SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
เรื่อง การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

2.1 ลักษณะการเคลื่อนที่
      ในธรรมชาติมีการเคลื่อนที่หลายลักษณะ เช่น รถยนต์แล่นไปตามถนน การหมุนของวงล้อจักรยาน
การกระเพื่อมขึ้นลงของผิวน้้า การเคลื่อนที่ทั้งหลายเหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับต้าแหน่งและการเปลี่ยน
ต้าแหน่งในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ถ้าเป็นกรณีรถยนต์แล่นไปตามถนนลักษณะที่จะเกี่ยวกับต้าแหน่งและการ
เปลี่ยนต้าแหน่งของรถยนต์ เป็นต้น
          การเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ สามารถแบ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่และการเคลื่อนที่แบบหมุน
อนุภาค สามารถเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ได้เท่านั้นโดยไม่สามารถเคลื่อนที่แบบหมุน แต่วัตถุแข็งเกร็ง
จะสามารถเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่และแบบหมุน




                                           รูป 2.1
           การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในธรรมชาติแบ่งเป็นการศึกษาใน 2 ลักษณะ คือ kinematics และ
dynamics ส้าหรับ kinematics เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยไม่ค้านึงถึงสาเหตุที่ท้าให้วัตถุ
เคลื่อนที่ไป ส้าหรับ dynamics จะเป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยศึกษาถึงสาเหตุที่ท้าให้วัตถุ
เคลื่อนที่ไป ส้าหรับการศึกษาในบทนี้จะเป็นการศึกษาในแนวของ kinematics และในบทที่ 7 เรื่องเกี่ยวกับ
นิวตันจะเป็นการศึกษาในแนวของ dynamics

2.2 ระยะทางการเคลื่อนที่
         ระยะทาง หมายถึง ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จริง ๆ โดยจะต้องต้าแหน่งเริ่มต้นของวัตถุ ต้าแหน่ง
สุดท้ายของวัตถุและเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ ระยะทางเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
2.3 อัตราเร็วของวัตถุ
         อัตราเร็ว หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วย
เป็น เมตร/วินาที
พิจารณาการเคลื่อนที่ของรถยนต์คันหนึ่งในแนวตรง ดังรูป 2.2




                                                     รูป 2.2
           เมื่อสิ้นสุดเวลา t1 วินาที หรือ ณ เวลา t1 รถยนต์เคลื่อนที่ได้ระยะทาง x1 จากจุดเริ่มต้น และเมื่อ
สิ้นสุดเวลา t2 วินาที หรือ ณ เวลา t2 รถยนต์เคลื่อนที่ได้ระยะทาง x2 จากจุดเริ่มต้น และการเคลื่อนที่ -
ต้าแหน่งเดิมต่อไปเรื่อย ๆ
           อัตราเร็วเฉลี่ย หมายถึง อัตราส่วนระหว่างระยะทางทั้งหมดที่เคลื่อนที่ได้กับช่วงเวลาที่ใช้ในการ
เคลื่อนที่นั้นโดยจะเขียนได้ว่า

                                             
                             v เฉลี่ย =                                        ………………(2-1)
                                             t



      เมื่อ  x = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ทั้งหมด มีหน่วยเป็น เมตร
             t = เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ มีหน่วยเป็น วินาที

      เช่น จากรูป ถ้า v12 เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาที่ รถยนต์เคลื่อนที่จาก t1 ถึง t2 เราจะได้ตามสมการ
(2-1)เป็น
                                 x 2  x1
                       v12 =
                                  t 2  t1




            อัตราเร็วขณะหนึ่ง หมายถึง อัตราเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ เวลาที่พิจารณา เช่น จากการ
เคลื่อนที่ของรถยนต์ ดังรูป 2.2 เราได้กราฟระยะทางกับเวลา เป็น ดังรูป 2.3 ถ้าต้องการหาอัตราเร็วของ
เวลา t สามารถหาได้จากสมการ (2-1) โดยให้เวลา t เป็นจุดกึ่งกลางของช่วงเวลา  t และต้องคิดที่กรณีที่
  t มีค่าน้อยมา

         นั่นคือ vt =  x   t   = มีค่าน้อยมาก และ t เป็นจุดกึ่งกลางของ  t        ………………(2-2)
                      t
รูป 2.3

ตัวอย่าง 1 ชายคนหนึ่งเดินจากจุด A ไปจุด B และจุด C โดยใช้เวลา ดังรูป




          จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-4 วินาที และ 4-7 วินาที
                                    x
วิธีทา ช่วง 0-4 S จาก vเฉลี่ย =
                                    t
        กรณี   x   = ระยะ AB = 20 m
               t   = ช่วงเวลา = 4-0 = 4 s
            v0-4   =          = 5 m/s
                         20
                         4
        นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-4 วินาที เท่ากับ 5 เมตร/วินาที
        ช่วง 4-7 s กรณี  x = ระยะ BC
                            = 7-4 =3 m
                         x = ช่วงเวลา

