SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ศิลปิ นที่มีชื่อเสี ยงในเอเชีย
สงัด ปุยอ๊ อกเกิด
๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๒ จังหวัดราชบุรี
ที่อยู่
๔๑/๙ หมู่ ๗ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ประวัติการศึกษา
๒๕๐๐ มัธยมศึกษาตอนต้ น โรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี
๒๕๐๓ ประกาศนียบัตรประโยคครูประถมการช่าง (ป.ป.ช.) โรงเรี ยน
เพาะช่าง
๒๕๐๗ อนุปริ ญญาศิลปบัณฑิต คณะจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพ
พิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
๒๕๑๘ ปริ ญญาศิลปบัณฑิต (ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาพและผลงาน
ปรี ชา เถาทอง

ศาสตราจารย์ ปรีชา เถาทอง
เกิด 2491 ศาสตราจารย์ / ศิลปิ นแห่ งชาติ (จิตรกรรม) 2552
ศิลปิ นชั้นเยียม สาขาจิตรกรรม 2522 ศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2)
่
สาขาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ ศ.ม. สาขา
จิตรกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
DIP. IN DRAWING ACCADEMIA DI BELLE ARTI ณ
ประเทศอิตาลี
ภาพผลงานเรื่อง แสงและเงา
ศิลปิ นภาพวาดสีนันชันแนวหน้ าของเมืองไทย และประธาน
้ ้
มูลนิธิสุชาติ วงศ์ ทอง ดร.สุชาติ ศิลปิ นเขียนสีนา
้
ศิลปิ นชาวจีนชื่อ
สวู่ เป่ ยหง เกิดในปี 1895 และเสียชีวิตในปี 1953 ไม่ ก่ ีปีหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
หรือการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน เขาเริ่มหัดเขียนภาพแบบจีนและตัวอักษรลาย
พู่กันจีนจากพ่ อของเขา ตังแต่ อายุเพียง 6 ขวบ
้
ปี 1915 เขาย้ ายไปเปิ ดร้ านขายภาพเขียนและอาศัยอยู่ท่ นครเซี่ยงไฮ้ และในอีก 2 ปี ต่ อมา ใน
ี
ปี 1917 เขาเดินทางไปยังกรุ งตเกียวเพื่อศึกษาศิลปะ หลังเขาเดินทางกลับมาได้ ถูกชักชวนให้
ไปสอนวิชาศิลปะที่มหาวิทยาลัยปั กกิ่ง พอปี 1919 เขาก็ออกเดินทางอีกครัง คราวนีม่ ุงหน้ าไป
้
้
ยุโรป เพื่อศึกษาศิลปะในกรุ งปารีส ที่เอโกเล่ นาสิอองนาน ซูเปริเออ แดส โบซ์ อาร์ ต ซึ่งเป็ น
สถาบันศิลปะที่มีช่ ือเสียงในขณะนัน เขาได้ เรียนการเขียนภาพสีนามันและการวาดเส้ น
้
้
ระหว่ างนันเขาก็ตระเวณดูงานศิลปะไปจนทั่วยุโรปตะวันตก เพื่อเรียนรู้ รูปแบบและอิทธิพล
