SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ (O-net) ปีการศึกษา 2555
1. ข้อใดต่อไปนี้ คือ งานประติมากรรม
ก. รูปปั้นพระบรมรูปทรงม้า
ข. รูปปั้นหลวงปู่ทวดช้างให้
ค. พระประธานในอุโบสถ
ง. รูปปั้นพระพุทธเจ้าปางลีลา
2. ศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านในข้อใดจัดเป็นงานจิตรกรรม
ก. ลวดลายบนด้ามกริช
ข. ลวดลายบนกระต่ายขูดมะพร้าว
ค. ลวดลายบนเรือกอและ
ง. ลวดลายบนเทียนพรรษา
3. รูปปั้น แกะสลัก และหล่อ ที่เป็นรูปเคารพทางศาสนาโดยทั่วไป หมายถึง พระพุทธรูป คือ ข้อใด
ก. จิตรกรรม
ข. ปฏิมากรรม
ค. ประติมากรรม
ง. ประติมากรรม และจิตรกรรม
4. ข้อใดต่อไปนี้ คือ งานประติมากรรม
ก. รูปปั้นพระบรมรูปทรงม้า
ข. รูปปั้นหลวงปู่ทวดช้างให้
ค. พระประธานในอุโบสถ
ง. รูปปั้นพระพุทธเจ้าปางลีลา
5. ศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านในข้อใดจัดเป็นงานจิตรกรรม
ก. ลวดลายบนด้ามกริช
ข. ลวดลายบนกระต่ายขูดมะพร้าว
ค. ลวดลายบนเรือกอและ
ง. ลวดลายบนเทียนพรรษา
6. รูปปั้น แกะสลัก และหล่อ ที่เป็นรูปเคารพทางศาสนาโดยทั่วไป หมายถึง พระพุทธรูป คือ ข้อใด
ก. จิตรกรรม
ข. ปฏิมากรรม
ค. ประติมากรรม
ง. ประติมากรรม และจิตรกรรม
7. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร
ก. ส้ม
ข. ม่วง
ค. แดง
ง. น้าเงิน
2

8. สัญลักษณ์ของเรือนไทยล้านนา โดยเฉพาะที่สันจั่ว ประกอบด้วยอะไร
ก. ไม้กาแล
ข. ไม้แป้นต้อง
ค. ไม้ข้างควาย
ง. ไม้แป้นหน้าก้อง
9. เครื่องถมของไทย นิยมทามาจากจังหวัดใด
ก. เชียงใหม่
ข. สุโขทัย
ค. อยุธยา
ง. นครศรีธรรมราช
10. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร
ก. ส้ม
ข. ม่วง
ค. แดง
ง. น้าเงิน
11. สัญลักษณ์ของเรือนไทยล้านนา โดยเฉพาะที่สันจั่ว ประกอบด้วยอะไร
ก. ไม้กาแล
ข. ไม้แป้นต้อง
ค. ไม้ข้างควาย
ง. ไม้แป้นหน้าก้อง
12. เครื่องถมของไทย นิยมทามาจากจังหวัดใด
ก. เชียงใหม่
ข. สุโขทัย
ค. อยุธยา
ง. นครศรีธรรมราช
13. สีที่แห้งเร็ว สามารถสัมผัสได้ประมาณ 20 นาที หลังจากการเริ่มใช้งานจะแห้งสนิทหลังจาก 48 ชั่วโมง
โดยประมาณ คือ สีอะไร
ก. สีเฟรสโก้
ข. สีโปสเตอร์
ค. สีน้ามัน
ง. สีอะครีลิค
14. ก่อนที่จะวาดภาพ หรือระบายสีเราควรแบ่งหน้ากระดาษออกเป็นกี่ส่วน
ก. 2 ส่วน
ข. 3 ส่วน
ค. 4 ส่วน
ง. 5 ส่วน
3

15. การวาดภาพของไทยใช้สีระบายอย่างไร
ก. กลมกลืน
ข. แสงเงา
ค. สีแบนเรียบ
ง. สีมีระยะใกล้ ไกล
16. สีที่แห้งเร็ว สามารถสัมผัสได้ประมาณ 20 นาที หลังจากการเริ่มใช้งานจะแห้งสนิทหลังจาก 48 ชั่วโมง
โดยประมาณ คือ สีอะไร
ก. สีเฟรสโก้
ข. สีโปสเตอร์
ค. สีน้ามัน
ง. สีอะครีลิค
17. ก่อนที่จะวาดภาพ หรือระบายสีเราควรแบ่งหน้ากระดาษออกเป็นกี่ส่วน
ก. 2 ส่วน
ข. 3 ส่วน
ค. 4 ส่วน
ง. 5 ส่วน
18. การวาดภาพของไทยใช้สีระบายอย่างไร
ก. กลมกลืน
ข. แสงเงา
ค. สีแบนเรียบ
ง. สีมีระยะใกล้ ไกล
19. จิตรกรรมไทย เริ่มใช้ทองคาเปลวประกอบภาพในสมัยใด
ก. เชียงแสน
ข. สุโขทัย
ค. อยุธยา
ง. รัตนโกสินทร์
20. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร
ก. ส้ม
ข. ม่วง
ค. แดง
ง. น้าเงิน
21. ทาไมเรือนไทยภาคกลางจึงมีใต้ถุนสูง
ก. ป้องกันน้าท่วม
ข. ป้องกันโจรผู้ร้าย
ค. ป้องกันสัตว์ร้าย
ง. ถูกทุกข้อ
4