                            = 45-20 = 25 m
                         v4    =        = 8.3 m/s
                                    25
                                    3
นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 4-7 วินาที เท่ากับ 8.3 เมตร/วินาที
ตัวอย่าง 2 จากตัวอย่าง 1 ถ้าชายคนนั้นเดินถึงจุด C แล้วเดินย้อนกลับมาที่จุด A ดังเดิม ใช้เวลาทั้งสิ้น 20
วินาที จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ย ของการเดินนี้
วิธีทา กรณี  x = ระยะเวลาทั้งหมด = 45+45 = 90 m
                 t = เวลาทั้งหมด       = 20 s
                              vเฉลี่ย         =        = 4.5 m/s
                                                   90
                                                   20
         นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินนี้เท่ากับ 4.5 เมตร/วินาที

ตัวอย่าง 3 รถยนต์คันหนึ่งวิ่งออกไปในแนวตรง ดังรูป




     จากข้อมูลที่ก้าหนดให้ จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที และอัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2
วิธีทา หา V0-5 เมื่อ V0-5 = อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 s
                                   x
           จาก Vเฉลี่ย =
                                   t
           กรณี    x          = 30-1 = 30 m
                  t           = 5-0 = 5 s
                   V0-5       =         = 6 m/s
                                   30
                                    5
       นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที มีค่า 6 เมตร/วินาที
       หา V2 เมื่อ V2 = อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2
                       x
       จาก Vt =              t    น้อย ๆ และ t เป็นจุดกึ่งกลางของ  t
                       t
       กรณี  x = 16-10 =6 m
           x = 3-1 =2s

          V2     =         = 3 m/s
                       6
                       2
       นั่นคือ อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 มีค่า 3 เมตร/วินาที
ตัวอย่าง 4 จากตัวอย่าง 3 ถ้าข้อมูลของระยะทางขณะเวลาต่าง ๆ เป็นไปตามตารางนี้
               ระยะทาง (m)           0        10       20  30 40     50
                เวลา (s)             0         1        2  3   4      5
จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที และอัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2
                                    x
วิธีทา    หา V0-5 จาก Vเฉลี่ย =
                                    t
                                    50  0
                         V0-5 =              = 10 m/s
                                    50
          นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที มีค่า 10 เมตร/วินาที
                               x
          หา v2 จาก Vt =          t     น้อย ๆ และ t เป็นจุดกึ่งกลางของ  t
                               t
                               30  10
                       V2 =                 = 10 m/s
                                  31
          นั่นคือ อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 มีค่า 10 เมตร/วินาที

หมายเหตุ จะเห็นว่า กรณีนี้อัตราเร็วคงตัว เพราะ V0-5 = V2 = 10 m/s และถ้าเราหา V1 , V3 ,
          V4 ก็จะได้ V1 = V2 =V3 = V4 = 10 เมตร/วินาที เช่นกัน


2.4 การวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวตรง

         ก. วิธีถ่ายภาพแบบมัลติแฟลช เป็นวิธีการที่ใช้ในการวัดอัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุ ซึ่งเคลื่อนที่ใน
ช่วงเวลาสั้น ๆ เช่น จากรูป 2.4 เป็นภาพถ่ายแบบมัลติเเฟลชของลูกบอล 2 ลูก โดยถ่ายภาพทุก ๆ         1
                                                                                                   วินาที
                                                                                              30
ลูกหนึ่งเคลื่อนที่อย่างเสรีในแนวดิ่ง อีกลูกหนึ่งเคลื่อนที่โค้งแบบโปรเจคไตล์ ตามสเกลจะเห็นว่าลูกบอลที่
ตกอย่างเสรีจะตกเร็วมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนลูกที่เคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์จะมีการเคลื่อนไหวในแนวราด้วย
อัตราเร็วคงตัว
รูป 2.4
          ข. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ใช้วัดอัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ในเวลา ๆ ดังรูป 2.5 รถจะ
ลากแถบกระดาษไปในขณะที่ปลายเคาะจะเคาะกระดาษให้ปรากฏเป็นรอยด้วยอัตราการเคาะที่ 50ครั้ง/
วินาทีท้าให้เราสามารถศึกษาอัตราเร็วเฉลี่ยของรถได้จากการศึกษาแถบกระดาษ
          ระยะห่างจากจุดหนึ่งถัดไปบนแถบกระดาษเรียกว่า ช่วงเวลาจะมีค่าเท่ากับ           1
                                                                                           เสมอ ไม่ว่าจุดจะ
                                                                                      50
ใกล้กันมากหรือไกลกัน ถ้า VAB เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยของรถในช่วง AB จะได้




                                                 รูป 2.5

                                   AB
                      VAB =
                                 1 
                               4    
                                 50 
      ถ้ากรณีใด ๆ ที่เราคิดระยะทางทั้งหมดเป็น   x   แล้วได้ช่วงเวลาทั้งหมด n เราจะได้อัตราเร็วเฉลี่ย
เท่ากับ Vเฉลี่ย โดยที่
                                     x
                       Vเฉลี่ย =                                               ……………….(2-3 )
                                     1 
                                   n    
                                     50 


