสะดวก เพือให้ ผ้ ู เรี ยนเกิดการเรียนรู้แ ละมีความรอบรู้ รวมทัง สามารถใช้ การวิจัยเป็ นส่วนหนึงของกระบวนการเรียนรู้ . ผู้ เรี ยนและผู้สอนเรี ยนรู้ไปพร้ อมกันจากสือการเรียนการสอนและแหล่ ง วิทยาการประเภทต่าง ๆ
  • 12. 9 . การเรียนรู้เกิดขึนได้ ทุกเวลา ทุกสถานที มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพือร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ . การส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ ได้ ้ กําหนดบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรูของรัฐ และสถานศึกษาต่าง ๆ ดังนี ้ . รัฐต้ องส่งเสริมการดําเนินงาน และการจัดตังแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุก รูปแบบ ได้ แ ก่ ห้ องสมุดประชาชน พิ พิธภั ณฑ์ หอศิ ลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะสวน พฤกษศาสตร์ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ศู น ย์ ก ารกี ฬ าและนั น ทนาการ แหล่งข้ อมูลและแหล่งการเรียนรู้ อย่างพอเพียงและมีประสิทธิภาพ . ให้ คณะกรรมการการศึ ก ษาขั นพื นฐาน กํา หนดหลั ก สู ต รแกนกลาง การศึกษาขันพืนฐานเพือความเป็ นไทย ความเป็ นพลเมืองดีของชาติ การดํารงชีวิตและ การประกอบอาชีพตลอดจนเพือการศึกษาต่อ . ให้ ส ถานศึ ก ษาขั นพื นฐาน มี ห น้ า ทีจั ด ทํา สาระของหลั ก สู ต รในส่ ว นที เกี ยวข้ อ งกั บ สภาพปั ญ หาในชุ ม ชนและสัง คม ภู มิปั ญ ญาท้ อ งถิ นคุ ณ ลั ก ษณะอั นพึ ง ประสงค์ เพือเป็ นสมาชิกทีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ . หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ต้ องมีลักษณะหลากหลายเหมาะสมกับแต่ ละระดับ โดยมุ่งพั ฒนาคุณ ภาพชี วิตของบุ ค คล สาระของหลัก สูตร ทังทีเป็ นวิ ชาการ วิชาชีพ ต้ องมุ่งพัฒนาคนให้ มีความสมดุล ทังด้ านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความ ดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม . ให้ ส ถานศึ ก ษาร่ ว มกั บ บุ ค คล ครอบครั ว ชุ มชน องค์ ก รชุ ม ชนองค์ ก ร ปกครองส่ วนท้ อ งถิ น เอกชน องค์ ก รเอกชน องค์ ก รวิ ช าชี พ สถาบั นศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบันสังคมอืน ส่งเสริมความเข้ มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการ เรียนรู้ภายในชุมชน เพือให้ ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้ อมูล ข่ า วสาร และรู้ จั ก เลื อ กสรรภู มิ ปั ญ ญาและวิ ท ยาการต่ า ง ๆ เพื อพั ฒ นาชุ ม ชนให้ สอดคล้ อ งกั บ สภาพปั ญ หาและความต้ อ งการ รวมทังหาวิ ธี ก ารสนั บ สนุ น ให้ มี ก าร เปลียนแปลงประสบการณ์การพัฒนาระหว่างชุมชน . ให้ สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีมีประสิทธิภ าพรวมทัง การส่งเสริมให้ ผ้ ูสอนสามารถวิจัยเพือพัฒนากระบวนการเรียนรู้ทเหมาะสมกับผู้เรียนใน ี แต่ละระดับการศึกษา