22. จิตรกรรมไทย เริ่มใช้ทองคาเปลวประกอบภาพในสมัยใด
ก. เชียงแสน
ข. สุโขทัย
ค. อยุธยา
ง. รัตนโกสินทร์
23. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร
ก. ส้ม
ข. ม่วง
ค. แดง
ง. น้าเงิน
24. ทาไมเรือนไทยภาคกลางจึงมีใต้ถุนสูง
ก. ป้องกันน้าท่วม
ข. ป้องกันโจรผู้ร้าย
ค. ป้องกันสัตว์ร้าย
ง. ถูกทุกข้อ
25. ภาพเขียนขนาดใหญ่ ส่วนมากเขียนด้วยสีฝุ่น หรือ สีเฟรสโก (Fresco) คือ ภาพอะไร
ก. ภาพฝาผนัง
ข. ภาพคนเต็มตัว
ค. ภาพทิวทัศน์
ง. ภาพอาคารสิ่งก่อสร้าง
26. วัสดุใดที่เหมาะสมในการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทสื่อผสม
ก. ฟางข้าว
ข. กิ่งไม้
ค. ลวดหรือสายไฟที่ไม่ได้ใช้
ง. ใบตอง
27. ถังขยะในยุคปัจจุบันควรเป็นสีอะไรจึงจะช่วยให้โลกน่าอยู่
ก. สีแดง
ข. สีเขียว
ค. สีขาว
ง. สีน้าเงิน
28. ภาพเขียนขนาดใหญ่ ส่วนมากเขียนด้วยสีฝุ่น หรือ สีเฟรสโก (Fresco) คือ ภาพอะไร
ก. ภาพฝาผนัง
ข. ภาพคนเต็มตัว
ค. ภาพทิวทัศน์
ง. ภาพอาคารสิ่งก่อสร้าง
29. วัสดุใดที่เหมาะสมในการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทสื่อผสม
ก. ฟางข้าว
5

ข. กิ่งไม้
ค. ลวดหรือสายไฟที่ไม่ได้ใช้
ง. ใบตอง
30. ถังขยะในยุคปัจจุบันควรเป็นสีอะไรจึงจะช่วยให้โลกน่าอยู่
ก. สีแดง
ข. สีเขียว
ค. สีขาว
ง. สีน้าเงิน
31. คันทวย ทาเป็นรูปอะไร
ก. หัวนาค
ข. หูช้าง
ค. หัวหงส์
ง. หางหงส์
32. การตั้งเครื่องสดแทงหยวกใช้ในงานพิธีใด
ก. โกนจุก
ข. เผาศพ
ค. บวชนาค
ง. ทาบุญวันเกิด
33. การปั้นดินเผาบ้านด่านเกวียนเป็นศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดใด
ก. สงขลา
ข. ราชบุรี
ค. นครราชสีมา
ง. ลพบุรี
34. คันทวย ทาเป็นรูปอะไร
ก. หัวนาค
ข. หูช้าง
ค. หัวหงส์
ง. หางหงส์
35. การตั้งเครื่องสดแทงหยวกใช้ในงานพิธีใด
ก. โกนจุก
ข. เผาศพ
ค. บวชนาค
ง. ทาบุญวันเกิด
36. การปั้นดินเผาบ้านด่านเกวียนเป็นศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดใด
ก. สงขลา
ข. ราชบุรี
ค. นครราชสีมา
ง. ลพบุรี
6

37. เอกลักษณ์งานทัศนศิลป์ของภาคเหนือคือข้อใด
ก. โอ่ง ไห ลายก้นหอย
ข. แกะสลักช้าง
ค. ตุ๊กตาชาววัง
ง. เรือกอและ
38. โบราณสถานและโบราณวัตถุพบเห็นในจังหวัดใดมากที่สุด
ก. เชียงใหม่
ข. นครปฐม
ค. พระนครศรีอยุธยา
ง. อุบลราชธานี
39. การปั้นโอ่งมังกรที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศอยู่จังหวัดใด
ก. ราชบุรี
ข. อ่างทอง
ค. ระยอง
ง. สกลนคร
40. เอกลักษณ์งานทัศนศิลป์ของภาคเหนือคือข้อใด
ก. โอ่ง ไห ลายก้นหอย
ข. แกะสลักช้าง
ค. ตุ๊กตาชาววัง
ง. เรือกอและ
41. โบราณสถานและโบราณวัตถุพบเห็นในจังหวัดใดมากที่สุด
ก. เชียงใหม่
ข. นครปฐม
ค. พระนครศรีอยุธยา
ง. อุบลราชธานี
42. การปั้นโอ่งมังกรที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศอยู่จังหวัดใด
ก. ราชบุรี
ข. อ่างทอง
ค. ระยอง
ง. สกลนคร
43. “โปงลาง” มีลักษณะคล้ายกับเครื่องดนตรีในข้อใด
ก. ฆ้องวงใหญ่
ข. ฆ้องวงเล็ก
ค. กลองแขก
ง. ระนาด
44. เครื่องดนตรีที่สามารถแสดงถึงความองอาจกล้าหาญ คือ ข้อใด
ก. วิโอล่า
ข. ทรัมเปต
ค. บาสซูน
7