้
ของศิลปะแขนงต่ างๆ เมื่อเขากลับมายังประเทศจีนในปี 1927 เขาก็ได้ เข้ าสอนที่
มหาวิทยาลัยส่ วนกลางของประเทศ ซึ่งปั จจุบันคือ มหาวิทยาลัยหนานกิง
เฉลิมชัยเป็ นจิตรกรที่มีฝีมือเป็ นที่ยอมรั บคนหนึ่งของประเทศไทย เป็ น
ชาวหมู่บ้านร่ องขุ่น จังหวัดเชียงราย เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
2498 เป็ นบุตรคนที่ 3 ของนายฮั่วชิว แซ่ โค้ ว (ต่ อมาเปลี่ยนชื่อเป็ นนาย
ไพศาล) และนางพรศรี อยู่สุข ทาคลอดด้ วยหมอตาแยชื่อยายตุ่น ชีวต
ิ
ตอนเด็ก ๆ เป็ นคนเกเร ไม่ ตังใจเรี ยน แต่ มีความชอบวาดรู ป จึงพยายาม
้
เข้ าเรี ยนที่เพาะช่ าง และมหาวิทยาลัยศิลปากร เคยได้ รับเหรี ยญทองจาก
การประกวดผลงานระดับชาติ ในตอนที่เรี ยนอยู่ตอนปี ที่ 4 มีผลงานรู ป
วาดตามผนังของวัดไทยมากมาย ผลงานปั จจุบัน เฉลิมชัยตังใจที่จะสร้ าง
้
วัดร่ องขุ่น ซึ่งเป็ นวัดบ้ านเกิดของเขา ด้ วยศิลปะไทยประยุกต์ หรื อศิลปะ
สมัยใหม่
ศาสตราจารย์ กมล ทัศนาญชลี ศิลปิ นแห่ งชาติ ปี 2540 สาขาทัศนศิลป (จิตรกรรมและ
์
สื่อผสม) เกิดเมื่อ 17 มกราคม 2487 ถือเป็ นศิลปิ นดีเด่ นในด้ านจิตรกรรมและสื่อผสมร่ วม
สมัยของไทย ได้ รับการยกย่ องทังในและต่ างประเทศ ทางด้ านศิลปะร่ วมสมัยของไทย ผลงาน
้
ที่เป็ นเอกลักษณ์ ในแนวทางสากลที่มีพืนฐานจากศิลปะแบบประเพณีไทยในอดีต
้
ปั จจุบัน ศ.กมล ทัศนาญชลี สอนหนังสือและสร้ างสรรค์ ผลงานศิลปะอยู่ท่ สหรัฐอเมริกา ใน
ี
ฐานะประธานสภาศิลปกรรมไทยแห่ งสหรัฐอเมริกา นอกจากนียังสนับสนุนและส่ งเสริมศิลปิ น
้
ไทยในการศึกษาและหาประสบการณ์ ทังนี ้ ศ.กมล ทัศนาญชลี ยังเป็ นคนไทยและคนเอเชีย
้
เพียงหนึ่งเดียว ที่ผลงานศิลปะถูกบันทึกไว้ ใน Gardner's Art Through The
Ages หรือ หนังสือประวัติศาสตร์ ศิลปโลก ซึ่งเป็ นหนังสือรวบรวมผลงานศิลปะทั่วโลก ทัง
์
้
ก่ อนประวัตศาสตร์ จนถึงปั จจุบัน โดยทั่วโลกมีศิลปิ นได้ รับการบันทึกเพียง 30,000 คน ส่ วน
ิ
ใหญ่ จะเป็ นชาวยุโรปและอเมริกา
ถวัลย์ ดัชนี (27 กันยายน พ.ศ. 2482 - ) จิตรกร ช่างเขียนรูป แห่งดอยสูง
เชียงราย ได้ รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้ เป็ นศิลปิ นแห่งชาติ สาขา
ทัศนศิลป (จิตรกรรม) เมื่อพ.ศ. 2544 เกิดที่อาเภอเมืองจังหวัดเชียงราย
์
ตอนเรี ยนอยูที่ศิลปากรในชันปี ที่ 1 ถวัลย์ ดัชนี ทาคะแนนการวาดรูปได้ ถง