ตัวอย่าง 5 รถคันหนึ่งลากแถบกระดาษไปในแนวตรง ดังรูป




         จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง AC และอัตราเร็วขณะหนึ่ง ณ จุด B
วิธีทา หา VAC เมื่อ VAC เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง AC
x
         จาก          Vเฉลี่ย =
                                    1 
                                  n    
                                    50 
                                            2
                                   9  10
                    VAC     =                    = 0.35 m/s
                                      1 
                                  13     
                                      50 
        นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง AC มีค่า 0.35 เมตร/วินาที
        หา VB เมื่อ VB เป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง ณ จุด B



                                           2
                     DE           2  10
          VB =              =                    = 0.5 m/s
                   1              1 
                 2              2    
                   50             50 

         นั่นคือ อัตราเร็วขณะหนึ่ง ณ จุด มีค่า 0.5 เมตร/วินาที

2.5 การบอกตาแหน่งของวัตถุ
           เนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวข้องกับต้าแหน่งและการเปลี่ยนต้าแหน่งของวัตถุ ดังนั้นจึง
ต้องทราบวิธีบอกต้าแหน่งของวัตถุก่อน ดังนี้
           ก. การบอกตาแหน่งของวัตถุในแนวเส้นตรง (1มิติ) จะใช้เส้นตรงหนึ่งเส้นนการบอกต้าแหน่งวัตถุ
โดยเปรียบเทียบกับจุดอ้างอิง ดังรูป 2.6 นาย ก ยืนอยู่ตรงต้าแหน่ง –4 หน่วยหมายความว่า นาย ก อยู่ห่าง
จากจุดอ้างอิงไปทางซ้ายเป็นระยะ 4 หน่วย นาย ข ยืนอยู่ตรงต้าแหน่ง +2 หน่วย จะหมายความว่า นาย ข
อยู่ห่างจากจุดอ้างอิงไปทางขวาเป็นระยะ 2 หน่วยการบอกต้าแหน่งของวัตถุกรณีนี้จะใช้ศึกษาการเคลื่อนที่
ในแนวตรง




                                                 รูป 2.6
          ข. การบอกตาแหน่งของวัตถุในระนาบ (2มิติ) จะใช้เส้นตรง 2 เส้นตัดกันที่จุดก้าเ นิดโดยให้
เส้นตรงทั้งสองตั้งฉากซึ่งกันและกันดังรูป 2.7 คือ จุดก้าเนิด ระยะที่วัดไปทางขวาและเหนือจุดก้าเนิด
ก้าหนดให้เป็นบวก ส่วนระยะที่วัดไปทางซ้ายและล่างของจุดก้าเนิดก้าหนดให้เป็นลบ ต้าแหน่งของวัตถุที่
อยู่ในระนาบบอกได้ด้วยคู่ล้าดับ (X, Y) X คือระยะจากจุดก้านิดใน แกน X, y คือระยะจากจุดก้าเนิดในแกน
y เช่น วัตถุที่อยู่ที่จุด ก. ข. ค. และ ง. ดังรูป2.7 จะตรงอยู่ต้าแหน่ง (2.3) (-3,3) ,(-3,-2) ,(2,-2) เป็นต้น




                         รูป 2.7




         รูป 2.8                                                                      รูป 2.9

     รูป 2.8 วัตถุที่อยู่ต้าแหน่ง A มีคู่ล้าดับเป็น (x, y)เราสามารถค้านวณระยะจากจุดก้าเนิด 0 ไปยัง
ต้าแหน่ง A ได้ดังนี้
                             OA = x  y
                                     2     2
                                                                           …………..(2.4)

     รูป 2.9 วัตถุอยู่ที่ต้าแหน่ง A, B มีคู่ล้าดับเป็น (x1, y1) และ(x2, y2) ตามล้าดับ เราสามรถค้านวณระยะ
จาก A ถึง B ได้ดังนี้
                             AB =  x  x    y  y 
                                     2    1
                                               2
                                                   2    1
                                                            2
                                                                                   …………..(2.5)
ค. การบอกตาแหน่งของวัตถุในอากาศ ( 3 มิติ ) จะใช้เส้นตรง 3 เส้น เรียกว่าแกน x แกน y และ
แกน z ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ตัดกันที่จุดก้าเนิด O ดังรูป 2.10




             รูป 2.10
    วัตถุที่ต้าแหน่ง A (x, y, z) หมายความว่า ถ้าฉายไฟด้านบนในแนวแกน z จะเห็นเงาของ A ปรากฏบน
ระนาบ xy ที่ A/ โดยที่ A จะอยู่ห่างจากแกน Y เป็นระยะ x และห่างจากแกน X เป็นระยะ y จาก A ถ้า
ลากเส้นตรงขนานกับ A/O จะไปตัดที่แกน Z ที่ z ระยะจากจุดก้าเนิด O ถึงต้าแหน่ง A สามารถหาได้จาก
                         OA = x  y  z
                                2        2   2
                                                                              ……………..(2.6)
ตัวอย่าง 6 จากรูป เดิมวัตถุอยู่ที่ต้าแหน่ง A ในเวลาต่อมาย้ายไปอยู่ที่ต้าแหน่ง B ถามว่าในการเปลี่ยน
ต้าแหน่งนี้จะได้ระยะทางสั้นที่สุดเท่าไร