ง. กลองทิมปานี
45. โทน ตะโลดโป๊ด บัณเฑาะว์ เปิงมาง จัดอยู่ในเครื่องดนตรีประเภทใด
ก. ทาด้วยไม้
ข. ทาด้วยโลหะ
ค. ขึงด้วยหนัง
ง. ทาด้วยไม้ไผ
46. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน
ก
. Clarinet , Tuba , French Horn
ข
. Piccolo , Trombone , Trumpet
ค. Oboe , Flute , Saxophone
ง
. Violin , Cello , Bassoon
47. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี
ก
. จะเข้
ข. ซอสามสาย
ค. กระจับปี่
ง. ขลุ่ยเพียงออ
48. เครื่องดนตรีในข้อใด เป็นเครื่องตี
ก. ระนาด
ข. ซอ
ค. ปี่
ง. ขลุ่ย
49. อักษรภาษาอังกฤษตัวใดที่ไม่ได้ใช้บันทึกเป็นตัวโน๊ต
ก. B
ข. D
ค. G
ง. J
50. กลุ่มที่นิยมฟังเพลงสตริงมักเป็นกลุ่มคนประเภทใด
ก. ไร้แก่นสารในชีวิต
ข. จริงจังกับชีวิต
ค. มีความอดทนสูง
ง. สุภาพอ่อนน้อม
51. เพลงประเภทใดปลูกฝังให้คนรักชาติ
ก. เพลงไทยสากล
ข. เพลงไทยเดิม
ค. เพลงไทยลูกทุ่ง
ง. เพลงปลุกใจ
52. ข้อใดเป็นดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงของละครชาตรี
ก. วงปี่พาทย์ชาตรี
8

ข. วงมโหรี
ค. เพลงบรรเลงประกอบการขับร้อง
ง. เพลงโอด
53. เหตุใดการแสดงของไทยจึงต้องมีดนตรีบรรเลงประกอบเสมอ
ก. เพื่อเอาฤกษ์ชัย
ข. เพื่อเป็นการป่าวประกาศ
ค. เพื่อเตรียมการแสดง
ง. เพื่อแสดงสื่อ อารมณ์ต่าง ๆ ของตัวละคร
54. ก่อนจะมีการแสดงต่างๆ จะเริ่มใช้เพลงอะไรบรรเลง
ก. เพลงเชิด
ข. โหมโรง
ค. เพลงโอด
ง. เพลงโล้
55. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุง และละครโนห์ราชาตรี คือ ข้อใด
ก. ปี่พาทย์ชาตรี
ข. ปี่พาทย์นางหงส์
ค. ปี่พาทย์ไม้แข็ง
ง. ปี่พาทย์ไม้นวม
56. การบรรเลงดนตรีบนเวที ที่มีกฎเกณฑ์ว่า ผู้เข้าฟังจะต้องเสียเงิน เรียกว่าการแสดงประเภทใด
ก. Opera
ข. Concert
ค. Ballet
ง. Dance
57. ก่อนจะมีการแสดงต่างๆ จะเริ่มใช้เพลงอะไรบรรเลง
ก. เพลงเชิด
ข. โหมโรง
ค. เพลงโอด
ง. เพลงโล้
58. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุง และละครโนห์ราชาตรี คือ ข้อใด
ก. ปี่พาทย์ชาตรี
ข. ปี่พาทย์นางหงส์
ค. ปี่พาทย์ไม้แข็ง
ง. ปี่พาทย์ไม้นวม
59. การบรรเลงดนตรีบนเวที ที่มีกฎเกณฑ์ว่า ผู้เข้าฟังจะต้องเสียเงิน เรียกว่าการแสดงประเภทใด
ก. Opera
ข. Concert
ค. Ballet
ง. Dance
9

60. วิวัฒนาการสาคัญในการจัดวงดนตรีที่เกิดขึ้นในยุครัตนโกสินทร์แสดงถึงการติดต่อกับต่างชาติ คือวงดนตรี
ลักษณะใดและเกิดขึ้นในสมัยใด
ก. วงเครื่องสายประสมขิม สมัยรัชกาลที่ 5
ข
. วงปี่พาทย์นางหงส์ สมัยรัชกาลที่ 5
ค
. แตรวง สมัยรัชกาลที่ 6
ง
. วงเครื่องสายประสมไวโอลิน สมัยรัชกาลที่ 6
61. วัฒนธรรมดนตรีของไทยที่มีการสร้างสรรค์แตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือดนตรีคลาสสิกที่เด่นชัดที่ สุดคือข้อใด
ก. การมีทานองหลักและการแปรทานองได้อย่างหลากหลาย บนรากฐานของหลักการประพันธ์เพลง
ข . การจัดวงดนตรีที่เน้นเครื่องสาย เรียกว่า วงเครื่องสาย ซึ่งมีลักษณะต่าง ๆหลากหลาย
ค . การจัดวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรี ครบถ้วนทาให้ได้ความหลากหลายของสีสันเครื่องดนตรี
ง
. การขับร้องเพลงที่ลีลาช้าและเร็วที่หลากหลาย สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างน่าสนใจ
62. วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสาย มีขึ้นในสมัยใด
ก. สมัยกรุงสุโขทัย
ข. สมัยกรุงศรีอยุธยา
ค. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ง. สมัยก่อนกรุงสุโขทัย
63. นักประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของยุคคลาสิกคือใคร
ก. Beethoven
ข. สลา คุณวุฒิ
ค. Mike Terrana
ง. Thomas Lang
64. วงเดอะบีทเทิน จัดเป็นวงดนตรีที่มีชื่อเสียงอยู่ในยุคสมัยใด
ก. ยุคโรแมนติก
ข. ยุคคลาสสิก
ค. ยุคบาโรค
ง. ยุคศตวรรษที่ 20
65. การฟ้อนเป็นการแสดงที่มีอยู่ในภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคอีสาน
ค. ภาคกลาง
ง. ก และ ข
66. การแสดงของภาคใต้ คือข้อใด
ก. มโนราห์ – ลากลอน
ข. มโนราห์ – ลาหมู่
ค. มโนราห์ – หนังตะลุง
ง. มโนราห์ – ลาตัด
67. ละครดึกดาบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด
ก. รัชกาลที่ 5
10