  • 13. 10 . การประเมินผลการเรียนรู ้ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ได้ระบุถงวิธีการ ึ ประเมินผลการจัดกระบวนการเรียนรู ไว้ว่า ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผลผูเ้ รียน โดย ้ พิจารณา จากพั ฒนาการของผู้ เรี ยน ความประพฤติ การสังเกตพฤติก รรมการเรี ยน การร่ วม กิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละ ระดับและรูปแบบการศึก ษา นอกจากนันการประเมินผลผู้ เรี ยนยังต้ องเกียวข้ องกับหลัก การ สําคัญคือ . ใช้ วิธีการทีหลากหลายในการประเมินผู้เรียน . ใช้ วิธีการทีหลากหลายในการจัดสรรโอกาสเข้ าศึกษาต่อ . ใช้ การวิจัยเพือพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีเหมาะสมกับผู้เรียน . มุ่งการประกันคุณภาพ โดยสถานศึกษาทําการประเมินผลภายในทุกปี และ รายงานผลการประเมินต่อต้ นสังกัดและสาธารณชน . สถานศึกษาได้ รับการประเมินภายนอกอย่างน้ อย ครัง ทุก ปี . แนวคิดความต้องการของมนุ ษย์ ความต้ องการเป็ นปัจจัยสําคัญมากเมือเทียบกับปั จจัยอืน ๆ ของความแตกต่างของ บุคคลเพราะเป็ นความรู้สึกภายในและได้ รับอิทธิพลมาจากหลาย ๆ ประการด้ วยกัน คือ ความ ต้ องการเป็ นผลรวมของปัจจัยต่าง ๆ จากจิตทีสังออกมา การสังออกมาในรูปของความต้ องการ นีย่อมมีผลทําให้ ร่างกายเกิดพฤติกรรมทังทีเป็ นทีพึ งปรารถนาและไม่เป็ นทีพึ งปรารถนาของ สังคม(ลักขณา สริวัฒน์, , หน้ า ) ทฤษฎีทเกียวข้ องกับความต้ องการได้ มีนักจิตวิทยา ี หลาย ๆ ท่านเสนอไว้ ดังนี ความหมายของความต้ องการ ความต้ องการหมายถึง ความประสงค์อย่างแรงกล้ าที จะกระทําการบางอย่าง อาจเป็ นสิงทีเป็ นจริงหรือเป็ นสิงทีสมมติขนก็ได้ และมีโอกาสทีจะเป็ นไป ึ ได้ เกิดขึนได้ หรือปรากฏให้ เห็นได้ โดยสามารถชีแจงเหตุผลให้ เข้ าใจ และมีกาหนดระยะเวลา ํ E-learning Consumer Behavior “ความต้ อ งการและจู งใจ” (ระบบออนไลน์) แหล่ งทีมา http://www.bc.msu.ac.th ( เมษายน ) ได้ ให้ ความต้ องการ หมายถึงการทีบุคคลรับรู้ถึง ความแตกต่างระหว่ างสภาพในอุดมคติและสภาพความเป็ นจริงในปั จจุ บัน ซึงมีอิทธิพลเพียง พอทีจะกระตุ้นให้ เกิดพฤติกรรม เราสามารถแบ่งความต้ องการออกเป็ น ลักษณะ คือ . ความต้ องการทางกายภาพ เป็ นระดับความต้ องการขันแรก ซึงเป็ นความต้ องการ พืนฐานและเป็ นความต้ องการเพือให้ ชีวิตอยู่รอด
  • 14. 11 . ความต้ องการทางจิตใจ หรือความต้ องการทีเป็ นความปรารถนา ซึงถือว่ าเป็ น ความต้ องการขันทุติยภูมิ ทีเป็ นผลจากสภาพจิตใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอืนทฤษฎีความ ต้ องการ(Need Theory) ความต้ องการของคนจะเพิมมากขึนเรือยๆ ซึงในแต่ละขันของความ ต้ องการต้ องได้ รับการตอบสนองนันๆเสียก่อน ขันต่อๆไปจึงจะตามมา และสภาพของความตึง เครียด ความไม่ พึงพอใจ ซึงจะกระตุ้นให้ บุคคลกระทําการเพือให้ บ รรลุวัตถุ ประสงค์ ทีเชือว่ า ตอบสนองแรงดล(Impulse) แรงขับ(Drive = ตัณหา) Impulse หมายถึง ความโน้ มเอียงทีจะ กระทําโดยไม่ได้ คิดถึงผลเสียอะไรไว้ ล่วงหน้ าทังสิน Drive หมายถึง ปัจจัยทีมาผลักดันให้ บุคคล หรือสัตว์กระทําอย่างใด อย่างหนึงลงไปโดยไม่คิดถึงผลทีเกิดขึนและปั จจัยเหล่ านีมีแรงดันเกิน กว่าทีตัวเองจะควบคุมไว้ ได้ ทฤษฎีลําดับความต้องการ (Hierarchy of Needs Theory) เป็ นทฤษฎีทพัฒนาขึนโดย อับราฮัม