วิธีทา จากรูปในการเปลี่ยนต้าแหน่งจาก A ไป B จะได้ระยะทางสั้นที่สุด เท่ากับเส้นตรง AB และจะเห็นว่า
คู่ล้าดับของต้าแหน่ง A และ B คือ (1,4) และ (5,1) ตามล้าดับ จากสมการ(1-2)จึงได้
                       AB = (5  1)  (1  4 )  5
                                     2           2



          นั่นคือ ระยะทางสั้นที่สุดมีค่าเท่ากับ 5 หน่วย
2.6 การรวมเวกตอร์
       ในทางฟิสิกส์มีปริมาณอยู่หลายตัวที่ต้องศึกษา เช่น การกระจัด ระยะทาง อัตราเร็วความเร่ง อัตราเร่ง
มวล น้้าหนัก เวลา ฯลฯ ปริมาณเหล่านี้เมื่อดูสมบัติบางอย่างแล้วสามารถแบ่งได้เป็น ปริมาณสเกลาร์ และ
ปริมาณเวกเตอร์
            ปริมาณสเกลาร์ คือ ปริมาณที่มีแต่ขนาดเพียงอย่างเดียวไม่มีทิศทาง เช่น จ้านวนนักเรียนในห้อง
 ราคาบ้าน ระยะทาง อัตราเร็ว มวล ฯลฯ การน้าปริมาณสเกลาร์มาบวก ลบ กันกระท้าได้ง่ายมาก โดยท้า
 ได้เช่นเดียวกับการบวกและลบเลขธรรมดา
            ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง
 น้้าหนัก แรง ฯลฯ ปริมาณเวกเตอร์จะเขียนแทนด้วยลูกศร ขนาดความยาวของลูกศรจะเท่ากับขนาดของ
 ปริมาณเวกเตอร์นั้น ส่วนทิศทางของลูกศรจะแสดงทิศทางของปริมาณเวกเตอร์นั้น

                                         
          ก. การบวกเวกเตอร์ ให้ P และ Q เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดและทิศทาง ดังรูป 2.11 ในการหา
                                                                                
ผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสองนี้ สามารถท้าได้หลายวิธี วิธีหนึ่งคือ เขียนเวกเตอร์ P และ Q แบบต่อหางต่อหัว
                                                                             
และลากเส้นจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดปลาย จะได้เวกเตอร์ R ซึ่งเป็นผลรวมของ P และ Q อยู่คนละแนวเส้น
ทแยงมุมของสี่เหลี่ยมด้านขนานที่สร้างขึ้นจะเป็นผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสอง ดังรูป 2.12




                                                 รูป 2.11




                                      รูป 2.12
                 
        ถ้าให้ P, Q และR เป็นขนาดของเวกเตอร์ P , Q และ R ตามล้าดับ ดังปรากฏในรูป 2.12 จะได้
                                       P              Q               R
                                                                              ………………(2-7)
                                    sin             sin            sin 
        และ                        R
                                       2
                                            P
                                                 2
                                                      Q
                                                             2
                                                                  2 PQ cos    ………………..(2-8)

                                                                                         
         ข. การลบเวกเตอร์ มีหลักการคล้ายการบวกเวกเตอร์ เช่น ถ้าเราต้องการหาค่า P  Q โดยที่
              
เวกเตอร์ P และ Q มีทิศทางและขนาดดังรูป 2.11 หรือ 2.12 สามรถใช้วิธีหางต่อหางหรือสร้างสี่เหลี่ยมด้าน
ขนานก็ได้ โดยจะได้
                                            
                                    R  P  (Q )
             
ซึ่ง - Q กับ Q จะมีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม ดูรูป 2.13 และ 2.14 ประกอบ และสมการ (2-7)
และ (2-8) สามารถน้ามาประยุกต์ใช้ได้เช่นกัน




                                                       รูป 2.13




                                                 รูป 2.14
                       
ตัวอย่าง 7 ก้าหนดให้ A , B, C   เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดและทิศทางตามที่ก้าหนดในรูป จงเขียนรูปเพื่อ
แสดงวิธีการหา
                     
            ก. A  B  C
                     
            ข. A  B  C
วิธีทา จะแสดงการเขียนรูปเพื่อหาผลลัพธ์ของการบวกและลบตามที่โจทย์ต้องการโดยใช้วิธีหางต่อหัว