่
้
ึ
100+ แต่เมื่อขึ ้นปี 2 เขากลับทาได้ แค่ 15 คะแนน เพราะเหตุผลที่
ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ให้ ไว้ วา ปลาของนายไม่มีกลิ่ นคาว นกของนายแหวก
์
่
ว่ายไปในอากาศไม่ได้ ม้าของนายไม่สามารถที จะควบหรื อวิ่ งทะยานออกไปได้
่
นายเป็ นเพียงแค่นกลอกรู ป มันไม่ใช่งานศิ ลปะ
ั
อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต เกิดเมื่อวันที่ 16 สิ งหาคม พ.ศ. 2486 ที่
กรุ งเทพมหานคร บุตร นายชุบและนางสว่างจันทร์ โปษยกฤต ระยะแรกเข้า
ศึกษา ต่อที่โรงเรี ยนวชิราวุธวิทยาลัย จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัย
ศิลปากร
มีความเชี่ยวชาญด้านจิตรกรรมทั้งแบบไทยประเพณี และศิลปะร่ วมสมัยงานหุ่น
กระบอก
ศาสตราจารย์ ประหยัด ได้ คดค้ นกรรมวิธีทางภาพพิมพ์ทเี่ ป็ น
ิ
ประโยชน์ แก่ การศิลปะภาพพิมพ์เป็ นจานวนมาก อาทิ การ
คิดค้นกรรมวิธีการผสมผสานระหว่างภาพพิมพ์เข้าสู่งาน
จิตรกรรมเป็ นภาพเดียวกันได้คนพบกรรมวิธีถ่ายทอดลายไม้
้
จากแผ่นหนึ่ง เข้าไปผสมกับงานเขียนภาพจิตรกรรม
นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ศิลปิ นแห่ งชาติ สาขาทัศนศิลป์ เกิด
เมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๔๖๕ เป็ นศิลปิ นอาวุโสคนสาคัญใน
ด้ านประติมกรรม ทีมีผลงานดีเด่ นเป็ นทียอมรับในวงการศิลปะ
่
่
และทัวไป ได้ สร้ างสรรค์ ผลงานประติมากรรมทั้งที่เป็ นงาน
่
ศิลปะแบบปัจจุบันและประเพณีไว้ มากมาย ได้ ส่งผลงานเข้ า
ร่ วมแสดงศิลปกรรมแห่ งชาติ ได้ รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญ
ทองหลายครั้งและได้ เป็ นศิลปิ นชั้นเยียม
่
นายประเทือง เอมเจริญ ปัจจุบันอายุ ๗๐ ปี เกิดเมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม
พุทธศักราช ๒๔๗๘ ที่ กรุงเทพมหานคร เป็ นศิลปิ นทีศึกษาศิลปะด้ วย
่
ตนเองอย่ างมุ่งมั่น อดทน ด้ วยการศึกษาค้นคว้ างานทางศิลปะอย่ าง
หนัก ศึกษาปรัชญาชีวตทั้งศิลปะของอินเดีย จีนและศึกษาธรรมชาติ
ิ
โดยเฉพาะ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็ นแหล่งกาเนิดของพลังแสงสว่ าง จนเกิด
มุมมองในการสร้ างสรรค์งานศิลปะที่เป็ น รูปแบบของตนเอง
นายเฟื้ อ หริพทักษ์ (22 เมษายน พ.ศ. 2453 - 19 ตุลาคม
ิ
2536) ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ประจาปี พ.ศ.
