SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
แบบฝึกทักษะ ทดสอบความรู้เรื่องดนตรีตะวันตก
ชุดศัพท์ทั่วไป
1. คอนแชร์โต คือ บทเพลงที่มีการเดี่ยวเครื่องดนตรี
ประชันกับวงประเภทใด
ก. สตริงคอมโบ ข. แจ๊ส
ค.แชมเบอร์มิวสิค ง. ออร์เคสตร้า
2.โดยปกติ คอนแชร์โต นิยมแต่งกี่ท่อน (Movement)
ก. 3 ท่อน ข. 5 ท่อน
ค. 6 ท่อน ง. 7 ท่อน
3.ซิมโฟนีมักแต่งให้ มูฟเมนท์ ที่ 2 เป็นลีลาแบบใด
ก. เร็วและตื่นเต้น ข. ช้านุ่มนวล
ค. จังหวะเต้นราแบบมินูเอ็ท ง. เร็วมากที่สุด
4. ข้อใดหมายถึง Piano Quartet
ก. ไวโอลิน 1, วิโอลา 1, เชลโล 1, เปียโน 1
ข. ไวโอลิน 2, วิโอลา 1, เปียโน 2
ค. ไวโอลิน 1, วิโอลา 2 , เปียโน 3
ง. ไวโอลิน 2 , เปียโน1, ฟลูต 1 เชลโล 1
5. BWV เมื่ออยู่หลังชื่อเพลงหมายถึงเพลงของใคร
ก. Bach(บาค)
ข. Mozart (โมสาร์ท)
ค.Beethoven (บีโธเฟน)
ง. Brahms (บราห์ม)
6. ดุริยกวียุคบาโรก มีใครบ้าง
ก.Vivaldi (วิวัลดี) Bach(บาค)
ข. Mozart (โมสาร์ท) Vivaldi (วิวัลดี)
ค.Beethoven (บีโธเฟน) Haydn ( ไฮเดิน)
ง. Brahms (บราห์ม) ( Chopin)โชแปง
7. ยุคใดที่ยังไม่ใช้เปียโนในการบรรเลง
ก. บาโรก ข. คลาสสิก
ค.โรแมนติก ง. ศตวรรษที่ 20
8. Serenade in G major, K. 525 น่าจะเป็นเพลงของใคร
ก. Bach (บาค)
ข. Mozart (โมสาร์ท)
ค.Beethoven (บีโธเฟน)
ง. Brahms (บราห์ม)
9. ดุริยกวีที่อยู่ในยุค โรแมนติกคือใคร
ก.Haydn (ไฮเดิน) ข. Mozart (โมสาร์ท)
ค.Beethoven (บีโธเฟน) ง. Brahms (บราห์ม)
10. ดนตรีแจ๊ส กาเนิดในยุคใด
ก. บาโรก ข.คลาสสิก
ค.โรแมนติก ง. ศตวรรษที่ 20
จากโน้ตเพลงด้านล่างใช้ในการตอบคาถามข้อ 11-12
11. โน้ตเพลงด้านบน ใช้เครื่องหมายแปลงเสียงที่โน้ตใด
ก. G ชาร์ป ข. A
ชาร์ป
ค. F ชาร์ป ง. F
แฟล็ต
12. โน้ตตัวใดที่ต้องถูกบังคับด้วยเครื่องหมาย แฟล็ต
ก. ไม่มี ข.5 ค. 8 ง. 10
จากโน้ตเพลงด้านบนใช้ตอบคาถามข้อ 13-16
13 จงอธิบายถึงลักษณะความดัง-เบาของโน้ตเพลงที่ปรากฏ
ก. เบา ดังขึ้นเบาลง เพิ่มความดัง แล้วดังมากขึ้น
ข. เบาปานกลางแล้วเบาลง ดังขึ้นแล้วจบเบา
ค. ดังแล้วค่อย ๆ เบาลง ดังขึ้นเล็กน้อยและจบดัง
ง. เบาแล้วค่อย ๆ ดังขึ้นจนจบเพลงที่ดังมาก
14. โน้ตตัวใดเล่นเสียงดังที่สุด
ก. ฟา ข. ลา ค. ลาชาร์ป ง. เร (โน้ตสุดท้าย)
15.โน้ตตัวใดเล่นเสียงเบาที่สุด
ก. ฟา ข.ลา ค. ลาชาร์ป ง. มี
16. โน้ต เร ในห้องแรก น่าจะ ใช้ความดังอย่างไร
ก. p ข. mf ค. mp ง. ff
จากโน้ตที่ปรากฏ ใช้ตอบคาถามตั้งแต่ข้อ 17-20
17. จากโน้ตเพลงข้างบน มีอัตราห้องละกี่จังหวะ
ก.1 ข.2 ค.3 ง.4
18. ห้องเพลงแรกต้องเติมโน้ตตัวใดจึงจะครบจังหวะตามที่กาหนด
ก. เขบ็ตหนึ่งชั้น1 ตัว ข. ตัวดา 1 ตัว
ค. เขบ็ต 2 ชั้น 1ตัว ง. ไม่ต้องเติม
19. คาว่า “พุง” มีค่ากี่จังหวะ
ก. ครึ่ง ข. หนึ่ง
ค. หนึ่งครึ่ง ง .สอง
20. คาว่า “ไต” มีค่าไม่เท่ากับคาใด
ก. รัก ข. แท้
ค. ที่ ง .ไม่มี
ความรู้เพิ่มเติม
อักษรย่อหลังบทเพลง บอกอะไรบ้าง
ในชื่อเพลงคลาสสิกมีอักษรย่อ และหมายเลขต่าง ๆกากับไว้ มีความหมายอย่างไร สามารถ
อธิบายได้ดังนี้
1. No. หมายถึงลาดับผลงานบทเพลงประเภทนั้น ๆ เช่น Symphony No. 5 หมายถึงเพลงประเภท
Symphony ที่ดุริยกวีท่านนี้แต่ง เพลงนี้ เป็นลาดับที่ 5 ของท่าน ซึ่งอาจมีมากกว่านั้นและจะเพิ่ม
ลาดับหมายเลขต่อไป ตัวอย่าง Beethoven Symphony No. 5 in C minor, Opus 67 หรือ
Mozart Symphony No. 40 in G minor, KV. 550 Haydn , Cello Concerto No1 in C
Major
2. Op.หรือ Opus หมายถึง ลาดับของผลงานรวมทุกประเภทของดุริยกวีท่านต่าง ๆ
3. in ตามด้วยอักษร เช่น C, A Major, F, …หมายถึง บันไดเสียง ที่ใช้บรรเลง เช่น Symphony No.
5 in C minor / in G minor / in A Major Violin Concerto in A minor (1st mvt.)
Cello Concerto No1 in C Major
4. BWV. ย่อมาจาก (Bach-Werke-Verzeichnis) หมายถึงบัญชีรายชื่อ หรือลาดับผลงานของ Bach
5. D. คือบัญชีรายชื่อหรือลาดับผลงานเพลงของ Franz Schubert (ฟรานซ์ ชูเบิร์ต)
ที่ Otto Erich Deutsch เป็นผู้เก็บข้อมูลรวบรวมไว้ โดยรายชื่อเพลงลาดับตามวันเวลาในการ
ประพันธ์
6. K. หรือ KV. หมายถึง ย่อมาจาก Köchel Verzeichnis ในภาษาเยอรมัน หรือ Köchel
catalogue ในภาษาอังกฤษ หมายถึงบัญชีรายชื่อบทเพลงของ Mozart ซึ่งมี Köchel เป็นผู้
รวบรวมผลงานจึงใช้ชื่อย่อของตนเอง
Mozart
7. 1st mvt. หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 1
2nd
mvt หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 2
3rd
mvt หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 3
4 th mvt หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 4
Franz Schubert ฟรานซ์ ชูเบิร์ต
ส่วนตัวอักษร D และตัวเลข ที่กากับท้ายเพลงคือ Deutsch’s catalogue คือบัญชีรายชื่อหรือลาดับ
ผลงานเพลงของ ชูเบิร์ต ที่ Otto Erich Deutsch เป็นผู้เก็บข้อมูลรวบรวมไว้ โดยรายชื่อเพลงลาดับ
ตามวันเวลาในการประพันธ์
(http://niwatblog.com/category/music-review/)
ตัวอย่าง Piano Sonatas No. 13 Op. 120 in A Major, D. 664
ฟัง http://www.youtube.com/watch?v=HIp5YTwf8rM
เพลงที่คุ้นหูมากที่สุด Serenade Schubert's Schwanengesang, D. 957
Standchen (Serenade)
http://www.youtube.com/watch?v=6FvzEQDNI9w
http://www.youtube.com/watch?v=_hrr5Xgy7G8&feature=fvwrel
ศึกษาเพิ่มเติม
http://topicstock.pantip.com/chalermkrung/topicstock/C3127099/C3127099.html
http://touchbluelife.exteen.com/20071114/entry-1
ความรู้เพิ่มเติม
คอนแชร์โต Concerto เป็นภาษาอิตาเลียน หมายถึงบทประพันธ์เพลงที่กาหนดให้มีเครื่อง
ดนตรีเดี่ยวมีบทบาทเด่น เล่นประชันน้าเสียงและลีลาไปกับวงดุริยางค์ เครื่องดนตรีเดี่ยวที่ใข้นั้น อาจ
กาหนดให้มีเพียงชิ้นเดียว เล่นโชว์ฝีมือเป็นตัวเอกของการแสดง เรียกกันว่า โซโลคอนแชร์โต (Solo
Concerto) หรืออาจกาหนดให้มีเครื่องเดี่ยวหลายชิ้น โดยแต่ละเครื่องมีแนวบรรเลงเป็นของตนเอง
เดี่ยวประชันน้าเสียง ลีลา และฝีมือของผู้เดี่ยวในกลุ่มเครื่องเดี่ยวด้วยกัน และยังประชันกับวงดุริยางค์
ที่ใช้บรรเลงสอดรับสนับสนุนโต้ตอบอีกชั้นหนึ่งด้วย คอนแชร์โตที่มีเครื่องเดี่ยวหลายชิ้นแบบนี้เรียกกัน
ว่า คอนแชร์โตกรอสโซ (Concerto Grosso)
คอนแชร์โตแต่ละบทประกอบด้วยกระบวนเพลง ( Movement) ย่อยอีก 3 กระบวนด้วยกัน
(คาว่ากระบวน หรือ Movement)
ที่มา
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=36ee6835f89fc432&pli=1
“ซิมโฟนี” Symphony โดยส่วนใหญ่แล้ว เมื่อเราพูดถึงสิ่งที่เรียกว่า “ซิมโฟนี” นั้น ฟอร์ม
ดนตรีที่เรากาลังพูดถึงจริงๆ แล้วคือ “classical symphony” ซึ่งเป็นรูปแบบการแต่งซิมโฟนีที่ใช้กัน
แพร่หลายที่สุดในยุค “คลาสสิก” (ประมาณ ค.ศ.1750-1820) เป็นยุคทองของคีตกวีชื่อดังอย่าง
Haydn, Mozart หรือ Beethoven โดย “ซิมโฟนี” แต่ละบทนั้นจะประกอบด้วย “กระบวน” หรือ
“ท่อน” (movement) ที่ให้อารมณ์แตกต่างกันทั้งหมด 4 ท่อน โดยเรียงลาดับตามรูปแบบมาตรฐาน
ได้แก่
ท่อนที่ 1: เร็ว (บางครั้งจะเปิดด้วยท่วงทานองช้านามาก่อน เพื่อสร้างความรู้สึกที่
ยิ่งใหญ่หรือลึกลับ)
ท่อนที่ 2: ช้า หวานหรือเศร้า
ท่อนที่ 3: Minuet (เพลงจังหวะเต้นราซึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่ 18) หรือ Scherzo (เพลง
ลีลาสนุกสนานชวนหัว)
ท่อนที่ 4: เร็ว มีชีวิตชีวา
ซิมโฟนีส่วนใหญ่ในยุคคลาสสิกนี้จะถูกแต่งขึ้นสาหรับวงออเคสตราซึ่งประกอบด้วยเครื่อง
ดนตรีในกลุ่มหลักๆ 3 กลุ่ม ได้แก่ ได้แก่ เครื่องสาย (ไวโอลิน, วิโอลา, เชลโล, เบส), เครื่องเป่าลมไม้
หรือ woodwind (ฟลูต, โอโบ, คลาริเน็ต, บาสซูน), เครื่องเป่าทองเหลือง หรือ brass (เฟรนช์ฮอร์น,
ทรัมเป็ต) และกลองทิมปานี (ในบางกรณี) โดยคีตกวีเอกท่านหนึ่งที่แต่งเพลงโดยใช้รูปแบบที่กล่าวมา
ทั้งหมดนี้จนกลายเป็นแบบแผนมาตรฐานคือ Franz Joseph Haydn (1732-1809) ผู้ซึ่งประพันธ์
ซิมโฟนีไว้มากถึง 108 บท จนได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งซิมโฟนี”
ที่มา
http://www.komchadluek.net/detail/20120621/133276/%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0
%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%B
7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html

Contenu connexe

Tendances

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าkrupornpana55
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 

Tendances (20)

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 

En vedette

แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากล
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากลแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากล
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกE learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกบ.บีม ลพบุรี
 
แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1leemeanxun
 
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีThaweekoon Intharachai
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 

En vedette (7)

แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากล
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากลแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากล
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เครื่องดนตรีสากล
 
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกE learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
 
แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1แบบฝึกเปียโน 1
แบบฝึกเปียโน 1
 
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
ทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรีทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 

Similaire à ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง

แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกpeter dontoom
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfpinglada
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)Float Jo
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
หลอดลม
หลอดลมหลอดลม
หลอดลมLional Messi
 

Similaire à ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง (13)

แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
 
หลอดลม
หลอดลมหลอดลม
หลอดลม
 

Plus de peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

Plus de peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง

  • 1. แบบฝึกทักษะ ทดสอบความรู้เรื่องดนตรีตะวันตก ชุดศัพท์ทั่วไป 1. คอนแชร์โต คือ บทเพลงที่มีการเดี่ยวเครื่องดนตรี ประชันกับวงประเภทใด ก. สตริงคอมโบ ข. แจ๊ส ค.แชมเบอร์มิวสิค ง. ออร์เคสตร้า 2.โดยปกติ คอนแชร์โต นิยมแต่งกี่ท่อน (Movement) ก. 3 ท่อน ข. 5 ท่อน ค. 6 ท่อน ง. 7 ท่อน 3.ซิมโฟนีมักแต่งให้ มูฟเมนท์ ที่ 2 เป็นลีลาแบบใด ก. เร็วและตื่นเต้น ข. ช้านุ่มนวล ค. จังหวะเต้นราแบบมินูเอ็ท ง. เร็วมากที่สุด 4. ข้อใดหมายถึง Piano Quartet ก. ไวโอลิน 1, วิโอลา 1, เชลโล 1, เปียโน 1 ข. ไวโอลิน 2, วิโอลา 1, เปียโน 2 ค. ไวโอลิน 1, วิโอลา 2 , เปียโน 3 ง. ไวโอลิน 2 , เปียโน1, ฟลูต 1 เชลโล 1 5. BWV เมื่ออยู่หลังชื่อเพลงหมายถึงเพลงของใคร ก. Bach(บาค) ข. Mozart (โมสาร์ท) ค.Beethoven (บีโธเฟน) ง. Brahms (บราห์ม) 6. ดุริยกวียุคบาโรก มีใครบ้าง ก.Vivaldi (วิวัลดี) Bach(บาค) ข. Mozart (โมสาร์ท) Vivaldi (วิวัลดี) ค.Beethoven (บีโธเฟน) Haydn ( ไฮเดิน) ง. Brahms (บราห์ม) ( Chopin)โชแปง 7. ยุคใดที่ยังไม่ใช้เปียโนในการบรรเลง ก. บาโรก ข. คลาสสิก ค.โรแมนติก ง. ศตวรรษที่ 20 8. Serenade in G major, K. 525 น่าจะเป็นเพลงของใคร ก. Bach (บาค) ข. Mozart (โมสาร์ท) ค.Beethoven (บีโธเฟน) ง. Brahms (บราห์ม) 9. ดุริยกวีที่อยู่ในยุค โรแมนติกคือใคร ก.Haydn (ไฮเดิน) ข. Mozart (โมสาร์ท) ค.Beethoven (บีโธเฟน) ง. Brahms (บราห์ม) 10. ดนตรีแจ๊ส กาเนิดในยุคใด ก. บาโรก ข.คลาสสิก ค.โรแมนติก ง. ศตวรรษที่ 20 จากโน้ตเพลงด้านล่างใช้ในการตอบคาถามข้อ 11-12 11. โน้ตเพลงด้านบน ใช้เครื่องหมายแปลงเสียงที่โน้ตใด ก. G ชาร์ป ข. A ชาร์ป ค. F ชาร์ป ง. F แฟล็ต 12. โน้ตตัวใดที่ต้องถูกบังคับด้วยเครื่องหมาย แฟล็ต ก. ไม่มี ข.5 ค. 8 ง. 10
  • 2. จากโน้ตเพลงด้านบนใช้ตอบคาถามข้อ 13-16 13 จงอธิบายถึงลักษณะความดัง-เบาของโน้ตเพลงที่ปรากฏ ก. เบา ดังขึ้นเบาลง เพิ่มความดัง แล้วดังมากขึ้น ข. เบาปานกลางแล้วเบาลง ดังขึ้นแล้วจบเบา ค. ดังแล้วค่อย ๆ เบาลง ดังขึ้นเล็กน้อยและจบดัง ง. เบาแล้วค่อย ๆ ดังขึ้นจนจบเพลงที่ดังมาก 14. โน้ตตัวใดเล่นเสียงดังที่สุด ก. ฟา ข. ลา ค. ลาชาร์ป ง. เร (โน้ตสุดท้าย) 15.โน้ตตัวใดเล่นเสียงเบาที่สุด ก. ฟา ข.ลา ค. ลาชาร์ป ง. มี 16. โน้ต เร ในห้องแรก น่าจะ ใช้ความดังอย่างไร ก. p ข. mf ค. mp ง. ff จากโน้ตที่ปรากฏ ใช้ตอบคาถามตั้งแต่ข้อ 17-20 17. จากโน้ตเพลงข้างบน มีอัตราห้องละกี่จังหวะ ก.1 ข.2 ค.3 ง.4 18. ห้องเพลงแรกต้องเติมโน้ตตัวใดจึงจะครบจังหวะตามที่กาหนด ก. เขบ็ตหนึ่งชั้น1 ตัว ข. ตัวดา 1 ตัว ค. เขบ็ต 2 ชั้น 1ตัว ง. ไม่ต้องเติม 19. คาว่า “พุง” มีค่ากี่จังหวะ ก. ครึ่ง ข. หนึ่ง ค. หนึ่งครึ่ง ง .สอง
  • 3. 20. คาว่า “ไต” มีค่าไม่เท่ากับคาใด ก. รัก ข. แท้ ค. ที่ ง .ไม่มี ความรู้เพิ่มเติม อักษรย่อหลังบทเพลง บอกอะไรบ้าง ในชื่อเพลงคลาสสิกมีอักษรย่อ และหมายเลขต่าง ๆกากับไว้ มีความหมายอย่างไร สามารถ อธิบายได้ดังนี้ 1. No. หมายถึงลาดับผลงานบทเพลงประเภทนั้น ๆ เช่น Symphony No. 5 หมายถึงเพลงประเภท Symphony ที่ดุริยกวีท่านนี้แต่ง เพลงนี้ เป็นลาดับที่ 5 ของท่าน ซึ่งอาจมีมากกว่านั้นและจะเพิ่ม ลาดับหมายเลขต่อไป ตัวอย่าง Beethoven Symphony No. 5 in C minor, Opus 67 หรือ Mozart Symphony No. 40 in G minor, KV. 550 Haydn , Cello Concerto No1 in C Major 2. Op.หรือ Opus หมายถึง ลาดับของผลงานรวมทุกประเภทของดุริยกวีท่านต่าง ๆ 3. in ตามด้วยอักษร เช่น C, A Major, F, …หมายถึง บันไดเสียง ที่ใช้บรรเลง เช่น Symphony No. 5 in C minor / in G minor / in A Major Violin Concerto in A minor (1st mvt.) Cello Concerto No1 in C Major 4. BWV. ย่อมาจาก (Bach-Werke-Verzeichnis) หมายถึงบัญชีรายชื่อ หรือลาดับผลงานของ Bach 5. D. คือบัญชีรายชื่อหรือลาดับผลงานเพลงของ Franz Schubert (ฟรานซ์ ชูเบิร์ต)
  • 4. ที่ Otto Erich Deutsch เป็นผู้เก็บข้อมูลรวบรวมไว้ โดยรายชื่อเพลงลาดับตามวันเวลาในการ ประพันธ์ 6. K. หรือ KV. หมายถึง ย่อมาจาก Köchel Verzeichnis ในภาษาเยอรมัน หรือ Köchel catalogue ในภาษาอังกฤษ หมายถึงบัญชีรายชื่อบทเพลงของ Mozart ซึ่งมี Köchel เป็นผู้ รวบรวมผลงานจึงใช้ชื่อย่อของตนเอง Mozart 7. 1st mvt. หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 1 2nd mvt หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 2 3rd mvt หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 3 4 th mvt หมายถึงท่อนเพลง (movement) ที่ 4 Franz Schubert ฟรานซ์ ชูเบิร์ต
  • 5. ส่วนตัวอักษร D และตัวเลข ที่กากับท้ายเพลงคือ Deutsch’s catalogue คือบัญชีรายชื่อหรือลาดับ ผลงานเพลงของ ชูเบิร์ต ที่ Otto Erich Deutsch เป็นผู้เก็บข้อมูลรวบรวมไว้ โดยรายชื่อเพลงลาดับ ตามวันเวลาในการประพันธ์ (http://niwatblog.com/category/music-review/) ตัวอย่าง Piano Sonatas No. 13 Op. 120 in A Major, D. 664 ฟัง http://www.youtube.com/watch?v=HIp5YTwf8rM เพลงที่คุ้นหูมากที่สุด Serenade Schubert's Schwanengesang, D. 957 Standchen (Serenade) http://www.youtube.com/watch?v=6FvzEQDNI9w http://www.youtube.com/watch?v=_hrr5Xgy7G8&feature=fvwrel ศึกษาเพิ่มเติม http://topicstock.pantip.com/chalermkrung/topicstock/C3127099/C3127099.html http://touchbluelife.exteen.com/20071114/entry-1 ความรู้เพิ่มเติม คอนแชร์โต Concerto เป็นภาษาอิตาเลียน หมายถึงบทประพันธ์เพลงที่กาหนดให้มีเครื่อง ดนตรีเดี่ยวมีบทบาทเด่น เล่นประชันน้าเสียงและลีลาไปกับวงดุริยางค์ เครื่องดนตรีเดี่ยวที่ใข้นั้น อาจ กาหนดให้มีเพียงชิ้นเดียว เล่นโชว์ฝีมือเป็นตัวเอกของการแสดง เรียกกันว่า โซโลคอนแชร์โต (Solo Concerto) หรืออาจกาหนดให้มีเครื่องเดี่ยวหลายชิ้น โดยแต่ละเครื่องมีแนวบรรเลงเป็นของตนเอง เดี่ยวประชันน้าเสียง ลีลา และฝีมือของผู้เดี่ยวในกลุ่มเครื่องเดี่ยวด้วยกัน และยังประชันกับวงดุริยางค์ ที่ใช้บรรเลงสอดรับสนับสนุนโต้ตอบอีกชั้นหนึ่งด้วย คอนแชร์โตที่มีเครื่องเดี่ยวหลายชิ้นแบบนี้เรียกกัน ว่า คอนแชร์โตกรอสโซ (Concerto Grosso) คอนแชร์โตแต่ละบทประกอบด้วยกระบวนเพลง ( Movement) ย่อยอีก 3 กระบวนด้วยกัน (คาว่ากระบวน หรือ Movement) ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=36ee6835f89fc432&pli=1 “ซิมโฟนี” Symphony โดยส่วนใหญ่แล้ว เมื่อเราพูดถึงสิ่งที่เรียกว่า “ซิมโฟนี” นั้น ฟอร์ม ดนตรีที่เรากาลังพูดถึงจริงๆ แล้วคือ “classical symphony” ซึ่งเป็นรูปแบบการแต่งซิมโฟนีที่ใช้กัน แพร่หลายที่สุดในยุค “คลาสสิก” (ประมาณ ค.ศ.1750-1820) เป็นยุคทองของคีตกวีชื่อดังอย่าง Haydn, Mozart หรือ Beethoven โดย “ซิมโฟนี” แต่ละบทนั้นจะประกอบด้วย “กระบวน” หรือ
  • 6. “ท่อน” (movement) ที่ให้อารมณ์แตกต่างกันทั้งหมด 4 ท่อน โดยเรียงลาดับตามรูปแบบมาตรฐาน ได้แก่ ท่อนที่ 1: เร็ว (บางครั้งจะเปิดด้วยท่วงทานองช้านามาก่อน เพื่อสร้างความรู้สึกที่ ยิ่งใหญ่หรือลึกลับ) ท่อนที่ 2: ช้า หวานหรือเศร้า ท่อนที่ 3: Minuet (เพลงจังหวะเต้นราซึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่ 18) หรือ Scherzo (เพลง ลีลาสนุกสนานชวนหัว) ท่อนที่ 4: เร็ว มีชีวิตชีวา ซิมโฟนีส่วนใหญ่ในยุคคลาสสิกนี้จะถูกแต่งขึ้นสาหรับวงออเคสตราซึ่งประกอบด้วยเครื่อง ดนตรีในกลุ่มหลักๆ 3 กลุ่ม ได้แก่ ได้แก่ เครื่องสาย (ไวโอลิน, วิโอลา, เชลโล, เบส), เครื่องเป่าลมไม้ หรือ woodwind (ฟลูต, โอโบ, คลาริเน็ต, บาสซูน), เครื่องเป่าทองเหลือง หรือ brass (เฟรนช์ฮอร์น, ทรัมเป็ต) และกลองทิมปานี (ในบางกรณี) โดยคีตกวีเอกท่านหนึ่งที่แต่งเพลงโดยใช้รูปแบบที่กล่าวมา ทั้งหมดนี้จนกลายเป็นแบบแผนมาตรฐานคือ Franz Joseph Haydn (1732-1809) ผู้ซึ่งประพันธ์ ซิมโฟนีไว้มากถึง 108 บท จนได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งซิมโฟนี” ที่มา http://www.komchadluek.net/detail/20120621/133276/%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0 %B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%B 7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html