2.7 การกระจัด




                                                   รูป 2.15
          จากรูป 2.15 วางวัตถุไว้ที่จุด A มีคู่ล้าดับเป็น(x1,y2) ต่อมาย้ายวัตถุไปยังจุด B ซึ่งมีคู่ล้าดับเป็น
(x2,y2) ในการย้ายต้าแหน่งจากจุด A ไปจุด B เราสามารถกระท้าได้หลายทาง อาจจะใช้ทาง1,2 และ 3 ก็
สามารถย้ายจาก A ไป B ได้ทั้งนั้น แต่จะมีเส้นทางหนึ่งที่ใช้ระยะทางสั้นที่สุด เส้นทางนั้นคือเส้นตรงที่ต่อ
ระหว่างจุด A กับ B จากรูปคือ เส้นทาง 2 ลูกศรที่ชี้จาก A ไป B แลละมีขนาดความยาวเท่ากับ AB เรียกว่า
การกระจัด(displacement) ดังนั้น การกระจัดจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร
          การกระจัดแตกต่างกันระยะทาง (distance) ตรงที่ระยะทางสนใจเพียงขนาด ไม่สนใจทิศทาง
และระยะทางจะเป็นระยะจริงๆ เกิดจากการย้ายต้าแหน่ง เช่น ในรูป 2.15 ถ้าเราย้ายวัตถุจากต้าแหน่ง A ไป
ยัง B ตามเส้นทาง 1 ระยะทางจะหมายถึงระยะจริงๆ วัดตามเส้นโค้งไปมาจนถึง B ส่วนการกระจัดจะเท่ากับ
ความยาว AB และทิศพุ่งจาก A ไป B เป็นต้น
          หากจะนิยามกรกระจัดอาจกล่าวว่า “การกระจัด คือ ระยะทางที่สั้นที่สุดในการย้ายต้าแหน่งจุด
คู่หนึ่ง”
          การค้านวณขนาดขอการกระจัดสามารถท้าได้โดยใช้สมการ (2-5)
ตัวอย่าง 8 ชายคนหนึ่งเดินจากจุดอ้างอิง 0 ไปตามลูกศร แล้วหยุดนิ่งที่ต้าแหน่ง 4 เมตร
           จงหาขนาดของการกระจัดและระยะทางทั้งหมด




วิธีทา หา d เมื่อ d เป็นขนาดของการกระจัด จะได้
                         d = ระยะ OB = 4m
       นั่นคือ ขนาดของการกระจัดของการเดินนี้เท่ากับ 4 เมตร และมีทิศพุ่งไปทางขวามือ (จากO ไปB)
        หา S เมื่อ s เป็นระยะทางทั้งหมด จะได้
                        s = ระยะ OA+ระยะ AB
                           = 6+2 = 8m
        นั่นคือ ระยะทางทั้งหมดเท่ากับ 8 เมตร

ตัวอย่าง 9 จากรูป ย้ายวัตถุจาก A ไป B ตามเส้นทางที่ก้าหนด จงค้านวณขนาดของการกระจัดและทิศทาง
ของการกระจัด (บอกเป็นมุมซึ่งเทียบกับแกน X)




วิธีท้า ในการย้ายต้าแหน่งจาก A ไป B ตามเส้นทางที่โจทย์ก้าหนด จะได้ระยะทางที่สั้นที่สุดเท่ากับเส้นตรง
                           
AB ให้มีค่าเป็น d ขนาดของ d สามารถค้านวณได้โดยอาศัยสมการ (2-5) ซึ่งจะได้ (ดูรูปประกอบ)
                                              2             2
                            d     25  5    25  5 

                              = 20    2   m                                 ……………….(1)
                                                  
    ให้  เป็นมุมที่ d เทียบกับแกน X จึงเป็นมุมี่บอกทิศทางของ d จาก ABC จะได้
                           BC        25  5
                 tan           =                1
                           AC        25  5

                     45
                             0


       นั่นคือ การกระจัดมีขนาด 20            2   เมตร ท้ามุม 45 องศากับแกน X

ตัวอย่าง 10 ย้ายวัตถุไปทางทิศตะวันออก 12 เมตร จากนั้นย้ายข้นไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง 16 เมตร
จงค้านวณการกระจัดและระยะทางจากจุดเริ่มต้นถึงจุดปลาย
วิธีทา




     จากรูป วัตถุถูกย้ายจาก A ไป B (ไปทางทิศตะวันออก) 12 m และจาก B ไปC (ไปทางทิศเหนือ) 16
                                                                
m จะได้ d เป็นการกระจัดระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดปลาย จะได้ขนาดของ d เป็น
                       d =  AB    BC 
                                         2             2



                          = (12 )  (16 ) = 20 m
                                     2             2
                                                          ……………..(1)
ให้ s เป็นระยะห่างจากจุดเริ่มต้นถึงจุดปลาย ดังนั้นได้
                       s = AB+BC
                       12 = 12+16 = 28 m                       ……………..(2)
         นั่นคือ การกระจัดมีค่า 20 เมตร แต่ระยะทางมีค่า 28 เมตร

