SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
๑

  ศึกษาเปรี ยบเทียบหลักจริ ยศาสตร์ ตามทัศนะของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
                                                     ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ
-----------------------------------------------------------------------------
ความนํา
          จริ ยศาสตร์ หรื อจริ ยปรัชญา (Ethics or Theory of Morality) เป็ นศาสตร์ แขนงหนึงของวิชา
ปรั ชญาทีว่าด้วยเรื องความประพฤติ ศึ ก ษาถึ งความดี งามของสั งคมมนุ ษ ย์ โดยพยายามจําแนก
แยกแยะพฤติกรรมหรื อการกระทําของมนุษย์วาถูกหรื อผิดอย่างไร แล้วแยกสิ งทีเห็นว่าถูกและผิด
                                                     ่
นันออกจากกัน เช่ น แยกความดีออกจากความเลว แยกสิ งทีควรออกจากสิ งทีไม่ค วร เป็ น ต้น จริ ย
ศาสตร์ จึงเป็ นศาสตร์ ทีว่าด้วยคุณลักษณะแห่งอุปนิสยและพฤติกรรมของมนุษย์ ซึงพฤติกรรมแต่ละ
                                                           ั
อย่างทีมนุษย์แสดงออกมานันย่อมเป็ นกระจกเงาส่ องให้มนุ ษย์ดวยกัน เองเห็นอุ ปนิ สัยของกัน และ
                                                                       ้
กัน แล้วจริ ยศาสตร์ จะทํา หน้าทีเข้าไปช่ วยตีคุณค่า ของความเป็ นมนุ ษย์ในส่ วนของพฤติ กรรมที
แสดงออกมาด้วยความสมัครใจของมนุษย์เอง จากนันจริ ยศาสตร์ จะช่ วยตอบปั ญหาหรื อ แสดงผล
ของการกระทําหรื อพฤติกรรมของมนุษย์วา การกระทําในลักษณะใดทีถือว่ามีคุณค่าหรื อควรแก่การ
                                               ่
ยกย่องสรรเสริ ญหรื อเป็ นการกระทําทีดี รวมทังหาคําตอบเกี ยวกับอุดมคติหรื อ เป้ าหมายของชี วต         ิ
มนุษย์วาเป็ นอย่างไร แล้วหากฎเกณฑ์ในการตัดสิ นการกระทําของมนุษย์วา การกระทําในลักษณะ
        ่                                                                        ่
ใดเป็ นการกระทําทีถูกต้อง เป็ นต้น เมือกล่าวโดยสาระแล้วจะเห็นได้วา จริ ยศาสตร์เป็ นศาสตร์ ทีว่า
                                                                              ่
ด้วยอุดมคติอนสู งสุ ดทีมีความสัมพันธ์อยูกบชีวตมนุษย์ทีบ่งบอกถึงลัก ษณะทีดีหรื อ เลวแห่ ง ความ
                ั                             ่ั ิ
ประพฤตินนว่า อะไรควรเว้น อะไรควรทํา อะไรผิด อะไรถูก อะไรดี อะไรชัว แล้วเปรี ยบเทียบ
              ั
ความประพฤติหรื อการกระทํานันๆ กับความดีเลิศทังหลาย
          การศึกษาเปรี ยบเทียบหลักจริ ยศาสตร์ ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท เป็ นการศึกษา
ทัศนะทางจริ ยปรัชญาเชิงเปรี ยบเทียบในส่ วนทีเห็นว่ามีความคิดเห็นสอดคล้องกัน การนําเอาทัศนะ
ทังสองมาเปรี ยบเทียบกันก็เพือแสดงให้เห็นว่าปรัชญากรี กถึงแม้จะเป็ นปรัชญาสายตะวัน ตกทีเน้น
การแสวงหาความจริ งด้านวัตถุ หรื อสสารเป็ นหลัก ก็ ตาม แต่ก็ มีนกปรัชญากรี กท่านหนึ งทีไม่ให้
                                                                          ั
ความสนใจการแสวงหาความจริ งด้านสสารเลยคือ โสคราตีส (Socrates : พ.ศ. ๗๓ - ๑๔๔) โดยเขา
ให้ความเห็นว่า “การถกเถียงกันเพือให้ ร้ ู เรืองโลกธาตุว่า โลกคืออะไร มีประโยชน์ น้อย สู้ หันมาสนใจ
เรืองใกล้ ตัวคือเรื องมนุษย์ ดีกว่ า เพราะเป็ นผู้ ทําให้ โลกเจริ ญหรื อเสื อม”๑ ปรั ชญาของเขาจึงหันมา
สนใจเรื องเกียวกับคนเป็ นสําคัญ เช่ น คนคืออะไร จะเป็ นคนดีได้อย่างไร เกี ยรติคืออะไร คุ ณธรรม
คือ อะไร เป็ นต้น เมือกล่ าวโดยภาพรวมแล้วจะเห็ นได้ว่า ปรั ช ญาของโสคราตีส จะมุ่ ง เน้น ให้


          
              ป.ธ. ๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจําวิทยาลัยสงฆ์เลย
          ๑
              สถิต วงศ์ส วรรค์,ปรัชญาเบืองต้ น (กรุ งเทพ ฯ : อักษรพิทยา,๒๕๔๐), หน้า ๔๕.
๒

ความสําคัญเกียวกับจริ ยศาสตร์ เป็ นส่ วนใหญ่ ทังนี เพื อให้มนุ ษ ย์มองเห็นคุ ณค่ าของความดี ความ
งาม และความจริ ง เพราะทัง ๓ เรื องนีถือว่าเป็ นแก่ นสาระสําคัญทีสุ ดสําหรับชีวตมนุษย์
                                                                                 ิ
        ตามทัศนะนีโสคราตีสมีความเห็นสอดคล้องกับพุทธปรัชญาเถรวาททีไม่เน้นการแสวงหา
ความจริ งเพือตอบปั ญหาด้านอภิปรัชญา(Metaphysics) เช่น ปั ญหาเกี ยวกับโลกทีว่า โลกเทียงหรื อ
โลกไม่เทียง โลกมีทีสิ นสุ ดหรื อไม่มี เป็ นต้น ปั ญหาเหล่านีพุทธปรัชญาจะไม่ตอบ ด้วยเห็ นว่า “ไม่
เกิดประโยชน์ ไม่ เป็ นไปเพือความดับทุกข์ ไม่ เกียวข้ องกับชี วิตปัจจุ บัน”๒ แต่จะมุ่ งเน้นเฉพาะเรื อง
ของชีวต สอนให้เข้าใจชีวต และการประคับประครองชีวิตให้รอดพ้นจากความทุก ข์ทรมานต่ างๆ
      ิ                   ิ
และเพือให้ง่ายต่อการศึกษาเปรี ยบเทียบหลักจริ ยศาสตร์ ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท จึง
ควรศึกษาจริ ยปรัชญาในแต่ละทัศนะดังนี

จริ ยศาสตร์ ตามทัศนะของโสคราตีส
          โสคราตีส(Socrates) เป็ นนักปรัชญากรี กคนแรกทีให้ความสําคัญกับการแสวงหาความจริ ง
ด้านจริ ยศาสตร์ และพยายามทีจะตอบปั ญหาด้านจริ ยศาสตร์ ตลอดการเผยแพร่ ปรัชญาของเขา ดังจะ
เห็นได้จากการแสวงหาความรู้ ข องเขาไม่ได้มีจุดมุ่ งหมายเพือนําความรู้ มาเพื อประดับสติปัญญา
เท่านัน แต่ตองการนําความรู ้ มาเพือเป็ นฐานรองรับความประพฤติของมนุษย์ โดยเขาเสนอว่า คนทีมี
              ้
ความรู ้ ทุกคนจะเป็ นคนประพฤติ ดี ในทํา นองกลับกัน คนจะประพฤติดี ได้ก็เ พราะเขามีค วามรู ้
ดังนันความรู ้ กับความประพฤติดีจึงเป็ นสิ งทีแยกกันไม่อ อก ดังทีโสคราตีส กล่าวว่า “ความรู้ คือ
คุณธรรม” (knowledge is Virtue) นันคือ คนทีรู ้ ผิดชอบชัวดี ย่อมจะทําความดี เป็ นไปไม่ได้ทีคนรู ้
ว่าความดีคืออะไรแล้วยังฝื นทําความชัว ส่ วนทีคนทําความชัวก็เพราะขาดความรู้ ผิดชอบชัวดี การ
ทําผิดจึงเนื องมาจากความไม่รู้หรื ออวิชชา คนทําผิดเพราะหลงคิดว่าสิ งทีตนทําเป็ นความดี เขาเห็น
ผิดเป็ นชอบ ถ้าเขาได้รับการแนะนําให้รู้จกความถูกต้องแล้วเขาจะไม่ทา ผิ ดเลย เหตุนน โสคราตีส
                                          ั                          ํ              ั
                                       ๓
จึงกล่าวว่า “ไม่ มีใครทํ าผิ ด โดยจงใจ” ทีกล่าวเช่ นนันเพราะเขาเป็ นนัก ปรัช ญาทีมีคุณธรรมและ
เหตุ ผลสู ง เหนื ออารมณ์ จึงสามารถควบคุมอารมณ์ ได้ทุกสถานการณ์ และสามารถนําหลัก ความ
ถูกต้องมาใช้เป็ นเกณฑ์ในการตัดสิ นความถูกผิดต่างๆ โดยไม่มีความลังเลสงสัยต่ อความจริ งทีตน
กระทํา ดังจะเห็นได้จากเขากล้าเผชิญกับความจริ งถึงขนาดยอมดืมยาพิษตามคําสังประหารชีวตของ   ิ
คณะผูพิพากษากรุ งเอเธนส์ โดยเขายอมตายเพือสังเวยต่อความจริ ง แต่ไม่ยอมทรยศต่อความจริ งที
        ้
ตนเห็นว่าถูกต้องและชอบธรรมตามหลักจริ ยธรรม


        ๒
            สนิ ท ศรี สาแดง,พุทธปรัชญา (กรุ งเทพ ฯ : นิ ลนาราการพิมพ์,๒๕๓๗), หน้า ๔๓.
                       ํ
        ๓
        พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิ ตฺโต),ปรัชญากรีก บ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ : ศยาม,
๒๕๕๐), หน้า ๑๔๓.
๓

แนวปฏิบัติตามหลักจริยศาสตร์ ของโสคราตีส
          โสคราตีสได้ชือว่าเป็ นนักปรัชญาทีพยายามแสวงหาความรู ้ อยู่ตลอดเวลา เพราะเขาเป็ นนัก
ปรัชญาทีไม่เคยอิมในรสแห่งการแสวงหาความรู ้ ถึงแม้วาจะมีคนประกาศยกย่องเขาว่าเป็ นคนฉลาด
                                                          ่
ทีสุ ดในกรุ งเอเธนส์ ก็ตาม แต่เขามักจะพูดในเชิงถ่อมตัวว่า “หนึงเดียวทีข้ าพเจ้ ารู้ คือรู้ว่าข้าพเจ้ าไม่
รู้ อะไร”๔ เมือเขาคิดว่าเขายังไม่รู้ในเรื องใดเขาจึงพยายามศึกษาหาความรู ้ในเรื องนันๆ อยู่ตลอดเวลา
แต่ความรู ้ ทีเขาแสวงหานันไม่ใช่ความรู ้วทยาการสาขาต่างๆ ตามทีคนนิยมแสวงหากันในยุคนัน แต่
                                             ิ
เป็ นความรู ้ดานคุณธรรม ซึ งคุณธรรมตามความหมายของโสคราตีสในทีนีก็คือ “ความสามารถตาม
               ้
ธรรมชาติ”๕ และความสามารถตามธรรมชาตินีเองเป็ นคุณธรรม ทังยังเป็ นแนวทางปฏิบติตามหลัก          ั
จริ ยศาสตร์ ของโสคราตีส อย่างเช่น คุณธรรมของทหารอยู่ทีมีความสามารถในการปองกันประเทศ   ้
คุณธรรมของครู อยู่ทีมีความสามารถในการสอนวิ ช า และคุณ ธรรมของความเป็ นมนุษ ย์ อยู่ทีมี
ความสามารถทําให้ พฤติกรรมหรื อจิตใจแตกต่ างจากสั ตว์ เดรัจฉานทัวไป เป็ นต้ น
          การทีคนจะแสวงหาความสุ ขตามหลักจริ ยศาสตร์ ได้นน จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงการสร้ าง
                                                                ั
ความสามารถตามธรรมชาติในตัวตนเสี ยก่อน ธรรมชาติดงกล่าวนีจะเกิ ดจากการเรี ยนรู้ เ ท่านัน ใน
                                                            ั
ทีนีโสคราตีสหมายถึงการเรี ยนรู้ เพือ “รู้ ตัวเอง(Know thyself)”๖ ซึ งเป็ นสิ งทีมนุ ษย์ตองการรู ้ อ ย่าง
                                                                                        ้
แท้จริ งในฐานะทีเป็ นมนุษย์ และเมือมนุษย์รู้จกตัวเองดีพอแล้วก็จะเข้าใจธรรมชาติความเป็ นมนุษย์
                                                 ั
ได้มากทีสุ ด ผูแสวงหาความสุ ขจึงจําเป็ นต้องศึกษาเพือให้รู้จกตัวเองก่อนจึงจะรู ้ วาความสุ ขนันอยูที
                 ้                                            ั                     ่                  ่
ใด และมีวธีการแสวงหาอย่างไร โสคราตีสกล่าวว่า “ความสุ ขทีบุคคลได้รับนั นส่ วนใหญ่ เป็ นเพียง
            ิ
มายา คือ ความไม่ จ ริ ง เป็ นความผิ วเผิ น เราจะเข้ าถึงความจริ งได้ จ ะต้ อ งมี แนวทาง และสิ งนั น
จะต้ องมีเพียงหนึงเดียวคือเกิดจากจิตใจของเรา จะเข้ าถึงได้ ต้องศึกษาให้ เ ข้ าใจและปฏิบัติใ ห้ ลึกซึ ง
ด้ วยสมองโดยทําจิตให้ เป็ นสมาธิแน่ วแน่ เพือกําจัดกิเลสให้ น้อยลง โดยเริ มการปฏิบัติด้วยการวางใจ
เป็ นอุเบกขา (เป็ นกลาง) ปล่ อยวางไม่ ยึดมันในสิ งใด ในทีสุ ดจะเข้าถึงแก่ นแท้ ของความจริ งอั นเป็ น
ปรมัตถ์ ”๗
          โสคราตีสได้วางแนวทางการปฏิบติตามหลักจริ ยศาสตร์ หรื อ หลักคุ ณธรรมเพือให้มนุ ษย์
                                               ั
เข้าถึงความสุ ขไว้ ๕ ประการคือ๘
          ๑. ความรอบรู้ (Wisdom)


         ๔
             เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๓๒.
         ๕
             สถิต วงศ์ส วรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๗.
         ๖
             สุจิตรา อ่อนค้อม, ปรัชญาเบืองต้ น ( กรุ งเทพฯ : อักษราพิพฒน์,๒๕๔๕), หน้า ๘๙.
                                                                      ั
         ๗
             สถิต วงศ์สวรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๘.
         ๘
             สุจิตรา อ่อนค้อม, อ้ างแล้ ว, หน้า ๘๙.
๔

          ๒. ความกล้ าหาญ (Courage)
          ๓. ความรู้ จักประมาณ (Moderation)
          ๔. ความยุติธรรม (Justice)
          ๕. ความกตัญ ู (Piety)
          คุณธรรมทัง ๕ ประการนี เป็ นหลัก ปฏิ บติเ พือให้มนุ ษ ย์เข้าถึ งความดี งามแห่ งชี วิตอย่า ง
                                                     ั
แท้จริ ง และเป็ นความรู้ เชิงคุณธรรมทีจําเป็ นต้องมีในจิตใจของมนุษย์ทุกคน โสคราตีสชื อว่ามนุ ษย์
ทุกคนต้อ งการทําความดีตามหลัก คุณธรรมดังกล่ า ว แต่เหตุผลทีทําให้เขาทําความชัวในบางครั ง
เพราะเขาไม่รู้วาความดีซึงเป็ นความรู้ ทีแท้จริ งนันคือ อะไร เพือความเข้า ใจในหลัก ของคุ ณธรรม
                 ่
เหล่านี จึงควรศึกษารายละเอียดในแต่ละข้อเป็ นลําดับไป