2528 เป็ นศิลปิ นและจิตรกร ผูได้รับการยกย่องเป็ น
้
“ครู ใหญ่ในวงการศิลปะ” ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขา
บริ การสาธารณะ เมื่อ พ.ศ. 2526
อังคาร กัลยาณพงศ์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 — 25
สิ งหาคม พ.ศ. 2555) เป็ นทั้งกวีและจิตรกร เกิดที่จงหวันครศรี ธรรม
ั
ราชศึกษาระดับประถมที่ โรงเรี ยนวัดจันทาราม ต่อมาก็เรี ยนที่วดใหญ่
ั
จนจบประถมสี่ แล้วย้ายไปเรี ยนที่โรงเรี ยนมัธยมประจาจังหวัด
คือ โรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ นครศรี ธรรมราช ศึกษาศิลปะที่โรงเรี ยน
เพาะช่าง และที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพ
พิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

More Related Content

Similar to ศิลปินที่มีชื่อเสียงในเอเชีย

Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn universityArtis of silapakorn university
Artis of silapakorn universitywenikarn
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะChanan Chita
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)
118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)
118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาPuchida Saingchin
 

Similar to ศิลปินที่มีชื่อเสียงในเอเชีย (11)

Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn universityArtis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องยุคของศิลปะ
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
 
118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)
118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)
118+hisp5+dltv54+550217+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี (1 หน้า)
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

ศิลปินที่มีชื่อเสียงในเอเชีย

  • 1. ศิลปิ นที่มีชื่อเสี ยงในเอเชีย สงัด ปุยอ๊ อกเกิด ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๒ จังหวัดราชบุรี ที่อยู่ ๔๑/๙ หมู่ ๗ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ประวัติการศึกษา ๒๕๐๐ มัธยมศึกษาตอนต้ น โรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี ๒๕๐๓ ประกาศนียบัตรประโยคครูประถมการช่าง (ป.ป.ช.) โรงเรี ยน เพาะช่าง ๒๕๐๗ อนุปริ ญญาศิลปบัณฑิต คณะจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพ พิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๘ ปริ ญญาศิลปบัณฑิต (ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 3. ปรี ชา เถาทอง ศาสตราจารย์ ปรีชา เถาทอง เกิด 2491 ศาสตราจารย์ / ศิลปิ นแห่ งชาติ (จิตรกรรม) 2552 ศิลปิ นชั้นเยียม สาขาจิตรกรรม 2522 ศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 2) ่ สาขาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ ศ.ม. สาขา จิตรกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร DIP. IN DRAWING ACCADEMIA DI BELLE ARTI ณ ประเทศอิตาลี
  • 5. ศิลปิ นภาพวาดสีนันชันแนวหน้ าของเมืองไทย และประธาน ้ ้ มูลนิธิสุชาติ วงศ์ ทอง ดร.สุชาติ ศิลปิ นเขียนสีนา ้
  • 6. ศิลปิ นชาวจีนชื่อ สวู่ เป่ ยหง เกิดในปี 1895 และเสียชีวิตในปี 1953 ไม่ ก่ ีปีหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน เขาเริ่มหัดเขียนภาพแบบจีนและตัวอักษรลาย พู่กันจีนจากพ่ อของเขา ตังแต่ อายุเพียง 6 ขวบ ้ ปี 1915 เขาย้ ายไปเปิ ดร้ านขายภาพเขียนและอาศัยอยู่ท่ นครเซี่ยงไฮ้ และในอีก 2 ปี ต่ อมา ใน ี ปี 1917 เขาเดินทางไปยังกรุ งตเกียวเพื่อศึกษาศิลปะ หลังเขาเดินทางกลับมาได้ ถูกชักชวนให้ ไปสอนวิชาศิลปะที่มหาวิทยาลัยปั กกิ่ง พอปี 1919 เขาก็ออกเดินทางอีกครัง คราวนีม่ ุงหน้ าไป ้ ้ ยุโรป เพื่อศึกษาศิลปะในกรุ งปารีส ที่เอโกเล่ นาสิอองนาน ซูเปริเออ แดส โบซ์ อาร์ ต ซึ่งเป็ น สถาบันศิลปะที่มีช่ ือเสียงในขณะนัน เขาได้ เรียนการเขียนภาพสีนามันและการวาดเส้ น ้ ้ ระหว่ างนันเขาก็ตระเวณดูงานศิลปะไปจนทั่วยุโรปตะวันตก เพื่อเรียนรู้ รูปแบบและอิทธิพล ้ ของศิลปะแขนงต่ างๆ เมื่อเขากลับมายังประเทศจีนในปี 1927 เขาก็ได้ เข้ าสอนที่ มหาวิทยาลัยส่ วนกลางของประเทศ ซึ่งปั จจุบันคือ มหาวิทยาลัยหนานกิง
  • 7. เฉลิมชัยเป็ นจิตรกรที่มีฝีมือเป็ นที่ยอมรั บคนหนึ่งของประเทศไทย เป็ น ชาวหมู่บ้านร่ องขุ่น จังหวัดเชียงราย เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 เป็ นบุตรคนที่ 3 ของนายฮั่วชิว แซ่ โค้ ว (ต่ อมาเปลี่ยนชื่อเป็ นนาย ไพศาล) และนางพรศรี อยู่สุข ทาคลอดด้ วยหมอตาแยชื่อยายตุ่น ชีวต ิ ตอนเด็ก ๆ เป็ นคนเกเร ไม่ ตังใจเรี ยน แต่ มีความชอบวาดรู ป จึงพยายาม ้ เข้ าเรี ยนที่เพาะช่ าง และมหาวิทยาลัยศิลปากร เคยได้ รับเหรี ยญทองจาก การประกวดผลงานระดับชาติ ในตอนที่เรี ยนอยู่ตอนปี ที่ 4 มีผลงานรู ป วาดตามผนังของวัดไทยมากมาย ผลงานปั จจุบัน เฉลิมชัยตังใจที่จะสร้ าง ้ วัดร่ องขุ่น ซึ่งเป็ นวัดบ้ านเกิดของเขา ด้ วยศิลปะไทยประยุกต์ หรื อศิลปะ สมัยใหม่
  • 8.