2.8 ความเร็ว
      ความเร็ว (velocity) นิยามว่า “เป็นอัตราการเปลี่ยนเเปลงการกระจัด “ พิจารณาการเคลื่อนที่ของ
รถยนต์ในแนวเส้นตรง (หรือวัตถุอื่นใดที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง) เริ่มออกจากจุด O เมื่อน้าค่าการกระจัด
ของรถยนต์ที่เวลาต่าง ๆ กันไปเขียนกราฟ โดยเขียนระหว่างการกระจัดกับเวลา
สมมติว่าได้กราฟ ดังรูป 2.16 จากกราฟการกระจัด –เวลา สามารถสรุปได้เป็นข้อ ๆ ดังนี้
      ความเร็วเฉลี่ย ตามนิยามความเร็วเราสามารถค้านวณค่าความเร็วในช่วงเวลาจาก t1 ถึง t2
ได้ดังนี้
                                        
                          s       s 2  s1
                V เฉลี่ย =      =                                     ……………….(2-9)
                           t       t 2  t1
    เมื่อ Vเฉลี่ย เป้นความเร็วเฉลี่ย  s เป็นการกระจัดที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลา  t โดยที่     2
                                       
                                                                                          s s
                                                                                                      
                                                                                                     s1

และ  t  t  t จากกราฟจะพบว่า Vเฉลี่ย มีค่าเท่ากับความชันของเส้นตรง AB เพราะ
           2      1

                                         BC        s 2  s1
                ความชัน = tan  =                                       …………….(2-10)
                                        AC         t 2  t1




     รูป 2.16
ความเร็วขณะหนึ่ง เป็นความเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง นิยามว่า
                      
                                          
                                        s 
                      V ขณะหนึ่ง   =       t  0                 ………………….(2.11)
                                        t 
           
      เมื่อ V ขณะหนึ่ง เป็นความเร็ว ณ เวลาที่เป็นจุดกึ่งกลางเวลา  t จากกราฟในรูป 2.16 เราสามารถ
                                                            
พิจารณาความเร็วขณะหนึ่งได้จากความชันกราฟ เช่น ถ้า V 3 เป็นความเร็วขณะ t3 เราจะได้
                 
                V 3 = ความชันของเส้น MN ซึ่งสัมผัสกราฟตรงจุดเวลา



ตัวอย่าง 11 ชายคนหนึ่งวิ่งจากจุดเริ่มต้นไปถึงตู้ไปรษณีย์ A แล้ย้อนกลับไปหยุดที่ใต้ต้นไม้ B กินเวลา
ทั้งสิ้น 10 วินาทีพอดี จงค้านวณความเร็วและอัตราเร็วเฉลี่ยของชายคนนั้น




วิธีทา การที่ชายคนนั้นวิ่งจากจุดเริ่มต้นไป A แล้วย้อนกลับไปหยุดที่จุดใต้ต้นไม้ B จะได้การกระจัดทั้งสิ้น
เท่ากับ s โดยที่
                                  s = -20 m                          ………………(1)
                                                      
        ตามนิยามของความเร็วเฉลี่ยจะได้ความเร็วเฉลี่ย V เฉลี่ย เป็น

                            
                                          20  0
                            V เฉลี่ย =               2   m/s      ………………(2)
                                          10  0
        เครื่องหมายลบของความเร็วเฉลี่ยที่ได้ในสมการ(2) หมายถึง ชายคนนั้นก้าลังวิ่งไปทางซ้ายของ
         จุดเริ่มต้น
       นั่นคือ ความเร็วเฉลี่ยของชายคนนั้นเท่ากับ –2 เมตร/วินาที
       การวิ่งของชายคนนั้นจากจุดเริ่มต้นไป A แล้วย้อนกลับไปหยุดที่จุดใต้ต้นไม้ B จะได้ระยะทางทั้งสิ้น
เท่ากับ d โดยที่
                             d = 40+40 +20 =100 m           ………………….(3)

      ตามนิยามของอัตราเร็วเฉลี่ยจะได้อัตราเร็วเฉลี่ย Vเฉลี่ย เป็น
Vเฉลี่ย = 100 = 10 m/s
                                 10
       นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยของชายคนนั้นเท่ากับ 10 เมตร/วินาที
ตัวอย่าง 12 ในการเคลื่อนที่แบบเส้นตรงของรถยนต์ 2 คัน P และ Q เมื่อน้าการกระจัดเขียนกราฟกับเวลา
จะได้ดังรูป จงค้านวณความเร็วเฉลี่ยของรถ P และ Q ในช่วงเวลาจาก 0 ถึง 10 วินาที




                                                                                
วิธีทา เราสามารถค้านวณความเร็วเฉลี่ยของรถ P และ Q ได้ตามสมการ (2-9) ให้ V 1 และ V 2 เป็นความเร็ว
เฉลี่ยของรถ P และ Q ตามล้าดับ จึงได้
                              100  0
                          V1            10 m/s
                                10  0
                               100  100
          และ             V2               0 m/s
                                  10  0
        นั่นคือ ความเร็วเฉลี่ยของรถ P และ Q เป็น 10 และ 0 เมตร/วินาที
ตัวอย่าง 13 จากรูป ชายคนหนึ่งเดินทางจากต้าบล A ไปต้าบล E ตามเส้นทางที่ผ่านต้าบล B,C และ D ใช้
เวลาทั้งสิ้น 15 วินาที จงค้านวณความเร็วและอัตราเร็วในการเดินของชายคน