มาสโลว์ (อ้ างใน พจน์ ศุภพิชณ์, ี , หน้ า ) นักจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยแบรนดีส์ เป็ นทฤษฎีทีรู้จักกันมากทีสุดทฤษฎีหนึง ซึงระบุว่า บุคคลมีความต้ องการเรียงลําดับจากระดับพืนฐานทีสุดไปยังระดับสูงสุด กรอบความคิดทีสําคัญ ของทฤษฎีนมี ประการคือ ี . บุคคลเป็ นสิงมีชีวิตทีมีความต้ องการ ความต้ องการมีอิทธิพลหรือแรงจู งใจต่ อ พฤติกรรมความต้ องการทียังไม่ได้ รับการตอบสนองเท่านันทีเป็ นเหตุจูงใจ ส่วนความต้ องการที ได้ รับการตอบสนองแล้ วไม่เป็ นเหตุจูงใจอีกต่อไป . ความต้ องการของบุคคลเป็ นลําดับชั นเรียงตามความสําคัญ จากความต้ องการ พืนฐานไปจนถึงความต้ องการทีซับซ้ อน . เมือความต้ องการลําดับตําได้ รับ การตอบสนองอย่างดีแล้ ว บุ คคลจะก้ าวไปสู่ ความต้ องการลําดับทีสูงขึนต่อไป ทฤษฎีความต้ องการสามประการ ของ McClelland และคณะ เสนอว่ าความต้ องการ ของมนุษย์เกิดขึนผ่านประสบการณ์ของชีวิต ไม่ใช่ เกิดตามธรรมชาติ แบ่ งออกเป็ น ประเภท คือ ความต้ องการอํานาจ ความต้ อ งการอํานาจสังคม และความต้ อ งการประสบความสําเร็จ ลําดับขันความต้ องการตามแนวคิดของมาสโลว์มาสโลว์ (Abraham H. Maslow อ้ างใน พรรณี ชูทัย เจนจิต, , หน้ า - ) ผู้ก่อตังจิตวิทยาสาขามนุษยนิยม เป็ นผู้หนึงทีได้ ศึกษา ค้ นคว้ าถึ งความต้ อ งการของมนุษย์โดยมองเห็นว่ า มนุ ษย์ทุก คนล้ วนแต่ มีความต้ อ งการทีจะ สนองความต้ อ งการให้ กั บ ตนเองทังสินซึ งความต้ อ งการของมนุ ษย์ นีมีมากมายหลายอย่ า ง ด้ วยกัน เขาได้ นาความต้ องการเหล่านันมาจัดเรียงเป็ นลําดับขันจากขันตําสุดไปขันสูงสุดเป็ น ํ ขัน โดยทีมนุ ษย์จะแสดงความต้ อ งการในขันสูงๆ ถ้ าความต้ อ งการในขันต้ น ๆ ได้ รั บ การ ตอบสนองเสียก่อน มาสโลว์ได้ อธิบายถึงลักษณะความต้ องการในแต่ละขันไว้ ดังนี
  • 15. 12 . ความต้ องการทางกาย (Physiological Needs) เป็ นความต้ องการขันพืนฐานที ชาวพุทธเรียกว่า ปัจจัย 4 แต่ทางตะวันตกรวมความต้ องการทางเพศ (Sex) ด้ วย . ความต้ อ งการความปลอดภัย (Security Needs) เป็ นความต้ อ งการทีให้ ทัง ร่างกายและจิตใจได้ รับความปลอดภัยจากภัยต่าง ๆ ทังปวง . ความต้ องการทางสังคม (Social Needs) เป็ นความต้ องการส่วนหนึงของสังคม ซึงเป็ นธรรมชาติอย่างหนึงของมนุษย์ เช่ น ความต้ องการทีได้ อยู่ในหมู่หรือพวก ต้ องการความ รัก . ความต้ องการเกียรติยศชือเสียง (Esteem Needs) เมือความต้ องการทางสังคม ได้ รับการตอบสนองแล้ ว คนเราจะต้ องการสร้ างสถานภาพของตัวเองให้ สูงเด่น มีความภูมิใจ และสร้ างการนับ ถือ ตนเอง ชื นชมในความสําเร็จของงานทีทํา ความรู้ สึก มันใจในตัวเองและ เกียรติยศ เช่ น ยศ ตําแหน่ ง ระดับเงินเดือนทีสูง งานทีท้ าทาย ได้ รั บการยกย่อ งจากผู้อืน มี ส่วนร่วมในการตัดสินใจในงาน ความต้ องการมีความรู้ความสามารถ เป็ นต้ น . ความต้ องการความสําเร็จในชีวิต (Self-actualization Needs) เป็ นความต้ องการ ระดับสูงสุด คือ ต้ องการจะเติมเต็มศักยภาพของตนเอง ต้ องการความสําเร็จในสิงทีปรารถนา สูงสุดความเจริญก้ าวหน้ า การพัฒนาทักษะความสามารถให้ ถึงขีดสุดยอด มีความเป็ นอิสระใน การตัดสินใจและการคิดสร้ างสรรค์สิงต่างๆ การก้ าวสู่ตาแหน่งทีสูงขึนในอาชีพและการงาน ํ เป็ นต้ น ทฤษฎีความต้องการตามแนวความคิดของเมอร์เรย์ (Murray) เมอเรย์ (อ้ างใน วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ, , หน้ า - ) มีความคิดเห็นว่ า ความต้ อ งการเป็ นสิงทีบุค คลได้ สร้ างขึน ก่ อให้ เกิดความรู้สึกซาบซึง ความต้ องการนีบางครั ง เกิดขึนเนืองจากแรงกระตุ้นภายในของบุคคล และบางครังอาจเกิดความต้ องการเนืองจากสภาพ สังคมก็ได้ หรืออาจกล่าวได้ ว่า ความต้ องการเป็ นสิงทีเกิดขึน เนืองมาจากสภาพทางร่ างกายและ สภาพจิตใจนันเอง ทฤษฎีความต้ องการตามหลักการของเมอร์เรย์ สามารถสรุปได้ ดังนี . ความต้ อ งการทีจะเอาชนะด้ ว ยการแสดงออกความก้ า วร้ า ว (Need for Aggression) ความต้ องการทีจะเอาชนะผู้อืน เอาชนะต่อสิงขัดขวางทังปวงด้ วยความรุนแรง มี การต่อ สู้ การแก้ แ ค้ น การทําร้ ายร่ างกาย หรื อฆ่ าฟั นกั น เช่ น การพูดจากระทบกระแทกกั บ บุคคลทีไม่ชอบกันหรือมีปัญหากัน เป็ นต้ น . ความต้ องการทีจะเอาชนะฟั นฝ่ าอุปสรรคต่าง ๆ (Need for Counteraction) ความต้ องการทีจะเอาชนะนีเป็ นความต้ องการทีจะฟนั ฝ่ าอุปสรรค ความล้ มเหลวต่าง ๆ ด้ วย การสร้ างความพยายามขึนมา เช่ น เมื อได้ รั บ คํา ดูถู ก ดูหมิน ผู้ ไ ด้ รั บ จะเกิ ดความพากเพี ย ร พยายามเพือเอาชนะคําสบประมาทจนประสบความสําเร็จ เป็ นต้ น
  • 16. 13 . ความต้ องการทีจะยอมแพ้ (Need for Abasement) ความต้ องการชนิดนีเป็ น ความต้ องการทีจะยอมแพ้ ยอมรับผิด ยอมรับคําวิจารณ์ หรือยอมรับการถูกลงโทษ เช่ น การ เผาตัวตายเพื อประท้ วงระบบการปกครอง พั นท้ ายนรสิงห์ไ ม่ยอมรับอภัยโทษ ต้ องการจะรั บ โทษตามกฎเกณฑ์ เป็ นต้ น . ความต้ องการทีจะป้ องกันตนเอง (Need for Defendant) เป็ นความต้ องการทีจะ ป้ องกั น ตนเองจากคํา วิ พ ากย์ วิจ ารณ์ การตําหนิ ติ เ ตี ย น ซึ งเป็ นการป้ องกั น ทางด้ า นจิ ต ใจ พยายามหาเหตุผ ลมาอธิ บ ายการกระทําของตน มีก ารป้ องกั นตนเองเพื อให้ พ้นผิ ดจากการ กระทําต่าง ๆ เช่นให้ เหตุผลว่ าสอบตกเพราะครูสอนไม่ดี ครูอาจารย์ทีไม่มีวิญญาณครู ขีเกียจ อบรมสังสอนศิษย์ . ความต้ องการเป็ นอิสระ (Need for Autonomy) ความต้ องการชนิดนีเป็ นความ ต้ อ งการทีปรารถนาจะเป็ นอิ สระจากสิงกดขีทังปวง ต้ อ งการทีจะต่ อสู้ดินรนเพื อเป็ นตัวของ ตัวเอง . ความต้ องการความสําเร็จ (Need for Achievement) คือ ความต้ องการทีจะ กระทําสิงต่าง ๆ ทียากลําบากให้ ประสบความสําเร็จ จากการศึ กษาพบว่ า เพศชายจะมีระดับ ความต้ องการความสําเร็จมากกว่าเพศหญิง . ความต้ องการสร้ างมิตรภาพกับบุค คลอืน (Need for Affiliation) เป็ นความ ต้ องการทีจะทําให้ ผ้ ูอืนรักใคร่ ต้ องการรู้จักหรือมีความสัมพันธ์กับบุคคลอืน ต้ องการเอาอกเอา ใจ มีความซือสัตย์ต่อเพือนฝูง พยายามสร้ างความสัมพันธ์ใกล้ ชิดกับบุคคลอืน . ความต้ องการความสนุกสนาน (Need for Play) เป็ นความต้ องการทีจะแสดง ความสนุกสนาน ต้ องการหัวเราะเพือการผ่อนคลายความตึงเครียด มีการสร้ างหรือเล่าเรืองตลก ขบขัน เช่น มีการพักผ่อนหย่อนใจ มีส่วนร่วมในเกมกีฬา เป็ นต้ น . ความต้ องการแยกตนเองจากผู้อืน (Need for Rejection) บุคคลมักจะมีความ ปรารถนาในการทีจะแยกตนเองออกจากผู้อืน ไม่มีความรู้สึกยินดียินร้ ายกับบุคคลอืน ต้ องการ เมินเฉยจากผู้อืน ไม่สนใจผู้อืน . ความต้ องการความช่ วยเหลือจากบุคคลอืน (Need for Succedanea) ความ ต้ องการประเภทนีจะเป็ นความต้ องการให้ บุคคลอืนมีความสนใจ เห็นอกเห็นใจ มีความสงสาร ในตนเองต้ องการได้ รับความช่วยเหลือ การดูแล ให้ คาแนะนําดูแลจากบุคคลอืนนันเอง ํ . ความต้ องการทีจะให้ ความช่ วยเหลือต่อบุคคลอืน (Need for Nurture) เป็ น ความต้ องการทีจะเข้ าร่ วมในการทํากิจกรรมกับบุคคลอืน โดยการให้ ความช่ วยเหลือให้ บุคคล อืนพ้ นจากภัยอันตรายต่าง ๆ . ความต้ องการทีจะสร้ างความประทับใจให้ กับผู้อืน (Need for Exhibition) เป็ น ความต้ องการทีจะให้ บุคคลอืนได้ เห็น ได้ ยินเกียวกับเรืองราวของตนเอง ต้ องการให้ ผ้ ูอืนมีความ
  • 17. 14 สนใจ สนุกสนาน แปลกใจ หรือตกใจในเรืองราวของตนเอง เช่ น เล่ าเรืองตลกขบขันให้ บุคคล อืนฟังเพือบุคคลอืนจะเกิดความประทับใจในตนเอง เป็ นต้ น . ความต้ องการมีอิทธิพลเหนือบุคคลอืน (Need for Dominance) เป็ นความ ต้ องการทีจะให้ บุคคลอืนมีการกระทําตามคําสังหรือความคิด ความต้ องการของตน ทําให้ เกิด ความรู้สึกว่าตนมีอิทธิพลเหนือกว่าบุคคลอืน . ความต้ องการทีจะยอมรับนับถือผู้อาวุโสกว่า (Need for Deference) เป็ นความ ต้ อ งการทียอมรั บ นับ ถื อ ผู้ทีอาวุ โสกว่ าด้ วยความยินดี รวมทังนิยมชมชื นในบุค คลทีมีอานาจ ํ เหนือกว่าพร้ อมทีจะให้ ความร่วมมือกับบุคคลดังกล่าวด้ วยความยินดี . ความต้ อ งการหลี ก เลี ยงความรู้ สึก ล้ มเหลว (Need for Avoidance of Inferiority) ความต้ องการจะหลีกเลียงให้ พ้นจากความอับอายทังหลาย ต้ องการหลีกเลียงการดู ถูก หรือการกระทําต่าง ๆ ทีก่อให้ เกิดความละอายใจ รู้สึกอับอายล้ มเหลว พ่ายแพ้ . ความต้ องการทีจะหลีกเลียงจากอันตราย (Need for Avoidance Harm)ความ ต้ องการนีเป็ นความต้ องการทีจะหลีกเลียงความเจ็บปวดทางด้ านร่ างกาย ต้ องการได้ รับความ ปลอดภัยจากอันตรายทังปวง . ความต้ อ งการทีจะหลี ก เลี ยงจากการถู ก ตําหนิหรื อ ถู ก ลงโทษ (Need for Avoidance of Blame) เป็ นความต้ องการทีจะหลีกเลียงการลงโทษด้ วยการคล้ อยตามกลุ่ม หรือ ยอมรับคําสังหรือปฏิบัติตามกฎข้ อบังคับของกลุ่ม เพราะกลัวถูกลงโทษ . ความต้ องการความเป็ นระเบียบเรียบร้ อย (Need for Orderliness) เป็ นความ ต้ องการทีจะจัดสิงของต่าง ๆ ให้ อยู่ในสภาพทีเป็ นระเบียบเรียบร้ อย มีความประณีต งดงาม . ความต้ องการทีจะรักษาชือเสียง เป็ นความต้ องการทีจะรักษาชือเสียงของตนทีมี อยู่ไว้ จนสุดความสามารถ เช่น การไม่ยอมขโมย แม้ ว่าตนเองจะหิว หรือไม่ยอมทําความผิดไม่ คดโกงผู้ใดเพือชือเสียงวงศ์ตระกูล เป็ นต้ น . ความต้ อ งการให้ ต นเองมี ค วามแตกต่ า งจากบุ ค คลอื น (Need for Contrariness) เป็ นความต้ องการทีอยากจะเด่น นําสมัย ไม่เหมือนใคร ความต้ องการเป็ นแรง กระตุ้นทีทําให้ ทากิจกรรมต่าง ๆ เพือตอบสนองความต้ องการนัน การแสดงออกของความ ํ ต้ องการในแต่ละสังคมจะแตกต่างกันออกไปตามขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของ สังคมของตน ยิงไปกว่ านันคนในสังคมเดียวกันยังมีพฤติก รรมในการแสดงความต้ อ งการที ต่างกันอีกด้ วย เพราะสิงเหล่านีเกิดจากการเรียนรู้ของตน ซึงความต้ องการอย่างเดียวกันทําให้ บุคคลมีพฤติกรรมทีแตกต่างกันได้ และพฤติกรรมอาจสนองความต้ องการได้ หลาย ๆ ทางและ มากกว่าหนึงอย่างในเวลาเดียวกัน เช่น ตังใจทํางาน เพือไว้ ขนเงินเดือนและได้ ชือเสียงเกียรติยศ ึ ความยกย่องและยอมรับจากผู้อืน
  • 18. 15 ทฤษฎีสองปั จจัยของเฮอร์สเบอร์ก (Herzberg’s Two-Factor Theory) เฮอร์เบอร์ก (Herzberg) ได้ ร่วมกับมอร์สเนอร์และซินเดอร์แมน (Mausner and Snyderman) (อ้ างใน ลักขณา สริวัฒน์, , หน้ า ) ศึกษาความต้ องการของคนเกียวกับ การทํางาน (Herzberg’s Two-Factor Theory) และสรุปความต้ องการของคนเราในการทํางาน ได้ เป็ น ชนิด โดยเรียงตามลําดับจากมากไปหาน้ อย แบ่ งออกเป็ น พวก คือ ปั จจัยเพือ สุขภาพทีจําเป็ นสําหรับทุกคน (Hygiene Factors) และปั จจัยเพือการจู งใจให้ ขยันตังใจทํางาน (Motivator Factors) ปัจจัยทัง 2 พวกนียังแบ่ งออกเป็ นปั จจัยทีได้ รับการกระตุ้นจากภายนอก และปัจจัยทีได้ รับการกระตุ้นจากภายในให้ ต่อสู้งาน ดังรายละเอียดต่อไปนี . ปัจจัยจูงใจภายนอก (Extrinsic Factors) เช่ น ค่ าตอบแทน เงินเดือน ได้ รับการ สอนงานหรือเทคนิค หรือมีหัวหน้ าทีเก่ง มีความสัมพันธ์อันดีกับเพือนร่ วมงานและเจ้ านายหรือ ลูกน้ องและสภาพการทํางานทีดีมีความมันคงในการทํางาน . ปั จจัยจู งใจภายใน (Intrinsic Factors) เช่ น ความสัมฤทธิผลในงานทีทํา การ ยอมรับหรือการได้ รับการยกย่องจากเพือนร่ วมงาน การได้ รับผิดชอบในงานทีทําหรืองานของ ผู้อื นความก้ าวหน้ าในตําแหน่ งงานหรื อ ในหน้ าที ได้ ทางานทีถนัดหรือ ชอบ และมีโอกาสได้ ํ ประสบการณ์ใหม่ ๆ จากงานทีทํา มาสโลว์ แบ่ งความต้ อ งการเหล่ านีออกเป็ นสองกลุ่ม คื อ ความต้ องการทีเกิดจาก ความขาดแคลน ( Deficiency needs) เป็ นความต้ องการระดับตํา ได้ แก่ความต้ องการทางกาย และความต้ องการความปลอดภั ย อีก กลุ่ มหนึงเป็ นความต้ อ งการก้ าวหน้ าและพั ฒนาตนเอง (Growth need)ได้ แก่ความต้ องการทางสังคม เกียรติยศชือเสียง และความต้ องการเติมความ สมบูรณ์ให้ ชีวิตจัดเป็ นความต้ องการระดับสูง และอธิบายว่า ความต้ องการระดับตําจะได้ รับการ ตอบสนองจากปัจจัยภายนอกตัวบุคคล ส่วนความต้ องการระดับสูงจะได้ รับการสนองตอบจาก ปัจจัยในตัวบุคคลเอง ตามทฤษฎีของมาสโลว์ ความต้ องการทีได้ รับการตอบสนองอย่างดีแล้ วจะไม่สามารถ เป็ นเงือนไขจูงใจบุคคลได้ อีกต่อไป แม้ ผลวิจัยในเวลาต่อมาไม่สนับสนุนแนวคิดทังหมดของมาส โลว์ แ ต่ ท ฤษฎี ลํา ดั บ ความต้ อ งการของมาสโลว์ ก็เ ป็ นทฤษฎี ทีเป็ นพื นฐานในการอธิ บ าย องค์ประกอบของแรงจูงใจ ซึงมีการพัฒนาในระยะหลังๆ . งานวิจัยทีเกียวข้อง
  • 19. 16 จากการวิ จัยเอกสารและงานวิ จัยทีเกี ยวข้ อ งกั บความต้ องการจองนิสิตต่อ การจัด การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่ าส่ วนของเนือหาความต้ อ งการประกอบกั บ ความเป็ นจริ งรวมกั นนัน ผู้ ศึ ก ษายังไม่ พ บ ผลงานศึกษาในด้ านนีเลย ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้ นประเด็นในการศึกษาเกียวกับความต้ องการในส่วน ทีแตกต่างกันออกไป ได้ ดังนี กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์, สุภาพร อัศววิโรจน์, จันทิรา แก้ วสูง, คนึงนิจ ฉลาดธัญกิจ, สุภาณี สุพิชญ์ และปิ ลันธนา สงวนบุญญพงษ์ ( ) ได้ วิจัยเรือง การศึกษาความพึงพอใจของ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาทีมีต่อการจัดการเรียนการสอนของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระ นครเหนือ ผลการวิจัยพบว่า ด้ านหลักสูตร วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนและอาจารย์ ผู้สอน นิสิตระดับบัณฑิตศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมในระดับมาก การบริการทางวิชาการ มี ความพึงพอใจในระดับปานกลาง ส่วนด้ านอาคารสถานทีและสิงแวดล้ อม มีความพึงพอใจใน ระดับน้ อย เมือพิจารณาแต่ละข้ อของแต่ละด้ าน พบว่า ด้ านหลักสูตร นิสิตมีความพึงพอใจมาก ทีสุด ได้ แก่ ลักษณะโครงสร้ างของหลักสูตร ความทันสมัยของหลักสูตร และเนือหาในหลักสูตร ด้ านการบริการทางวิชาการ นิสิตมีค วามพึงพอใจมากทีสุด ได้ แก่ การให้ บริการของห้ องสมุ ด และแหล่งข้ อมูลในการค้ นคว้ า ด้ านอาจารย์ผ้ ูสอน นิสิตมีความพึงพอใจมากทีสุดได้ แก่ อาจารย์ ผู้สอนมีความรู้ความสามารถในวิชาทีสอน อาจารย์ให้ ความสําคัญต่อคําปรึกษาของผู้เรียน ด้ าน อาคารสถานทีและสิงแวดล้ อม นิสิตมีความพึงพอใจปานกลาง ได้ แก่ สภาพห้ องเรียน สภาพ ห้ องอาหาร จึงสรุปได้ ว่าความต้ องการ เป็ นความประสงค์ทมนุษย์ทุกคนจะกระทําการบางอย่าง ี อาจเป็ นสิงทีเป็ นจริ งหรื อเป็ นสิงทีสมมติขึนก็ไ ด้ และมีโอกาสทีจะเป็ นไปได้ เกิดขึนได้ หรื อ ปรากฏให้ เห็นได้ โดยสามารถชีแจงเหตุผลให้ เข้ าใจ และมีกาหนดระยะเวลา ความต้ องการจะ ํ แบ่งออกเป็ นขันลําดับจากความต้ องการขันตําสุดไปจนถึงความต้ องการขันสูงสุดของชีวิต ทวิท สิงห์ปลอด ( ) ได้ ศึกษาสภาพความเป็ นจริงและสภาพความต้ องการต่อ การให้ บริก ารของบัณ ฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลั ยรามคําแหง ตามความคิดเห็นของนิสิตระดับ บั ณ ฑิตศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยรามคํา แหง ผลการศึ ก ษาพบว่ า นิ สิตระดั บ บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ทุกสาขาวิชามีความคิดเห็นต่อสภาพ ความเป็ นจริงของการให้ บริ การของบัณ ฑิตวิทยาลั ย มหาวิ ทยาลั ยรามคําแหง โดยรวมอยู่ ใน ระดั บ ปานกลาง และความต้ อ งการของการให้ บริ ก ารของบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย รามคํา แหงโดยรวมอยู่ ใ นระดั บ มากทีสุ ด ความคิ ดเห็นของนิ สิ ตระดับ บั ณ ฑิต ศึ ก ษา คณะ ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคําแหง ต่อสภาพความเป็ นจริงและความคิดเห็นต่อสภาพ ความ
  • 20. 17 ต้ อ งการของการให้ บริ ก าร ทังด้ านงานมาตรฐานการศึ กษา และด้ านงานบริ การวิช าการของ บั ณ ฑิตวิ ทยาลั ยมหาวิ ทยาลั ยรามคําแหง แตกต่ างกั นอย่ างมีนัยสําคั ญ ทางสถิ ติทีระดับ . สภาพความเป็ นจริงและสภาพความต้ องการของการให้ บริการด้ านงานมาตรฐานการศึกษาและ ด้ านงานบริ การวิช าการของบัณ ฑิตวิ ทยาลั ย มหาวิทยาลั ยรามคําแหง เมือแยกตามสาขาวิ ช า แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทระดับ . ี จันทรกานต์ ล้ อประเสริฐพร ( ) ได้ ศึกษาความต้ องการและอัตมโนทัศน์ของ นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลการศึกษาพบว่า นิสิตระดับปริญญาโทโดยรวมและนิสิตระดับ ปริญญาโททุกระบบมีความต้ องการอยู่ในระดับมาก โดยนิสิตระดับปริญญาโทระบบพิเศษ มี ความต้ องการความรักและเป็ นเจ้ าของสูงทีสุด นิสิตระดับปริญญาโทระบบปกติ มีความต้ องการ ทีจะเข้ าใจตนเองสูงทีสุด นิสิตระดับ ปริ ญญาโทโดยรวมและนิสิตระดับปริญ ญาโททุก ระบบมี ความต้ องการอยู่ในระดับมาก โดยนิสิตปริญญาโททุกกลุ่มมีความต้ องการด้ านครอบครัวสูงทีสุด และมีความต้ องการด้ านอาชีพการงานตําทีสุด ยกเว้ นนิสิตระดับปริญญาโทระบบพิเศษมีความ ต้ องการในด้ านการเรียนตําทีสุด นิสิตระดับปริญญาโทโดยรวมทุกระบบนันมีอัตมโนทัศน์ด้าน การเรี ยนและอารมณ์ อ ยู่ ในระดับ เป็ นจริ งมาก และด้ านความสัมพั นธ์ อ ยู่ ในระดับ ปานกลาง ยกเว้ นนิสิตระดับปริญญาโทระบบพิเศษมีอัตมโนทัศน์ด้านอารมณ์ในระดับปานกลาง โดยนิสิต ทุก กลุ่มมีอั ตมโนทัศ น์สูงทีสุดในด้ านการเรี ยน และตําทีสุดในด้ านความสัมพั นธ์ นิสิตระดับ ปริ ญ ญาโทระบบปกติ มีค วามต้ อ งการด้ านกายภาพน้ อ ยกว่ า แต่ มีค วามต้ อ งการทีจะเข้ าใจ ตนเองอย่างแท้ จริง มีอัตมโนทัศ น์ด้านการเรี ยน ด้ านอารมณ์ และด้ านความสัมพันธ์มากกว่ า นิสิตระดับปริญญาโท ระบบพิเศษ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทระดับ .ี สายสิน เสวกวรรณ์ ( ) ได้ ประเมินการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขา การบริหารการศึกษาของสถาบันราชภัฏกําแพงเพชร ผลการประเมินพบว่ า ความเหมาะสมของ ปัจจัยเบืองต้ น ได้ แก่ ด้ านนิสิต ด้ านอาจารย์ผ้ ูสอน ด้ านผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ ด้ านบุคลากรใน สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย ด้ านหลักสูตร ด้ านงบประมาณ ด้ านวัดสุอุปกรณ์และอาคารสถานที ด้ านแหล่ งค้ นคว้ า และด้ านการวางแผน ผู้ ใ ห้ ข้อ มู ลมีค วามคิ ดเห็น สอดคล้ อ งกั นว่ ามีค วาม เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินความเหมาะสมของกระบวนการดําเนินงาน พบว่ า ด้ านการบริหารจัดการด้ านการดําเนินการตามแผน ด้ านการจัดการเรียนการสอน ด้ านการจัดทํา วิทยานิพนธ์ ด้ านการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ผู้ให้ ข้อมูลมีความคิดเห็นสอดคล้ องกันว่ า มีความเหมาะสม อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้ านปัญหาและอุปสรรค ผู้ให้ ข้อมูลมีความคิดเห็น สอดคล้ องกันว่า ประธานกรรมการทีปรึกษาวิทยานิพนธ์มีจานวนไม่เพียงพอ ส่วนทีเป็ นปั ญหา ํ รองลงมา ได้ แก่ สํานักวิทยบริการควรมีตาราและวารสารต่างประเทศด้ วยผลการประเมินความ ํ