  • 9. ศาสตราจารย์ กมล ทัศนาญชลี ศิลปิ นแห่ งชาติ ปี 2540 สาขาทัศนศิลป (จิตรกรรมและ ์ สื่อผสม) เกิดเมื่อ 17 มกราคม 2487 ถือเป็ นศิลปิ นดีเด่ นในด้ านจิตรกรรมและสื่อผสมร่ วม สมัยของไทย ได้ รับการยกย่ องทังในและต่ างประเทศ ทางด้ านศิลปะร่ วมสมัยของไทย ผลงาน ้ ที่เป็ นเอกลักษณ์ ในแนวทางสากลที่มีพืนฐานจากศิลปะแบบประเพณีไทยในอดีต ้ ปั จจุบัน ศ.กมล ทัศนาญชลี สอนหนังสือและสร้ างสรรค์ ผลงานศิลปะอยู่ท่ สหรัฐอเมริกา ใน ี ฐานะประธานสภาศิลปกรรมไทยแห่ งสหรัฐอเมริกา นอกจากนียังสนับสนุนและส่ งเสริมศิลปิ น ้ ไทยในการศึกษาและหาประสบการณ์ ทังนี ้ ศ.กมล ทัศนาญชลี ยังเป็ นคนไทยและคนเอเชีย ้ เพียงหนึ่งเดียว ที่ผลงานศิลปะถูกบันทึกไว้ ใน Gardner's Art Through The Ages หรือ หนังสือประวัติศาสตร์ ศิลปโลก ซึ่งเป็ นหนังสือรวบรวมผลงานศิลปะทั่วโลก ทัง ์ ้ ก่ อนประวัตศาสตร์ จนถึงปั จจุบัน โดยทั่วโลกมีศิลปิ นได้ รับการบันทึกเพียง 30,000 คน ส่ วน ิ ใหญ่ จะเป็ นชาวยุโรปและอเมริกา
  • 10. ถวัลย์ ดัชนี (27 กันยายน พ.ศ. 2482 - ) จิตรกร ช่างเขียนรูป แห่งดอยสูง เชียงราย ได้ รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้ เป็ นศิลปิ นแห่งชาติ สาขา ทัศนศิลป (จิตรกรรม) เมื่อพ.ศ. 2544 เกิดที่อาเภอเมืองจังหวัดเชียงราย ์ ตอนเรี ยนอยูที่ศิลปากรในชันปี ที่ 1 ถวัลย์ ดัชนี ทาคะแนนการวาดรูปได้ ถง ่ ้ ึ 100+ แต่เมื่อขึ ้นปี 2 เขากลับทาได้ แค่ 15 คะแนน เพราะเหตุผลที่ ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ให้ ไว้ วา ปลาของนายไม่มีกลิ่ นคาว นกของนายแหวก ์ ่ ว่ายไปในอากาศไม่ได้ ม้าของนายไม่สามารถที จะควบหรื อวิ่ งทะยานออกไปได้ ่ นายเป็ นเพียงแค่นกลอกรู ป มันไม่ใช่งานศิ ลปะ ั
  • 11. อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต เกิดเมื่อวันที่ 16 สิ งหาคม พ.ศ. 2486 ที่ กรุ งเทพมหานคร บุตร นายชุบและนางสว่างจันทร์ โปษยกฤต ระยะแรกเข้า ศึกษา ต่อที่โรงเรี ยนวชิราวุธวิทยาลัย จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัย ศิลปากร มีความเชี่ยวชาญด้านจิตรกรรมทั้งแบบไทยประเพณี และศิลปะร่ วมสมัยงานหุ่น กระบอก