ข. รัชกาลที่ 6
ค. รัชกาลที่ 7
ง. รัชกาลที่ 9

68. การฟ้อนเป็นการแสดงที่มีอยู่ในภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคอีสาน
ค. ภาคกลาง
ง. ก และ ข
69. การแสดงของภาคใต้ คือข้อใด
ก. มโนราห์ – ลากลอน
ข. มโนราห์ – ลาหมู่
ค. มโนราห์ – หนังตะลุง
ง. มโนราห์ – ลาตัด
70. ละครดึกดาบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด
ก. รัชกาลที่ 5
ข. รัชกาลที่ 6
ค. รัชกาลที่ 7
ง. รัชกาลที่ 9
71. การแสดงนาฏศิลป์ไทย นิยมอยู่เพียงเรื่องเดียว คือเรื่องรามเกียรติ์ ซึ้งได้เค้าเดิมมาจากเรื่องรามายณะของอินเดีย
คืออะไร
ก. ละคร
ข. ลิเก
ค. โขน
ง. ระบา
72. ภาษาทางนาฏศิลป์ใช้เรียกการแสดงท่าทางในการพูดของตัวละครว่าอย่างไร
ก. นาฏยศัพท์
ข. การตีบท
ค. บทของละคร
ง. ภาษาของการแสดง
73. ต้นกาเนิดของการแสดงละคร มาจากอะไร
ก. การสวดอ้อนวอน
ข. การร้องเพลงพื้นบ้าน
ค. การร่ายราบูชาเทพเจ้า
ง. การแสดงทางศาสนา
11

74. ลาตัด คือการแสดงพื้นเมืองของภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคกลาง
ค. ภาคอีสาน
ง. ภาคใต้
75. ก่อนจะมีการแสดงละคร ผู้แสดงจะต้องกระทาสิ่งใดก่อน
ก. ไหว้ครู
ข. บรรเลงดนตรี
ค. ร้องเพลงนา
ง. ร้องเพลงโชว์
76. บทบาทของตัวละครบนเวที ที่ปรากฎต่อผู้ชมในด้านต่างๆ เช่น สีหน้า ท่าทาง จังหวะ การเคลื่อนไหวคืออะไร
ก. การใช้ภาษา
ข. ภาพ
ค. ความคิด
ง. ตัวละคร
77. ควรใช้ภาษาพูดในข้อใดเมื่อแสดงละคร
ก. คาพูดที่ใช้กันอยู่ปกติ
ข. คาพูดที่ใช้ต้องประหยัดถ้อยคา
ค. จะต้องพูดให้เกินความเป็นจริง
ง. คาพูดต้องให้กินใจอย่างลึกซึ้ง
78. ศึกษาบทละครเป็นอย่างดี คัดเลือกผู้แสดง กาหนดแผนการฝึกซ้อม และการแสดง และรับผิดชอบงานทุกด้าน
ที่เกี่ยวกับการแสดงละคร คือหน้าที่ของใคร
ก. เจ้าภาพ
ข. นายทุน
ค. ผู้อานวยการสร้าง
ง. ผู้กากับการแสดง
79. ผู้มีหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน ควบคุมบท ในระหว่างการฝึกซ้อมและการแสดงคือใคร
ก. ผู้ว่าการสร้าง
ข. ผู้กากับการแสดง
ค. ผู้กากับเวที
ง. ผู้แสดง
80. หัวหน้าควบคุมการออกแบบทุกด้านคือ ข้อใด
ก. ผู้กากับการแสดง
ข. ผู้กากับเวที
ค. ผู้อานวยการสร้าง
ง. ผู้กากับฝ่ายศิลป์
12

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1teerachon
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003Thidarat Termphon
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)peter dontoom
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55peter dontoom
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 

Tendances (20)

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
ข้อสอบกลางภาค วิชาศิลปศึกษา ทช31003 รุ่น 55
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 

Similaire à เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)

นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2Kruanchalee
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2Kruanchalee
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4peter dontoom
 
ข้อสอบโอเนตม.3
ข้อสอบโอเนตม.3ข้อสอบโอเนตม.3
ข้อสอบโอเนตม.3peter dontoom
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
Test art1
Test art1Test art1
Test art1krooyui
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3peter dontoom
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนpeter dontoom
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นpeter dontoom
 

Similaire à เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.) (14)

นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 
ข้อสอบโอเนตม.3
ข้อสอบโอเนตม.3ข้อสอบโอเนตม.3
ข้อสอบโอเนตม.3
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
Test art1
Test art1Test art1
Test art1
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
O net
O netO net
O net
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
 
ติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้นติวเตอรมัธยมต้น
ติวเตอรมัธยมต้น
 

Plus de peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

Plus de peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)

  • 1. เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ (O-net) ปีการศึกษา 2555 1. ข้อใดต่อไปนี้ คือ งานประติมากรรม ก. รูปปั้นพระบรมรูปทรงม้า ข. รูปปั้นหลวงปู่ทวดช้างให้ ค. พระประธานในอุโบสถ ง. รูปปั้นพระพุทธเจ้าปางลีลา 2. ศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านในข้อใดจัดเป็นงานจิตรกรรม ก. ลวดลายบนด้ามกริช ข. ลวดลายบนกระต่ายขูดมะพร้าว ค. ลวดลายบนเรือกอและ ง. ลวดลายบนเทียนพรรษา 3. รูปปั้น แกะสลัก และหล่อ ที่เป็นรูปเคารพทางศาสนาโดยทั่วไป หมายถึง พระพุทธรูป คือ ข้อใด ก. จิตรกรรม ข. ปฏิมากรรม ค. ประติมากรรม ง. ประติมากรรม และจิตรกรรม 4. ข้อใดต่อไปนี้ คือ งานประติมากรรม ก. รูปปั้นพระบรมรูปทรงม้า ข. รูปปั้นหลวงปู่ทวดช้างให้ ค. พระประธานในอุโบสถ ง. รูปปั้นพระพุทธเจ้าปางลีลา 5. ศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านในข้อใดจัดเป็นงานจิตรกรรม ก. ลวดลายบนด้ามกริช ข. ลวดลายบนกระต่ายขูดมะพร้าว ค. ลวดลายบนเรือกอและ ง. ลวดลายบนเทียนพรรษา 6. รูปปั้น แกะสลัก และหล่อ ที่เป็นรูปเคารพทางศาสนาโดยทั่วไป หมายถึง พระพุทธรูป คือ ข้อใด ก. จิตรกรรม ข. ปฏิมากรรม ค. ประติมากรรม ง. ประติมากรรม และจิตรกรรม 7. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร ก. ส้ม ข. ม่วง ค. แดง ง. น้าเงิน
  • 2. 2 8. สัญลักษณ์ของเรือนไทยล้านนา โดยเฉพาะที่สันจั่ว ประกอบด้วยอะไร ก. ไม้กาแล ข. ไม้แป้นต้อง ค. ไม้ข้างควาย ง. ไม้แป้นหน้าก้อง 9. เครื่องถมของไทย นิยมทามาจากจังหวัดใด ก. เชียงใหม่ ข. สุโขทัย ค. อยุธยา ง. นครศรีธรรมราช 10. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร ก. ส้ม ข. ม่วง ค. แดง ง. น้าเงิน 11. สัญลักษณ์ของเรือนไทยล้านนา โดยเฉพาะที่สันจั่ว ประกอบด้วยอะไร ก. ไม้กาแล ข. ไม้แป้นต้อง ค. ไม้ข้างควาย ง. ไม้แป้นหน้าก้อง 12. เครื่องถมของไทย นิยมทามาจากจังหวัดใด ก. เชียงใหม่ ข. สุโขทัย ค. อยุธยา ง. นครศรีธรรมราช 13. สีที่แห้งเร็ว สามารถสัมผัสได้ประมาณ 20 นาที หลังจากการเริ่มใช้งานจะแห้งสนิทหลังจาก 48 ชั่วโมง โดยประมาณ คือ สีอะไร ก. สีเฟรสโก้ ข. สีโปสเตอร์ ค. สีน้ามัน ง. สีอะครีลิค 14. ก่อนที่จะวาดภาพ หรือระบายสีเราควรแบ่งหน้ากระดาษออกเป็นกี่ส่วน ก. 2 ส่วน ข. 3 ส่วน ค. 4 ส่วน ง. 5 ส่วน
  • 3. 3 15. การวาดภาพของไทยใช้สีระบายอย่างไร ก. กลมกลืน ข. แสงเงา ค. สีแบนเรียบ ง. สีมีระยะใกล้ ไกล 16. สีที่แห้งเร็ว สามารถสัมผัสได้ประมาณ 20 นาที หลังจากการเริ่มใช้งานจะแห้งสนิทหลังจาก 48 ชั่วโมง โดยประมาณ คือ สีอะไร ก. สีเฟรสโก้ ข. สีโปสเตอร์ ค. สีน้ามัน ง. สีอะครีลิค 17. ก่อนที่จะวาดภาพ หรือระบายสีเราควรแบ่งหน้ากระดาษออกเป็นกี่ส่วน ก. 2 ส่วน ข. 3 ส่วน ค. 4 ส่วน ง. 5 ส่วน 18. การวาดภาพของไทยใช้สีระบายอย่างไร ก. กลมกลืน ข. แสงเงา ค. สีแบนเรียบ ง. สีมีระยะใกล้ ไกล 19. จิตรกรรมไทย เริ่มใช้ทองคาเปลวประกอบภาพในสมัยใด ก. เชียงแสน ข. สุโขทัย ค. อยุธยา ง. รัตนโกสินทร์ 20. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร ก. ส้ม ข. ม่วง ค. แดง ง. น้าเงิน 21. ทาไมเรือนไทยภาคกลางจึงมีใต้ถุนสูง ก. ป้องกันน้าท่วม ข. ป้องกันโจรผู้ร้าย ค. ป้องกันสัตว์ร้าย ง. ถูกทุกข้อ
  • 4. 4 22. จิตรกรรมไทย เริ่มใช้ทองคาเปลวประกอบภาพในสมัยใด ก. เชียงแสน ข. สุโขทัย ค. อยุธยา ง. รัตนโกสินทร์ 23. เครื่องเบญจรงค์ นอกจากมีสี ขาว ดา เหลือง และเขียว ยังมีสีอะไร ก. ส้ม ข. ม่วง ค. แดง ง. น้าเงิน 24. ทาไมเรือนไทยภาคกลางจึงมีใต้ถุนสูง ก. ป้องกันน้าท่วม ข. ป้องกันโจรผู้ร้าย ค. ป้องกันสัตว์ร้าย ง. ถูกทุกข้อ 25. ภาพเขียนขนาดใหญ่ ส่วนมากเขียนด้วยสีฝุ่น หรือ สีเฟรสโก (Fresco) คือ ภาพอะไร ก. ภาพฝาผนัง ข. ภาพคนเต็มตัว ค. ภาพทิวทัศน์ ง. ภาพอาคารสิ่งก่อสร้าง 26. วัสดุใดที่เหมาะสมในการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทสื่อผสม ก. ฟางข้าว ข. กิ่งไม้ ค. ลวดหรือสายไฟที่ไม่ได้ใช้ ง. ใบตอง 27. ถังขยะในยุคปัจจุบันควรเป็นสีอะไรจึงจะช่วยให้โลกน่าอยู่ ก. สีแดง ข. สีเขียว ค. สีขาว ง. สีน้าเงิน 28. ภาพเขียนขนาดใหญ่ ส่วนมากเขียนด้วยสีฝุ่น หรือ สีเฟรสโก (Fresco) คือ ภาพอะไร ก. ภาพฝาผนัง ข. ภาพคนเต็มตัว ค. ภาพทิวทัศน์ ง. ภาพอาคารสิ่งก่อสร้าง 29. วัสดุใดที่เหมาะสมในการสร้างสรรค์งานศิลปะประเภทสื่อผสม ก. ฟางข้าว
  • 5. 5 ข. กิ่งไม้ ค. ลวดหรือสายไฟที่ไม่ได้ใช้ ง. ใบตอง 30. ถังขยะในยุคปัจจุบันควรเป็นสีอะไรจึงจะช่วยให้โลกน่าอยู่ ก. สีแดง ข. สีเขียว ค. สีขาว ง. สีน้าเงิน 31. คันทวย ทาเป็นรูปอะไร ก. หัวนาค ข. หูช้าง ค. หัวหงส์ ง. หางหงส์ 32. การตั้งเครื่องสดแทงหยวกใช้ในงานพิธีใด ก. โกนจุก ข. เผาศพ ค. บวชนาค ง. ทาบุญวันเกิด 33. การปั้นดินเผาบ้านด่านเกวียนเป็นศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดใด ก. สงขลา ข. ราชบุรี ค. นครราชสีมา ง. ลพบุรี 34. คันทวย ทาเป็นรูปอะไร ก. หัวนาค ข. หูช้าง ค. หัวหงส์ ง. หางหงส์ 35. การตั้งเครื่องสดแทงหยวกใช้ในงานพิธีใด ก. โกนจุก ข. เผาศพ ค. บวชนาค ง. ทาบุญวันเกิด 36. การปั้นดินเผาบ้านด่านเกวียนเป็นศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดใด ก. สงขลา ข. ราชบุรี ค. นครราชสีมา ง. ลพบุรี
  • 6. 6 37. เอกลักษณ์งานทัศนศิลป์ของภาคเหนือคือข้อใด ก. โอ่ง ไห ลายก้นหอย ข. แกะสลักช้าง ค. ตุ๊กตาชาววัง ง. เรือกอและ 38. โบราณสถานและโบราณวัตถุพบเห็นในจังหวัดใดมากที่สุด ก. เชียงใหม่ ข. นครปฐม ค. พระนครศรีอยุธยา ง. อุบลราชธานี 39. การปั้นโอ่งมังกรที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศอยู่จังหวัดใด ก. ราชบุรี ข. อ่างทอง ค. ระยอง ง. สกลนคร 40. เอกลักษณ์งานทัศนศิลป์ของภาคเหนือคือข้อใด ก. โอ่ง ไห ลายก้นหอย ข. แกะสลักช้าง ค. ตุ๊กตาชาววัง ง. เรือกอและ 41. โบราณสถานและโบราณวัตถุพบเห็นในจังหวัดใดมากที่สุด ก. เชียงใหม่ ข. นครปฐม ค. พระนครศรีอยุธยา ง. อุบลราชธานี 42. การปั้นโอ่งมังกรที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศอยู่จังหวัดใด ก. ราชบุรี ข. อ่างทอง ค. ระยอง ง. สกลนคร 43. “โปงลาง” มีลักษณะคล้ายกับเครื่องดนตรีในข้อใด ก. ฆ้องวงใหญ่ ข. ฆ้องวงเล็ก ค. กลองแขก ง. ระนาด 44. เครื่องดนตรีที่สามารถแสดงถึงความองอาจกล้าหาญ คือ ข้อใด ก. วิโอล่า ข. ทรัมเปต ค. บาสซูน
  • 7. 7 ง. กลองทิมปานี 45. โทน ตะโลดโป๊ด บัณเฑาะว์ เปิงมาง จัดอยู่ในเครื่องดนตรีประเภทใด ก. ทาด้วยไม้ ข. ทาด้วยโลหะ ค. ขึงด้วยหนัง ง. ทาด้วยไม้ไผ 46. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน ก . Clarinet , Tuba , French Horn ข . Piccolo , Trombone , Trumpet ค. Oboe , Flute , Saxophone ง . Violin , Cello , Bassoon 47. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี ก . จะเข้ ข. ซอสามสาย ค. กระจับปี่ ง. ขลุ่ยเพียงออ 48. เครื่องดนตรีในข้อใด เป็นเครื่องตี ก. ระนาด ข. ซอ ค. ปี่ ง. ขลุ่ย 49. อักษรภาษาอังกฤษตัวใดที่ไม่ได้ใช้บันทึกเป็นตัวโน๊ต ก. B ข. D ค. G ง. J 50. กลุ่มที่นิยมฟังเพลงสตริงมักเป็นกลุ่มคนประเภทใด ก. ไร้แก่นสารในชีวิต ข. จริงจังกับชีวิต ค. มีความอดทนสูง ง. สุภาพอ่อนน้อม 51. เพลงประเภทใดปลูกฝังให้คนรักชาติ ก. เพลงไทยสากล ข. เพลงไทยเดิม ค. เพลงไทยลูกทุ่ง ง. เพลงปลุกใจ 52. ข้อใดเป็นดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงของละครชาตรี ก. วงปี่พาทย์ชาตรี
  • 8. 8 ข. วงมโหรี ค. เพลงบรรเลงประกอบการขับร้อง ง. เพลงโอด 53. เหตุใดการแสดงของไทยจึงต้องมีดนตรีบรรเลงประกอบเสมอ ก. เพื่อเอาฤกษ์ชัย ข. เพื่อเป็นการป่าวประกาศ ค. เพื่อเตรียมการแสดง ง. เพื่อแสดงสื่อ อารมณ์ต่าง ๆ ของตัวละคร 54. ก่อนจะมีการแสดงต่างๆ จะเริ่มใช้เพลงอะไรบรรเลง ก. เพลงเชิด ข. โหมโรง ค. เพลงโอด ง. เพลงโล้ 55. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุง และละครโนห์ราชาตรี คือ ข้อใด ก. ปี่พาทย์ชาตรี ข. ปี่พาทย์นางหงส์ ค. ปี่พาทย์ไม้แข็ง ง. ปี่พาทย์ไม้นวม 56. การบรรเลงดนตรีบนเวที ที่มีกฎเกณฑ์ว่า ผู้เข้าฟังจะต้องเสียเงิน เรียกว่าการแสดงประเภทใด ก. Opera ข. Concert ค. Ballet ง. Dance 57. ก่อนจะมีการแสดงต่างๆ จะเริ่มใช้เพลงอะไรบรรเลง ก. เพลงเชิด ข. โหมโรง ค. เพลงโอด ง. เพลงโล้ 58. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุง และละครโนห์ราชาตรี คือ ข้อใด ก. ปี่พาทย์ชาตรี ข. ปี่พาทย์นางหงส์ ค. ปี่พาทย์ไม้แข็ง ง. ปี่พาทย์ไม้นวม 59. การบรรเลงดนตรีบนเวที ที่มีกฎเกณฑ์ว่า ผู้เข้าฟังจะต้องเสียเงิน เรียกว่าการแสดงประเภทใด ก. Opera ข. Concert ค. Ballet ง. Dance
  • 9. 9 60. วิวัฒนาการสาคัญในการจัดวงดนตรีที่เกิดขึ้นในยุครัตนโกสินทร์แสดงถึงการติดต่อกับต่างชาติ คือวงดนตรี ลักษณะใดและเกิดขึ้นในสมัยใด ก. วงเครื่องสายประสมขิม สมัยรัชกาลที่ 5 ข . วงปี่พาทย์นางหงส์ สมัยรัชกาลที่ 5 ค . แตรวง สมัยรัชกาลที่ 6 ง . วงเครื่องสายประสมไวโอลิน สมัยรัชกาลที่ 6 61. วัฒนธรรมดนตรีของไทยที่มีการสร้างสรรค์แตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือดนตรีคลาสสิกที่เด่นชัดที่ สุดคือข้อใด ก. การมีทานองหลักและการแปรทานองได้อย่างหลากหลาย บนรากฐานของหลักการประพันธ์เพลง ข . การจัดวงดนตรีที่เน้นเครื่องสาย เรียกว่า วงเครื่องสาย ซึ่งมีลักษณะต่าง ๆหลากหลาย ค . การจัดวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรี ครบถ้วนทาให้ได้ความหลากหลายของสีสันเครื่องดนตรี ง . การขับร้องเพลงที่ลีลาช้าและเร็วที่หลากหลาย สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างน่าสนใจ 62. วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสาย มีขึ้นในสมัยใด ก. สมัยกรุงสุโขทัย ข. สมัยกรุงศรีอยุธยา ค. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ง. สมัยก่อนกรุงสุโขทัย 63. นักประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของยุคคลาสิกคือใคร ก. Beethoven ข. สลา คุณวุฒิ ค. Mike Terrana ง. Thomas Lang 64. วงเดอะบีทเทิน จัดเป็นวงดนตรีที่มีชื่อเสียงอยู่ในยุคสมัยใด ก. ยุคโรแมนติก ข. ยุคคลาสสิก ค. ยุคบาโรค ง. ยุคศตวรรษที่ 20 65. การฟ้อนเป็นการแสดงที่มีอยู่ในภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคอีสาน ค. ภาคกลาง ง. ก และ ข 66. การแสดงของภาคใต้ คือข้อใด ก. มโนราห์ – ลากลอน ข. มโนราห์ – ลาหมู่ ค. มโนราห์ – หนังตะลุง ง. มโนราห์ – ลาตัด 67. ละครดึกดาบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด ก. รัชกาลที่ 5
  • 10. 10 ข. รัชกาลที่ 6 ค. รัชกาลที่ 7 ง. รัชกาลที่ 9 68. การฟ้อนเป็นการแสดงที่มีอยู่ในภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคอีสาน ค. ภาคกลาง ง. ก และ ข 69. การแสดงของภาคใต้ คือข้อใด ก. มโนราห์ – ลากลอน ข. มโนราห์ – ลาหมู่ ค. มโนราห์ – หนังตะลุง ง. มโนราห์ – ลาตัด 70. ละครดึกดาบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด ก. รัชกาลที่ 5 ข. รัชกาลที่ 6 ค. รัชกาลที่ 7 ง. รัชกาลที่ 9 71. การแสดงนาฏศิลป์ไทย นิยมอยู่เพียงเรื่องเดียว คือเรื่องรามเกียรติ์ ซึ้งได้เค้าเดิมมาจากเรื่องรามายณะของอินเดีย คืออะไร ก. ละคร ข. ลิเก ค. โขน ง. ระบา 72. ภาษาทางนาฏศิลป์ใช้เรียกการแสดงท่าทางในการพูดของตัวละครว่าอย่างไร ก. นาฏยศัพท์ ข. การตีบท ค. บทของละคร ง. ภาษาของการแสดง 73. ต้นกาเนิดของการแสดงละคร มาจากอะไร ก. การสวดอ้อนวอน ข. การร้องเพลงพื้นบ้าน ค. การร่ายราบูชาเทพเจ้า ง. การแสดงทางศาสนา
  • 11. 11 74. ลาตัด คือการแสดงพื้นเมืองของภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง ค. ภาคอีสาน ง. ภาคใต้ 75. ก่อนจะมีการแสดงละคร ผู้แสดงจะต้องกระทาสิ่งใดก่อน ก. ไหว้ครู ข. บรรเลงดนตรี ค. ร้องเพลงนา ง. ร้องเพลงโชว์ 76. บทบาทของตัวละครบนเวที ที่ปรากฎต่อผู้ชมในด้านต่างๆ เช่น สีหน้า ท่าทาง จังหวะ การเคลื่อนไหวคืออะไร ก. การใช้ภาษา ข. ภาพ ค. ความคิด ง. ตัวละคร 77. ควรใช้ภาษาพูดในข้อใดเมื่อแสดงละคร ก. คาพูดที่ใช้กันอยู่ปกติ ข. คาพูดที่ใช้ต้องประหยัดถ้อยคา ค. จะต้องพูดให้เกินความเป็นจริง ง. คาพูดต้องให้กินใจอย่างลึกซึ้ง 78. ศึกษาบทละครเป็นอย่างดี คัดเลือกผู้แสดง กาหนดแผนการฝึกซ้อม และการแสดง และรับผิดชอบงานทุกด้าน ที่เกี่ยวกับการแสดงละคร คือหน้าที่ของใคร ก. เจ้าภาพ ข. นายทุน ค. ผู้อานวยการสร้าง ง. ผู้กากับการแสดง 79. ผู้มีหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน ควบคุมบท ในระหว่างการฝึกซ้อมและการแสดงคือใคร ก. ผู้ว่าการสร้าง ข. ผู้กากับการแสดง ค. ผู้กากับเวที ง. ผู้แสดง 80. หัวหน้าควบคุมการออกแบบทุกด้านคือ ข้อใด ก. ผู้กากับการแสดง ข. ผู้กากับเวที ค. ผู้อานวยการสร้าง ง. ผู้กากับฝ่ายศิลป์
  • 12. 12