          ความรอบรู้
          คําว่า “ความรอบรู้ ” หมายถึง กระบวนการแห่งความรู ้ทีเกิดจากการแสวงหาด้วยวิธีก ารคิด
ทีลึก กว้าง ทะลุ และรอบคอบ๙ เพราะการคิดทําให้ผูคิดเป็ นคนรอบรู ้ ฉลาด ทันคน ทันโลก และทัน
                                                      ้
เหตุการณ์ ความรอบรู้ ดงกล่าวนีโสคราตีสเรี ยกว่า “วิชาธรรม”๑๐ หรื อ “ความรู ้ ดานคุ ณธรรม” คือ
                        ั                                                         ้
รอบรู้ เกียวกับการดํารงชีวตทีประเสริ ฐ ชีวตทีประเสริ ฐตามทัศนะของโสคราตีสคือชีวตทีใช้ปัญญา
                          ิ                 ิ                                          ิ
แสวงหาสัจธรรมและคุณธรรมเป็ นหลัก ดังจะเห็นได้จากชีวิตส่ วนตัวของเขาดําเนิ นไปอย่างเรี ยบ
ง่าย ไม่สนใจต่อทรัพย์สมบัติหรื อชื อเสี ยงเกี ยรติยศ เพราะสิ งเหล่านี มีแต่จะฉุ ดให้วิญญาณเกลือก
กลัวอยู่ก ับกิ เ ลสตัณหา มนุ ษ ย์จึง ควรหลี ก เลี ยงความสุ ข ทางกาย และหันมาปฏิ บติกิจกรรมทาง
                                                                                     ั
วิญญาณ คือการใช้ปัญญาไตร่ ตรองหาสิ งอันเป็ นสัจธรรมจนสามารถนําหลักสัจธรรมหรื อคุณธรรม
นันมาประยุกต์ใช้ตามปรี ชาญาณ โดยการนํามาปฏิบติได้อย่างแนบเนียนเหมาะสมกับสิ งแวดล้อ ม
                                                        ั
ทังนีเพือจะได้ยึดเป็ นหลักในการดํารงชีวตในสังคมต่อไป
                                          ิ
          วิธีการคิดในการแสวงหาความรอบรู ้ดานคุณธรรมตามทัศนะของโสคราตีสสามารถศึก ษา
                                                   ้
เปรี ยบเทียบได้จากตัวอย่างเนือหาข้างล่างนี โดยสังเขป
          นายสงบเป็ นครู มีฐานะปานกลาง ไม่รํารวยถึงกับมีรถเก๋ งส่ วนตัวไว้ใช้ เขาต้องโหนรถเมล์
ไปทํางานทุกวัน แม้วาค่อนข้างจะลําบากแต่เขาก็ไม่รู้สึกเดือดร้อน ความจริ งเขาอยู่ในฐานะทีพอจะ
                      ่
ผ่อนซื อรถเก่าๆ ได้สักคันแต่เขาก็ไม่เคยคิดจะทําเช่นนัน เงิน ส่ วนใหญ่ของเขาหมดไปกับหนังสื อ
เขาอ่านทุกอย่างทังเกี ยวข้องและไม่เกียวกับวิชาทีเขาสอน เขารู ้สึกว่าเมื อได้หนังสื อ เล่มใหม่มาเขา


        ๙
            สนิ ท ศรี สําแดง, ความรู้เบืองต้นเกียวกับปรัชญาและศาสนา (กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยสยาม,๒๕๓๔),
หน้า ๒๒.
        ๑๐
             สถิต วงศ์สวรรค์, อ้างแล้ ว, หน้า ๑๕๑.
๕

ได้ไปอยู่อีกโลกหนึงตามลําพัง เขาไม่ค่อยออกไปเทียวเตร่ และซื อเสื อผ้าสวยๆ มาใส่ เขาคิดว่าค่ า
ของคนอยู่ทีจิตใจมิใช่อยู่ทีวัตถุนอกกาย
           ครู สงบเห็นว่าคนสมัยนีไม่ค่อยได้อ บรมและขัดเกลาจิตใจของตนเอง มักปล่อยตัวให้ลุ่ม
หลงกับสิ งเย้ายวนต่างๆ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ไม่เห็ นจะช่ วยให้มนุ ษย์มีค วามสุ ข ความ
พอใจมากขึนกว่าก่อนเลย วิทยาศาสตร์ ทาให้ค นสะดวกสบายขึนก็ จริ งแต่ก็มิได้ให้สาระของชี วิต
                                             ํ
มันทําให้คนเกิ ดความระสําระสายทางใจไม่มีอะไรเป็ นหลักให้ยึดถือ เขารู ้ สึก ว่าคนเราเดียวนี อยาก
ทําอะไรก็ทาไม่คานึงถึงคุณธรรมไม่คานึงถึงศาสนา ตัวอย่างเช่ น มีบางคนเห็นว่าควรปล่ อยให้ค น
               ํ ํ                        ํ
ทําแท้งได้โดยเสรี เพราะเหตุวาถ้าไม่อนุญาตให้แพทย์ทาแท้งให้แก่ผมาร้ องขอแล้ว หญิงเหล่านีก็จะ
                                 ่                         ํ           ู้
ไปหาหมอเถื อน ซึ งก่ อให้เ กิ ด อันตรายได้ม าก เรื องนี ครู ส งบอนาถใจมากทีจะให้ก ารฆ่าทารก
บริ สุทธิ เป็ นสิ งทีถูกกฎหมาย คนเดียวนีไม่ยดหลักอะไรเลย จะเอาแต่สนุกท่าเดียว
                                                ึ
           แม้ครู สงบจะไม่รํารวยเหมือนเพือนบางคนเขาก็ ไม่ รู้สึกอะไร มีหลายครั งทีโอกาสได้เปิ ด
ให้ค รู สงบได้เ งิ น ก้อ นใหญ่ โดยที ต้อ งทําการทุจริ ต แต่เ ขาไม่เ คยคิ ดทีจะทํา เลย เขาคิ ดว่าเงิ น กับ
คุณธรรมมักจะเดินสวนทางกัน การเป็ นคนดีไม่จาเป็ นต้องเป็ นคนมังมีและมีความสุ ขสบายเสมอไป
                                                     ํ
สําหรับเขาความดีเป็ นหลักประจําใจมิใช่ความสุ ข๑๑ ทีเกิดจากการแสวงหาทางวัตถุเ พือสนองความ
ต้องการตน
           วิธีการคิดข้างต้นเป็ นวิธีการคิดเชิงจริ ยปรัชญาตามแนวทางของโสคราตีสทีเน้นความรอบรู ้
ด้า นคุ ณธรรมเป็ นหลัก การทีคนจะมีคุ ณ ธรรมได้ ความสํ า คัญอยู่ ทีการรู ้ จก ตัวเองและสามารถ
                                                                                 ั
ควบคุมตัวเองได้ มนุษย์ถารู้จกตัวเองดีพอและสามารถควบคุ มตัวเองได้ ถือว่าเป็ นผูมีค วามรอบรู ้
                            ้ ั                                                          ้
ด้านคุณธรรมอย่างแท้จริ ง และจะเป็ นเหตุนามาซึ งความสุ ขหรื อสิ งดีงามอื นๆ แก่ ผู้รอบรู ้ โดยตรง
                                                  ํ
เพราะคุณธรรมไม่เพียงแต่เป็ นความดีในตัวเองเท่านัน แต่ยงสามารถนําผลประโยชน์ต่างๆ มาให้ผู ้
                                                              ั
ปฏิบติคุณธรรมด้วย ดังทีโสคราตีสเชือว่า “เงินไม่ สามารถซือคุณธรรมได้ คุณธรรมต่ างหากจะเป็ น
      ั
ทีไหลมาซึ งเงินตราและอืนๆ”๑๒

          ความกล้ าหาญ
          คําว่า “ความกล้ าหาญ” หมายถึง สิ งทีอยู่ตรงกลางระหว่างความบ้าบินกับความขลาดกลัว
ซึ งเป็ นความกล้าทีต่อสู ้กบความกลัว เป็ นการเอาชนะความกลัว แต่ไม่ใช่ ไม่รู้สึกกลัว ความกล้าหาญ
                           ั
เป็ นคุณธรรมของผูมีความพยายามเอาชนะความกลัว เป็ นการยืนหยัดในสิ งทีถูกต้องชอบธรรมและ
                     ้
เป็ นหน้าทีทีตนต้องทําและรับผิดชอบ ไม่ยอมให้ความกลัวมาขัดขวางความมุ่งมันของตน มีจิตใจ

         ๑๑
         วิทย์ วิศทเวทย์, ปรัชญาทัวไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวต (กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์
                                                                  ิ
,๒๕๔๓), หน้า ๑.
         ๑๒
              สถิต วงศ์สวรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๘.
๖

ห้าวหาญ ตังมัน แม้ในภาวะวิกฤตก็ไม่ยอมสยบต่อแรงกดดันใดๆ ทีตนเห็นว่าไม่ถูก ต้องและชอบ
ธรรม ดังที Mark Twain นักเขียนชาวอเมริ ก ันกล่าวว่า “การเป็ นคนกล้ าหาญไม่ ได้ หมายความว่ า
เป็ นคนไม่ กลัว แต่ หมายถึงการกระทําในสิ งทีจําเป็ นต้ องทํา แม้ ว่าจะรู้ สึกกลัวก็ตาม”๑๓
          โสคราตีสเป็ นนักปรัชญาทีมีความองอาจกล้าหาญยิง โดยเฉพาะกล้าทีจะยืน หยัดต่อสู้ ก บ      ั
ความจริ ง ดังจะเห็นได้จากการเสนอหลักปรัชญาของเขาจะเน้นหนักในเรื องจริ ยธรรมโดยกระตุ ้น
ให้คนในสังคมเป็ นคนประพฤติดี ในทีสุ ดจึงไปขัดกับทัศนะของคนส่ วนมาก ซึ งได้รับอิ ทธิ พลจาก
กลุ่มโซฟิ สต์ ผลประโยชน์จงขัดกันกับกลุ่มผูมีอานาจและอิทธิ พลในกรุ งเอเธนส์ จึงถูกฟ้ องศาลใน
                                ึ              ้ ํ
ข้อหายุยงส่ งเสริ มให้คนหนุ่มหัวรุ นแรงคิดนอกรี ตจากขนบประเพณีดงเดิม จึงถูกตัดสิ นให้ประหาร
                                                                           ั
ชีวตด้วยการบังคับให้ดืมยาพิษในฐานะบ่อนทําลายความมันคง ไม่ประสงค์ดีต่อสังคมเอเธนส์ และ
    ิ
บ่อนทําลายจิตใจเยาวชน โสคราตีส มีความกล้าหาญพอที จะประกาศว่าสิ งทีตนทําอยู่นนเป็ นสิ งที  ั
ถูกต้องและเป็ นประโยชน์ต่อสังคมเอเธนส์ เขาเชื อว่า “ความจริ งย่อมไม่ หนี หาย ยอมตายดีกว่ า
ทรยศต่ อความจริ ง”๑๔ จึงยอมรับโทษอย่างวีรบุ รุษ ไม่สะทกสะท้านใดๆ พฤติ ก รรมอย่างนี เป็ น
แบบอย่างหรื อเป็ นสัญลักษณ์แห่งความกล้าหาญอย่างแท้จริ ง
          ความกล้าหาญเป็ นสิ งสําคัญสําหรับนักบริ หารมาก กล้าในสิ งทีควรกล้า กล้าทําในสิ งทีควร
ทํา คือกล้าอย่างมีเหตุผล และมีการตัดสิ นใจทีเด็ดเดียวทีจะกระทําในสิ งทีเป็ นประโยชน์ ต่อ องค์กร
และส่ วนรวม ตัดเรื องผลประโยชน์ส่วนตัวออกไป ความกล้าในลักษณะนีจะช่วยให้สามารถเอาตัว
รอดได้ดีและเป็ นประโยชน์ทงต่อตนและสังคม
                                  ั
          ความกล้า หาญนันเป็ นสิ งทีดี แต่ต้อ งเป็ นความกล้า ในสิ งทีถู กทีควรเท่านัน ต้องมี ความ
จริ งจัง จริ งใจ และไม่โลเล กล้าทีจะเผชิ ญหน้ากับปั ญหาทุ กรู ปแบบอย่างคนทีมีความเตรี ยมพร้ อ ม
อยู่ตลอดเวลา ข้อนีถือว่าเป็ นวิสัยทีสําคัญของผูทีมีความกล้าหาญ เมือเจอปั ญหาใหญ่ก็ไม่ หวันไหว
                                                 ้
ไปกับปั ญหานัน ถ้ามัวแต่กลัว ไม่กล้าเผชิญหน้ากับปั ญหา หรื อมัวแต่คิดพึงคนอืนอยู่ตลอดเวลา ก็
ไม่มีทางจะเอาตัวรอดได้ เพราะถึ งแม้จะมีค นคอยช่ วยเหลื ออยู่ต ลอดเวลา แต่ ก็มีสั ก ครั งทีต้อ ง
เผชิญหน้ากับปั ญหาคนเดียว แล้วเมือถึงเวลานันใครจะช่ วย และจะเอาชนะปั ญหาต่างๆ ได้อ ย่างไร
ถ้าไม่มีการเรี ยนรู ้ ทีจะเพิมความกล้าหาญให้กบตัวเองแล้ว ก็ไม่มีทางทีจะฝ่ าฟั นปั ญหาและอุปสรรค
                                             ั
ต่างๆ ได้

         ความรู้ จักประมาณ
         คําว่า “ความรู้ จักประมาณ” หมายถึง การรู ้ จกเลือ กเดินทางสายกลาง ซึ งเป็ นการเลือกเอา
                                                     ั
ส่ วนดีจากทังสองด้าน แล้วละทิงส่ วนทีไม่ดีทีเลยเถิดเกินไปของทังสองด้านนันเสี ย หมายความว่า

        ๑๓
             http://www.wattana.ac.th/sadsanakit/annouce/courage.htm
        ๑๔
             สถิต วงศ์ส วรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๙.
๗

ธรรมชาติของสรรพสิ งมันมีทงเคร่ งเกินไป พอดี(สายกลาง) และหย่อนเกินเหตุ ถ้าจะเลือกแบบเคร่ ง
                                 ั
สุ ดมันก็ตึงเกินไปอาจทําให้ให้ชีวตขาดสะบันได้ หรื อจะเอาแบบหย่อนยานมันก็หลวมเกิ นไป ทัง
                                   ิ
สองด้านนีจะทําให้ชีวตล้มเหลวตกหลุมตกบ่อไม่ราบรื นและเสี ยหลักในการดํารงชีวตในทีสุ ด ถ้าจะ
                          ิ                                                              ิ
ให้ดีทีสุ ดก็จงเลือกอย◌ู ◌่ตรงกลางระหว่างความสุ ดโต่งทังสองด้านนัน คือความพอดีนนเอง         ั
            โสคราตีสถึงแม้จะเป็ นนักปรัชญาทีมีชือเสี ยงและมีความรู ้ ดีในวิทยาการแขนงต่างๆ แต่เขา
ก็ดารงชีวตอยูอย่างพอเพียงตามทางสายกลาง มีความเรี ยบง่าย ไม่สนใจการแต่งตัว ไม่สนใจใยดี ใน
        ํ    ิ ่
ลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุ ขแบบชาวโลก อุทิศ ตนเพืออบรมสังสอนประชาชนให้เป็ นคนมีปัญญาและ
คุณธรรม การสอนวิทยาการต่างๆ ไม่มีการเรี ยกร้ องเก็บค่าตอบแทนเลย เพราะเขาเป็ นนักปรัชญาที
มีคุณธรรมสู งส่ ง มีความพอใจในความเป็ นนักปรัชญา จึงเป็ นทีรักของประชาชน คนทุกอาชี พชอบ
สนทนากับเขา แวดล้อมเขาเหมือนโสคราตีสเป็ นแม่เหล็ก ไม่ว่าเขาจะไปทีใดก็จะมีแต่คนเข้า มาหา
เพือตักตวงเอาความรู ้ และคนเหล่านันได้กลายเป็ นศิ ษย์ของเขาในทีสุ ด เช่น พลาโต(Plato) เป็ นต้น
            มีคาของ อีหมิง ทีกล่าวไว้วา “สํ าหรั บผู้ทีรู้จักพอ แม้ จะยากจนข้ นแค้ นก็ยังมีความสุ ข ผู้ที
               ํ                      ่
ไม่ รู้ จักพอแม้ว่าจะรํ ารวยมียศถาบรรดาศักดิก็ยังมีความทุกข์ หากต้ องการมีความสุ ข จะต้ องมีความ
พึงพอใจในสิ งทีตนเห็ นและมีอยู่ สามารถชืนชมกับ สิ งเล็กๆ น้ อยๆ ในชี วิตประจําวั นได้ โดยไม่ คิด
น้ อยใจหรือคิดว่ าตนเองตําต้ อยด้ อยค่ า”๑๕ ผูทีจะมีความสุ ขได้นน คื อผู ้ทีพอใจในสิ งทีตนเองมี ขอ
                                               ้                      ั
เพียงแต่มีความพยายามในการทําให้ประสบความสําเร็ จก็เพียงพอ ไม่เป็ นทุก ข์เป็ น ร้ อนกับสิ งทีไม่
สามารถจะหามาได้ และทําหน้าทีของตนให้ดีสุดไม่หวังผลเลอเลิศจนเกินความสามารถของตนเอง
รู ้ จกกําหนดขอบเขตของความปรารถนา สิ งใดทีควรได้ค วรมี ก็ จงพยายามทําให้สําเร็ จ สิ งใดเกิ น
      ั
กําลังก็จงยอมรับว่า แม้ยงไม่สามารถไขว่คว้ามาได้ก็จะหาหนทางในคราวต่อไป เมื อโอกาสมาถึงก็
                            ั
พร้ อมทีจะตังใจกระทําในสิ งนันๆ ให้ดีทีสุ ดตามความรู ้ความสามารถของตน

             ความยุติธรรม
             คํา ว่า “ความยุ ติธรรม” หมายถึ ง ความเที ยงธรรม ความชอบธรรม ความชอบด้วย
เหตุผล และสามารถแยกแยะได้วาอะไรคือผิด ชอบ ชัว ดี สําเร็ จมาจากคํา ๒ คํา คือ ยุติ และ ธรรม
                                  ่
ตีความหมายตามตัวอักษรได้วา “เป็ นธรรมอันนําไปสู่ ความยุติคือจบลงทีเรืองราว” กล่าวคือผูรักษา
                                ่                                                        ้
ความยุติธรรมนันต้อ งเป็ นผูสามารถชี แจงเหตุผ ลให้แก่ คู่กรณี จนเรื องราวนันๆ ยุติล งได้โดยไม่มี
                              ้
ความรู้ สึกแคลงใจใดๆ ความยุติธรรมจึงเป็ นสิ งทีช่วยให้คนเรารู ้ จกเสี ยสละเพือสังคมและความสงบ
                                                                 ั
สุ ขของส่ วนรวม ทังช่วยให้สังคมธํารงอยู่ได้ โดยการให้ตามสิ ทธิ ของแต่ละคนอันจะพึงมีพึงได้ตาม
ความชอบธรรม


         ๑๕
              http://www.carefor.org/content/view/1543/153
๘

          โสคราตีสได้ชือว่าเป็ นนักปรัชญาทีมีความยุติธรรมสู งส่ งท่านหนึ ง ดังจะเห็นได้จากเขากล้า
ทีจะคัดค้านคําสอนของกลุ่ มโซฟิ สต์ (Sophists) ซึ งเป็ นกลุ่มทีมีอิทธิ พลมากในสังคมกรี ก ยุค นัน
เพราะเขาเห็นว่าคําสอนของลัทธิ โซฟิ สต์เป็ นสิ งทีไม่มีความยุติธรรมและเป็ นภัยต่อสังคม ขืนปล่อย
ไว้ให้แพร่ หลายอยูเ่ ช่นนี คนจะไม่มีทียึด เหนี ยว ในเมือไม่ มีมาตรการความดี ทีแน่ นอนตายตัวเสี ย
แล้ว ใครอยากจะทําอะไรก็ทาตามใจตัวเอง โดยอ้างว่าตนเห็น ชอบอย่างนัน เมือเป็ นเช่ นนี คนทีมี
                              ํ
อํานาจก็จะถือโอกาสกดขีคนอืนให้อยู่ภายใต้อานาจได้ตามสบาย คนฉลาดก็จะเอาเปรี ยบคนโง่และ
                                                ํ
จะเกิ ดการสร้างอิทธิ พล ทุกคนแข่งขันกันกุมอํานาจอย่างปราศจากความรับผิดชอบ โสคราตีสเห็น
ว่าเสรี ภาพอย่างเลยเถิด เป็ นจุดบอดของประชาธิ ปไตย เพราะจะเปิ ดโอกาสให้คนเอารัดเอาเปรี ยบ
กันอย่างเสรี คนฉลาดจะฉกฉวยโอกาสใช้ช่องโหว่ของกฎหมายเอาเปรี ยบคนโง่ได้ คนทีมีตาแหน่ง       ํ
หน้าทีจะใช่ เล่ ห์เ หลี ยมหลอกลวงเพื อเอาเปรี ยบประชาชนได้อ ย่า งเสรี ในทีสุ ดความหายนะจะ
ตามมา เพราะจะแข่งขัน และเอาเปรี ยบกันจนลืมนึกถึงความปลอดภัยของสังคม ดังคําทีโสคราตีส
กล่ าวไว้ว่า “สั งคมจะอยู่ได้ ต้องมี ความยุติธ รรม ความยุติธรรมจะมีได้ ต้อ งมี มาตรการเดี ยวกั น
สํ าหรับตัดสิ นความจริงและความดี มาตรการสากลจะต้ องมีพืนฐานอยู่บนความจริ ง คนจะคิด ได้
ตรงกันต้ องปราศจากกิเลสต้ องฝึ กสมาธิให้ กิเลสเบาบางลง”๑๖
          ความยุติธ รรมตามทัศนะของโสคราตีสถือว่าเป็ นรากฐานของคุ ณธรรมทีดีงามในสังคม
มนุษย์ ไม่มีความยุติธรรมใดเกิดขึนได้บนพืนฐานความมี อคติธรรม ไม่มีความสํ า เร็ จทีแท้จริ งหาก
ปราศจากซึ งคุ ณธรรมแห่ ง ความยุติ ธ รรม ดังนัน เมื อไรก็ ตามทีความคิ ดภายในใจของคนเรามี
ความหวังร้ายต่อคนอืนแล้ว ก็ไม่สามารถจะตัดสิ นให้ผูหนึงผูใดให้ได้รับความชอบธรรมตามความ
                                                        ้      ้
เป็ นจริ งได้ แต่ควรมองย้อนกลับมาคิดอย่างมีเหตุผลด้วยความตระหนักว่า ความยุติธรรมนันเป็ นสิ ง
ทีสามารถทําให้คนเราสามารถปฏิบติหน้าทีทุกอย่างเป็ นประโยชน์ทงแก่ส่วนรวมและต่อตนเองได้
                                      ั                             ั
สู งสุ ด
          การสร้ างนิสัยแห่งความยุติธรรมให้เกิดขึนในจิตใจของคนเราตามหลักการสร้ างความคิดที
มีเหตุผลจะนําพาชีวิตก้าวไปสู่ เป้ าหมายแห่งความสําเร็ จทีสมบู รณ์ได้ คุณลักษณะชี วิตทีวางอยู่บน
รากฐานของความยุติธรรม เป็ นสิ งทีแสดงออกถึงความกล้าหาญ คือกล้าทีจะยืนหยัดอยู่บนฐานของ
ความจริ ง กล่าวคือ การปฏิ เสธอารมณ์ ความรู ้ สึก ความพอใจส่ วนตัวหากสิ งนันตรงข้ามกับความ
จริ ง โสคราตีสมีคุณธรรมเหล่านีอย่างสมบูรณ์แบบ จึงกล้าทีจะยืนหยัดอยู่บนฐานแห่งความยุติธรรม
พร้ อมทังนําคุณธรรมข้อนีมาเป็ นเครื องมือในการต่อสู ้กบความไม่เป็ นธรรมทีเห็นว่าเป็ นอันตรายต่อ
                                                          ั
สังคมจนกระทังยอมพลีชีพอย่างวีรบุรุษ ไม่สะทกสะท้านใดๆ พฤติกรรมอย่างนี เป็ น แบบอย่างทีดี
ควรเป็ นทียึดถือสําหรับอนุชนรุ่ นหลัง


        ๑๖
             สถิต วงศ์ส วรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๔.
๙

               ความกตัญ ู
               คําว่า “ความกตัญ ู” หมายถึง ความรู ้ คุณ กล่ าวคือความเป็ นผู้มีใจกระจ่าง มีสติ มีปัญญา
บริ บูรณ์ รู ้อุปการคุณทีผูอืนกระทําแล้วแก่ตน ผูใดก็ตามทีทําคุณแก่ ตนแล้ว ไม่วาจะมากก็ตาม น้อย
                               ้                      ้                              ่
ก็ตาม เช่น เลียงดูสังสอน ให้ทีพัก ให้งานทํา เป็ นต้น ย่อมระลึกถึงด้วยความซาบซึ งอยู่เสมอ ไม่ลืม
อุปการคุณนันเลย อีกนัยหนึง ความกตัญ ู หมายถึง ความรู้ บุญ หรื อ รู ้ อุปการะของบุญทีตนทําไว้
แล้ว รู ้ วาทีตนเองพ้นจากภัยอันตรายทังหลายได้ดีมีสุข อยู่ในปั จจุบนก็เพราะบุญทังหลายทีเคยทําไว้
           ่                                                          ั
ในอดีตส่ งผลให้ จึงไม่ลืมอุปการะของบุญนันเลย และสร้ างสมบุญใหม่ให้ยิงๆ ขึนไป รวมความ
กตัญ ูจงหมายถึง การรู ้จกบุญคุณ อะไรก็ตามทีเป็ นบุญ หรื อมีคุณต่อตน แล้วก็ตามระลึกนึกถึงด้วย
             ึ                   ั
ความซาบซึ งไม่ลื มเลย คนมี ค วามกตัญ ูถึ งแม้จะนัยน์ ตาบอดมืดทังสองข้า ง แต่ ใจของเขาใส
กระจ่างยิงกว่าดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ รวมกันเสี ยอีก
               โสคราตีสนับว่าเป็ นนักปรัชญาทีมีความกตัญ ูเป็ นเลิศโดยเฉพาะต่อชาติ ดังจะเห็นได้จาก
ภาพลักษณ์ทีเขาแสดงออกถึงความรั กชาติ ห่ วงใยชาติ เกลงว่าชาติจะถูก กลืนหรื อถูก ทําลายด้วย
หลักคําสอนของลัทธิ โซฟิ สต์ เขาใช้หลักปรัชญาในการชี แจงและหัก ล้า งคําสอนของกลุ่มโซฟิ สต์
เพือให้สั งคมโดยเฉพาะวัย หนุ่ มสาวได้เ ข้า ใจและเข้า ถึ ง หลักความรู ้ คู่ คุณ ธรรม การปฏิ บติก ารั
ดังกล่าวนับว่าเป็ นอันตรายยิง เพราะไปขัดกับกลุ่มผลประโยชน์เดิ มซึ งมีอิ ทธิ พลทางด้านการเมือง
เขาจึงโดนกลันแกล้งจนกระทังถึงแก่ชีวิต การประหารชีวตโสคราตีสถือว่าเป็ นตราบาปอันหนึ งใน
                                                               ิ
หน้าประวัติศาสตร์ ของประชาธิ ปไตยกรี กทีใช้ระบบเผด็จการโดยเสี ยงข้างมากมาเป็ นเครื องมือใน
การประหารชีวตโสคราตีส และการตายของโสคราตีสในครังนันเป็ นการแสดงออกถึงความกตัญ ู
                       ิ
ทีมีต่อความรักชาติอย่างเปี ยมล้น อาจกล่าวได้วาเป็ นการยอมตายเพือชาติโดยแท้
                                                    ่
               คัมภีร์กตัญ ูของจีนกล่าวไว้วา “ความกตัญ ูเป็ นรากฐานของคุณธรรมทังปวง”๑๗ นันคือ
                                           ่
คนทีจะมีคุณธรรมได้นน ก่อนอืนจิตใจของเขาจะต้อ งเปี ยมไปด้วยคุ ณธรรม คือ เป็ นคนดี ซื อสัตย์
                             ั
สุ จิต สง่าผ่าเผย การทีคนเราจะมี ความคิดใฝ่ ดี ตังใจทําความดีสร้ างสมคุณธรรมให้เกิ ด ขึนในตัว
เป็ นสิ งทีเกิดขึนได้ยาก แต่ทียากยิงกว่านันก็คือ ทําอย่างไรจึงจะรั กษาความตังใจทีดี นนไว้ โดยไม่
                                                                                           ั
ท้อถอยไม่เลิ กกลางคัน เพราะในการทําความดีย่อมมีอุปสรรค มี ปัญหาขัดขวางมากมาย ไหนจะ
ปั ญหาภายนอกจากคนรอบข้าง จากสิ งแวดล้อม ไหนจะปั ญหาภายในจากกิ เลสรุ มล้อ มประดังกัน
เข้า มา เราจะเอาตัวรอด ยืนหยัดสู ้ ปัญหาทังหลายทีเข้ามาผจญได้โดยไม่ ทอถอย ก็ต้องมีสิงทียึด
                                                                                 ้
เหนี ยวใจไว้ นันคือความกตัญ ู
               พืนฐานในการคิดเรื องความกตัญ ูสามารถยกตัวอย่างวิธีการคิดได้ดงนี : เวลาเด็กไปเรี ย น
                                                                                   ั
หนังสื อบางครังแม้จะยากแสนยากถึงกับคิดท้อถอยจะเลิกเสี ยกลางคัน เพือนฝูงบางคนชวนไปเทียว
เตร่ เฮฮา ดูน่าสนุกกว่ามาก แต่เมือนึกถึงคุณพ่อคุณแม่ คิดว่าท่านอุตส่ าห์ทะนุถนอมเลียงดูเ รามาจน

        ๑๗
             http//pyramidtennis.com/variousnews/variousnews-detail.php? variousnews_id=1&lang=th
๑๐

เติบใหญ่ ลําบากลําบนในการทํามาหากิ น เพือส่ งเสี ยให้เราได้เล่าเรี ยน ท่านฝากความหวังไว้ก บตัว
                                                                                          ั
เรา อยากเห็นตัวเราได้ดีมีความเจริ ญก้าวหน้าในชีวต พอคิดได้เท่านี ความกตัญ ูก็จะเกิ ดขึน มีแรง
                                                ิ
สู ้ มีกาลังใจ แม้จะยากแสนยาก แม้จะเหนือยแสนเหนือย ก็กดฟั นสู ้มุมานะ ตังใจเรี ยนให้ดีให้ได้ ไม่
        ํ                                                ั
ยอมประพฤติตวไปในทางเสื อมเสี ยแก่ วงศ์ตระกูล ความกตัญ ูจึงเป็ นคุณธรรมทีสําคัญยิงทีจะ
                  ั
ประคองใจของเราให้ดารงคงมันอยู่ในคุณธรรมอันยิงๆ ขึนไป
                        ํ

จริ ยศาสตร์ ตามทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท
            หลักจริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาทมีฐานความคิดคล้ายกับโสคราตีสตรงที สอนให้ค น
ประพฤติดี เน้นความรู ้ คู่ คุณ ธรรม หรื อ วิชชาจรณะสัมปั น โน แต่ คา ว่า “วิชชา” หรื อ “ความรู้ ”
                                                                        ํ
ในทางพุทธปรัชญานัน หมายถึงความรู ้ แจ้ง ซึ งเป็ นความรู ้ทีเกิดจากญาณ หรื อความรู้ดีรู้ชว มิใช่เป็ น
                                                                                            ั
ความรู้ ชนิดศิลปวิทยาการต่างๆ เพราะความรู ้ เหล่านัน เป็ นเพียงความรู ้ดานศิลปะเท่ านัน๑๘ ส่ วนคํา
                                                                          ้
ว่า “จรณะ” หรื อ “จริ ยศาสตร์ ” หมายถึงการปฏิบติอนเป็ นแนวทางบรรลุวชชาหรื อวิธีการปฏิ บติที
                                                    ั ั                      ิ                       ั
จะเข้าถึงความสมบูรณ์ในระดับภูมิชนของคุณธรรมในระดับต่างๆ มีความสํารวมในอินทรี ย์ คื อ ตา
                                       ั
หู จมูก ลิน กาย ใจ มีความละอายแก่ใจในการกระทําบาป มีความเกรงกลัวต่อบาปทุจริ ต สะดุ ้งกลัว
ทีจะกระทําบาป และผลของบาป และมีความเพียรพยายามเป็ นเครื องกล้าหาญ ต้านอุปสรรคศรัตรู ๑๙
เป็ นต้น
            สาระแห่งจรณะหรื อจริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาท เรี ยกว่า “จริ ยธรรมหรือศี ลธรรม”
นันคือผูใดประกอบให้มีขึนในตนได้ จัก อํานวยประโยชน์อย่างไพศาล อย่างเช่ นคํากล่าวที ว่า สี ล
          ้
สัมปทา ผูสมบูรณ์ดวยศี ล ย่อมเป็ นผูมนคง คงที ไม่หวันไหว คนจิตใจไม่ มีศีล ก็ ย่อมขาดคุณธรรม
             ้          ้                ้ ั
คิดทําร้าย เบียดเบียน รังแกผูอืน คิดอยากจะได้ของผูอืน แม้เขาไม่ให้ก็หาอุบายเอาในทางมิชอบ คิด
                               ้                        ้
อยากจะได้สมบัติอนเป็ นทีหวงแหนของผูอืน ไม่ใคร่ ยนดีในสิ ทธิ หน้าทีของตน คิดแต่จะใช้ลินเล่ห์
                      ั                      ้            ิ
เพทุ บายให้ผู้อื นหลงเชื อ หรื อ คิดแต่จะได้เ สพสิ งทีทํา ลายสติ สัมปชัญ ญะของตน เมือไม่ ได้ดง         ั
ต้องการ ก็หาทางทําลายซึ งกันและกัน หมดความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย หมดความเป็ นสง่าราศี ไม่วา             ่
จะเป็ นสตรี หรื อบุรุษก็เช่นกัน ดังทีปราชญ์กล่าวไว้วา “อันสตรี ไม่ มีศีลก็สินสวย บุ รุษ ด้ วยไม่ มี ศีลก็
                                                      ่
สิ นศรี เป็ นสมณะไม่ มีศีลก็สินดี เป็ นข้ าราชการศีลไม่ มีกาลีเมือง” นีแสดงให้เห็นว่า ชนทุกระดับชัน
จะอยูกนด้วยความร่ มเย็นเป็ นสุ ขได้ ก็เพราะแต่ละคนเห็นคุณค่าของจริ ยธรรมทีจําเป็ นต้องประพฤติ
      ่ั
ร่ วมกันในฐานะเป็ นสัตว์สังคมทีมีเหตุผลและสามารถสร้ างคุณธรรมให้เกิดขึนในจิตใจตนได้ เมือมี


         ๑๘
          พระครู วิวิธธรรมโกศล (ชัยวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน),มุทิตานุสรณ์ พระครูวิวธธรรมโกศล (กรุ งเทพ ฯ :
                                                                           ิ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๓๙๘.
         ๑๙
              เรืองเดียวกัน, หน้า ๓๙๙ – ๔๐๐.
๑๑

จริ ยธรรมและการปฏิบตตามกฎแห่งจริ ยธรรมทีถูกต้องแล้ว จัดได้วาเป็ นผูมีระเบียบทังกาย วาจา ใจ
                       ัิ                                  ่       ้
อันไม่เป็ นพิษภัยแก่กนและกัน
                     ั

แนวปฏิบัติตามหลักจริยศาสตร์ ของพุทธปรัชญาเถรวาท
           พุทธปรัชญาเถรวาทได้วางหลักการปฏิบติตามหลักจริ ยศาสตร์ ไว้หลายระดับด้วยกัน แต่ที
                                                   ั
เป็ นหัวใจสําคัญนันมีอยู่ ๓ ระดับด้วยกัน คือ
           ๑. การไม่ทาบาปทังปวง(สพฺพปาปสฺ ส อกรณํ)
                       ํ
           ๒. การทํากุศลคือความดีให้พรังพร้อม(กุสลสฺ สูปสมฺ ปทา)
           ๓. การทําจิตให้ผ่องแผ้ว(สจิตฺตปริ โยทปนํ)
           หลักธรรมปฏิบติทง ๓ ระดับข้างต้น เป็ นหลักจริ ยศาสตร์ ตามแนวพุทธปรัช ญาเถรวาททีมี
                          ั ั
จุดมุ่งหมายเพือให้ผูปฏิ บติงดเว้นจากอกุศลกรรม (บาปกรรม) ทังปวง เพราะอกุศลกรรมทีได้กระทํา
                      ้ ั
ลงไปทังในทีลับหรื อทีแจ้ง ไม่ให้ผลเป็ นคุณแต่ประการใด มีแต่ให้ผลเป็ นโทษ เป็ นทุกข์เดือดร้ อ น
ทังในปั จจุบ ันและอนาคต และเมื องดเว้น จากการกระทําอกุ ศลกรรมโดยเด็ดขาดแล้ว ต้องมีการ
ปฏิบติโดยการตังความเพียรหมันประกอบบุญกุศล เพราะบุญเป็ นธรรมชาติทีชําระสั นดานของตน
       ั
ให้สะอาด มีลกษณะสงบร่ มเย็น เป็ นสุ ข ไม่ให้ผ ลเป็ นโทษเป็ นทุกข์เดือดร้ อ นแต่ประการใด และ
                ั
จากนันเป็ นการฝึ กจิตให้สะอาด บริ สุทธิ ปราศจากอาสวกิเลส ทังอย่างหยาบ อย่างกลาง และอย่าง
ละเอียด อันเป็ นจุดมุ่งหมายทีสําคัญทีสุ ดในการปฏิ บติตามหลักจริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาท
                                                     ั
           พุทธปรัชญาเถรวาทได้กาหนดหลักปฏิบติตามแนวจริ ยศาสตร์ในฐานะทีมีหลักคําสอนเน้น
                                   ํ             ั
ในเรื องของกรรมคือการกระทําของแต่ละบุคคลว่ามีผลต่อความเสื อมและความเจริ ญของชี วต โดย       ิ
ให้พิจารณาพฤติกรรมของบุคคลว่าดีหรื อชัวอยู่ทีการกระทํา เช่นการปฏิ บติตามหลักศีล ๕ ซึ งถือว่า
                                                                      ั
เป็ นมาตรฐานวางไว้สําหรับกําหนดวัดความประพฤติของมนุษย์ในขันความเป็ นกัลยาณชน หรื อ ที
เรี ย กว่า “มนุ ษ ยธรรม” ส่ วนผู ้ทีมีค วามประพฤติตํากว่ามาตรฐานนี ถื อ ว่ายังไม่เ ป็ นมนุ ษ ย์โ ดย
สมบูรณ์แบบและไม่น่าไว้ใจ๒๐ ในพฤติกรรมหรื อการกระทํา เพราะยังเป็ นบุคคลทีมีสั ญชาตญาณ
คล้ายสัตว์เดรัจฉานทัวไป
           นอกจากนี จริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาทยังได้กล่าวถึงคุณธรรมทีมนุษย์ตองประพฤติ
                                                                                       ้
ร่ วมกันในระหว่างบุคคล ซึ งมีความคล้ายคลึงกับหลักจริ ยปรัชญาของโสคราตีสทีว่าด้วยเรื องความ
รอบรู้ ความกล้าหาญ ความรู ้ จกประมาณ ความยุติธรรม และความกตัญ ู ซึ งคุณธรรมเหล่านีมี
                                ั
หลักปฏิบติในพุทธปรัชญาเถรวาททังสิ น และในทีนีจะได้กล่าวเฉพาะหลักพุทธจริ ยศาสตร์ ในส่ วน
            ั
ทีเห็นว่ามีความสอดคล้องกับจริ ยปรัชญาของโสคราตีส ประกอบด้วย


        ๒๐
             สนิ ท ศรี สาแดง, ปรัชญาเถรวาท (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๔), หน้า ๒๕๑.
                        ํ
๑๒

          ๑. วิชชาจรณสั มปันโน
          ๒. หน้ าทีรั บผิดชอบ
          ๓. มัชฌิมาปฏิปทา
          ๔. กรรม
          ๕. กตัญ กตเวที
                     ู
          คุณธรรมเหล่านีเป็ นส่ วนหนึงของพุทธจริ ยปรั ชญาเถรวาท ทีทําให้ผู้ประพฤติตามมีจิตใจ
ผ่องใสเป็ นปกติ มีความเห็นถูกต้องชอบธรรม ยึดถือความถูกต้องเป็ นหลัก และสามารถดําเนินชีวต                 ิ
อยู่ได้ดวยปั ญญาหรื อทีเรี ยกง่ายๆ ว่า “ผู้ร้ ู ” ซึ งประกอบไปด้วย ความเป็ นผูรู้ดี คือรู ้ ว่าอะไรดี อะไร
        ้                                                                     ้
ชัว ความเป็ นผูรู้ถู ก คื อรู ้ ว่าอะไรถู ก อะไรผิด และความเป็ นผูรู้ชอบ คือ รู้ ว่าอะไรบาป อะไรบุญ
                 ้                                                  ้
อะไรคุณ อะไรโทษเป็ นต้น ซึ งจะอธิ บายในแต่ละข้อดังต่อไปนี

          วิชชาจรณสั มปันโน
          คําว่า “วิชชาจรณสั มปันโน”๒๑ หมายถึง ความถึงพร้ อมด้วยวิชชาและจรณะ คือสมบูรณ์ดวย       ้
ความรอบรู ้ และความประพฤติอย่างครบถ้วน ทีว่าวิชชาหรื อความรู ้ นน หมายเอาความรู ้ ดีรู้ชว ซึ ง
                                                                        ั                      ั
เป็ นความรู ้ประเภทคุณธรรมทีเกิ ดจากการฝึ กฝนจิตจนเกิดเป็ นสัมมาทิฐิ ทีพร้อ มจะแสดงพฤติกรรม
ออกมาเป็ นสัมมาปฏิ บติ ส่ วนจรณะหมายเอาความประพฤติทีถูกต้อ งดี งาม มีระเบียบวินัยอยู่ใน
                           ั
กรอบกฎกฏิ กาของสังคม ไม่ สร้ างความเดือดร้ อนเบียดเบียนตนเองและผูอื นให้ลาบากยากแค้น
                                                                             ้     ํ
รวมทังให้สามารถกระทําความดีได้สะดวก จนบรรลุเป้ าหมายสุ ดท้ายของชีวต เช่น ฆราวาสผูครอง
                                                                               ิ             ้
เรื อนทัวไปควรถือศี ล ๕ อุบาสก อุบาสิ กา ต้องถือศีล ๘ สามเณรถื อศี ล ๑๐ และภิ กษุถือ ศี ล ๒๒๗
เป็ นต้น ความถึงพร้ อมด้วยวิชชาและจรณะในพุทธปรัชญาเถรวาทนี ถ้ากล่าวโดยหลักปฏิ บติทวไป      ั ั
ในเชิ งจริ ยศาสตร์ ก็มีเนือหาสอดคล้องกับหลักจริ ยปรัชญาของโสคราตีสทีว่า “ความรู้ ค่ คณธรรม”
                                                                                       ู ุ
          ความถึงพร้ อมด้วยความรู ้และความประพฤติ(ความรู ้ดีและความประพฤติดี) จะเกิ ดขึ นได้
ต้องอาศัยหลักคุณธรรมประกอบความรู ้ ถ้ามีเฉพาะความรู้หรื อวิชาการทัวไปแต่ ข าดคุ ณธรรมก็ไม่
ถือว่าเป็ นความรู ้ ทีแท้จริ ง แต่จะกลายเป็ นความรู ้ ประเภทสุ นขหางด้วนคือขาดสติคอยทําหน้าทีเป็ น
                                                                ั
หางเสื อควบคุมนาวาจิตทีคิดในทางอกุศลกรรม เช่ น บางคนมีความรู ้ มากมาย แต่ทาไมถึงโกงกิ น
                                                                                     ํ



         ๒๑
            วิชชาจรณสัมปันโน : เป็ นพระนามของพระพุทธเจ้า และเป็ นบทพุ ทธคุณ บทหนึ งในจํานวน ๙ บท
ทรงมีวชชา ๓ และวิชชา ๘ และจรณะ ๑๕ อย่างสมบูร ณ์ ความถึงพร้ อมด้วยวิชชา สร้ างความเป็ นสัพ พัญ ูให้
      ิ
พระพุทธเจ้า ส่วนความถึงพร้อมด้วยจรณะ สร้างความเป็ นผูกอรปด้วยพระมหากรุ ณาธิ คณแก่พระพุทธเจ้า คือเมื อ
                                                        ้                         ุ
พระองค์ทรงรู ้สิงที เป็ นประโยชน์และไม่เป็ นประโยชน์ดวยความเป็ นสัพ พัญ ู แล้วทรงเว้นสิ งทีไม่เป็ นประโยชน์
                                                     ้
ทรงชักนําแต่ในสิ งทีเป็ นประโยชน์ ด้วยความเป็ นผูกอรปไปด้วยพระมหากรุ ณาธิ คณแก่สตว์โลกทังปวง
                                                 ้                           ุ      ั
๑๓

บ้านเมือง ทําไมเอารัดเอาเปรี ยบผูอืน นันเป็ นเพราะเขามีความรู ้ แต่ขาดคุณธรรม ยิงรู้ มากเท่าไร ก็ยง
                                      ้                                                                       ิ
เห็นแก่ตวหรื อเอาเปรี ยบผูอืนชนิดซ่อนเร้นมากเท่านัน
            ั                     ้
            ความรู้ และความประพฤติ(ความรู ้ -คุณธรรม) จะเกิ ดขึนได้ตองอาศัยปั จจัยหลายอย่าง แต่ใน
                                                                          ้
ทีนีจะเสนอหลักคุณธรรมข้อหนึง คือความอ่อนน้อมถ่อมตน(มัททวะ)๒๒ เพือลดทิฐิ มานะในการ
น้อมรับเอาความรู ้ ความสามารถของผูอืนทีเขามีดีในส่ วนนันๆ มาเป็ นจุดแข็งในการดําเนินกิจกรรม
                                             ้
ต่างๆ ของตน อย่างเช่นสมัยโบราณนักปกครองมักจะมีกุนซื อ(ทีปรึ กษา) ในด้านตางๆ เพือให้งาน
การปกครองหรื อบริ หารเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่ น เล่า ปี ในเรื องสามก๊ก ก็เ ป็ นผูน ําอีก ท่าน
                                                                                                  ้
หนึงในประวัติศาสตร์ จนทีประสบผลสําเร็ จในด้านการปกครองด้วยการใช้หลักคุ ณธรรมคือ ความ
                               ี
อ่อนน้อมถ่อมตน ดังจะเห็นได้จากเขาสามารถเชิญขงเบ้งผูหยิงทรนงมาช่ วยงานจนตลอดชี วิตการ
                                                               ้
เป็ นผูนาของเขาอย่างน่าทึง
        ้ ํ
            ขงเบ้ ง เป็ นนักปราชญ์ทีถือตัวมากอยู่ทีภูเขาโงลังกัง ในสมัยทีจีนแตกเป็ นสามก๊กผูมีวาสนา   ้
แย่งอํานาจกันเป็ นใหญ่ แต่ละก๊กก็พยายามทีจะรวบรวมคนดีมีฝีมือมีสติปัญญาไว้เป็ นพรรคพวก ขง
เบ้งได้รับการติดต่อจากผูมีอานาจหลายคนแต่ไม่มีใครสมหวัง แต่แล้วอยู่ต่อมาปรากฏว่า ขงเบ้งต้อง
                                 ้ ํ
ออกจากบ้านเดินตามหลังเล่าปี มาร่ วมวางแผนทําสงครามให้เล่าปี จนตลอดชีวต แม้เ ล่ า ปี จะหนี ตาย
                                                                                      ิ
ออกไปก่ อ น ขงเบ้ง ก็ไม่ยอมทอดทิงบุตรของเล่ าปี ทีเป็ นดัง นี น่ าสงสัยว่า เล่า ปี มีดี อะไรหรื อจึง
สามารถเอาชนะจิตใจของขงเบ้งได้ สิ งทีเล่าปี สามารถเอาชนะใจของขงเบ้งได้น น ไม่ใช่ เล่ ห์ก ระั
เท่ ห์ อ น ลึ ก ซึ ง หรื อ เวทมนต์ค าถา หรื อ กําลัง ภายในทังสิ น แต่ สิ งนันก็ คื อ “มื อ สิ บ นิ ว” ทีเล่ า ปี
         ั
ประคองประนมด้วยความรู ้สึกอันซื อสัตย์สุจริ ตนี เอง เล่าปี ได้ชือว่าเป็ นผู ้ยิงใหญ่ ทีมี มารยาทงาม
ทีสุ ด อ่อนน้อมถ่อมตน จนได้ชือว่าผูพนมมือสิ บทิศ จะเรี ยกว่าเล่าปี สร้ างชี วต สร้ างอํานาจวาสนา
                                           ้                                        ิ
บารมีสํา เร็ จด้วยการพนมมือ สิ บนิ วก็ ไ ม่ ผิด ความอ่ อนน้อ มถ่อ มตนจึงถื อว่าเป็ นมนต์ข ลังอัน
                                                  ๒๓

ศักดิสิ ทธิ ของมนุษย์ทงหลาย ขงเบ้งผูหยังรู ้ ฟ้ามหาสมุทรทีต้องสยบต่อเล่าปี ก็เพราะมนต์อนนีแหละ
                             ั           ้                                                          ั
โบราณจึงถือกันว่า “ให้ อ่อนน้ อมเหมือนเล่ าปี ซื อสั ตย์เหมือนกวนอู รอบรู้เหมือนขงเบ้ ง เก่ งเหมือน
ไกรทอง คล่ องแคล่ วเหมือนอิเหนา”
            เมือศึกษาจริ ยวัตรของเล่าปี จะเห็นได้วา ท่านมีหลักมัททวะอยู่ในตัวอย่างสมบูรณ์แบบ คือ
                                                     ่
การไม่แสดงออกถึงความสามารถทีตัวเองมีอยูให้ผูอืนทราบเพือข่มผูอืน ซึ งก็ตรงกับหลักธรรมอีก
                                                    ่ ้                     ้


         ๒๒
              มัททวะ : ความถ่อมตนในความหมายทางโลก คื อความอ่อนโยนต่อบุคคลอื นในสังคม อัน เป็ น
มารยาทที บุ คคลในสั ง คมจะพึ ง ปฏิ บ ัติต่อกัน เพื อผลดี ในทางสัง คม ส่ ว นความถ่อ มตนในทางธรรมนัน มี
ความหมายกว้างขวางมาก คือหมายถึงความสามารถโอนอ่อนผ่อนตาม น้อมไป หรื อเปลียนไปในทางแห่ งความดี
ทําให้เกิดการผสมผสานกันอย่างดีในทางการงานและบุคคลแก่บุคคลทุกระดับชีวิต
         ๒๓
            พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน), เก็บเล็กผสมน้ อย (กรุ งเทพ ฯ : มหาวิท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย,๒๕๔๘), หน้ า ๖๑.
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท

Contenu connexe

Tendances

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 

Tendances (20)

แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 

Similaire à ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท

จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลbankkokku
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนาfreelance
 

Similaire à ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท (20)

จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 

Plus de pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 

Plus de pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท

  • 1. ๑ ศึกษาเปรี ยบเทียบหลักจริ ยศาสตร์ ตามทัศนะของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ ----------------------------------------------------------------------------- ความนํา จริ ยศาสตร์ หรื อจริ ยปรัชญา (Ethics or Theory of Morality) เป็ นศาสตร์ แขนงหนึงของวิชา ปรั ชญาทีว่าด้วยเรื องความประพฤติ ศึ ก ษาถึ งความดี งามของสั งคมมนุ ษ ย์ โดยพยายามจําแนก แยกแยะพฤติกรรมหรื อการกระทําของมนุษย์วาถูกหรื อผิดอย่างไร แล้วแยกสิ งทีเห็นว่าถูกและผิด ่ นันออกจากกัน เช่ น แยกความดีออกจากความเลว แยกสิ งทีควรออกจากสิ งทีไม่ค วร เป็ น ต้น จริ ย ศาสตร์ จึงเป็ นศาสตร์ ทีว่าด้วยคุณลักษณะแห่งอุปนิสยและพฤติกรรมของมนุษย์ ซึงพฤติกรรมแต่ละ ั อย่างทีมนุษย์แสดงออกมานันย่อมเป็ นกระจกเงาส่ องให้มนุ ษย์ดวยกัน เองเห็นอุ ปนิ สัยของกัน และ ้ กัน แล้วจริ ยศาสตร์ จะทํา หน้าทีเข้าไปช่ วยตีคุณค่า ของความเป็ นมนุ ษย์ในส่ วนของพฤติ กรรมที แสดงออกมาด้วยความสมัครใจของมนุษย์เอง จากนันจริ ยศาสตร์ จะช่ วยตอบปั ญหาหรื อ แสดงผล ของการกระทําหรื อพฤติกรรมของมนุษย์วา การกระทําในลักษณะใดทีถือว่ามีคุณค่าหรื อควรแก่การ ่ ยกย่องสรรเสริ ญหรื อเป็ นการกระทําทีดี รวมทังหาคําตอบเกี ยวกับอุดมคติหรื อ เป้ าหมายของชี วต ิ มนุษย์วาเป็ นอย่างไร แล้วหากฎเกณฑ์ในการตัดสิ นการกระทําของมนุษย์วา การกระทําในลักษณะ ่ ่ ใดเป็ นการกระทําทีถูกต้อง เป็ นต้น เมือกล่าวโดยสาระแล้วจะเห็นได้วา จริ ยศาสตร์เป็ นศาสตร์ ทีว่า ่ ด้วยอุดมคติอนสู งสุ ดทีมีความสัมพันธ์อยูกบชีวตมนุษย์ทีบ่งบอกถึงลัก ษณะทีดีหรื อ เลวแห่ ง ความ ั ่ั ิ ประพฤตินนว่า อะไรควรเว้น อะไรควรทํา อะไรผิด อะไรถูก อะไรดี อะไรชัว แล้วเปรี ยบเทียบ ั ความประพฤติหรื อการกระทํานันๆ กับความดีเลิศทังหลาย การศึกษาเปรี ยบเทียบหลักจริ ยศาสตร์ ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท เป็ นการศึกษา ทัศนะทางจริ ยปรัชญาเชิงเปรี ยบเทียบในส่ วนทีเห็นว่ามีความคิดเห็นสอดคล้องกัน การนําเอาทัศนะ ทังสองมาเปรี ยบเทียบกันก็เพือแสดงให้เห็นว่าปรัชญากรี กถึงแม้จะเป็ นปรัชญาสายตะวัน ตกทีเน้น การแสวงหาความจริ งด้านวัตถุ หรื อสสารเป็ นหลัก ก็ ตาม แต่ก็ มีนกปรัชญากรี กท่านหนึ งทีไม่ให้ ั ความสนใจการแสวงหาความจริ งด้านสสารเลยคือ โสคราตีส (Socrates : พ.ศ. ๗๓ - ๑๔๔) โดยเขา ให้ความเห็นว่า “การถกเถียงกันเพือให้ ร้ ู เรืองโลกธาตุว่า โลกคืออะไร มีประโยชน์ น้อย สู้ หันมาสนใจ เรืองใกล้ ตัวคือเรื องมนุษย์ ดีกว่ า เพราะเป็ นผู้ ทําให้ โลกเจริ ญหรื อเสื อม”๑ ปรั ชญาของเขาจึงหันมา สนใจเรื องเกียวกับคนเป็ นสําคัญ เช่ น คนคืออะไร จะเป็ นคนดีได้อย่างไร เกี ยรติคืออะไร คุ ณธรรม คือ อะไร เป็ นต้น เมือกล่ าวโดยภาพรวมแล้วจะเห็ นได้ว่า ปรั ช ญาของโสคราตีส จะมุ่ ง เน้น ให้  ป.ธ. ๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจําวิทยาลัยสงฆ์เลย ๑ สถิต วงศ์ส วรรค์,ปรัชญาเบืองต้ น (กรุ งเทพ ฯ : อักษรพิทยา,๒๕๔๐), หน้า ๔๕.
  • 2. ๒ ความสําคัญเกียวกับจริ ยศาสตร์ เป็ นส่ วนใหญ่ ทังนี เพื อให้มนุ ษ ย์มองเห็นคุ ณค่ าของความดี ความ งาม และความจริ ง เพราะทัง ๓ เรื องนีถือว่าเป็ นแก่ นสาระสําคัญทีสุ ดสําหรับชีวตมนุษย์ ิ ตามทัศนะนีโสคราตีสมีความเห็นสอดคล้องกับพุทธปรัชญาเถรวาททีไม่เน้นการแสวงหา ความจริ งเพือตอบปั ญหาด้านอภิปรัชญา(Metaphysics) เช่น ปั ญหาเกี ยวกับโลกทีว่า โลกเทียงหรื อ โลกไม่เทียง โลกมีทีสิ นสุ ดหรื อไม่มี เป็ นต้น ปั ญหาเหล่านีพุทธปรัชญาจะไม่ตอบ ด้วยเห็ นว่า “ไม่ เกิดประโยชน์ ไม่ เป็ นไปเพือความดับทุกข์ ไม่ เกียวข้ องกับชี วิตปัจจุ บัน”๒ แต่จะมุ่ งเน้นเฉพาะเรื อง ของชีวต สอนให้เข้าใจชีวต และการประคับประครองชีวิตให้รอดพ้นจากความทุก ข์ทรมานต่ างๆ ิ ิ และเพือให้ง่ายต่อการศึกษาเปรี ยบเทียบหลักจริ ยศาสตร์ ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท จึง ควรศึกษาจริ ยปรัชญาในแต่ละทัศนะดังนี จริ ยศาสตร์ ตามทัศนะของโสคราตีส โสคราตีส(Socrates) เป็ นนักปรัชญากรี กคนแรกทีให้ความสําคัญกับการแสวงหาความจริ ง ด้านจริ ยศาสตร์ และพยายามทีจะตอบปั ญหาด้านจริ ยศาสตร์ ตลอดการเผยแพร่ ปรัชญาของเขา ดังจะ เห็นได้จากการแสวงหาความรู้ ข องเขาไม่ได้มีจุดมุ่ งหมายเพือนําความรู้ มาเพื อประดับสติปัญญา เท่านัน แต่ตองการนําความรู ้ มาเพือเป็ นฐานรองรับความประพฤติของมนุษย์ โดยเขาเสนอว่า คนทีมี ้ ความรู ้ ทุกคนจะเป็ นคนประพฤติ ดี ในทํา นองกลับกัน คนจะประพฤติดี ได้ก็เ พราะเขามีค วามรู ้ ดังนันความรู ้ กับความประพฤติดีจึงเป็ นสิ งทีแยกกันไม่อ อก ดังทีโสคราตีส กล่าวว่า “ความรู้ คือ คุณธรรม” (knowledge is Virtue) นันคือ คนทีรู ้ ผิดชอบชัวดี ย่อมจะทําความดี เป็ นไปไม่ได้ทีคนรู ้ ว่าความดีคืออะไรแล้วยังฝื นทําความชัว ส่ วนทีคนทําความชัวก็เพราะขาดความรู้ ผิดชอบชัวดี การ ทําผิดจึงเนื องมาจากความไม่รู้หรื ออวิชชา คนทําผิดเพราะหลงคิดว่าสิ งทีตนทําเป็ นความดี เขาเห็น ผิดเป็ นชอบ ถ้าเขาได้รับการแนะนําให้รู้จกความถูกต้องแล้วเขาจะไม่ทา ผิ ดเลย เหตุนน โสคราตีส ั ํ ั ๓ จึงกล่าวว่า “ไม่ มีใครทํ าผิ ด โดยจงใจ” ทีกล่าวเช่ นนันเพราะเขาเป็ นนัก ปรัช ญาทีมีคุณธรรมและ เหตุ ผลสู ง เหนื ออารมณ์ จึงสามารถควบคุมอารมณ์ ได้ทุกสถานการณ์ และสามารถนําหลัก ความ ถูกต้องมาใช้เป็ นเกณฑ์ในการตัดสิ นความถูกผิดต่างๆ โดยไม่มีความลังเลสงสัยต่ อความจริ งทีตน กระทํา ดังจะเห็นได้จากเขากล้าเผชิญกับความจริ งถึงขนาดยอมดืมยาพิษตามคําสังประหารชีวตของ ิ คณะผูพิพากษากรุ งเอเธนส์ โดยเขายอมตายเพือสังเวยต่อความจริ ง แต่ไม่ยอมทรยศต่อความจริ งที ้ ตนเห็นว่าถูกต้องและชอบธรรมตามหลักจริ ยธรรม ๒ สนิ ท ศรี สาแดง,พุทธปรัชญา (กรุ งเทพ ฯ : นิ ลนาราการพิมพ์,๒๕๓๗), หน้า ๔๓. ํ ๓ พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิ ตฺโต),ปรัชญากรีก บ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ : ศยาม, ๒๕๕๐), หน้า ๑๔๓.
  • 3. ๓ แนวปฏิบัติตามหลักจริยศาสตร์ ของโสคราตีส โสคราตีสได้ชือว่าเป็ นนักปรัชญาทีพยายามแสวงหาความรู ้ อยู่ตลอดเวลา เพราะเขาเป็ นนัก ปรัชญาทีไม่เคยอิมในรสแห่งการแสวงหาความรู ้ ถึงแม้วาจะมีคนประกาศยกย่องเขาว่าเป็ นคนฉลาด ่ ทีสุ ดในกรุ งเอเธนส์ ก็ตาม แต่เขามักจะพูดในเชิงถ่อมตัวว่า “หนึงเดียวทีข้ าพเจ้ ารู้ คือรู้ว่าข้าพเจ้ าไม่ รู้ อะไร”๔ เมือเขาคิดว่าเขายังไม่รู้ในเรื องใดเขาจึงพยายามศึกษาหาความรู ้ในเรื องนันๆ อยู่ตลอดเวลา แต่ความรู ้ ทีเขาแสวงหานันไม่ใช่ความรู ้วทยาการสาขาต่างๆ ตามทีคนนิยมแสวงหากันในยุคนัน แต่ ิ เป็ นความรู ้ดานคุณธรรม ซึ งคุณธรรมตามความหมายของโสคราตีสในทีนีก็คือ “ความสามารถตาม ้ ธรรมชาติ”๕ และความสามารถตามธรรมชาตินีเองเป็ นคุณธรรม ทังยังเป็ นแนวทางปฏิบติตามหลัก ั จริ ยศาสตร์ ของโสคราตีส อย่างเช่น คุณธรรมของทหารอยู่ทีมีความสามารถในการปองกันประเทศ ้ คุณธรรมของครู อยู่ทีมีความสามารถในการสอนวิ ช า และคุณ ธรรมของความเป็ นมนุษ ย์ อยู่ทีมี ความสามารถทําให้ พฤติกรรมหรื อจิตใจแตกต่ างจากสั ตว์ เดรัจฉานทัวไป เป็ นต้ น การทีคนจะแสวงหาความสุ ขตามหลักจริ ยศาสตร์ ได้นน จะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงการสร้ าง ั ความสามารถตามธรรมชาติในตัวตนเสี ยก่อน ธรรมชาติดงกล่าวนีจะเกิ ดจากการเรี ยนรู้ เ ท่านัน ใน ั ทีนีโสคราตีสหมายถึงการเรี ยนรู้ เพือ “รู้ ตัวเอง(Know thyself)”๖ ซึ งเป็ นสิ งทีมนุ ษย์ตองการรู ้ อ ย่าง ้ แท้จริ งในฐานะทีเป็ นมนุษย์ และเมือมนุษย์รู้จกตัวเองดีพอแล้วก็จะเข้าใจธรรมชาติความเป็ นมนุษย์ ั ได้มากทีสุ ด ผูแสวงหาความสุ ขจึงจําเป็ นต้องศึกษาเพือให้รู้จกตัวเองก่อนจึงจะรู ้ วาความสุ ขนันอยูที ้ ั ่ ่ ใด และมีวธีการแสวงหาอย่างไร โสคราตีสกล่าวว่า “ความสุ ขทีบุคคลได้รับนั นส่ วนใหญ่ เป็ นเพียง ิ มายา คือ ความไม่ จ ริ ง เป็ นความผิ วเผิ น เราจะเข้ าถึงความจริ งได้ จ ะต้ อ งมี แนวทาง และสิ งนั น จะต้ องมีเพียงหนึงเดียวคือเกิดจากจิตใจของเรา จะเข้ าถึงได้ ต้องศึกษาให้ เ ข้ าใจและปฏิบัติใ ห้ ลึกซึ ง ด้ วยสมองโดยทําจิตให้ เป็ นสมาธิแน่ วแน่ เพือกําจัดกิเลสให้ น้อยลง โดยเริ มการปฏิบัติด้วยการวางใจ เป็ นอุเบกขา (เป็ นกลาง) ปล่ อยวางไม่ ยึดมันในสิ งใด ในทีสุ ดจะเข้าถึงแก่ นแท้ ของความจริ งอั นเป็ น ปรมัตถ์ ”๗ โสคราตีสได้วางแนวทางการปฏิบติตามหลักจริ ยศาสตร์ หรื อ หลักคุ ณธรรมเพือให้มนุ ษย์ ั เข้าถึงความสุ ขไว้ ๕ ประการคือ๘ ๑. ความรอบรู้ (Wisdom) ๔ เรืองเดียวกัน, หน้า ๑๓๒. ๕ สถิต วงศ์ส วรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๗. ๖ สุจิตรา อ่อนค้อม, ปรัชญาเบืองต้ น ( กรุ งเทพฯ : อักษราพิพฒน์,๒๕๔๕), หน้า ๘๙. ั ๗ สถิต วงศ์สวรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๘. ๘ สุจิตรา อ่อนค้อม, อ้ างแล้ ว, หน้า ๘๙.
  • 4. ๒. ความกล้ าหาญ (Courage) ๓. ความรู้ จักประมาณ (Moderation) ๔. ความยุติธรรม (Justice) ๕. ความกตัญ ู (Piety) คุณธรรมทัง ๕ ประการนี เป็ นหลัก ปฏิ บติเ พือให้มนุ ษ ย์เข้าถึ งความดี งามแห่ งชี วิตอย่า ง ั แท้จริ ง และเป็ นความรู้ เชิงคุณธรรมทีจําเป็ นต้องมีในจิตใจของมนุษย์ทุกคน โสคราตีสชื อว่ามนุ ษย์ ทุกคนต้อ งการทําความดีตามหลัก คุณธรรมดังกล่ า ว แต่เหตุผลทีทําให้เขาทําความชัวในบางครั ง เพราะเขาไม่รู้วาความดีซึงเป็ นความรู้ ทีแท้จริ งนันคือ อะไร เพือความเข้า ใจในหลัก ของคุ ณธรรม ่ เหล่านี จึงควรศึกษารายละเอียดในแต่ละข้อเป็ นลําดับไป ความรอบรู้ คําว่า “ความรอบรู้ ” หมายถึง กระบวนการแห่งความรู ้ทีเกิดจากการแสวงหาด้วยวิธีก ารคิด ทีลึก กว้าง ทะลุ และรอบคอบ๙ เพราะการคิดทําให้ผูคิดเป็ นคนรอบรู ้ ฉลาด ทันคน ทันโลก และทัน ้ เหตุการณ์ ความรอบรู้ ดงกล่าวนีโสคราตีสเรี ยกว่า “วิชาธรรม”๑๐ หรื อ “ความรู ้ ดานคุ ณธรรม” คือ ั ้ รอบรู้ เกียวกับการดํารงชีวตทีประเสริ ฐ ชีวตทีประเสริ ฐตามทัศนะของโสคราตีสคือชีวตทีใช้ปัญญา ิ ิ ิ แสวงหาสัจธรรมและคุณธรรมเป็ นหลัก ดังจะเห็นได้จากชีวิตส่ วนตัวของเขาดําเนิ นไปอย่างเรี ยบ ง่าย ไม่สนใจต่อทรัพย์สมบัติหรื อชื อเสี ยงเกี ยรติยศ เพราะสิ งเหล่านี มีแต่จะฉุ ดให้วิญญาณเกลือก กลัวอยู่ก ับกิ เ ลสตัณหา มนุ ษ ย์จึง ควรหลี ก เลี ยงความสุ ข ทางกาย และหันมาปฏิ บติกิจกรรมทาง ั วิญญาณ คือการใช้ปัญญาไตร่ ตรองหาสิ งอันเป็ นสัจธรรมจนสามารถนําหลักสัจธรรมหรื อคุณธรรม นันมาประยุกต์ใช้ตามปรี ชาญาณ โดยการนํามาปฏิบติได้อย่างแนบเนียนเหมาะสมกับสิ งแวดล้อ ม ั ทังนีเพือจะได้ยึดเป็ นหลักในการดํารงชีวตในสังคมต่อไป ิ วิธีการคิดในการแสวงหาความรอบรู ้ดานคุณธรรมตามทัศนะของโสคราตีสสามารถศึก ษา ้ เปรี ยบเทียบได้จากตัวอย่างเนือหาข้างล่างนี โดยสังเขป นายสงบเป็ นครู มีฐานะปานกลาง ไม่รํารวยถึงกับมีรถเก๋ งส่ วนตัวไว้ใช้ เขาต้องโหนรถเมล์ ไปทํางานทุกวัน แม้วาค่อนข้างจะลําบากแต่เขาก็ไม่รู้สึกเดือดร้อน ความจริ งเขาอยู่ในฐานะทีพอจะ ่ ผ่อนซื อรถเก่าๆ ได้สักคันแต่เขาก็ไม่เคยคิดจะทําเช่นนัน เงิน ส่ วนใหญ่ของเขาหมดไปกับหนังสื อ เขาอ่านทุกอย่างทังเกี ยวข้องและไม่เกียวกับวิชาทีเขาสอน เขารู ้สึกว่าเมื อได้หนังสื อ เล่มใหม่มาเขา ๙ สนิ ท ศรี สําแดง, ความรู้เบืองต้นเกียวกับปรัชญาและศาสนา (กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยสยาม,๒๕๓๔), หน้า ๒๒. ๑๐ สถิต วงศ์สวรรค์, อ้างแล้ ว, หน้า ๑๕๑.
  • 5. ๕ ได้ไปอยู่อีกโลกหนึงตามลําพัง เขาไม่ค่อยออกไปเทียวเตร่ และซื อเสื อผ้าสวยๆ มาใส่ เขาคิดว่าค่ า ของคนอยู่ทีจิตใจมิใช่อยู่ทีวัตถุนอกกาย ครู สงบเห็นว่าคนสมัยนีไม่ค่อยได้อ บรมและขัดเกลาจิตใจของตนเอง มักปล่อยตัวให้ลุ่ม หลงกับสิ งเย้ายวนต่างๆ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ไม่เห็ นจะช่ วยให้มนุ ษย์มีค วามสุ ข ความ พอใจมากขึนกว่าก่อนเลย วิทยาศาสตร์ ทาให้ค นสะดวกสบายขึนก็ จริ งแต่ก็มิได้ให้สาระของชี วิต ํ มันทําให้คนเกิ ดความระสําระสายทางใจไม่มีอะไรเป็ นหลักให้ยึดถือ เขารู ้ สึก ว่าคนเราเดียวนี อยาก ทําอะไรก็ทาไม่คานึงถึงคุณธรรมไม่คานึงถึงศาสนา ตัวอย่างเช่ น มีบางคนเห็นว่าควรปล่ อยให้ค น ํ ํ ํ ทําแท้งได้โดยเสรี เพราะเหตุวาถ้าไม่อนุญาตให้แพทย์ทาแท้งให้แก่ผมาร้ องขอแล้ว หญิงเหล่านีก็จะ ่ ํ ู้ ไปหาหมอเถื อน ซึ งก่ อให้เ กิ ด อันตรายได้ม าก เรื องนี ครู ส งบอนาถใจมากทีจะให้ก ารฆ่าทารก บริ สุทธิ เป็ นสิ งทีถูกกฎหมาย คนเดียวนีไม่ยดหลักอะไรเลย จะเอาแต่สนุกท่าเดียว ึ แม้ครู สงบจะไม่รํารวยเหมือนเพือนบางคนเขาก็ ไม่ รู้สึกอะไร มีหลายครั งทีโอกาสได้เปิ ด ให้ค รู สงบได้เ งิ น ก้อ นใหญ่ โดยที ต้อ งทําการทุจริ ต แต่เ ขาไม่เ คยคิ ดทีจะทํา เลย เขาคิ ดว่าเงิ น กับ คุณธรรมมักจะเดินสวนทางกัน การเป็ นคนดีไม่จาเป็ นต้องเป็ นคนมังมีและมีความสุ ขสบายเสมอไป ํ สําหรับเขาความดีเป็ นหลักประจําใจมิใช่ความสุ ข๑๑ ทีเกิดจากการแสวงหาทางวัตถุเ พือสนองความ ต้องการตน วิธีการคิดข้างต้นเป็ นวิธีการคิดเชิงจริ ยปรัชญาตามแนวทางของโสคราตีสทีเน้นความรอบรู ้ ด้า นคุ ณธรรมเป็ นหลัก การทีคนจะมีคุ ณ ธรรมได้ ความสํ า คัญอยู่ ทีการรู ้ จก ตัวเองและสามารถ ั ควบคุมตัวเองได้ มนุษย์ถารู้จกตัวเองดีพอและสามารถควบคุ มตัวเองได้ ถือว่าเป็ นผูมีค วามรอบรู ้ ้ ั ้ ด้านคุณธรรมอย่างแท้จริ ง และจะเป็ นเหตุนามาซึ งความสุ ขหรื อสิ งดีงามอื นๆ แก่ ผู้รอบรู ้ โดยตรง ํ เพราะคุณธรรมไม่เพียงแต่เป็ นความดีในตัวเองเท่านัน แต่ยงสามารถนําผลประโยชน์ต่างๆ มาให้ผู ้ ั ปฏิบติคุณธรรมด้วย ดังทีโสคราตีสเชือว่า “เงินไม่ สามารถซือคุณธรรมได้ คุณธรรมต่ างหากจะเป็ น ั ทีไหลมาซึ งเงินตราและอืนๆ”๑๒ ความกล้ าหาญ คําว่า “ความกล้ าหาญ” หมายถึง สิ งทีอยู่ตรงกลางระหว่างความบ้าบินกับความขลาดกลัว ซึ งเป็ นความกล้าทีต่อสู ้กบความกลัว เป็ นการเอาชนะความกลัว แต่ไม่ใช่ ไม่รู้สึกกลัว ความกล้าหาญ ั เป็ นคุณธรรมของผูมีความพยายามเอาชนะความกลัว เป็ นการยืนหยัดในสิ งทีถูกต้องชอบธรรมและ ้ เป็ นหน้าทีทีตนต้องทําและรับผิดชอบ ไม่ยอมให้ความกลัวมาขัดขวางความมุ่งมันของตน มีจิตใจ ๑๑ วิทย์ วิศทเวทย์, ปรัชญาทัวไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวต (กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์ ิ ,๒๕๔๓), หน้า ๑. ๑๒ สถิต วงศ์สวรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๘.
  • 6. ๖ ห้าวหาญ ตังมัน แม้ในภาวะวิกฤตก็ไม่ยอมสยบต่อแรงกดดันใดๆ ทีตนเห็นว่าไม่ถูก ต้องและชอบ ธรรม ดังที Mark Twain นักเขียนชาวอเมริ ก ันกล่าวว่า “การเป็ นคนกล้ าหาญไม่ ได้ หมายความว่ า เป็ นคนไม่ กลัว แต่ หมายถึงการกระทําในสิ งทีจําเป็ นต้ องทํา แม้ ว่าจะรู้ สึกกลัวก็ตาม”๑๓ โสคราตีสเป็ นนักปรัชญาทีมีความองอาจกล้าหาญยิง โดยเฉพาะกล้าทีจะยืน หยัดต่อสู้ ก บ ั ความจริ ง ดังจะเห็นได้จากการเสนอหลักปรัชญาของเขาจะเน้นหนักในเรื องจริ ยธรรมโดยกระตุ ้น ให้คนในสังคมเป็ นคนประพฤติดี ในทีสุ ดจึงไปขัดกับทัศนะของคนส่ วนมาก ซึ งได้รับอิ ทธิ พลจาก กลุ่มโซฟิ สต์ ผลประโยชน์จงขัดกันกับกลุ่มผูมีอานาจและอิทธิ พลในกรุ งเอเธนส์ จึงถูกฟ้ องศาลใน ึ ้ ํ ข้อหายุยงส่ งเสริ มให้คนหนุ่มหัวรุ นแรงคิดนอกรี ตจากขนบประเพณีดงเดิม จึงถูกตัดสิ นให้ประหาร ั ชีวตด้วยการบังคับให้ดืมยาพิษในฐานะบ่อนทําลายความมันคง ไม่ประสงค์ดีต่อสังคมเอเธนส์ และ ิ บ่อนทําลายจิตใจเยาวชน โสคราตีส มีความกล้าหาญพอที จะประกาศว่าสิ งทีตนทําอยู่นนเป็ นสิ งที ั ถูกต้องและเป็ นประโยชน์ต่อสังคมเอเธนส์ เขาเชื อว่า “ความจริ งย่อมไม่ หนี หาย ยอมตายดีกว่ า ทรยศต่ อความจริ ง”๑๔ จึงยอมรับโทษอย่างวีรบุ รุษ ไม่สะทกสะท้านใดๆ พฤติ ก รรมอย่างนี เป็ น แบบอย่างหรื อเป็ นสัญลักษณ์แห่งความกล้าหาญอย่างแท้จริ ง ความกล้าหาญเป็ นสิ งสําคัญสําหรับนักบริ หารมาก กล้าในสิ งทีควรกล้า กล้าทําในสิ งทีควร ทํา คือกล้าอย่างมีเหตุผล และมีการตัดสิ นใจทีเด็ดเดียวทีจะกระทําในสิ งทีเป็ นประโยชน์ ต่อ องค์กร และส่ วนรวม ตัดเรื องผลประโยชน์ส่วนตัวออกไป ความกล้าในลักษณะนีจะช่วยให้สามารถเอาตัว รอดได้ดีและเป็ นประโยชน์ทงต่อตนและสังคม ั ความกล้า หาญนันเป็ นสิ งทีดี แต่ต้อ งเป็ นความกล้า ในสิ งทีถู กทีควรเท่านัน ต้องมี ความ จริ งจัง จริ งใจ และไม่โลเล กล้าทีจะเผชิ ญหน้ากับปั ญหาทุ กรู ปแบบอย่างคนทีมีความเตรี ยมพร้ อ ม อยู่ตลอดเวลา ข้อนีถือว่าเป็ นวิสัยทีสําคัญของผูทีมีความกล้าหาญ เมือเจอปั ญหาใหญ่ก็ไม่ หวันไหว ้ ไปกับปั ญหานัน ถ้ามัวแต่กลัว ไม่กล้าเผชิญหน้ากับปั ญหา หรื อมัวแต่คิดพึงคนอืนอยู่ตลอดเวลา ก็ ไม่มีทางจะเอาตัวรอดได้ เพราะถึ งแม้จะมีค นคอยช่ วยเหลื ออยู่ต ลอดเวลา แต่ ก็มีสั ก ครั งทีต้อ ง เผชิญหน้ากับปั ญหาคนเดียว แล้วเมือถึงเวลานันใครจะช่ วย และจะเอาชนะปั ญหาต่างๆ ได้อ ย่างไร ถ้าไม่มีการเรี ยนรู ้ ทีจะเพิมความกล้าหาญให้กบตัวเองแล้ว ก็ไม่มีทางทีจะฝ่ าฟั นปั ญหาและอุปสรรค ั ต่างๆ ได้ ความรู้ จักประมาณ คําว่า “ความรู้ จักประมาณ” หมายถึง การรู ้ จกเลือ กเดินทางสายกลาง ซึ งเป็ นการเลือกเอา ั ส่ วนดีจากทังสองด้าน แล้วละทิงส่ วนทีไม่ดีทีเลยเถิดเกินไปของทังสองด้านนันเสี ย หมายความว่า ๑๓ http://www.wattana.ac.th/sadsanakit/annouce/courage.htm ๑๔ สถิต วงศ์ส วรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๙.
  • 7. ๗ ธรรมชาติของสรรพสิ งมันมีทงเคร่ งเกินไป พอดี(สายกลาง) และหย่อนเกินเหตุ ถ้าจะเลือกแบบเคร่ ง ั สุ ดมันก็ตึงเกินไปอาจทําให้ให้ชีวตขาดสะบันได้ หรื อจะเอาแบบหย่อนยานมันก็หลวมเกิ นไป ทัง ิ สองด้านนีจะทําให้ชีวตล้มเหลวตกหลุมตกบ่อไม่ราบรื นและเสี ยหลักในการดํารงชีวตในทีสุ ด ถ้าจะ ิ ิ ให้ดีทีสุ ดก็จงเลือกอย◌ู ◌่ตรงกลางระหว่างความสุ ดโต่งทังสองด้านนัน คือความพอดีนนเอง ั โสคราตีสถึงแม้จะเป็ นนักปรัชญาทีมีชือเสี ยงและมีความรู ้ ดีในวิทยาการแขนงต่างๆ แต่เขา ก็ดารงชีวตอยูอย่างพอเพียงตามทางสายกลาง มีความเรี ยบง่าย ไม่สนใจการแต่งตัว ไม่สนใจใยดี ใน ํ ิ ่ ลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุ ขแบบชาวโลก อุทิศ ตนเพืออบรมสังสอนประชาชนให้เป็ นคนมีปัญญาและ คุณธรรม การสอนวิทยาการต่างๆ ไม่มีการเรี ยกร้ องเก็บค่าตอบแทนเลย เพราะเขาเป็ นนักปรัชญาที มีคุณธรรมสู งส่ ง มีความพอใจในความเป็ นนักปรัชญา จึงเป็ นทีรักของประชาชน คนทุกอาชี พชอบ สนทนากับเขา แวดล้อมเขาเหมือนโสคราตีสเป็ นแม่เหล็ก ไม่ว่าเขาจะไปทีใดก็จะมีแต่คนเข้า มาหา เพือตักตวงเอาความรู ้ และคนเหล่านันได้กลายเป็ นศิ ษย์ของเขาในทีสุ ด เช่น พลาโต(Plato) เป็ นต้น มีคาของ อีหมิง ทีกล่าวไว้วา “สํ าหรั บผู้ทีรู้จักพอ แม้ จะยากจนข้ นแค้ นก็ยังมีความสุ ข ผู้ที ํ ่ ไม่ รู้ จักพอแม้ว่าจะรํ ารวยมียศถาบรรดาศักดิก็ยังมีความทุกข์ หากต้ องการมีความสุ ข จะต้ องมีความ พึงพอใจในสิ งทีตนเห็ นและมีอยู่ สามารถชืนชมกับ สิ งเล็กๆ น้ อยๆ ในชี วิตประจําวั นได้ โดยไม่ คิด น้ อยใจหรือคิดว่ าตนเองตําต้ อยด้ อยค่ า”๑๕ ผูทีจะมีความสุ ขได้นน คื อผู ้ทีพอใจในสิ งทีตนเองมี ขอ ้ ั เพียงแต่มีความพยายามในการทําให้ประสบความสําเร็ จก็เพียงพอ ไม่เป็ นทุก ข์เป็ น ร้ อนกับสิ งทีไม่ สามารถจะหามาได้ และทําหน้าทีของตนให้ดีสุดไม่หวังผลเลอเลิศจนเกินความสามารถของตนเอง รู ้ จกกําหนดขอบเขตของความปรารถนา สิ งใดทีควรได้ค วรมี ก็ จงพยายามทําให้สําเร็ จ สิ งใดเกิ น ั กําลังก็จงยอมรับว่า แม้ยงไม่สามารถไขว่คว้ามาได้ก็จะหาหนทางในคราวต่อไป เมื อโอกาสมาถึงก็ ั พร้ อมทีจะตังใจกระทําในสิ งนันๆ ให้ดีทีสุ ดตามความรู ้ความสามารถของตน ความยุติธรรม คํา ว่า “ความยุ ติธรรม” หมายถึ ง ความเที ยงธรรม ความชอบธรรม ความชอบด้วย เหตุผล และสามารถแยกแยะได้วาอะไรคือผิด ชอบ ชัว ดี สําเร็ จมาจากคํา ๒ คํา คือ ยุติ และ ธรรม ่ ตีความหมายตามตัวอักษรได้วา “เป็ นธรรมอันนําไปสู่ ความยุติคือจบลงทีเรืองราว” กล่าวคือผูรักษา ่ ้ ความยุติธรรมนันต้อ งเป็ นผูสามารถชี แจงเหตุผ ลให้แก่ คู่กรณี จนเรื องราวนันๆ ยุติล งได้โดยไม่มี ้ ความรู้ สึกแคลงใจใดๆ ความยุติธรรมจึงเป็ นสิ งทีช่วยให้คนเรารู ้ จกเสี ยสละเพือสังคมและความสงบ ั สุ ขของส่ วนรวม ทังช่วยให้สังคมธํารงอยู่ได้ โดยการให้ตามสิ ทธิ ของแต่ละคนอันจะพึงมีพึงได้ตาม ความชอบธรรม ๑๕ http://www.carefor.org/content/view/1543/153
  • 8. โสคราตีสได้ชือว่าเป็ นนักปรัชญาทีมีความยุติธรรมสู งส่ งท่านหนึ ง ดังจะเห็นได้จากเขากล้า ทีจะคัดค้านคําสอนของกลุ่ มโซฟิ สต์ (Sophists) ซึ งเป็ นกลุ่มทีมีอิทธิ พลมากในสังคมกรี ก ยุค นัน เพราะเขาเห็นว่าคําสอนของลัทธิ โซฟิ สต์เป็ นสิ งทีไม่มีความยุติธรรมและเป็ นภัยต่อสังคม ขืนปล่อย ไว้ให้แพร่ หลายอยูเ่ ช่นนี คนจะไม่มีทียึด เหนี ยว ในเมือไม่ มีมาตรการความดี ทีแน่ นอนตายตัวเสี ย แล้ว ใครอยากจะทําอะไรก็ทาตามใจตัวเอง โดยอ้างว่าตนเห็น ชอบอย่างนัน เมือเป็ นเช่ นนี คนทีมี ํ อํานาจก็จะถือโอกาสกดขีคนอืนให้อยู่ภายใต้อานาจได้ตามสบาย คนฉลาดก็จะเอาเปรี ยบคนโง่และ ํ จะเกิ ดการสร้างอิทธิ พล ทุกคนแข่งขันกันกุมอํานาจอย่างปราศจากความรับผิดชอบ โสคราตีสเห็น ว่าเสรี ภาพอย่างเลยเถิด เป็ นจุดบอดของประชาธิ ปไตย เพราะจะเปิ ดโอกาสให้คนเอารัดเอาเปรี ยบ กันอย่างเสรี คนฉลาดจะฉกฉวยโอกาสใช้ช่องโหว่ของกฎหมายเอาเปรี ยบคนโง่ได้ คนทีมีตาแหน่ง ํ หน้าทีจะใช่ เล่ ห์เ หลี ยมหลอกลวงเพื อเอาเปรี ยบประชาชนได้อ ย่า งเสรี ในทีสุ ดความหายนะจะ ตามมา เพราะจะแข่งขัน และเอาเปรี ยบกันจนลืมนึกถึงความปลอดภัยของสังคม ดังคําทีโสคราตีส กล่ าวไว้ว่า “สั งคมจะอยู่ได้ ต้องมี ความยุติธ รรม ความยุติธรรมจะมีได้ ต้อ งมี มาตรการเดี ยวกั น สํ าหรับตัดสิ นความจริงและความดี มาตรการสากลจะต้ องมีพืนฐานอยู่บนความจริ ง คนจะคิด ได้ ตรงกันต้ องปราศจากกิเลสต้ องฝึ กสมาธิให้ กิเลสเบาบางลง”๑๖ ความยุติธ รรมตามทัศนะของโสคราตีสถือว่าเป็ นรากฐานของคุ ณธรรมทีดีงามในสังคม มนุษย์ ไม่มีความยุติธรรมใดเกิดขึนได้บนพืนฐานความมี อคติธรรม ไม่มีความสํ า เร็ จทีแท้จริ งหาก ปราศจากซึ งคุ ณธรรมแห่ ง ความยุติ ธ รรม ดังนัน เมื อไรก็ ตามทีความคิ ดภายในใจของคนเรามี ความหวังร้ายต่อคนอืนแล้ว ก็ไม่สามารถจะตัดสิ นให้ผูหนึงผูใดให้ได้รับความชอบธรรมตามความ ้ ้ เป็ นจริ งได้ แต่ควรมองย้อนกลับมาคิดอย่างมีเหตุผลด้วยความตระหนักว่า ความยุติธรรมนันเป็ นสิ ง ทีสามารถทําให้คนเราสามารถปฏิบติหน้าทีทุกอย่างเป็ นประโยชน์ทงแก่ส่วนรวมและต่อตนเองได้ ั ั สู งสุ ด การสร้ างนิสัยแห่งความยุติธรรมให้เกิดขึนในจิตใจของคนเราตามหลักการสร้ างความคิดที มีเหตุผลจะนําพาชีวิตก้าวไปสู่ เป้ าหมายแห่งความสําเร็ จทีสมบู รณ์ได้ คุณลักษณะชี วิตทีวางอยู่บน รากฐานของความยุติธรรม เป็ นสิ งทีแสดงออกถึงความกล้าหาญ คือกล้าทีจะยืนหยัดอยู่บนฐานของ ความจริ ง กล่าวคือ การปฏิ เสธอารมณ์ ความรู ้ สึก ความพอใจส่ วนตัวหากสิ งนันตรงข้ามกับความ จริ ง โสคราตีสมีคุณธรรมเหล่านีอย่างสมบูรณ์แบบ จึงกล้าทีจะยืนหยัดอยู่บนฐานแห่งความยุติธรรม พร้ อมทังนําคุณธรรมข้อนีมาเป็ นเครื องมือในการต่อสู ้กบความไม่เป็ นธรรมทีเห็นว่าเป็ นอันตรายต่อ ั สังคมจนกระทังยอมพลีชีพอย่างวีรบุรุษ ไม่สะทกสะท้านใดๆ พฤติกรรมอย่างนี เป็ น แบบอย่างทีดี ควรเป็ นทียึดถือสําหรับอนุชนรุ่ นหลัง ๑๖ สถิต วงศ์ส วรรค์, อ้ างแล้ ว, หน้า ๔๔.
  • 9. ความกตัญ ู คําว่า “ความกตัญ ู” หมายถึง ความรู ้ คุณ กล่ าวคือความเป็ นผู้มีใจกระจ่าง มีสติ มีปัญญา บริ บูรณ์ รู ้อุปการคุณทีผูอืนกระทําแล้วแก่ตน ผูใดก็ตามทีทําคุณแก่ ตนแล้ว ไม่วาจะมากก็ตาม น้อย ้ ้ ่ ก็ตาม เช่น เลียงดูสังสอน ให้ทีพัก ให้งานทํา เป็ นต้น ย่อมระลึกถึงด้วยความซาบซึ งอยู่เสมอ ไม่ลืม อุปการคุณนันเลย อีกนัยหนึง ความกตัญ ู หมายถึง ความรู้ บุญ หรื อ รู ้ อุปการะของบุญทีตนทําไว้ แล้ว รู ้ วาทีตนเองพ้นจากภัยอันตรายทังหลายได้ดีมีสุข อยู่ในปั จจุบนก็เพราะบุญทังหลายทีเคยทําไว้ ่ ั ในอดีตส่ งผลให้ จึงไม่ลืมอุปการะของบุญนันเลย และสร้ างสมบุญใหม่ให้ยิงๆ ขึนไป รวมความ กตัญ ูจงหมายถึง การรู ้จกบุญคุณ อะไรก็ตามทีเป็ นบุญ หรื อมีคุณต่อตน แล้วก็ตามระลึกนึกถึงด้วย ึ ั ความซาบซึ งไม่ลื มเลย คนมี ค วามกตัญ ูถึ งแม้จะนัยน์ ตาบอดมืดทังสองข้า ง แต่ ใจของเขาใส กระจ่างยิงกว่าดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ รวมกันเสี ยอีก โสคราตีสนับว่าเป็ นนักปรัชญาทีมีความกตัญ ูเป็ นเลิศโดยเฉพาะต่อชาติ ดังจะเห็นได้จาก ภาพลักษณ์ทีเขาแสดงออกถึงความรั กชาติ ห่ วงใยชาติ เกลงว่าชาติจะถูก กลืนหรื อถูก ทําลายด้วย หลักคําสอนของลัทธิ โซฟิ สต์ เขาใช้หลักปรัชญาในการชี แจงและหัก ล้า งคําสอนของกลุ่มโซฟิ สต์ เพือให้สั งคมโดยเฉพาะวัย หนุ่ มสาวได้เ ข้า ใจและเข้า ถึ ง หลักความรู ้ คู่ คุณ ธรรม การปฏิ บติก ารั ดังกล่าวนับว่าเป็ นอันตรายยิง เพราะไปขัดกับกลุ่มผลประโยชน์เดิ มซึ งมีอิ ทธิ พลทางด้านการเมือง เขาจึงโดนกลันแกล้งจนกระทังถึงแก่ชีวิต การประหารชีวตโสคราตีสถือว่าเป็ นตราบาปอันหนึ งใน ิ หน้าประวัติศาสตร์ ของประชาธิ ปไตยกรี กทีใช้ระบบเผด็จการโดยเสี ยงข้างมากมาเป็ นเครื องมือใน การประหารชีวตโสคราตีส และการตายของโสคราตีสในครังนันเป็ นการแสดงออกถึงความกตัญ ู ิ ทีมีต่อความรักชาติอย่างเปี ยมล้น อาจกล่าวได้วาเป็ นการยอมตายเพือชาติโดยแท้ ่ คัมภีร์กตัญ ูของจีนกล่าวไว้วา “ความกตัญ ูเป็ นรากฐานของคุณธรรมทังปวง”๑๗ นันคือ ่ คนทีจะมีคุณธรรมได้นน ก่อนอืนจิตใจของเขาจะต้อ งเปี ยมไปด้วยคุ ณธรรม คือ เป็ นคนดี ซื อสัตย์ ั สุ จิต สง่าผ่าเผย การทีคนเราจะมี ความคิดใฝ่ ดี ตังใจทําความดีสร้ างสมคุณธรรมให้เกิ ด ขึนในตัว เป็ นสิ งทีเกิดขึนได้ยาก แต่ทียากยิงกว่านันก็คือ ทําอย่างไรจึงจะรั กษาความตังใจทีดี นนไว้ โดยไม่ ั ท้อถอยไม่เลิ กกลางคัน เพราะในการทําความดีย่อมมีอุปสรรค มี ปัญหาขัดขวางมากมาย ไหนจะ ปั ญหาภายนอกจากคนรอบข้าง จากสิ งแวดล้อม ไหนจะปั ญหาภายในจากกิ เลสรุ มล้อ มประดังกัน เข้า มา เราจะเอาตัวรอด ยืนหยัดสู ้ ปัญหาทังหลายทีเข้ามาผจญได้โดยไม่ ทอถอย ก็ต้องมีสิงทียึด ้ เหนี ยวใจไว้ นันคือความกตัญ ู พืนฐานในการคิดเรื องความกตัญ ูสามารถยกตัวอย่างวิธีการคิดได้ดงนี : เวลาเด็กไปเรี ย น ั หนังสื อบางครังแม้จะยากแสนยากถึงกับคิดท้อถอยจะเลิกเสี ยกลางคัน เพือนฝูงบางคนชวนไปเทียว เตร่ เฮฮา ดูน่าสนุกกว่ามาก แต่เมือนึกถึงคุณพ่อคุณแม่ คิดว่าท่านอุตส่ าห์ทะนุถนอมเลียงดูเ รามาจน ๑๗ http//pyramidtennis.com/variousnews/variousnews-detail.php? variousnews_id=1&lang=th
  • 10. ๑๐ เติบใหญ่ ลําบากลําบนในการทํามาหากิ น เพือส่ งเสี ยให้เราได้เล่าเรี ยน ท่านฝากความหวังไว้ก บตัว ั เรา อยากเห็นตัวเราได้ดีมีความเจริ ญก้าวหน้าในชีวต พอคิดได้เท่านี ความกตัญ ูก็จะเกิ ดขึน มีแรง ิ สู ้ มีกาลังใจ แม้จะยากแสนยาก แม้จะเหนือยแสนเหนือย ก็กดฟั นสู ้มุมานะ ตังใจเรี ยนให้ดีให้ได้ ไม่ ํ ั ยอมประพฤติตวไปในทางเสื อมเสี ยแก่ วงศ์ตระกูล ความกตัญ ูจึงเป็ นคุณธรรมทีสําคัญยิงทีจะ ั ประคองใจของเราให้ดารงคงมันอยู่ในคุณธรรมอันยิงๆ ขึนไป ํ จริ ยศาสตร์ ตามทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท หลักจริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาทมีฐานความคิดคล้ายกับโสคราตีสตรงที สอนให้ค น ประพฤติดี เน้นความรู ้ คู่ คุณ ธรรม หรื อ วิชชาจรณะสัมปั น โน แต่ คา ว่า “วิชชา” หรื อ “ความรู้ ” ํ ในทางพุทธปรัชญานัน หมายถึงความรู ้ แจ้ง ซึ งเป็ นความรู ้ทีเกิดจากญาณ หรื อความรู้ดีรู้ชว มิใช่เป็ น ั ความรู้ ชนิดศิลปวิทยาการต่างๆ เพราะความรู ้ เหล่านัน เป็ นเพียงความรู ้ดานศิลปะเท่ านัน๑๘ ส่ วนคํา ้ ว่า “จรณะ” หรื อ “จริ ยศาสตร์ ” หมายถึงการปฏิบติอนเป็ นแนวทางบรรลุวชชาหรื อวิธีการปฏิ บติที ั ั ิ ั จะเข้าถึงความสมบูรณ์ในระดับภูมิชนของคุณธรรมในระดับต่างๆ มีความสํารวมในอินทรี ย์ คื อ ตา ั หู จมูก ลิน กาย ใจ มีความละอายแก่ใจในการกระทําบาป มีความเกรงกลัวต่อบาปทุจริ ต สะดุ ้งกลัว ทีจะกระทําบาป และผลของบาป และมีความเพียรพยายามเป็ นเครื องกล้าหาญ ต้านอุปสรรคศรัตรู ๑๙ เป็ นต้น สาระแห่งจรณะหรื อจริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาท เรี ยกว่า “จริ ยธรรมหรือศี ลธรรม” นันคือผูใดประกอบให้มีขึนในตนได้ จัก อํานวยประโยชน์อย่างไพศาล อย่างเช่ นคํากล่าวที ว่า สี ล ้ สัมปทา ผูสมบูรณ์ดวยศี ล ย่อมเป็ นผูมนคง คงที ไม่หวันไหว คนจิตใจไม่ มีศีล ก็ ย่อมขาดคุณธรรม ้ ้ ้ ั คิดทําร้าย เบียดเบียน รังแกผูอืน คิดอยากจะได้ของผูอืน แม้เขาไม่ให้ก็หาอุบายเอาในทางมิชอบ คิด ้ ้ อยากจะได้สมบัติอนเป็ นทีหวงแหนของผูอืน ไม่ใคร่ ยนดีในสิ ทธิ หน้าทีของตน คิดแต่จะใช้ลินเล่ห์ ั ้ ิ เพทุ บายให้ผู้อื นหลงเชื อ หรื อ คิดแต่จะได้เ สพสิ งทีทํา ลายสติ สัมปชัญ ญะของตน เมือไม่ ได้ดง ั ต้องการ ก็หาทางทําลายซึ งกันและกัน หมดความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย หมดความเป็ นสง่าราศี ไม่วา ่ จะเป็ นสตรี หรื อบุรุษก็เช่นกัน ดังทีปราชญ์กล่าวไว้วา “อันสตรี ไม่ มีศีลก็สินสวย บุ รุษ ด้ วยไม่ มี ศีลก็ ่ สิ นศรี เป็ นสมณะไม่ มีศีลก็สินดี เป็ นข้ าราชการศีลไม่ มีกาลีเมือง” นีแสดงให้เห็นว่า ชนทุกระดับชัน จะอยูกนด้วยความร่ มเย็นเป็ นสุ ขได้ ก็เพราะแต่ละคนเห็นคุณค่าของจริ ยธรรมทีจําเป็ นต้องประพฤติ ่ั ร่ วมกันในฐานะเป็ นสัตว์สังคมทีมีเหตุผลและสามารถสร้ างคุณธรรมให้เกิดขึนในจิตใจตนได้ เมือมี ๑๘ พระครู วิวิธธรรมโกศล (ชัยวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน),มุทิตานุสรณ์ พระครูวิวธธรรมโกศล (กรุ งเทพ ฯ : ิ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๓๙๘. ๑๙ เรืองเดียวกัน, หน้า ๓๙๙ – ๔๐๐.
  • 11. ๑๑ จริ ยธรรมและการปฏิบตตามกฎแห่งจริ ยธรรมทีถูกต้องแล้ว จัดได้วาเป็ นผูมีระเบียบทังกาย วาจา ใจ ัิ ่ ้ อันไม่เป็ นพิษภัยแก่กนและกัน ั แนวปฏิบัติตามหลักจริยศาสตร์ ของพุทธปรัชญาเถรวาท พุทธปรัชญาเถรวาทได้วางหลักการปฏิบติตามหลักจริ ยศาสตร์ ไว้หลายระดับด้วยกัน แต่ที ั เป็ นหัวใจสําคัญนันมีอยู่ ๓ ระดับด้วยกัน คือ ๑. การไม่ทาบาปทังปวง(สพฺพปาปสฺ ส อกรณํ) ํ ๒. การทํากุศลคือความดีให้พรังพร้อม(กุสลสฺ สูปสมฺ ปทา) ๓. การทําจิตให้ผ่องแผ้ว(สจิตฺตปริ โยทปนํ) หลักธรรมปฏิบติทง ๓ ระดับข้างต้น เป็ นหลักจริ ยศาสตร์ ตามแนวพุทธปรัช ญาเถรวาททีมี ั ั จุดมุ่งหมายเพือให้ผูปฏิ บติงดเว้นจากอกุศลกรรม (บาปกรรม) ทังปวง เพราะอกุศลกรรมทีได้กระทํา ้ ั ลงไปทังในทีลับหรื อทีแจ้ง ไม่ให้ผลเป็ นคุณแต่ประการใด มีแต่ให้ผลเป็ นโทษ เป็ นทุกข์เดือดร้ อ น ทังในปั จจุบ ันและอนาคต และเมื องดเว้น จากการกระทําอกุ ศลกรรมโดยเด็ดขาดแล้ว ต้องมีการ ปฏิบติโดยการตังความเพียรหมันประกอบบุญกุศล เพราะบุญเป็ นธรรมชาติทีชําระสั นดานของตน ั ให้สะอาด มีลกษณะสงบร่ มเย็น เป็ นสุ ข ไม่ให้ผ ลเป็ นโทษเป็ นทุกข์เดือดร้ อ นแต่ประการใด และ ั จากนันเป็ นการฝึ กจิตให้สะอาด บริ สุทธิ ปราศจากอาสวกิเลส ทังอย่างหยาบ อย่างกลาง และอย่าง ละเอียด อันเป็ นจุดมุ่งหมายทีสําคัญทีสุ ดในการปฏิ บติตามหลักจริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาท ั พุทธปรัชญาเถรวาทได้กาหนดหลักปฏิบติตามแนวจริ ยศาสตร์ในฐานะทีมีหลักคําสอนเน้น ํ ั ในเรื องของกรรมคือการกระทําของแต่ละบุคคลว่ามีผลต่อความเสื อมและความเจริ ญของชี วต โดย ิ ให้พิจารณาพฤติกรรมของบุคคลว่าดีหรื อชัวอยู่ทีการกระทํา เช่นการปฏิ บติตามหลักศีล ๕ ซึ งถือว่า ั เป็ นมาตรฐานวางไว้สําหรับกําหนดวัดความประพฤติของมนุษย์ในขันความเป็ นกัลยาณชน หรื อ ที เรี ย กว่า “มนุ ษ ยธรรม” ส่ วนผู ้ทีมีค วามประพฤติตํากว่ามาตรฐานนี ถื อ ว่ายังไม่เ ป็ นมนุ ษ ย์โ ดย สมบูรณ์แบบและไม่น่าไว้ใจ๒๐ ในพฤติกรรมหรื อการกระทํา เพราะยังเป็ นบุคคลทีมีสั ญชาตญาณ คล้ายสัตว์เดรัจฉานทัวไป นอกจากนี จริ ยศาสตร์ ในพุทธปรัชญาเถรวาทยังได้กล่าวถึงคุณธรรมทีมนุษย์ตองประพฤติ ้ ร่ วมกันในระหว่างบุคคล ซึ งมีความคล้ายคลึงกับหลักจริ ยปรัชญาของโสคราตีสทีว่าด้วยเรื องความ รอบรู้ ความกล้าหาญ ความรู ้ จกประมาณ ความยุติธรรม และความกตัญ ู ซึ งคุณธรรมเหล่านีมี ั หลักปฏิบติในพุทธปรัชญาเถรวาททังสิ น และในทีนีจะได้กล่าวเฉพาะหลักพุทธจริ ยศาสตร์ ในส่ วน ั ทีเห็นว่ามีความสอดคล้องกับจริ ยปรัชญาของโสคราตีส ประกอบด้วย ๒๐ สนิ ท ศรี สาแดง, ปรัชญาเถรวาท (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๔), หน้า ๒๕๑. ํ
  • 12. ๑๒ ๑. วิชชาจรณสั มปันโน ๒. หน้ าทีรั บผิดชอบ ๓. มัชฌิมาปฏิปทา ๔. กรรม ๕. กตัญ กตเวที ู คุณธรรมเหล่านีเป็ นส่ วนหนึงของพุทธจริ ยปรั ชญาเถรวาท ทีทําให้ผู้ประพฤติตามมีจิตใจ ผ่องใสเป็ นปกติ มีความเห็นถูกต้องชอบธรรม ยึดถือความถูกต้องเป็ นหลัก และสามารถดําเนินชีวต ิ อยู่ได้ดวยปั ญญาหรื อทีเรี ยกง่ายๆ ว่า “ผู้ร้ ู ” ซึ งประกอบไปด้วย ความเป็ นผูรู้ดี คือรู ้ ว่าอะไรดี อะไร ้ ้ ชัว ความเป็ นผูรู้ถู ก คื อรู ้ ว่าอะไรถู ก อะไรผิด และความเป็ นผูรู้ชอบ คือ รู้ ว่าอะไรบาป อะไรบุญ ้ ้ อะไรคุณ อะไรโทษเป็ นต้น ซึ งจะอธิ บายในแต่ละข้อดังต่อไปนี วิชชาจรณสั มปันโน คําว่า “วิชชาจรณสั มปันโน”๒๑ หมายถึง ความถึงพร้ อมด้วยวิชชาและจรณะ คือสมบูรณ์ดวย ้ ความรอบรู ้ และความประพฤติอย่างครบถ้วน ทีว่าวิชชาหรื อความรู ้ นน หมายเอาความรู ้ ดีรู้ชว ซึ ง ั ั เป็ นความรู ้ประเภทคุณธรรมทีเกิ ดจากการฝึ กฝนจิตจนเกิดเป็ นสัมมาทิฐิ ทีพร้อ มจะแสดงพฤติกรรม ออกมาเป็ นสัมมาปฏิ บติ ส่ วนจรณะหมายเอาความประพฤติทีถูกต้อ งดี งาม มีระเบียบวินัยอยู่ใน ั กรอบกฎกฏิ กาของสังคม ไม่ สร้ างความเดือดร้ อนเบียดเบียนตนเองและผูอื นให้ลาบากยากแค้น ้ ํ รวมทังให้สามารถกระทําความดีได้สะดวก จนบรรลุเป้ าหมายสุ ดท้ายของชีวต เช่น ฆราวาสผูครอง ิ ้ เรื อนทัวไปควรถือศี ล ๕ อุบาสก อุบาสิ กา ต้องถือศีล ๘ สามเณรถื อศี ล ๑๐ และภิ กษุถือ ศี ล ๒๒๗ เป็ นต้น ความถึงพร้ อมด้วยวิชชาและจรณะในพุทธปรัชญาเถรวาทนี ถ้ากล่าวโดยหลักปฏิ บติทวไป ั ั ในเชิ งจริ ยศาสตร์ ก็มีเนือหาสอดคล้องกับหลักจริ ยปรัชญาของโสคราตีสทีว่า “ความรู้ ค่ คณธรรม” ู ุ ความถึงพร้ อมด้วยความรู ้และความประพฤติ(ความรู ้ดีและความประพฤติดี) จะเกิ ดขึ นได้ ต้องอาศัยหลักคุณธรรมประกอบความรู ้ ถ้ามีเฉพาะความรู้หรื อวิชาการทัวไปแต่ ข าดคุ ณธรรมก็ไม่ ถือว่าเป็ นความรู ้ ทีแท้จริ ง แต่จะกลายเป็ นความรู ้ ประเภทสุ นขหางด้วนคือขาดสติคอยทําหน้าทีเป็ น ั หางเสื อควบคุมนาวาจิตทีคิดในทางอกุศลกรรม เช่ น บางคนมีความรู ้ มากมาย แต่ทาไมถึงโกงกิ น ํ ๒๑ วิชชาจรณสัมปันโน : เป็ นพระนามของพระพุทธเจ้า และเป็ นบทพุ ทธคุณ บทหนึ งในจํานวน ๙ บท ทรงมีวชชา ๓ และวิชชา ๘ และจรณะ ๑๕ อย่างสมบูร ณ์ ความถึงพร้ อมด้วยวิชชา สร้ างความเป็ นสัพ พัญ ูให้ ิ พระพุทธเจ้า ส่วนความถึงพร้อมด้วยจรณะ สร้างความเป็ นผูกอรปด้วยพระมหากรุ ณาธิ คณแก่พระพุทธเจ้า คือเมื อ ้ ุ พระองค์ทรงรู ้สิงที เป็ นประโยชน์และไม่เป็ นประโยชน์ดวยความเป็ นสัพ พัญ ู แล้วทรงเว้นสิ งทีไม่เป็ นประโยชน์ ้ ทรงชักนําแต่ในสิ งทีเป็ นประโยชน์ ด้วยความเป็ นผูกอรปไปด้วยพระมหากรุ ณาธิ คณแก่สตว์โลกทังปวง ้ ุ ั
  • 13. ๑๓ บ้านเมือง ทําไมเอารัดเอาเปรี ยบผูอืน นันเป็ นเพราะเขามีความรู ้ แต่ขาดคุณธรรม ยิงรู้ มากเท่าไร ก็ยง ้ ิ เห็นแก่ตวหรื อเอาเปรี ยบผูอืนชนิดซ่อนเร้นมากเท่านัน ั ้ ความรู้ และความประพฤติ(ความรู ้ -คุณธรรม) จะเกิ ดขึนได้ตองอาศัยปั จจัยหลายอย่าง แต่ใน ้ ทีนีจะเสนอหลักคุณธรรมข้อหนึง คือความอ่อนน้อมถ่อมตน(มัททวะ)๒๒ เพือลดทิฐิ มานะในการ น้อมรับเอาความรู ้ ความสามารถของผูอืนทีเขามีดีในส่ วนนันๆ มาเป็ นจุดแข็งในการดําเนินกิจกรรม ้ ต่างๆ ของตน อย่างเช่นสมัยโบราณนักปกครองมักจะมีกุนซื อ(ทีปรึ กษา) ในด้านตางๆ เพือให้งาน การปกครองหรื อบริ หารเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่ น เล่า ปี ในเรื องสามก๊ก ก็เ ป็ นผูน ําอีก ท่าน ้ หนึงในประวัติศาสตร์ จนทีประสบผลสําเร็ จในด้านการปกครองด้วยการใช้หลักคุ ณธรรมคือ ความ ี อ่อนน้อมถ่อมตน ดังจะเห็นได้จากเขาสามารถเชิญขงเบ้งผูหยิงทรนงมาช่ วยงานจนตลอดชี วิตการ ้ เป็ นผูนาของเขาอย่างน่าทึง ้ ํ ขงเบ้ ง เป็ นนักปราชญ์ทีถือตัวมากอยู่ทีภูเขาโงลังกัง ในสมัยทีจีนแตกเป็ นสามก๊กผูมีวาสนา ้ แย่งอํานาจกันเป็ นใหญ่ แต่ละก๊กก็พยายามทีจะรวบรวมคนดีมีฝีมือมีสติปัญญาไว้เป็ นพรรคพวก ขง เบ้งได้รับการติดต่อจากผูมีอานาจหลายคนแต่ไม่มีใครสมหวัง แต่แล้วอยู่ต่อมาปรากฏว่า ขงเบ้งต้อง ้ ํ ออกจากบ้านเดินตามหลังเล่าปี มาร่ วมวางแผนทําสงครามให้เล่าปี จนตลอดชีวต แม้เ ล่ า ปี จะหนี ตาย ิ ออกไปก่ อ น ขงเบ้ง ก็ไม่ยอมทอดทิงบุตรของเล่ าปี ทีเป็ นดัง นี น่ าสงสัยว่า เล่า ปี มีดี อะไรหรื อจึง สามารถเอาชนะจิตใจของขงเบ้งได้ สิ งทีเล่าปี สามารถเอาชนะใจของขงเบ้งได้น น ไม่ใช่ เล่ ห์ก ระั เท่ ห์ อ น ลึ ก ซึ ง หรื อ เวทมนต์ค าถา หรื อ กําลัง ภายในทังสิ น แต่ สิ งนันก็ คื อ “มื อ สิ บ นิ ว” ทีเล่ า ปี ั ประคองประนมด้วยความรู ้สึกอันซื อสัตย์สุจริ ตนี เอง เล่าปี ได้ชือว่าเป็ นผู ้ยิงใหญ่ ทีมี มารยาทงาม ทีสุ ด อ่อนน้อมถ่อมตน จนได้ชือว่าผูพนมมือสิ บทิศ จะเรี ยกว่าเล่าปี สร้ างชี วต สร้ างอํานาจวาสนา ้ ิ บารมีสํา เร็ จด้วยการพนมมือ สิ บนิ วก็ ไ ม่ ผิด ความอ่ อนน้อ มถ่อ มตนจึงถื อว่าเป็ นมนต์ข ลังอัน ๒๓ ศักดิสิ ทธิ ของมนุษย์ทงหลาย ขงเบ้งผูหยังรู ้ ฟ้ามหาสมุทรทีต้องสยบต่อเล่าปี ก็เพราะมนต์อนนีแหละ ั ้ ั โบราณจึงถือกันว่า “ให้ อ่อนน้ อมเหมือนเล่ าปี ซื อสั ตย์เหมือนกวนอู รอบรู้เหมือนขงเบ้ ง เก่ งเหมือน ไกรทอง คล่ องแคล่ วเหมือนอิเหนา” เมือศึกษาจริ ยวัตรของเล่าปี จะเห็นได้วา ท่านมีหลักมัททวะอยู่ในตัวอย่างสมบูรณ์แบบ คือ ่ การไม่แสดงออกถึงความสามารถทีตัวเองมีอยูให้ผูอืนทราบเพือข่มผูอืน ซึ งก็ตรงกับหลักธรรมอีก ่ ้ ้ ๒๒ มัททวะ : ความถ่อมตนในความหมายทางโลก คื อความอ่อนโยนต่อบุคคลอื นในสังคม อัน เป็ น มารยาทที บุ คคลในสั ง คมจะพึ ง ปฏิ บ ัติต่อกัน เพื อผลดี ในทางสัง คม ส่ ว นความถ่อ มตนในทางธรรมนัน มี ความหมายกว้างขวางมาก คือหมายถึงความสามารถโอนอ่อนผ่อนตาม น้อมไป หรื อเปลียนไปในทางแห่ งความดี ทําให้เกิดการผสมผสานกันอย่างดีในทางการงานและบุคคลแก่บุคคลทุกระดับชีวิต ๒๓ พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน), เก็บเล็กผสมน้ อย (กรุ งเทพ ฯ : มหาวิท ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย,๒๕๔๘), หน้ า ๖๑.