  • 12. ศาสตราจารย์ ประหยัด ได้ คดค้ นกรรมวิธีทางภาพพิมพ์ทเี่ ป็ น ิ ประโยชน์ แก่ การศิลปะภาพพิมพ์เป็ นจานวนมาก อาทิ การ คิดค้นกรรมวิธีการผสมผสานระหว่างภาพพิมพ์เข้าสู่งาน จิตรกรรมเป็ นภาพเดียวกันได้คนพบกรรมวิธีถ่ายทอดลายไม้ ้ จากแผ่นหนึ่ง เข้าไปผสมกับงานเขียนภาพจิตรกรรม
  • 13. นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ศิลปิ นแห่ งชาติ สาขาทัศนศิลป์ เกิด เมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๔๖๕ เป็ นศิลปิ นอาวุโสคนสาคัญใน ด้ านประติมกรรม ทีมีผลงานดีเด่ นเป็ นทียอมรับในวงการศิลปะ ่ ่ และทัวไป ได้ สร้ างสรรค์ ผลงานประติมากรรมทั้งที่เป็ นงาน ่ ศิลปะแบบปัจจุบันและประเพณีไว้ มากมาย ได้ ส่งผลงานเข้ า ร่ วมแสดงศิลปกรรมแห่ งชาติ ได้ รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญ ทองหลายครั้งและได้ เป็ นศิลปิ นชั้นเยียม ่
  • 14. นายประเทือง เอมเจริญ ปัจจุบันอายุ ๗๐ ปี เกิดเมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๗๘ ที่ กรุงเทพมหานคร เป็ นศิลปิ นทีศึกษาศิลปะด้ วย ่ ตนเองอย่ างมุ่งมั่น อดทน ด้ วยการศึกษาค้นคว้ างานทางศิลปะอย่ าง หนัก ศึกษาปรัชญาชีวตทั้งศิลปะของอินเดีย จีนและศึกษาธรรมชาติ ิ โดยเฉพาะ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็ นแหล่งกาเนิดของพลังแสงสว่ าง จนเกิด มุมมองในการสร้ างสรรค์งานศิลปะที่เป็ น รูปแบบของตนเอง
  • 15. นายเฟื้ อ หริพทักษ์ (22 เมษายน พ.ศ. 2453 - 19 ตุลาคม ิ 2536) ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ประจาปี พ.ศ. 2528 เป็ นศิลปิ นและจิตรกร ผูได้รับการยกย่องเป็ น ้ “ครู ใหญ่ในวงการศิลปะ” ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขา บริ การสาธารณะ เมื่อ พ.ศ. 2526
  • 16. อังคาร กัลยาณพงศ์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 — 25 สิ งหาคม พ.ศ. 2555) เป็ นทั้งกวีและจิตรกร เกิดที่จงหวันครศรี ธรรม ั ราชศึกษาระดับประถมที่ โรงเรี ยนวัดจันทาราม ต่อมาก็เรี ยนที่วดใหญ่ ั จนจบประถมสี่ แล้วย้ายไปเรี ยนที่โรงเรี ยนมัธยมประจาจังหวัด คือ โรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ นครศรี ธรรมราช ศึกษาศิลปะที่โรงเรี ยน เพาะช่าง และที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพ พิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร