SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
๑

          ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด เรือง “อุปสรรค : สิงขัดขวางปัญญามนุษย์ ”
                  ตามทัศนะของฟรานซิส เบคอนกับพุทธปรัชญาเถรวาท
                                                                      ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ

ความนํา
          การค้นหาความจริ งของนักคิดโดยทัวไปนัน จะเน้น ๓ วิธีการใหญ่ๆ คือวิธีการทางปรัชญา
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และวิธีการทางศาสนา วิธีการทางปรัชญามีจุดเริ มต้นเมือประมาณ ๘๑ ปี
ก่อนพุทธศักราช โดยนักปรัชญากรี กสังกัดสํานักไมเลตุสชือ ธาเลส ได้พยายามค้นคว้าหาแก่นแท้
ของโลกหรื อทีเรี ยกว่า “ปฐมธาตุของโลก” ว่ามีสาเหตุมาจากอะไร ในทีสุ ดเขาก็พบคําตอบว่า โลก
เกิดจากการรวมตัวของสสารดังเดิมสุด (Prime Matter) สสารนันจึงเป็ นวัตถุดิบทีก่อให้เกิดโลก มัน
มีอยูก่อนสิ งอืนทังหมด จึงเป็ นธาตุดงเดิมหรื อปฐมธาตุ (First Element) ของโลก ซึงจะต้องเป็ นสิงที
      ่                               ั
มีอนุภาคเล็กทีสุดจนแบ่งย่อยออกไปอีกไม่ได้๑ ปฐมธาตุทีว่านันก็คือ “นํา” การค้นพบปฐมธาตุของ
โลกนีถือว่าเป็ นก้าวแรกในประวัติศาสตร์ แห่ งการเปิ ดโลกทัศน์ของนักคิดสายตะวันตกทีสามารถ
ผลักดันตนเองผ่านพ้นกรอบความเชือทางศาสนาเข้าสู่พรมแดนปรัชญา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ จะ
เน้นการพิสูจน์ ทดลอง สังเกตการณ์ และวางสมมติฐาน เพือเก็บวิเคราะห์หาข้อมูลทีถูกต้อง โดยเชือ
ว่าโลกและชีวิตเป็ นสิงทีอธิบายได้ดวยหลักธรรมชาติโดยมีวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครื องมือใน
                                    ้
การเข้าถึงความจริ ง ส่ วนวิธีการทางศาสนานันจะเน้นการแสวงหาความจริ งโดยใช้วิธีการลงมือ
ปฏิบติตามความเชือของตน โดยมีจุดหมายอยูทีความหลุดพ้นหรื อการเข้าถึงพระผูเ้ ป็ นเจ้าว่าเป็ นสิ ง
        ั                                     ่
สูงสุดและเป็ นแหล่งกําเนิดความรู้ทีน่าเชือถือได้ หลักการปฏิบติเช่นนี มีแพร่ หลายในสายตะวันออก
                                                              ั
โดยเฉพาะทีประเทศอินเดีย ซึงเป็ นบ่อเกิดแห่งลัทธิ ศาสนาและปรัชญาชีวิต
          การศึกษาเปรี ยบเทียบแนวความคิดเรื อง “อุปสรรค : สิงขัดขวางปั ญญามนุ ษย์” ตามทัศนะ
ของฟรานซิ ส เบคอนกับ พุ ท ธปรั ช ญาเถรวาทนี เป็ นการศึ ก ษาอุ ป สรรคสิ งขัด ขวางความ
เจริ ญก้าวหน้าทางปัญญาทีคอยยับยังไม่ให้มนุ ษย์เข้าถึงหลักสัจธรรม ความจริ ง ทังในด้านปรัชญา
ศาสนา และวิทยาศาสตร์ เนืองจากมนุษย์โดยส่วนมากจะติดอยูกบความเชือของตน ซึงความเชือใน
                                                                ่ ั
แต่ละเรื องมัก จะได้รับการถ่ายทอดมาจากสิ งแวดล้อมอีกทีหนึ ง หรื อไม่ก็เป็ นเรื องจริ ตนิ สัยหรื อ
ความเห็น (ทิฐิ) หรื อทฤษฎีของตนเป็ นส่ วนใหญ่ ซึงสิ งเหล่านี เองเป็ นอุปสรรคคอยขัดขวางไม่ให้
มนุษย์เข้าถึงหลักแห่งความจริ งในแต่ละสิงทีมนุษย์ควรจะได้รับ




          ๑
        พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต),ปรัชญากรีกบ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ : ศยาม,
๒๕๔๐, หน้า ๓๖.
๒

ความหมายของอุปสรรค
         คําว่า “อุปสรรค” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมาย
ไว้ว่า “เครืองขัดข้ อง, ความขัดข้ อง, เครืองขัด ขวาง”๒ ซึงความหมายดังกล่าวนี แสดงให้เห็นว่ า
อุปสรรคเป็ นสิ งก◌ดขวางการพัฒนาความเจริ ญก้าวหน้าของมนุ ษย์ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็ นการ
                    ี
แสวงหาความรู้และความจริ งตามแนวทางปรัชญา ศาสนา และวิทยาศาสตร์ หรื อการปฏิบติเพือ            ั
ความรู้ แจ้งแห่ งตน รวมไปถึงการบริ หารงานในหน่ ว ยงานหรื อองค์ก รต่ างๆ เมือมีอุปสรรคสิ ง
ขัดขวางอย่างใดอย่างหนึ งเกิดขึ นแล้ว ย่อมทําให้เกิดการติดขัด ชะงักงัน พัฒนาไปข้างหน้าไม่ได้
ถ่วงดุ ลความเจริ ญก้าวหน้า หาความเจริ ญมิได้ มีแต่ค วามเสื อมถ่ายเดี ยว ฉะนัน อุปสรรคจึ งเป็ น
เครื องหมายของความเสื อมทรามทางด้า นจิ ต ใจที มนุ ษ ย์ไ ม่ ส ามารถจะพัฒ นาให้ ถึ ง ความ
เจริ ญก้าวหน้าเชิงคุณธรรมได้ จึงเรี ยกได้ว่า เป็ นโทษเครื องเศร้าหมองทีทําให้จิตใจของมนุษย์ขุ่นมัว
และสับสน จนไม่สามารถจะมองเห็นความเสือมหรื อความเจริ ญงอกงามของตนและสังคมได้

อุปสรรคตามทัศนะของฟรานซิส เบคอน
        ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon : ๑๕๖๑ - ๑๖๒๖) เป็ นนักปรัชญา นักวิทยาศาสตร์ ชาว
อังกฤษ และเป็ นผูเ้ สนอแนวความคิดใหม่ในวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นทีการสังเกต ทดลอง
และการค้นหาความจริ งจากประสบการณ์ทีหลากหลาย ซึงเขาเชือว่าวิธีการนี จะนําไปสู่การค้นพบ
ความรู้ทีแท้จริ ง แต่ความจริ งทีว่านี มิใช่สิงทีมนุษย์จะเข้าถึงได้โดยง่าย เพราะมนุษย์มกจะมีอุปสรรค
                                                                                      ั
ขัด ขวางความคิ ด ในการเข้าถึงสิ งจริ งแท้อยู่เสมอ อุปสรรคที ว่ านี เบคอนเรี ยกว่ า “เทวรู ป ” ซึ งมี
ลักษณะคล้ายกับอคติในทางพระพุทธศาสนา อันเป็ นต้นเหตุให้มนุ ษย์เกิด ความลําเอียง มีค วาม
คิดเห็นทีผิดพลาด และครอบงําปัญญามนุษย์ไว้ไม่ให้เข้าถึงหลักสัจธรรม ด้วยเหตุนีมนุษย์จึงมีความ
คิดเห็นทีแตกต่างและพากันแสวงหาความจริ งต่างกันออกไปตามความเชือของตน

“เทวรูป” ต้นตอของปัญหา
         ฟรานซิส เบคอน เป็ นนักปรัชญาสายวิทยาศาสตร์คนแรกทีมองเห็นปัญหาว่า ทังๆ ทีคนเรา
ไม่มีกิเลสเครื องเศร้าหมองในจิตใจ แต่ทาไมคนเราจึงมีทศนะไม่ตรงกัน เพราะโดยธรรมชาติแล้ว
                                      ํ              ั
ความจริ งจะต้องมีมาตรฐานเป็ นปรนัย (Objective) คือมีอยูโดยไม่ขึนกับการรับรู้หรื อการพิจารณา
                                                       ่
ของผูใดผูหนึง แต่คนเราก็ไม่สามารถจะมีมาตรฐานการรับรู้ความจริ งอย่างเดียวกันได้ แสดงว่าต้อง
      ้ ้
มีอุปสรรคอย่างใดอย่างหนึงคอยขวางกันการเข้าถึงความจริ งดังกล่าว ฟรานซิส เบคอน ได้พยายาม


        ๒
         ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ (กรุ งเทพ ฯ : อักษรเจริ ญทัศน์
,๒๕๓๙), หน้า ๙๕๗.
๓

ค้นหาคําตอบจนกระทังพบว่า สิ งทีเป็ นอุปสรรคทีทําให้เราไม่สามารถเข้าถึงความจริ งเหมือนกันได้
นันก็คือ “เทวรูป”๓ นันเอง
          คําว่า “เทวรู ป” ตามทัศนะของ ฟรานซิส เบคอน หมายถึง “สิงทีเราสร้ างขึนมาเพือเคารพ
ว่ าของเราศั กดิสิ ทธิยิงกว่ าของผู้อืน ส่ วนของผู้อืนไม่ ศัก ดิสิ ท ธิ”๔ เป็ นการสร้างขึ นมาเพือความ
เชือมันและยึดเหนียวว่าเป็ นความจริ งสําหรับตนหรื อกลุ่มของตน ความเชือดังกล่าวมักได้รับการ
ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ จนกระทังฝังลึกอยูในจิตใจมนุษย์มาตังแต่ยคทียังไม่มีการพิสูจน์หาความ
                                               ่                            ุ
จริ งทางวิทยาศาสตร์ นอกจากนี เทวรู ปตามทัศนะของเบคอน ยังหมายรวมไปถึงความนึ กคิดของ
ปัจเจกบุคคลทีว่า “ความคิดของเราเป็ นความจริงหรือเป็ นสั จธรรม ส่ วนความคิดเห็นคนอืนไม่ ใช่
สัจธรรม”๕ เป็ นความดือรันในความคิดเห็น (ทิฐิ) หรื อทฤษฎีของตน กล่าวคือคนเราเมือจะแสวงหา
ความรู้ หรื อความจริ งในสิ งใดสิ งหนึงแล้ว ส่วนมากจะไปติดอยู่ทีตัวทิฐิหรื อความเห็นของตนเป็ น
ส่วนใหญ่ จึงทําให้ไม่สามารถจะคิดทะลุผานเข้าถึงความจริ งแท้ได้ เพราะแต่ละคนยึดมันในทิฐิของ
                                            ่
ตนเองว่า ความเห็นของตนเท่านันถูกต้อง ส่วนของคนอืนผิดหมด เมือเป็ นเช่นนี การแสวงหาความ
จริ งจึงหยุดชะงักเดินหน้าต่อไปไม่ได้

ชนิดของเทวรูป
        ฟรานซิส เบคอน ได้แบ่งเทวรู ป (สิ งทีเป็ นอุสรรคอย่างร้ายแรงทีขัดขวางไม่ให้มนุษย์เข้าถึง
ความจริ ง) ออกเป็ น ๔ ชนิด คือ๖
        ๑. เทวรู ปคือตระกูล (Idols of the Tribe)
        ๒. เทวรู ปคือถํา (Idols of the Cave)
        ๓. เทวรูปคือตลาดนัด (Idols of the Market Place)
        ๔. เทวรูปคือโรงละคร (Idols of the Theater)
        เทวรู ปทัง ๔ นีมีอยูในใจของมนุษย์ปุถุชนแทบทุกคนแตกต่างชนิดกันออกไปและเมือมีอยู่
                            ่
ในใจแล้วจะทําให้มนุษย์หลงงมงายไปตามความเชือของตน ซึงจะอธิบายในรายละเอียดดังต่อไปนี




        ๓
            บุญมี แท่นแก้ว, ปรัชญาตะวันตก (สมัยใหม่ ) (กรุ งเทพ ฯ : โอเดียนสโตร์ ,๒๕๔๕), หน้า ๑๑.
        ๔
            เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๑.
        ๕
            เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๒.
        ๖
            เดือน คําดี, ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (กรุ งเทพ ฯ : โอเดียนสโตร์ , ๒๕๒๖), หน้า ๖.
๔

         ๑) เทวรูปคือตระกูล
         คําว่า “เทวรู ปคือตระกูล” หมายถึง รสนิยมส่วนตัวของแต่ละบุคคล ซึงได้รับการถ่ายทอด
มาจากเผ่าพันธุหรื อกรรมพันธุ์ โดยไม่ได้มีการสํารวจความคิดของตนว่าถูกต้องหรื อไม่ จึงติดอยูกบ
                ์                                                                           ่ ั
ความเชือทีได้รับการถ่ายทอดมานัน ในทีนี รวมไปถึงกิเลส ตัณหาและคุณธรรมต่างๆ๗ ด้วย
         เทวรู ปคือตระกูลนี เป็ นความเชือทีฝังแน่ นในจิตใจมนุ ษย์มาเป็ นเวลาช้านาน พร้อมๆ กับ
การเกิดขึนของลัทธิศาสนาในโลก ความเชือชนิดนีเกิดจาก อวิชชา คือความไม่รู้ เริ มตังแต่ความไม่รู้
เหตุผลทางภูมิศาสตร์ ไม่รู้เหตุผลทางดาราศาสตร์ ไม่รู้ชีววิทยา และไม่รู้จกธรรมชาติอืนๆ ทีมีอยู่
                                                                         ั
รอบตัว อย่างเช่นความเชือในเรื องดังต่อไปนี
         มนุ ษย์ในประเทศอียิปต์สมัยโบราณ ไม่เคยเดินทางขึนไปทางเหนื อของทวีป ไม่เคยรู้ว่ า
แม่น ําไนล์ใหลจากต้น ทางเหนื อทวี ปอาฟริ ก า ก็ เกิด ความคิด สมมติเป็ นเทพนิ ย าย โดยเชือกันว่ า
กระแสของแม่นาไนล์เป็ นนําตาของเทพธิดาไอลิส ร้องให้อาลัยรักต่อมหาเทพโอสิ ริส พระสวามีที
                    ํ
ถูกปลงพระชนม์ พอถึงฤดูนาหลาก แม่นาท่ วมเต็มฝั ง ก็พากัน ทําพิธีบวงสรวงสังเวยแม่นา และ
                              ํ           ํ                                              ํ
กลายมาเป็ นความเชือสืบต่อกันมาจนกระทังปัจจุบน      ั
         คนกรี กในสมัยโบราณไม่เคยปี นขึนไปบนยอดเขาโอลิมปั ส ซึงเป็ นยอดสูงสุ ดในประเทศ
นัน ก็หมายใจว่า บนยอดเขาโอลิมปัส เป็ นสวรรค์ เป็ นทีสถิตของเทพเทวานานาชนิด แล้วสร้างเรื อง
เป็ นนิยายขึนเพือสอนคนให้เชือถือกันต่อมา
         ชนเผ่าอารยันในลุ่มแม่นาสินธุและคงคาในประเทศอินเดีย ไม่มีความรู้ทางด้านภ◌ู มิศาสตร์
                                  ํ
เกียวกับขุนเขาหิมาลัย ซึงเป็ นทีรวมของหิมะ เมือหิมะละลายลงสู่แอ่งนําใหญ่กลายเป็ นทะเลสาบ ก็
สร้างนิยายให้ทะเลสาบกลายเป็ นสระอโนดาต เป็ นทีอาศัยอยูของวิทยาธร ครันนํานันไหลเลยลงมา
                                                             ่
เป็ นแม่นาในทีราบ ก็เข้าใจว่าบนยอดขุนเขาเป็ นสรวงสวรรค์ เป็ นทีอาศัยอยู่ของพวกเทพเทวา มี
          ํ
มหาเทพองค์หนึงพระนามว่าอิศวรประทานนําลงมาให้ แม่นาคงคาในอินเดียได้กลายเป็ นนําสวรรค์
                                                           ํ
มีความศักดิสิทธิ ถึงสามารถล้างบาปให้แก่มนุษย์ได้๘ ความเชือเช่นนี ได้ยดถือกันมาจวบเท่าปัจจุบน
                                                                       ึ                      ั
         อีกประการหนึง คือธรรมชาติทีเกิดขึนรอบตัวมนุ ษย์อย่างเช่น ฝนตก ฟ้ าร้อง ฟ้ าฝ่ า ความ
มืด ความสว่าง เป็ นต้น มนุษย์โบราณไม่เคยรู้มลเหตุทีเกิดขึนของธรรมชาติเหล่านี มาก่อน จึงเข้าใจ
                                              ู
ว่าเป็ นพระเจ้าผูทรงฤทธิ ศักดิสิทธิ มีอานาจเหนื อตน มีอานุ ภาพ ควรบูชากราบไหว้ และควรเกรง
                  ้                    ํ
กลัว ซึงความรู้สึกเกรงกลัวต่อธรรมชาติของมนุ ษย์ดงกล่าวนี เอง ได้กลายมาเป็ นบ่อเกิดแห่ งลัทธิ
                                                     ั




        ๗
            เรืองเดียวกัน, หน้า ๖.
        ๘
            เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรี ยบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๑๗
– ๑๘.
๕

ศาสนาและศรัทธาอย่างกว้างใหญ่ไพศาลไม่มีทีสิ นสุ ด๙ และเป็ นความเชือทีฝังแน่ นในจิตใจมนุ ษย์
จนยากทีจะถอนออกไปจากความรู้สึกได้
            ความเชือบางอย่าง เช่นการทําพิธีบูชาเทวรู ปเจ้าแม่กาลีทีโบสถ์กาลีฆตอันศักดิสิ ทธิ เมือง
                                                                                 ั
กัลกัตตา ประเทศอินเดีย จะใช้แพะเป็ นๆ มาตัดคอบูชาเจ้าแม่๑๐ แต่ถาจะให้เจ้าแม่โปรดปรานยิงขึ น
                                                                      ้
แล้ว ต้องตัด คอแพะให้เลือดพุ่งตรงไปที พระโอษฐ์ข องเจ้าแม่ แล้ว นําเลือดจะไหลออกไปนอก
โบสถ์ตามช่องต่างๆ ทีทําไว้ และช่องทีนําเลือดแพะไหลลงไปจะมีผคนนําภาชนะมาตักรองเอานํา
                                                                        ู้
เลือดอันศักดิสิทธินี ไปดืม ไปอาบ ไปล้างหน้า หรื อถ้าไม่มีภาชนะก็ใช้นิวจิมนําเลือดนันแล้วเจิมที
หน้าผากของตน พิธีการบูชาในลักษณะนีสืบทอดกันมาเป็ นเวลาหลายพันปี
            มนุษย์เมือเกิดความเชือต่อสิ งทีกล่าวมาแล้วข้างต้นอย่างเต็มที ก็จะทําให้ใจยึดมันผูกขาดว่า
สิ งทีเราเชือและได้ปฏิบติตามความเชือของตนนี แหละเป็ นสิ งทีถูกต้องชอบธรรม ส่ วนของคนอืน
                            ั
หาถูกต้องไม่ ความเชือในลักษณะนี ได้กลายมาเป็ นศาสนาในทีสุ ด ซึงเมือกลายเป็ นความเชือทาง
ศาสนาแล้วก็จะอธิบายในเชิงเหตุผลไม่ได้ อย่างเช่นคนอินเดียเชือตามหลักศาสนาฮินดูว่าแม่นาคง         ํ
คาสามารถล้างบาปได้ แม้ในสมัยหนึ งมีคนมาทูลถามพระพุทธเจ้าว่า แม่นาคงคาสามารถล้างบาป
                                                                             ํ
ได้จริ งหรื อ พระพุทธเจ้าหวังจะตัดเนื อร้ายคือมิจฉาทิฐิออกไปจากใจพวกพราหมณ์ในขณะนัน จึง
ตรัสตอบไปว่า ถ้าแม่นาคงคาสามารถล้างบาปได้จริ งตามทีพวกพราหมณ์เข้าใจแล้ว กุงหอยปูปลาที
                          ํ                                                             ้
อาศัยอยูในแม่นาคงคาคงจะพากันแห่ขึนสวรรค์กนทังหมดเป็ นแน่ แทนทีการแสดงด้วยหลักแห่ ง
          ่        ํ                                ั
เหตุผลดังกล่าวจะได้ผล แต่กลับเป็ นว่าชาวฮินดูก็ยงพากันอาบนําล้างบาปมาจนกระทังทุกวันนี นัน
                                                      ั
ก็เพราะว่าความเชือของแต่ละคน เมือตกลงได้เชือหรื อมีความเห็นทีฝังใจต่อสิ งใดแล้ว ก็ยากทีจะ
ถอนใจออกจากสิงนันได้ แม้จะมีเหตุผลอืนทีน่าเชือถือเหนือกว่าสิ งทีตนเชืออยู่ก็ตาม ฉะนัน ฟราน
ซิส เบคอน จึงได้เปรี ยบเทียบความเชือหรื อความเห็นเหล่านี ว่าเป็ นความเชือแบบเทวรู ปคือตระกูล

        ๒) เทวรู ปคือถํา
        คําว่า “เทวรู ปคือถํา” หมายถึง สิ งแวดล้อมและการอบรมศึกษาทีปรุ งแต่งจิตใจของเรามา
นับแต่เกิดจนถึงทุกวันนี เทวรู ปนีล้อมกรอบเราเหมือนกักขังไว้ในถํา มองเห็นเพียงแคบๆ เฉพาะใน
บริ เวณถํา ทําให้คิดว่าโลกทังมวลมีแค่บริ เวณถํานี เท่านัน ถ้าต่างคนต่างตัดสิ นใจอะไรตามความรู้
แคบๆ ของตนเองเช่นนี จะให้มีความเห็ นตรงกันได้อย่างไร๑๑ ความคิ ดเช่นนี ถือว่าเป็ นอคติของ

         ๙
             เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๙.
         ๑๐
            ตามประวัติเล่าว่า ก่อนทีอังกฤษจะมาปกครองอินเดียทีโบสถ์กาลีฆตได้ใช้มนุษย์เป็ นๆ ตัดคอบูชาเจ้า
                                                                         ั
แม่กาลี ต่อมาเมืออังกฤษมาปกครองอินเดีย ได้ขอร้องไม่ให้ใช้มนุษย์และให้ใช้แพะแทน ดังนันจึงได้ใช้แพะตัด
คอบูชาเจ้าแม่แทนมนุษย์มาจนบัดนี และกลายมาเป็ นคําพูดทีว่า “แพะรับบาป” ตังแต่นนมา
                                                                              ั
         ๑๑
              บุญมี แทนแก้ว, อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๒.
๖

มนุษย์แต่ละคน เป็ นประสบการณ์ส่วนตัวทีครอบงําลักษณะทีแท้จริ งของมนุ ษย์เอาไว้ รวมไปถึง
สิ งแวดล้อมต่างๆ เช่น การอบรมสังสอน ซึงทําให้มนุษย์มีลกษณะการมองโลกแตกต่างกันไป และ
                                                             ั
ทําให้มีทศนะทีคับแคบเห็นเฉพาะประสบการณ์ของตน ความคิดเช่นนี ถูกจํากัดด้วยประสบการณ์
           ั
ส่วนตัวเท่านัน
           มีนิทานเปรี ยบเทีย บในเรื องเทวรู ปคือถําหรื อมนุ ษ ย์ถาอยู่ว่า๑๒ คนหลายคนถูก กักขังอยู่
                                                                  ํ
ภายในถําแห่งหนึงมาตังแต่วยเด็ก พวกเขาถูกบังคับให้นงหันหน้าเข้าหาผนังถําด้านในสุ ด ซึงอยู่
                               ั                          ั
ตรงกันข้ามกับปากถํา คนเหล่านันนังหันหลังให้กบปากถําตลอดเวลา พวกเขาต้องนังเป็ นรู ปปั น
                                                    ั
เพราะถูกล่ามโซ่ทีขาและใส่ ขือคาทีคอ จึงไม่สามารถแม้จะเหลียวมองเพือนนักโทษทีนังอยู่ขางๆ           ้
พวกเขานังประจันหน้าผนังถําเหมือนผูชมหันหน้าเข้าหาจอภาพยนตร์ บริ เวณด้านหลังนักโทษ
                                          ้
เหล่านันมียกพืนลาดสูงขึนไปจนถึงปากถําทีมีแสงสว่างจากโลกภายนอกสาดเข้ามารําไร ใกล้กบ                 ั
ปากถํามีกองไฟลุกโชนอยู่ แสงไฟแผ่ออกไปจับทีผนังถําด้านหน้านักโทษ และในบริ เวณระหว่าง
ด้านหลังนักโทษกับกองไฟ มีคนอีกกลุ่มหนึงเดินไปมาขวักไขว่ ในมือคนเหล่านันมีภาชนะรู ปปั น
และหุ่ น จํา ลองของสัต ว์ต่ างๆ เงาของคนที เดิ น และสิ งของในมือ จะไปทาบอยู่ทีผนังด้านหน้า
นักโทษทังหลาย พวกนักโทษเห็นเพียงเงาทีผนังถํา แต่ไม่อาจเหลียวมองดูทีมาของเงา เนื องจาก
นักโทษเห็นเงาเหล่านันมาตังแต่วยเด็ก พวกเขาจึงไม่ได้คิดว่าภาพทีเห็นเป็ นแค่เงา พวกเขาถือว่าสิ ง
                                   ั
ทีเห็น เป็ นจริ งในตัว เอง และเมือคนทีเดิน อยู่ดานหลังพูด คุย กัน นักโทษก็คิ ดว่ าเป็ นเสี ยงทีเปล่ง
                                                 ้
ออกมาจากภาพทีผนังถํา
           นักโทษคนหนึงถูกปลดปล่อยจากเครื องพันธนาการ เขาสามารถหันกลับไปด้านหลังและ
มองเห็นกลุ่มคนอันเป็ นทีมาของเงาบนผนังถํา เขาจะประหลาดใจมากทีพบว่า คนเหล่านันกับเงาที
ผนังถําเคลือนไหวไปมาพร้อมกัน เขาจะสรุ ปตามความเคยชินว่า สิงทีเขาค้นพบใหม่เป็ นภาพหลวง
ตา สิ งทีปรากฏอยูบนผนังถําต่างหากทีเป็ นของจริ ง ต่อมาคนอืนมาอธิบายชี แจงจึงเข้าใจว่า ตัวเอง
                      ่
ได้หลงผิดอยูนานทีเคยเชือว่าเงาบนผนังถําคือของจริ ง เขาเดินออกจากถําไปสู่โลกภายนอก ได้เห็น
                ่
คน สัตว์ สิงของ และพระอาทิตย์ เขาได้รู้จกโลกดีกว่าแต่ก่อน แล้วหวนนึกถึงเพือนนักโทษผูยงติด
                                            ั                                                 ้ั
อยูในถํา เขาจึงกลับเข้าถําไปหาคนเหล่านัน แล้วพยายามชี แจงแก่พวกเขาว่า ภาพทีพวกเขากําลัง
    ่
เห็นอยูบนผนังถําเป็ นเพียงเงา จึงไม่ใช่ของจริ งอย่างทีเชือกันในสังคมชาวถํา เพือนนักโทษจะไม่ฟัง
        ่
คําพูดของเขา ทังยังคิดว่าเขาเสียสติไปแล้ว
           นิทานเรื องนี สะท้อนให้เห็นว่า คนส่ วนมากคล้ายกับมนุ ษย์ทีถูกกักขังอยู่ในถําตรงทีหลง
นิยมชมชืนอยูกบเงาของตัวเอง ไม่สนใจต่อสิ งทีเปลียนแปลงภายนอก แท้จริ งโลกภายนอกนันกว้าง
                  ่ ั
ใหญ่ไพศาลนัก มีสิงต่างๆ มากมายทีเรายังไม่รู้ วิธีการเรี ยนรู้โลกภายนอกนันจะต้องเปิ ดใจให้กว้าง

        ๑๒
         พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต), ปรัชญากรี กบ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ :
ศยาม,๒๕๕๐), หน้า ๑๕๙ – ๑๖๐.
๗

และฝึ กหัดยอมรับความเป็ นจริ งภายในตัวตนให้ได้มากทีสุ ดเท่าทีจะมากได้ การยอมรับความจริ ง
หรื อจุดด้อยบางอย่างทีมีในตัวของแต่ละคนนันไม่ใช่เรื องง่าย เพราะคนส่ วนมากมักจะมองไม่เห็น
ตัวตนทีแท้จริ ง จึงมักจะหลงใหลในตัวเองเสมอ เช่น หลงในรู ป หลงในชือเสี ยงเกียรติยศ หลงใน
ทรัพย์สินเงินทอง และหลงในความเห็น (ทิฐิ) ของตน เป็ นต้น สิงเหล่านี เป็ นสิ งปิ ดบังหรื อขวางกัน
ไม่ให้มนุษย์เข้าถึงความจริ งได้ อย่างเช่นสัญชัยปริ พาชก เป็ นตัวอย่าง
          สัญชัยปริพาชก เป็ นอาจารย์ของอุปติสสมาณพและโกลิตมาณพ อุปติสสมาณพเป็ นเพือน
สนิทกับโกลิตมาณพ ทังสองคนอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน เป็ นบุตรแห่ งสกุลผูมงคังเหมือนกัน เบือ
                                                                            ้ ั
ชีวิตการครองเรื อนทีวุ่นวาย จึงพาบริ วารไปขอบวชอยู่ในสํานักสัญชัยปริ พาชก เรี ยนลัทธิของสัญ
ชัย ได้ทังหมด จนได้รั บแต่ งตังให้เป็ นผูช่ว ยสอนหมู่ศิษ ย์ต่ อไป ทังสองยังไม่พอใจในคําสอน
                                            ้
ของสัญชัยปริ พาชก เพราะไม่ใช่แนวทางทีตนต้องการ จึงตกลงกันทีจะแสวงหาอาจารย์ทีสามารถ
ชีแนะแนวทางทีดีกว่านี หากใครได้โมกขธรรม ก็ขอให้บอกแก่อีกฝ่ ายหนึง
          ในวันหนึ งอุปติสสมาณพได้เข้าไปในกรุ งราชคฤห์และได้พบพระอัสสชิ ซึงเป็ นหนึ งใน
พระปั ญ จวัค คี ย ์ กําลังบิ ณ ฑบาต อุ ปติ ส สมาณพเห็ น พระอัส สชิ มี อาการน่ า เลื อมใส มีค วาม
ประทับใจ จึงเข้าไปถามพระอัสสชิว่ า ผูใดเป็ นศาสดาของท่าน พระอัสสชิต อบว่า สมเด็จ พระ
                                              ้
สัมมาสัมพุทธเจ้า ผูเ้ ป็ นโอรสศากยราชเป็ นศาสดา อุปติสสมาณพจึงขอให้พระอัสสชิแสดงธรรม
พระอัสสชิได้ออกตัวว่าพึงบวชได้ไม่นาน ไม่อาจแสดงธรรมโดยกว้างขวาง อุปติสสมาณพจึงขอให้
พระอัสสชิ แสดงธรรมสันๆ ก็ได้ พระอัสสชิได้แสดงธรรมแก่อุปติสสมาณพ เรี ยกกัน ว่า “คาถา
เยธัมมา” เพราะขึนต้นด้วยคําว่า “เย ธัมมา” ในสมัยโบราณ ถือเป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา อุป
ติสสมาณพได้นาคําสอนของพระอัสสชิไปแจ้งให้โกลิตมาณพทราบ โกลิตมาณพก็ได้ดวงตาเห็น
                 ํ
ธรรมเช่นเดียวกัน
          มาณพทังสองได้ไปชักชวนสัญชัยปริ พาชก ให้ไปบวชเป็ นสาวกของพระพุทธเจ้าด้วยกัน
แต่สญชัยปริ พาชกไม่ยอมไป มาณพทังสองก็รบเร้าว่าพระพุทธเจ้าทรงเป็ นผูตรัสรู้เอง เป็ นผูรู้แจ้ง
      ั                                                                   ้                ้
จริ ง ต่อไปคนทังหลายจะหลังไหลไปฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า แล้วอาจารย์จะอยูได้อย่างไร สัญชัย
                                                                                ่
ปริ พาชกจึงถามว่า “ในโลกนีคนโง่ มากหรือคนฉลาดมาก” มาณพทังสองได้ตอบว่า “คนโง่ มากกว่า”
สัญชัยปริ พาชกจึงกล่าวแก่มาณพทังสองว่า “ปล่อยให้ คนฉลาดไปเป็ นลูกศิษย์พระพุทธเจ้า ให้ คนโง่
ซึงมีจานวนมากกว่ามาเป็ นลูกศิษย์ของเรา เราจะได้ รับเครืองสักการะจากคนจํานวนมาก คนฉลาด
        ํ
อย่างเธอทังสองจะไปเป็ นศิษย์ของพระสมณโคดมก็ตามใจ”
          เพราะเหตุแห่งความถือมันในความเห็นของตนนี เอง จึงทําให้สัญชัยปริ พาชกหมดโอกาส
เข้าเฝ้ าฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า เพือละความเห็ นผิด (มิจฉาทิ ฐิ) ที ฝังลึก อยู่ในใจตน ความเห็ น
ลักษณะนีถือว่าเป็ นความเห็นของคนตาบอดทีไม่สามารถจะนําตนและผูอืนให้เข้าถึงความจริ งได้
                                                                        ้
และจะไม่มีวนยอมรับความเห็นอืนนอกจากความรู้ทีตนมีเท่านัน อาจกล่าวได้ว่าเป็ นบุคคลประเภท
              ั
ปทปรมะ คือได้แต่ตวบทคือถ้อยคําเท่านัน ไม่สามารถเข้าใจความหมายทีแท้จริ งได้ เหมือนนกแก้ว
                       ั
๘

ทีร้อง แก้วจ๋ าๆๆ แต่ไม่รู้จกตัวแก้วว่าเป็ นอย่างไร พอยืนแก้วให้กลับไม่รับ จะรับแต่กล้วยแต่พริ ก
                            ั
เท่านัน เป็ นพวกหูหนวกตาบอด พูดไปก็ไม่ได้ยิน พูดไปก็ไม่เข้าใจ พูดเรื องนรกเรื องสวรรค์
เรื องบาปบุญคุณโทษ ก็คิดว่าเป็ นเรื องโกหกหลอกลวง พวกนี มีแต่ความมืดบอด ไม่มีโอกาสจะ
เข้าถึงพระธรรมคําสังสอนของพระพุทธเจ้าได้เลย เปรี ยบเหมือนบัว ทีจมอยู่ในนํา ทีกลายเป็ น
อาหารของปลาและเต่า ไม่มีโอกาสทีจะโผล่พนนําขึ นมา ท่านจึงเปรี ยบคนเหล่านี เหมือนกับคนที
                                                 ้
ถูกกักขังอยู่ในถํานานๆ จนมีความรู้สึกว่ าสิ งทีตนเห็นในถํานันแหละเป็ นของจริ ง ซึงตามทัศนะ
ของฟรานซิส เบคอน ก็คือกลุ่มคนจําพวกเทวรู ปคือถํานันเอง

            ๓) เทวรูปคือตลาดนัด
            คําว่า “เทวรูปคือตลาดนัด” หมายถึง ความสับสนในการใช้ภาษา ไวยากรณ์หรื อระเบียบ
ของภาษาตลอดจนศัพท์และรู ปแบบของภาษาทีมนุษย์นามาใช้เป็ นสือความหมาย มนุษย์จาเป็ นต้อง
                                                         ํ                                  ํ
                                                 ๑๓
แสดงความคิดเห็นออกมาในขอบเขตของภาษา ฟรานซิส เบคอน กล่าวว่า คําพูดทังหลายทีมนุ ษย์
ใช้มาตลอดเวลานัน ย่อมถูกกําหนดโดยวิธีใช้ของตนเองในชีวิตประจําวัน และตามกระบวนความ
เข้าใจของแต่ละคน ทุก คําพูด หรื อโวหารของมนุ ษ ย์ จึ งไม่สามารถจะครอบคลุมความสมบูร ณ์
ทังหมดไว้ได้ ดังนันความแตกต่างกันทางภาษาจึงเป็ นอุปสรรคทีทําให้มนุ ษย์ไม่สามารถจะเข้าใจ
ร่ วมกันได้อย่างถูกต้อง๑๔ เพราะเมือใครเคยชินกับการใช้ภาษาแบบใด ก็ชอบตัดสินไปตามความเคย
ชินของตน ปัญหาการใช้ภาษาจึงเกิดขึนในระหว่างมนุษย์ดวยกันเอง ้
            ตามทัศนะของฟรานซิส เบคอน ถือว่าเทวรู ปคือตลาดนัดนี เป็ นเทวรู ปทีน่ ากลัวและเป็ น
อันตรายทีสุด๑๕ เพราะการใช้ภาษาของมนุ ษย์นน บางครั งถึงแม้จะพยายามสื อความหมายในเรื อง
                                                  ั
เดียวกัน แต่เมือพูดคนละภาษาหรื อใช้ภาษาต่างกันก็ทาให้มีการตีความหมายของภาษาคลาดเคลือน
                                                       ํ
จากกันได้ เช่ น การสื อความหมายในเรื องของพระเจ้า (God) ซึงถือว่าเป็ นเรื องที สําคัญทีสุ ดของ
มนุษย์ผนบถือศาสนาฝ่ ายเทวนิยมทัวไป ดังจะเห็นได้จากศาสนาแต่ละศาสนานันจะสื อความหมาย
          ู้ ั
ในเรื องของพระเจ้าแตกต่างจากกันออกไป อย่างเช่น :-
            ศาสนาคริ สต์จะสือความหมายเกียวกับพระเจ้าว่า “พระเจ้ าผู้สูงสุ ดของเรา คือพระเจ้ าองค์
เดียว สู เจ้าจักต้องรักพระเจ้าของสู เจ้าด้ วยดวงใจทังสิน และด้ วยกําลังสู เจ้ าทังสิ น และพระเจ้ า เป็ น
พระผู้เห็นแจ้ง พระผู้รอบรู้ ในสรรพสิ ง พระผู้เป็ นจอมแห่ งสวรรค์ และพืนธรณี พระผู้ทรงความ
ยุตธรรม พระผู้บริสุทธิ พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงความเทียงธรรม ฯลฯ”๑๖
    ิ

         ๑๓
              เดือน คําดี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๖.
         ๑๔
              เรืองเดียวกัน, หน้า ๗.
         ๑๕
              เรืองเดียวกัน, หน้า ๖.
         ๑๖
              เสฐียร พันธรังษี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๓๙๗.
๙

            ศาสนาอิสลามสือความหมายว่า “ไม่มพระเจ้าองค์ใดในโลกนอกจากพระอัลเลาะห์ (อัลลอ
                                                  ี
ฮฺ)”๑๗ ซึงเป็ นผู้สร้ างทุ กสิ งทุ กอย่ างในเอกภพ เป็ นผู้มีอยู่ตลอดกาล ไม่ มีจุดเริมต้ นและไม่ มีจุดจบ
ทรงดํารงอยู่เอง ไม่มใครสร้ างพระองค์ และเป็ นผู้พพากษาในการตัดสิ นชีวิตมนุษย์ ในวันสุ ดท้ ายที
                               ี                       ิ
เรียกว่าวันพิพากษา๑๘
            ส่วนศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู สื อความหมายว่า “มหาพรหม หรือปรมาตมัน สร้ างเทวะผู้
ยิงใหญ่ ไว้หมวดหนึง ให้ มหน้ าทีเกียวกับสังสารวัฏ หรือสภาวะแห่ งโลก ๓ ประการ เทวะเหล่ านัน
                                 ี
คือ พรหมา ผู้สร้ าง (Creator) วิษณุ หรือนารายณ์ ผู้รักษา (Preserver) และศิวะ หรืออิศวร ผู้ทําลาย
(Destroyer) ซึงเทวะทังสามนี เรียกว่า “ตรีมูรติ” ๑๙ แปลว่า “ผู้ให้ กาเนิดหรือผู้ยงใหญ่ ทังสาม”๒๐
                                                                      ํ              ิ
            จะเห็นได้ว่าการสือความหมายเกียวกับพระเจ้า (God) ในแต่ละศาสนานัน ถึงแม้จะมีความ
คล้ายคลึงกันในฐานะทีพระเจ้าเป็ นผูมีเดชานุภาพทียิงใหญ่ในการสร้างสรรค์สรรพสิ งเหมือนก◌ัน
                                            ้
แต่ก็แตกต่างกันในความรู้สึกของผูนบถืออย่างสินเชิง เพราะต่างคนก็เชือว่าพระเจ้าในศาสนาทีตน
                                          ้ ั
นับถือนันเป็ นพระเจ้าองค์จริ งและมีองค์เดียวเท่านัน อย่างเช่นความเชือต่อพระเจ้าของชาวมุสลิม
ทีว่า “ศรัทธาทีแท้ จริงของมุสลิมต่ออัลลอฮฺนันหมายถึงการถวายทังกายและใจให้ แก่ พระองค์ การ
ปฏิบัตผดไปจากนี เช่ น การยอมรับนับถือพระเจ้าองค์อน หรือการนับถือสิงอืนใดเทียบเท่ าพระองค์
        ิ ิ                                                  ื
ถือว่าเป็ นบาปมหันต์ทีมิอาจยกโทษให้ ได้ ”๒๑ ดังนันชาวมุสลิมจึงพากันยอมรับนับถือพระอัลลอฮ์
องค์เดียวเท่านัน แม้ศาสนาอืนๆ ก็มีการสือความหมายแสดงความเป็ นเจ้าของต่อพระเจ้าของตนใน
ลักษณะเดียวกัน เมือเป็ นเช่น นี ปั ญหาความไม่เข้าใจกันในการสื อความหมายเกียวกับพระเจ้าจึ ง
เกิดขึนในระหว่างผูนบถือศาสนาต่างกัน และนําไปสู่การแย่งชิงศาสนิ กและทําสงครามศาสนาใน
                           ้ ั
ทีสุด
            แท้จริ ง เมือกล่าวโดยปรมัตถ์แล้ว คําว่า “พระเจ้ า” ตามทัศนะของท่านพุทธทาสก็เป็ นสิ ง
เดียวกันกับคําว่า “ธรรมะ” และ “ธรรมชาติ” เพราะคําทังสามคํานี เป็ นสิ งสูงสุ ดด้ว ยกัน และสิ ง
สมบูรณ์สูงสุดนีมีอยูแล้วในธรรมชาติ แม้ว่าพระพุทธเจ้าหรื อศาสดาองค์ใดในโลกจะค้นพบหรื อไม่
                             ่
ก็ตาม ซึงคํากล่าวนีมีความเห็นสอดคล้องกับท่าน มหาตมา คานธี ทีว่า “พระเป็ นเจ้านัน มีพระนาม
อยู่มากหลาย แต่ ถ้าจะให้ เลือ กสั ก พระนามหนึ ง ก็เห็น จะได้ แก่ “สั ต” หรื อ “สั ตย์ ” คือความจริ ง
ดังนัน ความจริงก็คอ พระเป็ นเจ้านันเอง”๒๒ ซึงความจริ งในทีนีหมายถึงความดีสูงสุดทีมนุษย์จะพึง
                         ื

        ๑๗
             เรืองเดียวกัน, หน้า ๔๒๑.
        ๑๘
             สุ จิตรา อ่อนค้อม,ศาสนาเปรี ยบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : สํานักพิมพ์ ดวงแก้ว, ๒๕๔๕), หน้า ๒๒๕.
        ๑๙
             เสฐียร พันธรังษี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๖๐.
        ๒๐
             สุ จิตรา อ่อนค้อม,อ้ างแล้ ว, หน้า ๓๘.
        ๒๑
             เรืองเดียวกัน, หน้า ๒๒๕.
        ๒๒
             อดิศกดิ ทองบุญ, ปรัชญาอินเดียร่ วมสมัย (กรุ งเทพ ฯ : ราชบัณฑิตยสถาน,๒๕๓๒), หน้า ๑๒๔.
                 ั
๑๐

ปฏิบัติเพือให้เกิ ด เป็ นคุณ ธรรมภายในตนเอง ด้ว ยเหตุ นี มหาตมา คานธี จึ งเรี ย กความจริ งหรื อ
คุณ ธรรมนี ว่ า “พระเป็ นเจ้ า” และเป็ นสิ งที ท่านขาดไม่ได้ด ้ว ย ดังคํากล่าวของท่านตอนหนึ งว่ า
“ข้ าพเจ้าเชือในเรืองความมีอยู่จริงของพระเป็ นเจ้ ามากกว่ าเชือว่ า ข้ าพเจ้ าและท่ านกําลังนังอยู่ใน
ห้ องนี ยิงกว่ านัน ข้ าพเจ้ าสามารถพิสูจน์ ให้ ท่านเห็น จริง ได้ ว่า ข้ าพเจ้ าสามารถมีชีวิตอยู่ได้ โดย
ปราศจากอากาศและนํา แต่ข้าพเจ้าไม่สามารถมีชีวตอยู่ได้ ถ้ าไม่มพระเป็ นเจ้า ถึงท่ านจะควักดวงตา
                                                    ิ                 ี
ของข้ าพเจ้ าออกไป ข้ าพเจ้ าก็ไม่ ตาย แต่ ถ้าท่ านทําลายศรัทธาทีข้ าพเจ้ ามีต่อพระเป็ นเจ้ าเสี ยแล้ ว
ข้ าพเจ้าตายแน่ ๆ”๒๓

          ๔) เทวรูปคือโรงละคร
          คําว่า “เทวรูปคือโรงละคร” หมายถึง กระแสความคิด ความเชือ ขนบธรรมเนี ยมประเพณี
ระบบปรัชญาและศาสนาทีเราคุนเคยอยู่ สิ งเหล่านี จะกลายเป็ นมาตรการติดสิ นความคิดของมนุ ษย์
                                   ้
เรา ถ้าข้อตัดสินใดตรงกับสิงทีเราคุนเคยอยูแล้ว เราจะรับว่าจริ งทันทีโดยไม่ตองไตร่ ตรอง และถ้า
                                     ้   ่                                  ้
ข้อตัดสินใดผิดไปจากความคิดทีเราเคยชิน เราจะคิดว่าผิดทันทีโดยสัญชาตญาณ๒๔ เพราะมนุ ษย์เรา
มีความเคยชินกับประเพณี วฒนธรรมดังเดิมของตน ซึงเป็ นสิ งทีอยูเ่ บืองหลังการแสดงบทบาทต่างๆ
                             ั
ของมนุษย์เอง
          ความคิดทีผูกติดอยูกบความเชือเดิมๆ ของตนโดยไม่ยอมรับกระแสความเปลียนแปลงจาก
                               ่ ั
โลกภายนอกนี เป็ นอีกอุปสรรคหนึงทีคอยขัดขวางไม่ให้มนุ ษย์คนพบแสงสว่างแห่ งความจริ งอัน
                                                                ้
เป็ นสัจธรรมชีวิต อุปสรรคชนิ ดนี ฟรานซิส เบคอน หมายเอาความเชือ ตลอดจนขนบธรรมเนี ยม
ประเพณี ต่างๆ ทีผูกพันกับมนุ ษย์ จนบางครั งทําให้มนุ ษย์หลงระเริ งอยู่กบกิจกรรมความเชือหรื อ
                                                                       ั
ประเพณี เหล่านันจนจมปรักคิดว่าสิ งทีพวกตนกระทําตามความเชือนันคือสิ งทีถูกต้อง แล้วพากัน
ปฏิเสธความเชืออืนนอกเหนื อไปจากสิ งทีตนคิดหรื อเชืออยู่ กว่าจะมาค้นพบสาเหตุทีแท้จริ งของ
เรื องนันๆ ก็เสียเวลาไปหลายชัวอายุคน อย่างเช่นความเชือของมนุษย์ในครังโบราณเป็ นกรณี ศึกษา
          มนุษย์ในสมัยโบราณเชือว่า โลกแบน มีสีเหลียมมีมุม เชือกันว่า ถ้าเดินเรื อไปกลางทะเลสัก
วันหนึงเรื อจะแล่นเลยออกไป แล้วจะตกจากขอบโลก ความเชือเช่นนีสอนกันอยูนาน และเมือมีการ
                                                                              ่
สํารวจรู้ความจริ งเรื องทางโคจรของดวงอาทิตย์กนขึ น และเมือพิสูจน์ได้ว่า โลกหมุนโดยรอบตัว
                                                ั
ของมันแล้ว จึงยุติความเชือกันลงได้ว่า โลกกลม
          เวลาลมพายุพด มนุษย์ในสมัยโบราณก็พากันเชือว่า มีพระเจ้าผูทรงอํานาจบันดาล เรื องนี ก็
                        ั                                           ้
สอนกันอยูนานจนทําให้เกิดเป็ นความเชือในเรื องของศาสนาขึ น ต่อมามนุ ษย์ก็สามารถพิสูจน์ได้
             ่


         ๒๓
              เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๒๒.
         ๒๔
              บุญมี แท่นแก้ว, อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๒.
๑๑

ตามเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ว่า ลมพายุเกิดจากส่วนต่างๆ ของโลก แต่ละส่วนมีความร้อนไม่เท่ากัน
จึงทําให้เกิดความกดดันของอากาศแตกต่างกัน
           เวลาฝนตกก็เช่นกัน มนุษย์สมัยโบราณเชือว่า พระเจ้าประทานนําลงมาให้เพาะปลูกพืชผล
และดืมกิ น แต่ค วามจริ งทางวิ ทยาศาสตร์ มาพิสูจ น์ได้ในภายหลังว่ า ฝนตกเกิ ด จากละอองนําที
ลอยตัวขึนไปจับเป็ นก้อนเมฆ เมือมีขนาดใหญ่ขึน อากาศไม่สามารถพยุงละอองนํานันได้จึงตกลง
เบืองล่าง๒๕
           ประเพณี อีกอย่างหนึงของชาวอินเดียทีกระทํากันจนกลายมาเป็ นพิธีกรรมความเชือของคน
ในสังคมขณะนัน คือ พิธีสตี (สะตี) หรื อพิธีกระโดดเข้ากองไฟตายตามสามี พิธีกรรมนี มีตนกําเนิ ด ้
มาจากตํานานทีว่า พระศิวะไปแต่งงานกับพระสตี ซึงเป็ นธิดาของพระทักษะ วันหนึงพระทักษะได้
เชิญเทวดาทังหมด ยกเว้นพระศิวะมาในงานเลียงฉลองวิมานของพระองค์ พระสตีเมือไม่เห็นพระ
ศิวะมาร่ วมงานก็เลยถามพ่อถึงสาเหตุทีไม่เชิญสามีของนางมาร่ วมงาน และเมือรู้ว่าทีพ่อไม่เชิญพระ
ศิวะมาในงานก็เพราะกลัวอับอายทีพระศิวะสวมสังวาลหัวกะโหลกคน พระสตีเสี ยใจมากทีผูเ้ ป็ น
พ่อไม่ให้เกียรติสามีตนก็เลยกลันใจตาย
           ด้วยตํานานเพียงเท่านี แต่ชาวอินเดียกลับมองว่า พระสตีเป็ นสตรี ทีเด็ดเดียว รักและซือสัตย์
ต่อสามีดงชีวิต ต่อมาความเชือนี ได้กลายมาเป็ นพิธีกรรมศักดิสิทธิของชาวอินเดียโดยเฉพาะผูหญิง
            ั                                                                                 ้
เมือสามีตายจะต้องตายตามสามีดวยโดยการกระโดดเข้ากองไฟขณะกําลังรุ กไหม้เผาสามีตน ถ้า
                                     ้
ผูหญิงคนไหนยังไม่อยากตายหรื อไม่กล้าทีจะกระโดดเข้ากองไฟก็ถกญาติพีน้องจับโยนเข้ากองไฟ
  ้                                                                  ู
เพือแสดงความจงรักภักดีต่อสามี พิธีกรรมนี กระทํากันอยูนานหลายชัวอายุคน จนกระทังอังกฤษเข้า
                                                            ่
มาปกครองอินเดีย จึงออกกฎหมายห้ามกระทําพิธีดงกล่าว     ั
           เมือศึกษาถึงเรื องดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า มนุษย์ได้หลงงมงายและเสียเวลาไปกับความ
เชือทีสืบเนืองมาจากขนบธรรมเนียมประเพณี ดงเดิมมิใช่นอย ความเชือเหล่านี ทําให้มนุ ษย์หลงทาง
                                                  ั           ้
ในการดําเนินกิจกรรมของชีวิต และในขณะทีกําลังหลงทางอยูนนมนุษย์ได้ทาลายโอกาสทีเป็ นแก่น
                                                                ่ ั          ํ
สารนอกเหนือจากสิ งทีตนเชือมากมาย ตลอดถึงการทําลายชีวิตสัตว์และมนุ ษย์ดวยกันเองเพือเซ่น
                                                                                  ้
สังเวยให้กบความเชือของตน
              ั
           ในสังคมปัจจุบนคนเรามีอตราเสี ยงต่อการถูกหลอกให้เชือจากการโฆษณาชวนเชือทีเกิน
                            ั          ั
จริ งได้ง่าย ซึงการโฆษณาเหล่านันล้วนเน้นในเรื องของผลประโยชน์ถ่ายเดียว จึงเป็ นทังสิ งทีเป็ น
จริ งและไม่เป็ นจริ งในขณะเดียวกัน และถ้าเกิดหลงเชือในสิงทีไม่เป็ นจริ ง แล้วนําไปปฏิบติ ก็จะทํา
                                                                                          ั
ให้คนๆ นันเสียเวลา เสียทรัพย์สินเงินทองโดยไม่จาเป็ นจริ งๆ และจะกลายเป็ นคนหูเบา เชือคนง่าย
                                                    ํ
คนเป่ าหูง่าย ใจไม่เป็ นกลาง แล้วนําข้อมูลข่าวสารทีผิดๆ นันมาใช้ในการตัดสิ นปั ญหา ซึงสิ งทัง
ปวงเหล่านี ถือว่าเป็ นอุปสรรคขัดขวางการดําเนินกิจกรรมของมนุษย์ในการเข้าถึงความจริ งแต่ละสิง

        ๒๕
             เสฐียร พันธรังษี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๓๕.
๑๒

การขจัดต้นตออุปสรรคเพือเข้ าถึงความรู้และความจริง
            การทีมนุษย์จะฟันฝ่ าอุปสรรคเพือเข้าถึงความจริ งแท้ในแต่ละสิ งได้นนมีอยู่วิธีเดียวคือการ
                                                                                              ั
ขจัดกวาดล้างสิ งขัดขวางกล่าวคือเทวรู ปทังสี ชนิ ดนี ออกไปจากจิตใจให้ได้ก่อน เครื องมือทีใช้ใน
การขจัดกวาดล้างคือปัญญา๒๖ เพราะปัญญาทําหน้าทีกวาดล้างเทวรู ปเหล่านี ได้ เมือใดทีมนุษย์ทาได้                      ํ
เมือนันมนุษย์จึงสามารถเข้าถึงสัจธรรมได้อย่างแท้จริ ง
            การทําลายอุปสรรคเพือเข้าถึงสัจธรรมด้วยปั ญญานันมีหลายวิธี แต่ในทีนี จะศึกษาวิธีการ
ของโสคราตีส ซึงเป็ นนักปรัชญากรี กคนสําคัญทีได้รับการยอมรับว่าฉลาดทีสุดในยุคนัน เพราะไม่
มีใครสามารถจะโต้หรื อแสดงเหตุผลเอาชนะท่านได้ แต่ถึงกระนันท่านก็ยงพูดแบบถ่อมตนว่ายังไม่  ั
รู้อะไรเท่าไรนัก แต่สิงทีท่านกล้าประกาศให้คนรู้ในสิ งทีท่านรู้จริ งๆ ก็คือ “หนึงเดียวทีข้ าพเจ้ ารู้
คือ รู้ ว่าข้ าพเจ้ าไม่ ร้ ู อ ะไร”๒๗ เพราะเมือท่ านไม่รู้ เรื องใด ท่ านก็ รู้ ตว ดี ว่ าท่ านไม่รู้ เรื องนัน และ
                                                                                  ั
พยายามศึกษาหาความรู้ในเรื องนันๆ ตรงนี เองแสดงถึงลักษณะความฉลาดของโสคราตีสทีสามารถ
ค้นพบความไม่รู้ของตนได้เป็ นอันดับแรก และจากนันจะแสวงหาความรู้ขนต่อไปโดยใช้วิธี “วิภาษ    ั
วิธี (Dialectic)” ซึงประกอบด้วยลักษณะสําคัญ ๕ ประการคือ๒๘
            ๑. สงสั ย (Sceptical) โสคราตี สเริ มต้นการสนทนาด้วยการยกย่องคู่ สนทนาว่า เป็ น
ผูเ้ ชียวชาญในเรื องทีท่านเองก็ใคร่ รู้อยูพอดี เนืองจากท่านไม่มีความรู้เกียวกับเรื องนัน ท่านจึงขอให้
                                            ่
เขาช่วยตอบคําถามของท่านเกียวกับเรื องนัน การออกตัวทํานองนี ถือกันว่าเป็ นการถ่อมตนของนัก
ปรัชญา แต่ได้มีผวิจารณ์ว่า นันเป็ นการเสแสร้งของโสคราตีส (Socratic Irony)
                      ู้
            ๒. สนทนา (Conversation) จากนันโสคราตีสก็เป็ นฝ่ ายตังปั ญหาให้คู่สนทนาตอบ การ
สนทนาจึงมีลกษณะเช่นเดียวกับเทศน์ปุจฉา-วิสชนา คู่สนทนาจะต้องหาคําจํากัดความของหัวข้อที
                  ั                                   ั
สนทนากัน โสคราตีสจะวิจารณ์ว่ า คําจํากัดความนันมีข ้อบกพร่ องตรงไหนบ้าง อีกฝ่ ายหนึ งจะ
เสนอคําจํากัดความใหม่ทีดู รัดกุ มกว่า โสคราตี สจะขัดเกลาคําจํากัด ความนันอีก การสนทนาจะ
ดําเนินไปอย่างนี จนกว่าทังสองฝ่ ายจะได้คาจํากัดความทีน่าพอใจ
                                                 ํ
            ๓. หาคําจํากัดความ (Definitional) จุดมุ่งหมายของการสนทนาจึงอยู่ทีการหาคําจํากัด
ความทีถูกต้อง โสคราตีสเชือว่า ถ้าเราพบคําจํากัดความทีถูกต้องของสิงใด นันแสดงว่า เราพบความ
จริ งแท้เกียวกับสิงนัน ซึงเป็ นอันเดียวกับการค้นพบมโนภาพของสิงนันนันเอง

          ๒๖
             ปัญญา หมายถึง ความรอบรู ้เหตุผล รู ้ชด รู ้ ทน รู ้ประจักษ์ และรู ้ถึงทังภายในและภายนอก ปัญญาแบ่ง
                                                    ั ั
ออกเป็ น ๒ ประเภท คือ โลกิยปัญญา (ปัญญาทางโลก) เป็ นปัญญาของโลกิยชน และ โลกุตตรปัญญา (ปัญญาทาง
ธรรม) เป็ นปัญญาของพระอริ ยบุคคล ปัญญามีไว้สาหรับปราบปรามกิเลสอย่างละเอียด คือ อวิชชา หมายถึง ความ
                                                 ํ
หลง ความไม่รู้เท่า ความเห็นผิดคิดว่า สิ งทังหลายเป็ นของเทียง สิ งทังหลายเป็ นสุ ข ทุกข์ไม่มี เป็ นต้น
          ๒๗
               พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต),อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๓๒.
          ๒๘
               เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๔๑ – ๑๔๒.
๑๓

           ๔. อุปนัย (Inductive) การสร้างคําจํากัดความจะเริ มจากสิ งเฉพาะไปหาสิงสากล เช่น เมือ
หาคําจํากัดความของ ความดี โสคราตีสและคู่สนทนาจะพิจารณาตัวอย่างจากความประพฤติดีชนิ ด
ต่างๆ ในสังคม แล้วดึงเอาลักษณะทีเป็ นแก่น หรื อทีเป็ นสากล เอามาสร้างเป็ นคํานิยาม
           ๕. นิรนัย (Deductive) คําจํากัดความทีมีผเู้ สนอมาจะถูกพิสูจน์โดยการนําไปเป็ น มาตรการ
วัดสิงเฉพาะต่างๆ ว่ามีลกษณะร่ วมกับลักษณะทีระบุไว้ในคําจํากัดความนันหรื อไม่ เช่น ถ้าเราได้คา
                            ั                                                                     ํ
จํากัดความของ ความดี มา เราก็ตรวจสอบดูว่า การทําทานหรื อการปราบปรามโจรผูร้าย จัดเป็ น     ้
ความดีตามคําจํากัดความทีเราตังไว้หรื อไม่เพียงใด
           จะเห็นได้ว่า วิธีการแสวงหาความรู้และความจริ งของโสคราตีสนัน จะเน้นที ความอ่อน
น้อมถ่อมตนเพือรองรับเอาความรู้ใหม่ทีตนยังไม่รู้จากท่านผูรู้ทงหลาย เป็ นการละความพยศอวดดี
                                                                 ้ ั
อวดเบ่ง อวดเก่ง เข้าลักษณะทีว่า “คนดี ไม่เบ่ ง คนเก่งไม่โม้ คนโตไม่อวด” เหมือนกับคําทีปราชญ์
ท่านกล่าวไว้ว่า “รวงข้ าวคราวสุ กน้ อมรวงลง รวงลีบชู รวงตรงสู่ ฟ้า เฉกปราชญ์ ฉลาดยงยิงถ่ อม
ตนนา คนโง่ คุยโอ่อ่าอวดอ้างตนเสมอ” ซึงก็สอดคล้องกับคติธรรมของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต
พรหฺ มรํสี) ว่า “ปราชญ์ แท้ ไม่คยฟุ้ งอวดตน คนดีไม่ เทียวยกสอพลอ คนเก่ งย่ อมทะนงอย่ างเงียบ
                                  ุ
คนชัวอวดรู้ ดี ทัวภพ คนโง่ อวดฉลาดมากมายสิ งทังหลายท่ านเห็นมีทุกทีเอย”๒๙ การแสวงหา
ความรู้และความจริ งบางอย่างต้องฝึ กหัดเป็ นคนโง่ ซึงความโง่ในทีนี ไม่ได้หมายถึง “ความโง่ เขลา
เต่าตุ่น” แต่เป็ นการยอมโง่เพือแสร้งเอาความฉลาดจากคนอืน เหมือนคําพูดของปราชญ์ท่านหนึ ง
ทีว่า “โง่ ไม่เป็ นเป็ นใหญ่ ยากฝากให้ คด ทางชีวตจะรุ่งโรจน์ โสตถิผล ต้องรู้โง่ รู้ฉลาดปราดเปรืองตน
                                        ิ       ิ
โง่ สิบหนดีกว่าเบ่ งเก่งเดียวเดียว” ฉะนัน การชนะอุปสรรคคือทิฐิ (ความเห็น) ของตนแล้วน้อมกาย
ใจเพือศึกษาและปฏิบติให้เข้าถึงความรู้และความจริ งได้นน จะต้องกวาดล้างอคติให้ออกไปจาก
                          ั                                    ั
จิตใจของตนให้ได้ก่อน ส่วนอคติคืออะไร เป็ นอุปสรรคขัดขวางการเข้าถึงความจริ งได้อย่างไรนัน
ต้องศึกษารายละเอียดในพุทธปรัชญาเถรวาทต่อไป

อุปสรรคตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท
         อุปสรรค ตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง “อคติ” ซึงแปลว่า “ทางทีไม่ ควรจะ
ไป” (มาจากศัพท์ ๒ ศัพท์รวมกัน คือ “อ” แปลว่า “ไม่ ” “คติ” แปลว่า “ทางไป” “อคติ” แปลว่า
“ทางทีไม่ควรจะไป”) แต่ในภาษาไทยแปลว่า “ความลําเอียง” ทีแปลกันเช่นนี ก็เนืองมาจากปราชญ์
โบราณท่านเปรี ยบเทียบใจคนเหมือนอย่างเรื อ คือเรื อมีลกษณะเป็ นลําๆ แล้วถ้าลําของเรื อนันเอียง
                                                         ั
ไม่ว่าจะเอียงซ้ายหรื อเอียงขวา นําก็จะเข้ามาในลําเรื อ จะทําให้เรื อล่ม คนทีอยู่ในเรื อต้องจมนํากัน
หมด ใจคนเราก็เหมือนกัน “ธรรมดาแล้ วถ้าเป็ นใจของคนทีรักความเป็ นธรรม ใจของคนมีบุญ ใจ
ของคนทีฝึ กตัวเองมาดี ย่อมไม่ เอียงซ้ าย เอียงขวา เอียงหน้ า เอียงหลัง และจะอยู่ทีศูนย์ กลางกาย

        ๒๙
             http://www.agolico.com/board/showthread.php?p=23681
๑๔

พอดี” แต่ว่ามีบุคคลบางประเภท ใจของเขาไม่ได้อยู่ทีศูนย์กลางกาย ก็เลยกลายเป็ นคนทีมีความ
ลําเอียง
            คําว่า “อคติ” สามารถแปลให้ความหมายได้หลายอย่าง เช่น ทางทีไม่ควรจะไป ความเอน
เอียงเข้าข้าง ความไม่ยติธรรมไม่เป็ นกลาง ทางแห่งความประพฤติทีผิดพลาด ความเป็ นหลักไม่ได้
                          ุ
และความลําเอียง เป็ นต้น และเมือศึกษาความหมายของอคตินีแล้ว เห็นได้ว่าอคติเป็ นอุปสรรคที
สําคัญในการขัดขวางเพือไม่ให้มนุษย์คนพบสิงทีแท้จริ ง เพราะเมืออคติมีอยูในใจของผูใดแล้ว ก็จะ
                                       ้                                ่         ้
ทําให้ผนนขาดมโนธรรมสํานึกในการตัดสินปัญหาต่างๆ เขาจะเน้นการตัดสินโดยใช้ความรู้สึกเป็ น
         ู้ ั
เกณฑ์ ไม่คานึงถึงความถูกต้อง จึงมีโอกาสทีจะกระทําความผิดได้ง่าย เพราะคนทีมีอคติอยู่ในใจจะ
               ํ
ตัดสินปัญหาไปตามเหตุการณ์ทีตนได้ยนได้ฟังมาโดยขาดการพิจารณาไตร่ ตรองถึงเหตุผลทีถูกต้อง
                                         ิ
แท้จริ ง ทีเป็ นเช่นนีเพราะอาศัยความลําเอียงหรื ออคติทีนอนเนืองอยูในใจตนเป็ นพืนฐานนันเอง
                                                                  ่
            อคติในพุทธปรัชญาเถรวาท มี ๔ ประการ คือ๓๐
            ๑. ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะชอบ (Prejudice caused by love or desire; partiality)
            ๒. โทสาคติ ลําเอียงเพราะชัง (Prejudice caused by hatred or enmity)
            ๓. โมหาคติ ลําเอียงเพราะหลง (Prejudice caused by delusion or stupidity)
            ๔. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลัว (Prejudice caused by fear)
            อคติทง ๔ ประการนี ล้วนเป็ นภัยอย่างใหญ่หลวงต่อสังคมทุกระดับ เพราะเป็ นสาเหตุหลัก
                    ั
ของความผิดพลาดในกระบวนการคิด และตัดสิ นใจของมนุ ษย์ทุกคน ทังยังเป็ นกําแพงปิ ดม่านใจ
ไม่ให้มนุษย์มองเห็นสิ งทีถูกต้องชอบธรรม นอกจากความรัก ความชัง ความหลง และความกลัวทีมี
อยูในใจตนเท่านัน ฉะนัน อคติหรื อความลําเอียงทีไม่เป็ นธรรมย่อมเป็ นสิงนําความวุ่นวายสับสนมา
     ่
สู่สงคม โดยเฉพาะอย่างยิงเมือความลําเอียงครอบงําจิตใจของผูทีได้ชือว่าเป็ นผูนาคนแล้ว ก็ยงทําให้
       ั                                                      ้             ้ ํ         ิ
ผูใต้บัง คับ บัญ ชาระสําระสายไม่ เป็ นกระบวน และเพื อความกระจ่ า งในเรื องนี จึ ง ควรศึ ก ษา
   ้
รายละเอียดของอคติธรรมทัง ๔ ข้อ ดังต่อไปนี

           ๑) ฉันทาคติ : ลําเอียงเพราะชอบ
           คําว่า “ฉันทาคติ : ลําเอียงเพราะชอบ” หมายถึง ความลําเอียงเพราะรักใคร่ ชอบพอกัน อัน
เป็ นเหตุให้ถือเขาถือเรา เลือกทีรักผลักทีชัง ช่วยเหลือเข้าข้างเฉพาะผูทีตนรักชอบ ทิ งเกณฑ์ความ
                                                                     ้
เป็ นกลาง ไม่คานึงถึงความถูกผิด ทําอะไรมักจะยึดถือเอาความรักความชอบและความพอใจของตน
                  ํ
เป็ นเกณฑ์ กล่าวคือถือพวก ถือเพือน ถือสี ถือศาสน์ ถือญาติ ถือโยม ถือพี ถือน้อง ถือสถาบัน เป็ น
ต้น ไม่ยดถือความถูกต้อง แต่ยดเอาความถูกใจเป็ นหลัก ทําให้การปกครอง ระบบงาน และกิจการ
         ึ                        ึ

        ๓๐
          พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หน้า ๑๔๙.
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด

Contenu connexe

Tendances

1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
TinnakritWarisson
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
krupornpana55
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
chonlataz
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
krupornpana55
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
Bios Logos
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
krupeem
 

Tendances (20)

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
Hardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's LawHardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's Law
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 

Similaire à ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
Tongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
sangworn
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
Panda Jing
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
Muttakeen Che-leah
 

Similaire à ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด (20)

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 

Plus de pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
pentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
pentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
pentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
pentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
pentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
pentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
pentanino
 

Plus de pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 

ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด

  • 1. ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด เรือง “อุปสรรค : สิงขัดขวางปัญญามนุษย์ ” ตามทัศนะของฟรานซิส เบคอนกับพุทธปรัชญาเถรวาท ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ ความนํา การค้นหาความจริ งของนักคิดโดยทัวไปนัน จะเน้น ๓ วิธีการใหญ่ๆ คือวิธีการทางปรัชญา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และวิธีการทางศาสนา วิธีการทางปรัชญามีจุดเริ มต้นเมือประมาณ ๘๑ ปี ก่อนพุทธศักราช โดยนักปรัชญากรี กสังกัดสํานักไมเลตุสชือ ธาเลส ได้พยายามค้นคว้าหาแก่นแท้ ของโลกหรื อทีเรี ยกว่า “ปฐมธาตุของโลก” ว่ามีสาเหตุมาจากอะไร ในทีสุ ดเขาก็พบคําตอบว่า โลก เกิดจากการรวมตัวของสสารดังเดิมสุด (Prime Matter) สสารนันจึงเป็ นวัตถุดิบทีก่อให้เกิดโลก มัน มีอยูก่อนสิ งอืนทังหมด จึงเป็ นธาตุดงเดิมหรื อปฐมธาตุ (First Element) ของโลก ซึงจะต้องเป็ นสิงที ่ ั มีอนุภาคเล็กทีสุดจนแบ่งย่อยออกไปอีกไม่ได้๑ ปฐมธาตุทีว่านันก็คือ “นํา” การค้นพบปฐมธาตุของ โลกนีถือว่าเป็ นก้าวแรกในประวัติศาสตร์ แห่ งการเปิ ดโลกทัศน์ของนักคิดสายตะวันตกทีสามารถ ผลักดันตนเองผ่านพ้นกรอบความเชือทางศาสนาเข้าสู่พรมแดนปรัชญา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ จะ เน้นการพิสูจน์ ทดลอง สังเกตการณ์ และวางสมมติฐาน เพือเก็บวิเคราะห์หาข้อมูลทีถูกต้อง โดยเชือ ว่าโลกและชีวิตเป็ นสิงทีอธิบายได้ดวยหลักธรรมชาติโดยมีวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็ นเครื องมือใน ้ การเข้าถึงความจริ ง ส่ วนวิธีการทางศาสนานันจะเน้นการแสวงหาความจริ งโดยใช้วิธีการลงมือ ปฏิบติตามความเชือของตน โดยมีจุดหมายอยูทีความหลุดพ้นหรื อการเข้าถึงพระผูเ้ ป็ นเจ้าว่าเป็ นสิ ง ั ่ สูงสุดและเป็ นแหล่งกําเนิดความรู้ทีน่าเชือถือได้ หลักการปฏิบติเช่นนี มีแพร่ หลายในสายตะวันออก ั โดยเฉพาะทีประเทศอินเดีย ซึงเป็ นบ่อเกิดแห่งลัทธิ ศาสนาและปรัชญาชีวิต การศึกษาเปรี ยบเทียบแนวความคิดเรื อง “อุปสรรค : สิงขัดขวางปั ญญามนุ ษย์” ตามทัศนะ ของฟรานซิ ส เบคอนกับ พุ ท ธปรั ช ญาเถรวาทนี เป็ นการศึ ก ษาอุ ป สรรคสิ งขัด ขวางความ เจริ ญก้าวหน้าทางปัญญาทีคอยยับยังไม่ให้มนุ ษย์เข้าถึงหลักสัจธรรม ความจริ ง ทังในด้านปรัชญา ศาสนา และวิทยาศาสตร์ เนืองจากมนุษย์โดยส่วนมากจะติดอยูกบความเชือของตน ซึงความเชือใน ่ ั แต่ละเรื องมัก จะได้รับการถ่ายทอดมาจากสิ งแวดล้อมอีกทีหนึ ง หรื อไม่ก็เป็ นเรื องจริ ตนิ สัยหรื อ ความเห็น (ทิฐิ) หรื อทฤษฎีของตนเป็ นส่ วนใหญ่ ซึงสิ งเหล่านี เองเป็ นอุปสรรคคอยขัดขวางไม่ให้ มนุษย์เข้าถึงหลักแห่งความจริ งในแต่ละสิงทีมนุษย์ควรจะได้รับ ๑ พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต),ปรัชญากรีกบ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ : ศยาม, ๒๕๔๐, หน้า ๓๖.
  • 2. ๒ ความหมายของอุปสรรค คําว่า “อุปสรรค” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมาย ไว้ว่า “เครืองขัดข้ อง, ความขัดข้ อง, เครืองขัด ขวาง”๒ ซึงความหมายดังกล่าวนี แสดงให้เห็นว่ า อุปสรรคเป็ นสิ งก◌ดขวางการพัฒนาความเจริ ญก้าวหน้าของมนุ ษย์ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็ นการ ี แสวงหาความรู้และความจริ งตามแนวทางปรัชญา ศาสนา และวิทยาศาสตร์ หรื อการปฏิบติเพือ ั ความรู้ แจ้งแห่ งตน รวมไปถึงการบริ หารงานในหน่ ว ยงานหรื อองค์ก รต่ างๆ เมือมีอุปสรรคสิ ง ขัดขวางอย่างใดอย่างหนึ งเกิดขึ นแล้ว ย่อมทําให้เกิดการติดขัด ชะงักงัน พัฒนาไปข้างหน้าไม่ได้ ถ่วงดุ ลความเจริ ญก้าวหน้า หาความเจริ ญมิได้ มีแต่ค วามเสื อมถ่ายเดี ยว ฉะนัน อุปสรรคจึ งเป็ น เครื องหมายของความเสื อมทรามทางด้า นจิ ต ใจที มนุ ษ ย์ไ ม่ ส ามารถจะพัฒ นาให้ ถึ ง ความ เจริ ญก้าวหน้าเชิงคุณธรรมได้ จึงเรี ยกได้ว่า เป็ นโทษเครื องเศร้าหมองทีทําให้จิตใจของมนุษย์ขุ่นมัว และสับสน จนไม่สามารถจะมองเห็นความเสือมหรื อความเจริ ญงอกงามของตนและสังคมได้ อุปสรรคตามทัศนะของฟรานซิส เบคอน ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon : ๑๕๖๑ - ๑๖๒๖) เป็ นนักปรัชญา นักวิทยาศาสตร์ ชาว อังกฤษ และเป็ นผูเ้ สนอแนวความคิดใหม่ในวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นทีการสังเกต ทดลอง และการค้นหาความจริ งจากประสบการณ์ทีหลากหลาย ซึงเขาเชือว่าวิธีการนี จะนําไปสู่การค้นพบ ความรู้ทีแท้จริ ง แต่ความจริ งทีว่านี มิใช่สิงทีมนุษย์จะเข้าถึงได้โดยง่าย เพราะมนุษย์มกจะมีอุปสรรค ั ขัด ขวางความคิ ด ในการเข้าถึงสิ งจริ งแท้อยู่เสมอ อุปสรรคที ว่ านี เบคอนเรี ยกว่ า “เทวรู ป ” ซึ งมี ลักษณะคล้ายกับอคติในทางพระพุทธศาสนา อันเป็ นต้นเหตุให้มนุ ษย์เกิด ความลําเอียง มีค วาม คิดเห็นทีผิดพลาด และครอบงําปัญญามนุษย์ไว้ไม่ให้เข้าถึงหลักสัจธรรม ด้วยเหตุนีมนุษย์จึงมีความ คิดเห็นทีแตกต่างและพากันแสวงหาความจริ งต่างกันออกไปตามความเชือของตน “เทวรูป” ต้นตอของปัญหา ฟรานซิส เบคอน เป็ นนักปรัชญาสายวิทยาศาสตร์คนแรกทีมองเห็นปัญหาว่า ทังๆ ทีคนเรา ไม่มีกิเลสเครื องเศร้าหมองในจิตใจ แต่ทาไมคนเราจึงมีทศนะไม่ตรงกัน เพราะโดยธรรมชาติแล้ว ํ ั ความจริ งจะต้องมีมาตรฐานเป็ นปรนัย (Objective) คือมีอยูโดยไม่ขึนกับการรับรู้หรื อการพิจารณา ่ ของผูใดผูหนึง แต่คนเราก็ไม่สามารถจะมีมาตรฐานการรับรู้ความจริ งอย่างเดียวกันได้ แสดงว่าต้อง ้ ้ มีอุปสรรคอย่างใดอย่างหนึงคอยขวางกันการเข้าถึงความจริ งดังกล่าว ฟรานซิส เบคอน ได้พยายาม ๒ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ (กรุ งเทพ ฯ : อักษรเจริ ญทัศน์ ,๒๕๓๙), หน้า ๙๕๗.
  • 3. ๓ ค้นหาคําตอบจนกระทังพบว่า สิ งทีเป็ นอุปสรรคทีทําให้เราไม่สามารถเข้าถึงความจริ งเหมือนกันได้ นันก็คือ “เทวรูป”๓ นันเอง คําว่า “เทวรู ป” ตามทัศนะของ ฟรานซิส เบคอน หมายถึง “สิงทีเราสร้ างขึนมาเพือเคารพ ว่ าของเราศั กดิสิ ทธิยิงกว่ าของผู้อืน ส่ วนของผู้อืนไม่ ศัก ดิสิ ท ธิ”๔ เป็ นการสร้างขึ นมาเพือความ เชือมันและยึดเหนียวว่าเป็ นความจริ งสําหรับตนหรื อกลุ่มของตน ความเชือดังกล่าวมักได้รับการ ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ จนกระทังฝังลึกอยูในจิตใจมนุษย์มาตังแต่ยคทียังไม่มีการพิสูจน์หาความ ่ ุ จริ งทางวิทยาศาสตร์ นอกจากนี เทวรู ปตามทัศนะของเบคอน ยังหมายรวมไปถึงความนึ กคิดของ ปัจเจกบุคคลทีว่า “ความคิดของเราเป็ นความจริงหรือเป็ นสั จธรรม ส่ วนความคิดเห็นคนอืนไม่ ใช่ สัจธรรม”๕ เป็ นความดือรันในความคิดเห็น (ทิฐิ) หรื อทฤษฎีของตน กล่าวคือคนเราเมือจะแสวงหา ความรู้ หรื อความจริ งในสิ งใดสิ งหนึงแล้ว ส่วนมากจะไปติดอยู่ทีตัวทิฐิหรื อความเห็นของตนเป็ น ส่วนใหญ่ จึงทําให้ไม่สามารถจะคิดทะลุผานเข้าถึงความจริ งแท้ได้ เพราะแต่ละคนยึดมันในทิฐิของ ่ ตนเองว่า ความเห็นของตนเท่านันถูกต้อง ส่วนของคนอืนผิดหมด เมือเป็ นเช่นนี การแสวงหาความ จริ งจึงหยุดชะงักเดินหน้าต่อไปไม่ได้ ชนิดของเทวรูป ฟรานซิส เบคอน ได้แบ่งเทวรู ป (สิ งทีเป็ นอุสรรคอย่างร้ายแรงทีขัดขวางไม่ให้มนุษย์เข้าถึง ความจริ ง) ออกเป็ น ๔ ชนิด คือ๖ ๑. เทวรู ปคือตระกูล (Idols of the Tribe) ๒. เทวรู ปคือถํา (Idols of the Cave) ๓. เทวรูปคือตลาดนัด (Idols of the Market Place) ๔. เทวรูปคือโรงละคร (Idols of the Theater) เทวรู ปทัง ๔ นีมีอยูในใจของมนุษย์ปุถุชนแทบทุกคนแตกต่างชนิดกันออกไปและเมือมีอยู่ ่ ในใจแล้วจะทําให้มนุษย์หลงงมงายไปตามความเชือของตน ซึงจะอธิบายในรายละเอียดดังต่อไปนี ๓ บุญมี แท่นแก้ว, ปรัชญาตะวันตก (สมัยใหม่ ) (กรุ งเทพ ฯ : โอเดียนสโตร์ ,๒๕๔๕), หน้า ๑๑. ๔ เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๑. ๕ เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๒. ๖ เดือน คําดี, ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (กรุ งเทพ ฯ : โอเดียนสโตร์ , ๒๕๒๖), หน้า ๖.
  • 4. ๑) เทวรูปคือตระกูล คําว่า “เทวรู ปคือตระกูล” หมายถึง รสนิยมส่วนตัวของแต่ละบุคคล ซึงได้รับการถ่ายทอด มาจากเผ่าพันธุหรื อกรรมพันธุ์ โดยไม่ได้มีการสํารวจความคิดของตนว่าถูกต้องหรื อไม่ จึงติดอยูกบ ์ ่ ั ความเชือทีได้รับการถ่ายทอดมานัน ในทีนี รวมไปถึงกิเลส ตัณหาและคุณธรรมต่างๆ๗ ด้วย เทวรู ปคือตระกูลนี เป็ นความเชือทีฝังแน่ นในจิตใจมนุ ษย์มาเป็ นเวลาช้านาน พร้อมๆ กับ การเกิดขึนของลัทธิศาสนาในโลก ความเชือชนิดนีเกิดจาก อวิชชา คือความไม่รู้ เริ มตังแต่ความไม่รู้ เหตุผลทางภูมิศาสตร์ ไม่รู้เหตุผลทางดาราศาสตร์ ไม่รู้ชีววิทยา และไม่รู้จกธรรมชาติอืนๆ ทีมีอยู่ ั รอบตัว อย่างเช่นความเชือในเรื องดังต่อไปนี มนุ ษย์ในประเทศอียิปต์สมัยโบราณ ไม่เคยเดินทางขึนไปทางเหนื อของทวีป ไม่เคยรู้ว่ า แม่น ําไนล์ใหลจากต้น ทางเหนื อทวี ปอาฟริ ก า ก็ เกิด ความคิด สมมติเป็ นเทพนิ ย าย โดยเชือกันว่ า กระแสของแม่นาไนล์เป็ นนําตาของเทพธิดาไอลิส ร้องให้อาลัยรักต่อมหาเทพโอสิ ริส พระสวามีที ํ ถูกปลงพระชนม์ พอถึงฤดูนาหลาก แม่นาท่ วมเต็มฝั ง ก็พากัน ทําพิธีบวงสรวงสังเวยแม่นา และ ํ ํ ํ กลายมาเป็ นความเชือสืบต่อกันมาจนกระทังปัจจุบน ั คนกรี กในสมัยโบราณไม่เคยปี นขึนไปบนยอดเขาโอลิมปั ส ซึงเป็ นยอดสูงสุ ดในประเทศ นัน ก็หมายใจว่า บนยอดเขาโอลิมปัส เป็ นสวรรค์ เป็ นทีสถิตของเทพเทวานานาชนิด แล้วสร้างเรื อง เป็ นนิยายขึนเพือสอนคนให้เชือถือกันต่อมา ชนเผ่าอารยันในลุ่มแม่นาสินธุและคงคาในประเทศอินเดีย ไม่มีความรู้ทางด้านภ◌ู มิศาสตร์ ํ เกียวกับขุนเขาหิมาลัย ซึงเป็ นทีรวมของหิมะ เมือหิมะละลายลงสู่แอ่งนําใหญ่กลายเป็ นทะเลสาบ ก็ สร้างนิยายให้ทะเลสาบกลายเป็ นสระอโนดาต เป็ นทีอาศัยอยูของวิทยาธร ครันนํานันไหลเลยลงมา ่ เป็ นแม่นาในทีราบ ก็เข้าใจว่าบนยอดขุนเขาเป็ นสรวงสวรรค์ เป็ นทีอาศัยอยู่ของพวกเทพเทวา มี ํ มหาเทพองค์หนึงพระนามว่าอิศวรประทานนําลงมาให้ แม่นาคงคาในอินเดียได้กลายเป็ นนําสวรรค์ ํ มีความศักดิสิทธิ ถึงสามารถล้างบาปให้แก่มนุษย์ได้๘ ความเชือเช่นนี ได้ยดถือกันมาจวบเท่าปัจจุบน ึ ั อีกประการหนึง คือธรรมชาติทีเกิดขึนรอบตัวมนุ ษย์อย่างเช่น ฝนตก ฟ้ าร้อง ฟ้ าฝ่ า ความ มืด ความสว่าง เป็ นต้น มนุษย์โบราณไม่เคยรู้มลเหตุทีเกิดขึนของธรรมชาติเหล่านี มาก่อน จึงเข้าใจ ู ว่าเป็ นพระเจ้าผูทรงฤทธิ ศักดิสิทธิ มีอานาจเหนื อตน มีอานุ ภาพ ควรบูชากราบไหว้ และควรเกรง ้ ํ กลัว ซึงความรู้สึกเกรงกลัวต่อธรรมชาติของมนุ ษย์ดงกล่าวนี เอง ได้กลายมาเป็ นบ่อเกิดแห่ งลัทธิ ั ๗ เรืองเดียวกัน, หน้า ๖. ๘ เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรี ยบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๑๗ – ๑๘.
  • 5. ๕ ศาสนาและศรัทธาอย่างกว้างใหญ่ไพศาลไม่มีทีสิ นสุ ด๙ และเป็ นความเชือทีฝังแน่ นในจิตใจมนุ ษย์ จนยากทีจะถอนออกไปจากความรู้สึกได้ ความเชือบางอย่าง เช่นการทําพิธีบูชาเทวรู ปเจ้าแม่กาลีทีโบสถ์กาลีฆตอันศักดิสิ ทธิ เมือง ั กัลกัตตา ประเทศอินเดีย จะใช้แพะเป็ นๆ มาตัดคอบูชาเจ้าแม่๑๐ แต่ถาจะให้เจ้าแม่โปรดปรานยิงขึ น ้ แล้ว ต้องตัด คอแพะให้เลือดพุ่งตรงไปที พระโอษฐ์ข องเจ้าแม่ แล้ว นําเลือดจะไหลออกไปนอก โบสถ์ตามช่องต่างๆ ทีทําไว้ และช่องทีนําเลือดแพะไหลลงไปจะมีผคนนําภาชนะมาตักรองเอานํา ู้ เลือดอันศักดิสิทธินี ไปดืม ไปอาบ ไปล้างหน้า หรื อถ้าไม่มีภาชนะก็ใช้นิวจิมนําเลือดนันแล้วเจิมที หน้าผากของตน พิธีการบูชาในลักษณะนีสืบทอดกันมาเป็ นเวลาหลายพันปี มนุษย์เมือเกิดความเชือต่อสิ งทีกล่าวมาแล้วข้างต้นอย่างเต็มที ก็จะทําให้ใจยึดมันผูกขาดว่า สิ งทีเราเชือและได้ปฏิบติตามความเชือของตนนี แหละเป็ นสิ งทีถูกต้องชอบธรรม ส่ วนของคนอืน ั หาถูกต้องไม่ ความเชือในลักษณะนี ได้กลายมาเป็ นศาสนาในทีสุ ด ซึงเมือกลายเป็ นความเชือทาง ศาสนาแล้วก็จะอธิบายในเชิงเหตุผลไม่ได้ อย่างเช่นคนอินเดียเชือตามหลักศาสนาฮินดูว่าแม่นาคง ํ คาสามารถล้างบาปได้ แม้ในสมัยหนึ งมีคนมาทูลถามพระพุทธเจ้าว่า แม่นาคงคาสามารถล้างบาป ํ ได้จริ งหรื อ พระพุทธเจ้าหวังจะตัดเนื อร้ายคือมิจฉาทิฐิออกไปจากใจพวกพราหมณ์ในขณะนัน จึง ตรัสตอบไปว่า ถ้าแม่นาคงคาสามารถล้างบาปได้จริ งตามทีพวกพราหมณ์เข้าใจแล้ว กุงหอยปูปลาที ํ ้ อาศัยอยูในแม่นาคงคาคงจะพากันแห่ขึนสวรรค์กนทังหมดเป็ นแน่ แทนทีการแสดงด้วยหลักแห่ ง ่ ํ ั เหตุผลดังกล่าวจะได้ผล แต่กลับเป็ นว่าชาวฮินดูก็ยงพากันอาบนําล้างบาปมาจนกระทังทุกวันนี นัน ั ก็เพราะว่าความเชือของแต่ละคน เมือตกลงได้เชือหรื อมีความเห็นทีฝังใจต่อสิ งใดแล้ว ก็ยากทีจะ ถอนใจออกจากสิงนันได้ แม้จะมีเหตุผลอืนทีน่าเชือถือเหนือกว่าสิ งทีตนเชืออยู่ก็ตาม ฉะนัน ฟราน ซิส เบคอน จึงได้เปรี ยบเทียบความเชือหรื อความเห็นเหล่านี ว่าเป็ นความเชือแบบเทวรู ปคือตระกูล ๒) เทวรู ปคือถํา คําว่า “เทวรู ปคือถํา” หมายถึง สิ งแวดล้อมและการอบรมศึกษาทีปรุ งแต่งจิตใจของเรามา นับแต่เกิดจนถึงทุกวันนี เทวรู ปนีล้อมกรอบเราเหมือนกักขังไว้ในถํา มองเห็นเพียงแคบๆ เฉพาะใน บริ เวณถํา ทําให้คิดว่าโลกทังมวลมีแค่บริ เวณถํานี เท่านัน ถ้าต่างคนต่างตัดสิ นใจอะไรตามความรู้ แคบๆ ของตนเองเช่นนี จะให้มีความเห็ นตรงกันได้อย่างไร๑๑ ความคิ ดเช่นนี ถือว่าเป็ นอคติของ ๙ เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๙. ๑๐ ตามประวัติเล่าว่า ก่อนทีอังกฤษจะมาปกครองอินเดียทีโบสถ์กาลีฆตได้ใช้มนุษย์เป็ นๆ ตัดคอบูชาเจ้า ั แม่กาลี ต่อมาเมืออังกฤษมาปกครองอินเดีย ได้ขอร้องไม่ให้ใช้มนุษย์และให้ใช้แพะแทน ดังนันจึงได้ใช้แพะตัด คอบูชาเจ้าแม่แทนมนุษย์มาจนบัดนี และกลายมาเป็ นคําพูดทีว่า “แพะรับบาป” ตังแต่นนมา ั ๑๑ บุญมี แทนแก้ว, อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๒.
  • 6. ๖ มนุษย์แต่ละคน เป็ นประสบการณ์ส่วนตัวทีครอบงําลักษณะทีแท้จริ งของมนุ ษย์เอาไว้ รวมไปถึง สิ งแวดล้อมต่างๆ เช่น การอบรมสังสอน ซึงทําให้มนุษย์มีลกษณะการมองโลกแตกต่างกันไป และ ั ทําให้มีทศนะทีคับแคบเห็นเฉพาะประสบการณ์ของตน ความคิดเช่นนี ถูกจํากัดด้วยประสบการณ์ ั ส่วนตัวเท่านัน มีนิทานเปรี ยบเทีย บในเรื องเทวรู ปคือถําหรื อมนุ ษ ย์ถาอยู่ว่า๑๒ คนหลายคนถูก กักขังอยู่ ํ ภายในถําแห่งหนึงมาตังแต่วยเด็ก พวกเขาถูกบังคับให้นงหันหน้าเข้าหาผนังถําด้านในสุ ด ซึงอยู่ ั ั ตรงกันข้ามกับปากถํา คนเหล่านันนังหันหลังให้กบปากถําตลอดเวลา พวกเขาต้องนังเป็ นรู ปปั น ั เพราะถูกล่ามโซ่ทีขาและใส่ ขือคาทีคอ จึงไม่สามารถแม้จะเหลียวมองเพือนนักโทษทีนังอยู่ขางๆ ้ พวกเขานังประจันหน้าผนังถําเหมือนผูชมหันหน้าเข้าหาจอภาพยนตร์ บริ เวณด้านหลังนักโทษ ้ เหล่านันมียกพืนลาดสูงขึนไปจนถึงปากถําทีมีแสงสว่างจากโลกภายนอกสาดเข้ามารําไร ใกล้กบ ั ปากถํามีกองไฟลุกโชนอยู่ แสงไฟแผ่ออกไปจับทีผนังถําด้านหน้านักโทษ และในบริ เวณระหว่าง ด้านหลังนักโทษกับกองไฟ มีคนอีกกลุ่มหนึงเดินไปมาขวักไขว่ ในมือคนเหล่านันมีภาชนะรู ปปั น และหุ่ น จํา ลองของสัต ว์ต่ างๆ เงาของคนที เดิ น และสิ งของในมือ จะไปทาบอยู่ทีผนังด้านหน้า นักโทษทังหลาย พวกนักโทษเห็นเพียงเงาทีผนังถํา แต่ไม่อาจเหลียวมองดูทีมาของเงา เนื องจาก นักโทษเห็นเงาเหล่านันมาตังแต่วยเด็ก พวกเขาจึงไม่ได้คิดว่าภาพทีเห็นเป็ นแค่เงา พวกเขาถือว่าสิ ง ั ทีเห็น เป็ นจริ งในตัว เอง และเมือคนทีเดิน อยู่ดานหลังพูด คุย กัน นักโทษก็คิ ดว่ าเป็ นเสี ยงทีเปล่ง ้ ออกมาจากภาพทีผนังถํา นักโทษคนหนึงถูกปลดปล่อยจากเครื องพันธนาการ เขาสามารถหันกลับไปด้านหลังและ มองเห็นกลุ่มคนอันเป็ นทีมาของเงาบนผนังถํา เขาจะประหลาดใจมากทีพบว่า คนเหล่านันกับเงาที ผนังถําเคลือนไหวไปมาพร้อมกัน เขาจะสรุ ปตามความเคยชินว่า สิงทีเขาค้นพบใหม่เป็ นภาพหลวง ตา สิ งทีปรากฏอยูบนผนังถําต่างหากทีเป็ นของจริ ง ต่อมาคนอืนมาอธิบายชี แจงจึงเข้าใจว่า ตัวเอง ่ ได้หลงผิดอยูนานทีเคยเชือว่าเงาบนผนังถําคือของจริ ง เขาเดินออกจากถําไปสู่โลกภายนอก ได้เห็น ่ คน สัตว์ สิงของ และพระอาทิตย์ เขาได้รู้จกโลกดีกว่าแต่ก่อน แล้วหวนนึกถึงเพือนนักโทษผูยงติด ั ้ั อยูในถํา เขาจึงกลับเข้าถําไปหาคนเหล่านัน แล้วพยายามชี แจงแก่พวกเขาว่า ภาพทีพวกเขากําลัง ่ เห็นอยูบนผนังถําเป็ นเพียงเงา จึงไม่ใช่ของจริ งอย่างทีเชือกันในสังคมชาวถํา เพือนนักโทษจะไม่ฟัง ่ คําพูดของเขา ทังยังคิดว่าเขาเสียสติไปแล้ว นิทานเรื องนี สะท้อนให้เห็นว่า คนส่ วนมากคล้ายกับมนุ ษย์ทีถูกกักขังอยู่ในถําตรงทีหลง นิยมชมชืนอยูกบเงาของตัวเอง ไม่สนใจต่อสิ งทีเปลียนแปลงภายนอก แท้จริ งโลกภายนอกนันกว้าง ่ ั ใหญ่ไพศาลนัก มีสิงต่างๆ มากมายทีเรายังไม่รู้ วิธีการเรี ยนรู้โลกภายนอกนันจะต้องเปิ ดใจให้กว้าง ๑๒ พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต), ปรัชญากรี กบ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ : ศยาม,๒๕๕๐), หน้า ๑๕๙ – ๑๖๐.
  • 7. ๗ และฝึ กหัดยอมรับความเป็ นจริ งภายในตัวตนให้ได้มากทีสุ ดเท่าทีจะมากได้ การยอมรับความจริ ง หรื อจุดด้อยบางอย่างทีมีในตัวของแต่ละคนนันไม่ใช่เรื องง่าย เพราะคนส่ วนมากมักจะมองไม่เห็น ตัวตนทีแท้จริ ง จึงมักจะหลงใหลในตัวเองเสมอ เช่น หลงในรู ป หลงในชือเสี ยงเกียรติยศ หลงใน ทรัพย์สินเงินทอง และหลงในความเห็น (ทิฐิ) ของตน เป็ นต้น สิงเหล่านี เป็ นสิ งปิ ดบังหรื อขวางกัน ไม่ให้มนุษย์เข้าถึงความจริ งได้ อย่างเช่นสัญชัยปริ พาชก เป็ นตัวอย่าง สัญชัยปริพาชก เป็ นอาจารย์ของอุปติสสมาณพและโกลิตมาณพ อุปติสสมาณพเป็ นเพือน สนิทกับโกลิตมาณพ ทังสองคนอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน เป็ นบุตรแห่ งสกุลผูมงคังเหมือนกัน เบือ ้ ั ชีวิตการครองเรื อนทีวุ่นวาย จึงพาบริ วารไปขอบวชอยู่ในสํานักสัญชัยปริ พาชก เรี ยนลัทธิของสัญ ชัย ได้ทังหมด จนได้รั บแต่ งตังให้เป็ นผูช่ว ยสอนหมู่ศิษ ย์ต่ อไป ทังสองยังไม่พอใจในคําสอน ้ ของสัญชัยปริ พาชก เพราะไม่ใช่แนวทางทีตนต้องการ จึงตกลงกันทีจะแสวงหาอาจารย์ทีสามารถ ชีแนะแนวทางทีดีกว่านี หากใครได้โมกขธรรม ก็ขอให้บอกแก่อีกฝ่ ายหนึง ในวันหนึ งอุปติสสมาณพได้เข้าไปในกรุ งราชคฤห์และได้พบพระอัสสชิ ซึงเป็ นหนึ งใน พระปั ญ จวัค คี ย ์ กําลังบิ ณ ฑบาต อุ ปติ ส สมาณพเห็ น พระอัส สชิ มี อาการน่ า เลื อมใส มีค วาม ประทับใจ จึงเข้าไปถามพระอัสสชิว่ า ผูใดเป็ นศาสดาของท่าน พระอัสสชิต อบว่า สมเด็จ พระ ้ สัมมาสัมพุทธเจ้า ผูเ้ ป็ นโอรสศากยราชเป็ นศาสดา อุปติสสมาณพจึงขอให้พระอัสสชิแสดงธรรม พระอัสสชิได้ออกตัวว่าพึงบวชได้ไม่นาน ไม่อาจแสดงธรรมโดยกว้างขวาง อุปติสสมาณพจึงขอให้ พระอัสสชิ แสดงธรรมสันๆ ก็ได้ พระอัสสชิได้แสดงธรรมแก่อุปติสสมาณพ เรี ยกกัน ว่า “คาถา เยธัมมา” เพราะขึนต้นด้วยคําว่า “เย ธัมมา” ในสมัยโบราณ ถือเป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา อุป ติสสมาณพได้นาคําสอนของพระอัสสชิไปแจ้งให้โกลิตมาณพทราบ โกลิตมาณพก็ได้ดวงตาเห็น ํ ธรรมเช่นเดียวกัน มาณพทังสองได้ไปชักชวนสัญชัยปริ พาชก ให้ไปบวชเป็ นสาวกของพระพุทธเจ้าด้วยกัน แต่สญชัยปริ พาชกไม่ยอมไป มาณพทังสองก็รบเร้าว่าพระพุทธเจ้าทรงเป็ นผูตรัสรู้เอง เป็ นผูรู้แจ้ง ั ้ ้ จริ ง ต่อไปคนทังหลายจะหลังไหลไปฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า แล้วอาจารย์จะอยูได้อย่างไร สัญชัย ่ ปริ พาชกจึงถามว่า “ในโลกนีคนโง่ มากหรือคนฉลาดมาก” มาณพทังสองได้ตอบว่า “คนโง่ มากกว่า” สัญชัยปริ พาชกจึงกล่าวแก่มาณพทังสองว่า “ปล่อยให้ คนฉลาดไปเป็ นลูกศิษย์พระพุทธเจ้า ให้ คนโง่ ซึงมีจานวนมากกว่ามาเป็ นลูกศิษย์ของเรา เราจะได้ รับเครืองสักการะจากคนจํานวนมาก คนฉลาด ํ อย่างเธอทังสองจะไปเป็ นศิษย์ของพระสมณโคดมก็ตามใจ” เพราะเหตุแห่งความถือมันในความเห็นของตนนี เอง จึงทําให้สัญชัยปริ พาชกหมดโอกาส เข้าเฝ้ าฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า เพือละความเห็ นผิด (มิจฉาทิ ฐิ) ที ฝังลึก อยู่ในใจตน ความเห็ น ลักษณะนีถือว่าเป็ นความเห็นของคนตาบอดทีไม่สามารถจะนําตนและผูอืนให้เข้าถึงความจริ งได้ ้ และจะไม่มีวนยอมรับความเห็นอืนนอกจากความรู้ทีตนมีเท่านัน อาจกล่าวได้ว่าเป็ นบุคคลประเภท ั ปทปรมะ คือได้แต่ตวบทคือถ้อยคําเท่านัน ไม่สามารถเข้าใจความหมายทีแท้จริ งได้ เหมือนนกแก้ว ั
  • 8. ๘ ทีร้อง แก้วจ๋ าๆๆ แต่ไม่รู้จกตัวแก้วว่าเป็ นอย่างไร พอยืนแก้วให้กลับไม่รับ จะรับแต่กล้วยแต่พริ ก ั เท่านัน เป็ นพวกหูหนวกตาบอด พูดไปก็ไม่ได้ยิน พูดไปก็ไม่เข้าใจ พูดเรื องนรกเรื องสวรรค์ เรื องบาปบุญคุณโทษ ก็คิดว่าเป็ นเรื องโกหกหลอกลวง พวกนี มีแต่ความมืดบอด ไม่มีโอกาสจะ เข้าถึงพระธรรมคําสังสอนของพระพุทธเจ้าได้เลย เปรี ยบเหมือนบัว ทีจมอยู่ในนํา ทีกลายเป็ น อาหารของปลาและเต่า ไม่มีโอกาสทีจะโผล่พนนําขึ นมา ท่านจึงเปรี ยบคนเหล่านี เหมือนกับคนที ้ ถูกกักขังอยู่ในถํานานๆ จนมีความรู้สึกว่ าสิ งทีตนเห็นในถํานันแหละเป็ นของจริ ง ซึงตามทัศนะ ของฟรานซิส เบคอน ก็คือกลุ่มคนจําพวกเทวรู ปคือถํานันเอง ๓) เทวรูปคือตลาดนัด คําว่า “เทวรูปคือตลาดนัด” หมายถึง ความสับสนในการใช้ภาษา ไวยากรณ์หรื อระเบียบ ของภาษาตลอดจนศัพท์และรู ปแบบของภาษาทีมนุษย์นามาใช้เป็ นสือความหมาย มนุษย์จาเป็ นต้อง ํ ํ ๑๓ แสดงความคิดเห็นออกมาในขอบเขตของภาษา ฟรานซิส เบคอน กล่าวว่า คําพูดทังหลายทีมนุ ษย์ ใช้มาตลอดเวลานัน ย่อมถูกกําหนดโดยวิธีใช้ของตนเองในชีวิตประจําวัน และตามกระบวนความ เข้าใจของแต่ละคน ทุก คําพูด หรื อโวหารของมนุ ษ ย์ จึ งไม่สามารถจะครอบคลุมความสมบูร ณ์ ทังหมดไว้ได้ ดังนันความแตกต่างกันทางภาษาจึงเป็ นอุปสรรคทีทําให้มนุ ษย์ไม่สามารถจะเข้าใจ ร่ วมกันได้อย่างถูกต้อง๑๔ เพราะเมือใครเคยชินกับการใช้ภาษาแบบใด ก็ชอบตัดสินไปตามความเคย ชินของตน ปัญหาการใช้ภาษาจึงเกิดขึนในระหว่างมนุษย์ดวยกันเอง ้ ตามทัศนะของฟรานซิส เบคอน ถือว่าเทวรู ปคือตลาดนัดนี เป็ นเทวรู ปทีน่ ากลัวและเป็ น อันตรายทีสุด๑๕ เพราะการใช้ภาษาของมนุ ษย์นน บางครั งถึงแม้จะพยายามสื อความหมายในเรื อง ั เดียวกัน แต่เมือพูดคนละภาษาหรื อใช้ภาษาต่างกันก็ทาให้มีการตีความหมายของภาษาคลาดเคลือน ํ จากกันได้ เช่ น การสื อความหมายในเรื องของพระเจ้า (God) ซึงถือว่าเป็ นเรื องที สําคัญทีสุ ดของ มนุษย์ผนบถือศาสนาฝ่ ายเทวนิยมทัวไป ดังจะเห็นได้จากศาสนาแต่ละศาสนานันจะสื อความหมาย ู้ ั ในเรื องของพระเจ้าแตกต่างจากกันออกไป อย่างเช่น :- ศาสนาคริ สต์จะสือความหมายเกียวกับพระเจ้าว่า “พระเจ้ าผู้สูงสุ ดของเรา คือพระเจ้ าองค์ เดียว สู เจ้าจักต้องรักพระเจ้าของสู เจ้าด้ วยดวงใจทังสิน และด้ วยกําลังสู เจ้ าทังสิ น และพระเจ้ า เป็ น พระผู้เห็นแจ้ง พระผู้รอบรู้ ในสรรพสิ ง พระผู้เป็ นจอมแห่ งสวรรค์ และพืนธรณี พระผู้ทรงความ ยุตธรรม พระผู้บริสุทธิ พระผู้ทรงเมตตา พระผู้ทรงความเทียงธรรม ฯลฯ”๑๖ ิ ๑๓ เดือน คําดี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๖. ๑๔ เรืองเดียวกัน, หน้า ๗. ๑๕ เรืองเดียวกัน, หน้า ๖. ๑๖ เสฐียร พันธรังษี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๓๙๗.
  • 9. ศาสนาอิสลามสือความหมายว่า “ไม่มพระเจ้าองค์ใดในโลกนอกจากพระอัลเลาะห์ (อัลลอ ี ฮฺ)”๑๗ ซึงเป็ นผู้สร้ างทุ กสิ งทุ กอย่ างในเอกภพ เป็ นผู้มีอยู่ตลอดกาล ไม่ มีจุดเริมต้ นและไม่ มีจุดจบ ทรงดํารงอยู่เอง ไม่มใครสร้ างพระองค์ และเป็ นผู้พพากษาในการตัดสิ นชีวิตมนุษย์ ในวันสุ ดท้ ายที ี ิ เรียกว่าวันพิพากษา๑๘ ส่วนศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู สื อความหมายว่า “มหาพรหม หรือปรมาตมัน สร้ างเทวะผู้ ยิงใหญ่ ไว้หมวดหนึง ให้ มหน้ าทีเกียวกับสังสารวัฏ หรือสภาวะแห่ งโลก ๓ ประการ เทวะเหล่ านัน ี คือ พรหมา ผู้สร้ าง (Creator) วิษณุ หรือนารายณ์ ผู้รักษา (Preserver) และศิวะ หรืออิศวร ผู้ทําลาย (Destroyer) ซึงเทวะทังสามนี เรียกว่า “ตรีมูรติ” ๑๙ แปลว่า “ผู้ให้ กาเนิดหรือผู้ยงใหญ่ ทังสาม”๒๐ ํ ิ จะเห็นได้ว่าการสือความหมายเกียวกับพระเจ้า (God) ในแต่ละศาสนานัน ถึงแม้จะมีความ คล้ายคลึงกันในฐานะทีพระเจ้าเป็ นผูมีเดชานุภาพทียิงใหญ่ในการสร้างสรรค์สรรพสิ งเหมือนก◌ัน ้ แต่ก็แตกต่างกันในความรู้สึกของผูนบถืออย่างสินเชิง เพราะต่างคนก็เชือว่าพระเจ้าในศาสนาทีตน ้ ั นับถือนันเป็ นพระเจ้าองค์จริ งและมีองค์เดียวเท่านัน อย่างเช่นความเชือต่อพระเจ้าของชาวมุสลิม ทีว่า “ศรัทธาทีแท้ จริงของมุสลิมต่ออัลลอฮฺนันหมายถึงการถวายทังกายและใจให้ แก่ พระองค์ การ ปฏิบัตผดไปจากนี เช่ น การยอมรับนับถือพระเจ้าองค์อน หรือการนับถือสิงอืนใดเทียบเท่ าพระองค์ ิ ิ ื ถือว่าเป็ นบาปมหันต์ทีมิอาจยกโทษให้ ได้ ”๒๑ ดังนันชาวมุสลิมจึงพากันยอมรับนับถือพระอัลลอฮ์ องค์เดียวเท่านัน แม้ศาสนาอืนๆ ก็มีการสือความหมายแสดงความเป็ นเจ้าของต่อพระเจ้าของตนใน ลักษณะเดียวกัน เมือเป็ นเช่น นี ปั ญหาความไม่เข้าใจกันในการสื อความหมายเกียวกับพระเจ้าจึ ง เกิดขึนในระหว่างผูนบถือศาสนาต่างกัน และนําไปสู่การแย่งชิงศาสนิ กและทําสงครามศาสนาใน ้ ั ทีสุด แท้จริ ง เมือกล่าวโดยปรมัตถ์แล้ว คําว่า “พระเจ้ า” ตามทัศนะของท่านพุทธทาสก็เป็ นสิ ง เดียวกันกับคําว่า “ธรรมะ” และ “ธรรมชาติ” เพราะคําทังสามคํานี เป็ นสิ งสูงสุ ดด้ว ยกัน และสิ ง สมบูรณ์สูงสุดนีมีอยูแล้วในธรรมชาติ แม้ว่าพระพุทธเจ้าหรื อศาสดาองค์ใดในโลกจะค้นพบหรื อไม่ ่ ก็ตาม ซึงคํากล่าวนีมีความเห็นสอดคล้องกับท่าน มหาตมา คานธี ทีว่า “พระเป็ นเจ้านัน มีพระนาม อยู่มากหลาย แต่ ถ้าจะให้ เลือ กสั ก พระนามหนึ ง ก็เห็น จะได้ แก่ “สั ต” หรื อ “สั ตย์ ” คือความจริ ง ดังนัน ความจริงก็คอ พระเป็ นเจ้านันเอง”๒๒ ซึงความจริ งในทีนีหมายถึงความดีสูงสุดทีมนุษย์จะพึง ื ๑๗ เรืองเดียวกัน, หน้า ๔๒๑. ๑๘ สุ จิตรา อ่อนค้อม,ศาสนาเปรี ยบเทียบ (กรุ งเทพ ฯ : สํานักพิมพ์ ดวงแก้ว, ๒๕๔๕), หน้า ๒๒๕. ๑๙ เสฐียร พันธรังษี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๖๐. ๒๐ สุ จิตรา อ่อนค้อม,อ้ างแล้ ว, หน้า ๓๘. ๒๑ เรืองเดียวกัน, หน้า ๒๒๕. ๒๒ อดิศกดิ ทองบุญ, ปรัชญาอินเดียร่ วมสมัย (กรุ งเทพ ฯ : ราชบัณฑิตยสถาน,๒๕๓๒), หน้า ๑๒๔. ั
  • 10. ๑๐ ปฏิบัติเพือให้เกิ ด เป็ นคุณ ธรรมภายในตนเอง ด้ว ยเหตุ นี มหาตมา คานธี จึ งเรี ย กความจริ งหรื อ คุณ ธรรมนี ว่ า “พระเป็ นเจ้ า” และเป็ นสิ งที ท่านขาดไม่ได้ด ้ว ย ดังคํากล่าวของท่านตอนหนึ งว่ า “ข้ าพเจ้าเชือในเรืองความมีอยู่จริงของพระเป็ นเจ้ ามากกว่ าเชือว่ า ข้ าพเจ้ าและท่ านกําลังนังอยู่ใน ห้ องนี ยิงกว่ านัน ข้ าพเจ้ าสามารถพิสูจน์ ให้ ท่านเห็น จริง ได้ ว่า ข้ าพเจ้ าสามารถมีชีวิตอยู่ได้ โดย ปราศจากอากาศและนํา แต่ข้าพเจ้าไม่สามารถมีชีวตอยู่ได้ ถ้ าไม่มพระเป็ นเจ้า ถึงท่ านจะควักดวงตา ิ ี ของข้ าพเจ้ าออกไป ข้ าพเจ้ าก็ไม่ ตาย แต่ ถ้าท่ านทําลายศรัทธาทีข้ าพเจ้ ามีต่อพระเป็ นเจ้ าเสี ยแล้ ว ข้ าพเจ้าตายแน่ ๆ”๒๓ ๔) เทวรูปคือโรงละคร คําว่า “เทวรูปคือโรงละคร” หมายถึง กระแสความคิด ความเชือ ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ระบบปรัชญาและศาสนาทีเราคุนเคยอยู่ สิ งเหล่านี จะกลายเป็ นมาตรการติดสิ นความคิดของมนุ ษย์ ้ เรา ถ้าข้อตัดสินใดตรงกับสิงทีเราคุนเคยอยูแล้ว เราจะรับว่าจริ งทันทีโดยไม่ตองไตร่ ตรอง และถ้า ้ ่ ้ ข้อตัดสินใดผิดไปจากความคิดทีเราเคยชิน เราจะคิดว่าผิดทันทีโดยสัญชาตญาณ๒๔ เพราะมนุ ษย์เรา มีความเคยชินกับประเพณี วฒนธรรมดังเดิมของตน ซึงเป็ นสิ งทีอยูเ่ บืองหลังการแสดงบทบาทต่างๆ ั ของมนุษย์เอง ความคิดทีผูกติดอยูกบความเชือเดิมๆ ของตนโดยไม่ยอมรับกระแสความเปลียนแปลงจาก ่ ั โลกภายนอกนี เป็ นอีกอุปสรรคหนึงทีคอยขัดขวางไม่ให้มนุ ษย์คนพบแสงสว่างแห่ งความจริ งอัน ้ เป็ นสัจธรรมชีวิต อุปสรรคชนิ ดนี ฟรานซิส เบคอน หมายเอาความเชือ ตลอดจนขนบธรรมเนี ยม ประเพณี ต่างๆ ทีผูกพันกับมนุ ษย์ จนบางครั งทําให้มนุ ษย์หลงระเริ งอยู่กบกิจกรรมความเชือหรื อ ั ประเพณี เหล่านันจนจมปรักคิดว่าสิ งทีพวกตนกระทําตามความเชือนันคือสิ งทีถูกต้อง แล้วพากัน ปฏิเสธความเชืออืนนอกเหนื อไปจากสิ งทีตนคิดหรื อเชืออยู่ กว่าจะมาค้นพบสาเหตุทีแท้จริ งของ เรื องนันๆ ก็เสียเวลาไปหลายชัวอายุคน อย่างเช่นความเชือของมนุษย์ในครังโบราณเป็ นกรณี ศึกษา มนุษย์ในสมัยโบราณเชือว่า โลกแบน มีสีเหลียมมีมุม เชือกันว่า ถ้าเดินเรื อไปกลางทะเลสัก วันหนึงเรื อจะแล่นเลยออกไป แล้วจะตกจากขอบโลก ความเชือเช่นนีสอนกันอยูนาน และเมือมีการ ่ สํารวจรู้ความจริ งเรื องทางโคจรของดวงอาทิตย์กนขึ น และเมือพิสูจน์ได้ว่า โลกหมุนโดยรอบตัว ั ของมันแล้ว จึงยุติความเชือกันลงได้ว่า โลกกลม เวลาลมพายุพด มนุษย์ในสมัยโบราณก็พากันเชือว่า มีพระเจ้าผูทรงอํานาจบันดาล เรื องนี ก็ ั ้ สอนกันอยูนานจนทําให้เกิดเป็ นความเชือในเรื องของศาสนาขึ น ต่อมามนุ ษย์ก็สามารถพิสูจน์ได้ ่ ๒๓ เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๒๒. ๒๔ บุญมี แท่นแก้ว, อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๒.
  • 11. ๑๑ ตามเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ว่า ลมพายุเกิดจากส่วนต่างๆ ของโลก แต่ละส่วนมีความร้อนไม่เท่ากัน จึงทําให้เกิดความกดดันของอากาศแตกต่างกัน เวลาฝนตกก็เช่นกัน มนุษย์สมัยโบราณเชือว่า พระเจ้าประทานนําลงมาให้เพาะปลูกพืชผล และดืมกิ น แต่ค วามจริ งทางวิ ทยาศาสตร์ มาพิสูจ น์ได้ในภายหลังว่ า ฝนตกเกิ ด จากละอองนําที ลอยตัวขึนไปจับเป็ นก้อนเมฆ เมือมีขนาดใหญ่ขึน อากาศไม่สามารถพยุงละอองนํานันได้จึงตกลง เบืองล่าง๒๕ ประเพณี อีกอย่างหนึงของชาวอินเดียทีกระทํากันจนกลายมาเป็ นพิธีกรรมความเชือของคน ในสังคมขณะนัน คือ พิธีสตี (สะตี) หรื อพิธีกระโดดเข้ากองไฟตายตามสามี พิธีกรรมนี มีตนกําเนิ ด ้ มาจากตํานานทีว่า พระศิวะไปแต่งงานกับพระสตี ซึงเป็ นธิดาของพระทักษะ วันหนึงพระทักษะได้ เชิญเทวดาทังหมด ยกเว้นพระศิวะมาในงานเลียงฉลองวิมานของพระองค์ พระสตีเมือไม่เห็นพระ ศิวะมาร่ วมงานก็เลยถามพ่อถึงสาเหตุทีไม่เชิญสามีของนางมาร่ วมงาน และเมือรู้ว่าทีพ่อไม่เชิญพระ ศิวะมาในงานก็เพราะกลัวอับอายทีพระศิวะสวมสังวาลหัวกะโหลกคน พระสตีเสี ยใจมากทีผูเ้ ป็ น พ่อไม่ให้เกียรติสามีตนก็เลยกลันใจตาย ด้วยตํานานเพียงเท่านี แต่ชาวอินเดียกลับมองว่า พระสตีเป็ นสตรี ทีเด็ดเดียว รักและซือสัตย์ ต่อสามีดงชีวิต ต่อมาความเชือนี ได้กลายมาเป็ นพิธีกรรมศักดิสิทธิของชาวอินเดียโดยเฉพาะผูหญิง ั ้ เมือสามีตายจะต้องตายตามสามีดวยโดยการกระโดดเข้ากองไฟขณะกําลังรุ กไหม้เผาสามีตน ถ้า ้ ผูหญิงคนไหนยังไม่อยากตายหรื อไม่กล้าทีจะกระโดดเข้ากองไฟก็ถกญาติพีน้องจับโยนเข้ากองไฟ ้ ู เพือแสดงความจงรักภักดีต่อสามี พิธีกรรมนี กระทํากันอยูนานหลายชัวอายุคน จนกระทังอังกฤษเข้า ่ มาปกครองอินเดีย จึงออกกฎหมายห้ามกระทําพิธีดงกล่าว ั เมือศึกษาถึงเรื องดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า มนุษย์ได้หลงงมงายและเสียเวลาไปกับความ เชือทีสืบเนืองมาจากขนบธรรมเนียมประเพณี ดงเดิมมิใช่นอย ความเชือเหล่านี ทําให้มนุ ษย์หลงทาง ั ้ ในการดําเนินกิจกรรมของชีวิต และในขณะทีกําลังหลงทางอยูนนมนุษย์ได้ทาลายโอกาสทีเป็ นแก่น ่ ั ํ สารนอกเหนือจากสิ งทีตนเชือมากมาย ตลอดถึงการทําลายชีวิตสัตว์และมนุ ษย์ดวยกันเองเพือเซ่น ้ สังเวยให้กบความเชือของตน ั ในสังคมปัจจุบนคนเรามีอตราเสี ยงต่อการถูกหลอกให้เชือจากการโฆษณาชวนเชือทีเกิน ั ั จริ งได้ง่าย ซึงการโฆษณาเหล่านันล้วนเน้นในเรื องของผลประโยชน์ถ่ายเดียว จึงเป็ นทังสิ งทีเป็ น จริ งและไม่เป็ นจริ งในขณะเดียวกัน และถ้าเกิดหลงเชือในสิงทีไม่เป็ นจริ ง แล้วนําไปปฏิบติ ก็จะทํา ั ให้คนๆ นันเสียเวลา เสียทรัพย์สินเงินทองโดยไม่จาเป็ นจริ งๆ และจะกลายเป็ นคนหูเบา เชือคนง่าย ํ คนเป่ าหูง่าย ใจไม่เป็ นกลาง แล้วนําข้อมูลข่าวสารทีผิดๆ นันมาใช้ในการตัดสิ นปั ญหา ซึงสิ งทัง ปวงเหล่านี ถือว่าเป็ นอุปสรรคขัดขวางการดําเนินกิจกรรมของมนุษย์ในการเข้าถึงความจริ งแต่ละสิง ๒๕ เสฐียร พันธรังษี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๓๕.
  • 12. ๑๒ การขจัดต้นตออุปสรรคเพือเข้ าถึงความรู้และความจริง การทีมนุษย์จะฟันฝ่ าอุปสรรคเพือเข้าถึงความจริ งแท้ในแต่ละสิ งได้นนมีอยู่วิธีเดียวคือการ ั ขจัดกวาดล้างสิ งขัดขวางกล่าวคือเทวรู ปทังสี ชนิ ดนี ออกไปจากจิตใจให้ได้ก่อน เครื องมือทีใช้ใน การขจัดกวาดล้างคือปัญญา๒๖ เพราะปัญญาทําหน้าทีกวาดล้างเทวรู ปเหล่านี ได้ เมือใดทีมนุษย์ทาได้ ํ เมือนันมนุษย์จึงสามารถเข้าถึงสัจธรรมได้อย่างแท้จริ ง การทําลายอุปสรรคเพือเข้าถึงสัจธรรมด้วยปั ญญานันมีหลายวิธี แต่ในทีนี จะศึกษาวิธีการ ของโสคราตีส ซึงเป็ นนักปรัชญากรี กคนสําคัญทีได้รับการยอมรับว่าฉลาดทีสุดในยุคนัน เพราะไม่ มีใครสามารถจะโต้หรื อแสดงเหตุผลเอาชนะท่านได้ แต่ถึงกระนันท่านก็ยงพูดแบบถ่อมตนว่ายังไม่ ั รู้อะไรเท่าไรนัก แต่สิงทีท่านกล้าประกาศให้คนรู้ในสิ งทีท่านรู้จริ งๆ ก็คือ “หนึงเดียวทีข้ าพเจ้ ารู้ คือ รู้ ว่าข้ าพเจ้ าไม่ ร้ ู อ ะไร”๒๗ เพราะเมือท่ านไม่รู้ เรื องใด ท่ านก็ รู้ ตว ดี ว่ าท่ านไม่รู้ เรื องนัน และ ั พยายามศึกษาหาความรู้ในเรื องนันๆ ตรงนี เองแสดงถึงลักษณะความฉลาดของโสคราตีสทีสามารถ ค้นพบความไม่รู้ของตนได้เป็ นอันดับแรก และจากนันจะแสวงหาความรู้ขนต่อไปโดยใช้วิธี “วิภาษ ั วิธี (Dialectic)” ซึงประกอบด้วยลักษณะสําคัญ ๕ ประการคือ๒๘ ๑. สงสั ย (Sceptical) โสคราตี สเริ มต้นการสนทนาด้วยการยกย่องคู่ สนทนาว่า เป็ น ผูเ้ ชียวชาญในเรื องทีท่านเองก็ใคร่ รู้อยูพอดี เนืองจากท่านไม่มีความรู้เกียวกับเรื องนัน ท่านจึงขอให้ ่ เขาช่วยตอบคําถามของท่านเกียวกับเรื องนัน การออกตัวทํานองนี ถือกันว่าเป็ นการถ่อมตนของนัก ปรัชญา แต่ได้มีผวิจารณ์ว่า นันเป็ นการเสแสร้งของโสคราตีส (Socratic Irony) ู้ ๒. สนทนา (Conversation) จากนันโสคราตีสก็เป็ นฝ่ ายตังปั ญหาให้คู่สนทนาตอบ การ สนทนาจึงมีลกษณะเช่นเดียวกับเทศน์ปุจฉา-วิสชนา คู่สนทนาจะต้องหาคําจํากัดความของหัวข้อที ั ั สนทนากัน โสคราตีสจะวิจารณ์ว่ า คําจํากัดความนันมีข ้อบกพร่ องตรงไหนบ้าง อีกฝ่ ายหนึ งจะ เสนอคําจํากัดความใหม่ทีดู รัดกุ มกว่า โสคราตี สจะขัดเกลาคําจํากัด ความนันอีก การสนทนาจะ ดําเนินไปอย่างนี จนกว่าทังสองฝ่ ายจะได้คาจํากัดความทีน่าพอใจ ํ ๓. หาคําจํากัดความ (Definitional) จุดมุ่งหมายของการสนทนาจึงอยู่ทีการหาคําจํากัด ความทีถูกต้อง โสคราตีสเชือว่า ถ้าเราพบคําจํากัดความทีถูกต้องของสิงใด นันแสดงว่า เราพบความ จริ งแท้เกียวกับสิงนัน ซึงเป็ นอันเดียวกับการค้นพบมโนภาพของสิงนันนันเอง ๒๖ ปัญญา หมายถึง ความรอบรู ้เหตุผล รู ้ชด รู ้ ทน รู ้ประจักษ์ และรู ้ถึงทังภายในและภายนอก ปัญญาแบ่ง ั ั ออกเป็ น ๒ ประเภท คือ โลกิยปัญญา (ปัญญาทางโลก) เป็ นปัญญาของโลกิยชน และ โลกุตตรปัญญา (ปัญญาทาง ธรรม) เป็ นปัญญาของพระอริ ยบุคคล ปัญญามีไว้สาหรับปราบปรามกิเลสอย่างละเอียด คือ อวิชชา หมายถึง ความ ํ หลง ความไม่รู้เท่า ความเห็นผิดคิดว่า สิ งทังหลายเป็ นของเทียง สิ งทังหลายเป็ นสุ ข ทุกข์ไม่มี เป็ นต้น ๒๗ พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต),อ้ างแล้ ว, หน้า ๑๓๒. ๒๘ เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๔๑ – ๑๔๒.
  • 13. ๑๓ ๔. อุปนัย (Inductive) การสร้างคําจํากัดความจะเริ มจากสิ งเฉพาะไปหาสิงสากล เช่น เมือ หาคําจํากัดความของ ความดี โสคราตีสและคู่สนทนาจะพิจารณาตัวอย่างจากความประพฤติดีชนิ ด ต่างๆ ในสังคม แล้วดึงเอาลักษณะทีเป็ นแก่น หรื อทีเป็ นสากล เอามาสร้างเป็ นคํานิยาม ๕. นิรนัย (Deductive) คําจํากัดความทีมีผเู้ สนอมาจะถูกพิสูจน์โดยการนําไปเป็ น มาตรการ วัดสิงเฉพาะต่างๆ ว่ามีลกษณะร่ วมกับลักษณะทีระบุไว้ในคําจํากัดความนันหรื อไม่ เช่น ถ้าเราได้คา ั ํ จํากัดความของ ความดี มา เราก็ตรวจสอบดูว่า การทําทานหรื อการปราบปรามโจรผูร้าย จัดเป็ น ้ ความดีตามคําจํากัดความทีเราตังไว้หรื อไม่เพียงใด จะเห็นได้ว่า วิธีการแสวงหาความรู้และความจริ งของโสคราตีสนัน จะเน้นที ความอ่อน น้อมถ่อมตนเพือรองรับเอาความรู้ใหม่ทีตนยังไม่รู้จากท่านผูรู้ทงหลาย เป็ นการละความพยศอวดดี ้ ั อวดเบ่ง อวดเก่ง เข้าลักษณะทีว่า “คนดี ไม่เบ่ ง คนเก่งไม่โม้ คนโตไม่อวด” เหมือนกับคําทีปราชญ์ ท่านกล่าวไว้ว่า “รวงข้ าวคราวสุ กน้ อมรวงลง รวงลีบชู รวงตรงสู่ ฟ้า เฉกปราชญ์ ฉลาดยงยิงถ่ อม ตนนา คนโง่ คุยโอ่อ่าอวดอ้างตนเสมอ” ซึงก็สอดคล้องกับคติธรรมของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺ มรํสี) ว่า “ปราชญ์ แท้ ไม่คยฟุ้ งอวดตน คนดีไม่ เทียวยกสอพลอ คนเก่ งย่ อมทะนงอย่ างเงียบ ุ คนชัวอวดรู้ ดี ทัวภพ คนโง่ อวดฉลาดมากมายสิ งทังหลายท่ านเห็นมีทุกทีเอย”๒๙ การแสวงหา ความรู้และความจริ งบางอย่างต้องฝึ กหัดเป็ นคนโง่ ซึงความโง่ในทีนี ไม่ได้หมายถึง “ความโง่ เขลา เต่าตุ่น” แต่เป็ นการยอมโง่เพือแสร้งเอาความฉลาดจากคนอืน เหมือนคําพูดของปราชญ์ท่านหนึ ง ทีว่า “โง่ ไม่เป็ นเป็ นใหญ่ ยากฝากให้ คด ทางชีวตจะรุ่งโรจน์ โสตถิผล ต้องรู้โง่ รู้ฉลาดปราดเปรืองตน ิ ิ โง่ สิบหนดีกว่าเบ่ งเก่งเดียวเดียว” ฉะนัน การชนะอุปสรรคคือทิฐิ (ความเห็น) ของตนแล้วน้อมกาย ใจเพือศึกษาและปฏิบติให้เข้าถึงความรู้และความจริ งได้นน จะต้องกวาดล้างอคติให้ออกไปจาก ั ั จิตใจของตนให้ได้ก่อน ส่วนอคติคืออะไร เป็ นอุปสรรคขัดขวางการเข้าถึงความจริ งได้อย่างไรนัน ต้องศึกษารายละเอียดในพุทธปรัชญาเถรวาทต่อไป อุปสรรคตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท อุปสรรค ตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง “อคติ” ซึงแปลว่า “ทางทีไม่ ควรจะ ไป” (มาจากศัพท์ ๒ ศัพท์รวมกัน คือ “อ” แปลว่า “ไม่ ” “คติ” แปลว่า “ทางไป” “อคติ” แปลว่า “ทางทีไม่ควรจะไป”) แต่ในภาษาไทยแปลว่า “ความลําเอียง” ทีแปลกันเช่นนี ก็เนืองมาจากปราชญ์ โบราณท่านเปรี ยบเทียบใจคนเหมือนอย่างเรื อ คือเรื อมีลกษณะเป็ นลําๆ แล้วถ้าลําของเรื อนันเอียง ั ไม่ว่าจะเอียงซ้ายหรื อเอียงขวา นําก็จะเข้ามาในลําเรื อ จะทําให้เรื อล่ม คนทีอยู่ในเรื อต้องจมนํากัน หมด ใจคนเราก็เหมือนกัน “ธรรมดาแล้ วถ้าเป็ นใจของคนทีรักความเป็ นธรรม ใจของคนมีบุญ ใจ ของคนทีฝึ กตัวเองมาดี ย่อมไม่ เอียงซ้ าย เอียงขวา เอียงหน้ า เอียงหลัง และจะอยู่ทีศูนย์ กลางกาย ๒๙ http://www.agolico.com/board/showthread.php?p=23681
  • 14. ๑๔ พอดี” แต่ว่ามีบุคคลบางประเภท ใจของเขาไม่ได้อยู่ทีศูนย์กลางกาย ก็เลยกลายเป็ นคนทีมีความ ลําเอียง คําว่า “อคติ” สามารถแปลให้ความหมายได้หลายอย่าง เช่น ทางทีไม่ควรจะไป ความเอน เอียงเข้าข้าง ความไม่ยติธรรมไม่เป็ นกลาง ทางแห่งความประพฤติทีผิดพลาด ความเป็ นหลักไม่ได้ ุ และความลําเอียง เป็ นต้น และเมือศึกษาความหมายของอคตินีแล้ว เห็นได้ว่าอคติเป็ นอุปสรรคที สําคัญในการขัดขวางเพือไม่ให้มนุษย์คนพบสิงทีแท้จริ ง เพราะเมืออคติมีอยูในใจของผูใดแล้ว ก็จะ ้ ่ ้ ทําให้ผนนขาดมโนธรรมสํานึกในการตัดสินปัญหาต่างๆ เขาจะเน้นการตัดสินโดยใช้ความรู้สึกเป็ น ู้ ั เกณฑ์ ไม่คานึงถึงความถูกต้อง จึงมีโอกาสทีจะกระทําความผิดได้ง่าย เพราะคนทีมีอคติอยู่ในใจจะ ํ ตัดสินปัญหาไปตามเหตุการณ์ทีตนได้ยนได้ฟังมาโดยขาดการพิจารณาไตร่ ตรองถึงเหตุผลทีถูกต้อง ิ แท้จริ ง ทีเป็ นเช่นนีเพราะอาศัยความลําเอียงหรื ออคติทีนอนเนืองอยูในใจตนเป็ นพืนฐานนันเอง ่ อคติในพุทธปรัชญาเถรวาท มี ๔ ประการ คือ๓๐ ๑. ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะชอบ (Prejudice caused by love or desire; partiality) ๒. โทสาคติ ลําเอียงเพราะชัง (Prejudice caused by hatred or enmity) ๓. โมหาคติ ลําเอียงเพราะหลง (Prejudice caused by delusion or stupidity) ๔. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลัว (Prejudice caused by fear) อคติทง ๔ ประการนี ล้วนเป็ นภัยอย่างใหญ่หลวงต่อสังคมทุกระดับ เพราะเป็ นสาเหตุหลัก ั ของความผิดพลาดในกระบวนการคิด และตัดสิ นใจของมนุ ษย์ทุกคน ทังยังเป็ นกําแพงปิ ดม่านใจ ไม่ให้มนุษย์มองเห็นสิ งทีถูกต้องชอบธรรม นอกจากความรัก ความชัง ความหลง และความกลัวทีมี อยูในใจตนเท่านัน ฉะนัน อคติหรื อความลําเอียงทีไม่เป็ นธรรมย่อมเป็ นสิงนําความวุ่นวายสับสนมา ่ สู่สงคม โดยเฉพาะอย่างยิงเมือความลําเอียงครอบงําจิตใจของผูทีได้ชือว่าเป็ นผูนาคนแล้ว ก็ยงทําให้ ั ้ ้ ํ ิ ผูใต้บัง คับ บัญ ชาระสําระสายไม่ เป็ นกระบวน และเพื อความกระจ่ า งในเรื องนี จึ ง ควรศึ ก ษา ้ รายละเอียดของอคติธรรมทัง ๔ ข้อ ดังต่อไปนี ๑) ฉันทาคติ : ลําเอียงเพราะชอบ คําว่า “ฉันทาคติ : ลําเอียงเพราะชอบ” หมายถึง ความลําเอียงเพราะรักใคร่ ชอบพอกัน อัน เป็ นเหตุให้ถือเขาถือเรา เลือกทีรักผลักทีชัง ช่วยเหลือเข้าข้างเฉพาะผูทีตนรักชอบ ทิ งเกณฑ์ความ ้ เป็ นกลาง ไม่คานึงถึงความถูกผิด ทําอะไรมักจะยึดถือเอาความรักความชอบและความพอใจของตน ํ เป็ นเกณฑ์ กล่าวคือถือพวก ถือเพือน ถือสี ถือศาสน์ ถือญาติ ถือโยม ถือพี ถือน้อง ถือสถาบัน เป็ น ต้น ไม่ยดถือความถูกต้อง แต่ยดเอาความถูกใจเป็ นหลัก ทําให้การปกครอง ระบบงาน และกิจการ ึ ึ ๓๐ พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หน้า ๑๔๙.