                                                               
วิธีทา การเดินทางของชายคนนี้จาก A ไป E จะไดการการะจัดเท่ากับ   A E โดยที่
                                      
                          AE  AB  BC  CD  DE                       ………..(1)
จากรูปที่ก้าหนดให้ จะได้
                               AB = 3 m                                   ………..(2)
                               BC = 6m                                  …………(3)
                               CD = (3)  ( 3) = 3 2 m  2            2
                                                                         …………(4)
                               DE = ( 2 )  (3) = 13 m      2            2
                                                                          …………(5)
        ถ้า d เป็นระยะทางทั้งหมดที่ชายคนนั้นเดินจาก A ไป E ตามเส้นทางที่ก้าหนด จะได้
                               d = AB+BC+CD+DE
                                    = 3+6+3 2  13 = 16.85 m               ……….(2)
        ส่วนขนาดของการกระจัดจาก A ไป B คือ AE สามารถหาได้จาก
                               AE = (8 )  ( 6 ) = 10 m 2            2
                                                                            ……….(7)
        จากนิยามของอัตราเร็วเฉลี่ยกรณีจะได้ความเร็วเฉลี่ย Vเฉลี่ย เป็น
                                             AE
                                 Vเฉลี่ย =              = 0.27 m/s
                                             เวลา
        จากนิยามของอัตราเร็วเฉลี่ยกรณีจะได้ความเร็วเฉลี่ย Vเฉลี่ย เป็น
                                              d             16 . 85
                                Vเฉลีย =
                                     ่                                      = 1.12 m/s
                                             เวลา               15
        นั่นคือ ชายคนนั้นมีความเร็วเท่ากับ 0.27 เมตร/วินาที และมีอัตราเร็ว 1.12 เมตรต่อวินาที

ตัวอย่าง 14 รถคันหนึ่งวิ่งไปบนพื้นราบด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ต่อมาวิ่งด้วยความ
20 เมตร/วินาที และมีทิศเปลี่ยนไปจากเดิม 20 องศา จงค้านวณความเร็วลัพธ์ของรถคันนี้

วิธีทา ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์แต่อัตราเร็วเป็นปริมาณสเกลาร์ ดังนั้นในการบวกลบความ
เร็วเพื่อหาความเร็วลัพธ์จึงต้องระวัง เพราะต้องบวกลบแบบเวกเตอร์
                                                               
         ให้ V 1 และ V 2 เป็นความเร็วในตอนแรกและตอนหลัง ให้ V เป็นความเร็วลัพธ์ จะได้
                                        
                                 V  V1  V 2
                                                                             
       ขอให้ดูประกอบโดยจะหาขนาดของความเร็วลัพธ์                              V   ด้วยการเขียนสี่เหลี่ยมด้านขนาน
       อาศัยสมการ(2-8) จะได้
                                 
                          V  V1  V 2  2 V1 V 2 cos 60
                                                         0

                                           
       เมื่อ V1 และ V2 เป็นขนาดของ V1 และ V 2 ตามล้าดับ

                   V        (10 )  ( 20 )  2 (10 )( 20 ) cos 60
                        2          2                2                                     0


                       V = 22.5 m/s
นั่นคือ ความเร็วลัพธ์ของงรถคันนี้มีค่า 22.5 เมตร/วินาที

2.9 ความเร่ง
     ความเร่ง นิยามว่า”เป็นอัตราเปลี่ยนความเร็ว ” พิจารณาการเคลื่อนที่ของรถยนต์ในแนวเส้นตรง (หรือ
วัตถุอื่นใดในแนวเส้นตรง) เริ่มต้นจากจุดหยุดนิ่ง ที่ O วิ่งออกไปเมื่อน้าความเร็วของรถยนต์ที่เวลาต่าง ๆ
กันไปเขียนกราฟจะได้กราฟ ดังรูป2.17




                                                 รูป 2.17

       จากกราฟ ความเร็ว-เวลา สามารถสรุปได้เป็นข้อ ๆ ดังต่อไปนี้

       ความเร่งเฉลี่ย ตามนิยามความเร่งเราสามารถค้านวณค่าความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก t1 ถึง t2 ได้ดังนี้
                                                
                                     v 2  v1   v
                           a เฉลี่ย =                                                  ……………(2-12)
                                      t 2  t1   t


            
      เมื่อ a เฉลี่ย เป็นความเร่งในช่วงเวลาดังกล่าว มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที2; (m/s2) มีทิศทางไปทางเดียวกับ
                                     
V2    V 1 และจากกราฟจะพบว่าค่า a เฉลี่ย นี้มีค่าเท่ากับความชัน ของเส้นตรง AB เพราะ


                                                               
                                                BC        v 2  v1
                           ความชัน = tan                                       …………………(2-13)
                                                AC        t 2  t1


      ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง จากกราฟในรูป 2.17 ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง เช่น ขณะเวลา t3
สามารถหาได้โดยการลากเส้นตรง MN ให้ สัมผัสเส้นกราฟที่จุด P ค่าความชันของเส้นตรง MN ที่ได้จะ
เป็นค่าความเร็ว ขณะเวลา t3 เป็นต้น หรือคิดค้านวณจากสมการ(2-12) โดยให้ t3 เป็นจุดกึ่งกลางเวลา  t
 และ  t  0
         พื้นที่ใต้กราฟความเร็ว-เวลาคือการกระจัด จากกราฟในรูป 2.17 การเคลื่อนที่ของรถยนต์ในเวลา t2
 ไป t3 เราสามารถหาการกระจัดในช่วงเวลาดังกล่าวได้ด้วยการหาพื้นที่ใต้กราฟส่วนที่แรเงา
        ลักษณะพิเศษของกราฟความเร็ว-เวลากับความหมาย ส้าหรับวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง




                                                                      รูป 2.18

      แสดงว่า ความเร็วคงที่ และวิ่งออกจากจุดอ้างอิงไปทางขวา




                                                                       รูป 2.19

      แสดงว่า ความเร็วคงที่มีค่าเป็นบวก เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นความเร็วก็เพิ่มขึ้น และวิ่งออกจากจุดอ้างอิงไป
ทางขวา เพราะ ความเร็วมีค่าเป็นบวก




                                                                          รูป 2.21

      แสดงว่า ความเร็วคงที่มีค่าเป็นลบ เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นความเร็วลดลง กรณีนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ความ
หน่าง วัตถุวิ่งออกจากจุดอ้างอิงไปทางขวา เพราะ ความเร็วมีค่าเป็นบวก
รูป 2.21
    แสดง ถึงปฏิกิริยาท่าทางของมนุษที่ก้าลังอยู่ภายใต้การเคลื่อนที่ที่มีความเร่งประมาณ 200 เมตร/วินาที

ตัวอย่าง 15 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟความเร็วเวลา ดังรูป




      ก.   จงอธิบายการเคลื่อนที่ของรถยนต์
      ข.   จงหาการกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 2
      ค.   จงหาค่าเฉลี่ยของความเร็วในช่วงเวลา 0 ถึง 2 วินาที
      ง    จงหาค่าความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 3 วินาที

วิธีทา ก. พิจารณาจากกราฟความเร็ว-เวลา จะเห็นว่ารถยนต์เริ่มออกจากจุดเริ่มต้นเมื่อเวลา 0 ด้วยความเร็ว 0
m/s แล้ววิ่งออกไปทางขวาของจุดอ้างอิง เพราะหลังจากวินาทีที่ 0 ไปแล้วความเร็วเป็นบวก ในช่วง 0 ถึง 3
s รถยนต์จะวิ่งด้วยความเร่ง คงที่จนมีความเร็ว สูงสุด 30 m/s จาก 3ถึง 2 s รถยนต์จะวิ่งด้วยความหน่วง
ความเร็วจะลดลงจาก 30 m/s จนเป็น0 m/s เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 ดูรูปประกอบ




    ข. ถ้า s เป็นการกระจัดของรถยนต์เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 จะได้ (ดูรูปกราฟ)
                      s = พื้นที่สามเหลี่ยมที่แรเงา
                        =   1
                                ( 6 )( 30 )   = 90 m
                            2
    นั่นคือ การกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 2มีค่า 90 เมตร
           
    ค. ถ้า V เฉลี่ย เป็นความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 2 วินาที จะได้

                        s
              V เฉลี่ย =      =        = 15 m/s
                                  90
                         t       6



     นั่นคือ เป็นความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 2 วินาที มีค่า 15 เมตร/วินาที
     ง. ถ้า aเฉลี่ย เป็นความเร่งในช่วงเวลา 0 ถึง 3 จากสมการ(2-12) จะได้
              aเฉลี่ย = 30  0 =10 m/s2
                      30
     นั่นคือ ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 3 วินาที เ เท่ากับ 10 เมตร/วินาที2

ตัวอย่าง 12 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟ ความเร็ว -เวลา ตามรูป




         ก.   จงอธิบายการเคลื่อนที่ของรถยนต์
         ข.   จงหาการกระจัดและระยะทางเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4
         ค.   จงหาความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก 0ถึง 4 วินาที
         ง.   จงหาความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 วินาที

วิธีทา ก. พิจารณาจากกราฟความเร็ว-เวลาที่โจทย์ก้าหนดให้ จะเห็นว่ารถยนต์เริ่มออกจากจุดเริ่มต้นเมื่อ
เวลา 0 s ด้วยความเร็ว 0 m/s แล้ววิ่งออกไปทางขวาจากจุดอ้างอิง เพราะหลังจากวินาทีที่ 0 ไปแล้วความเร็ว
เป็นบวก ในช่วง 0 ถึง 1 s รถยนต์จะวิ่งด้วยความเร็วคงที่จนมีความเร็วสูงสุด 20 m/s จาก 1 ถึง 2 s รถยนต์จะ
วิ่งด้วยความหน่วง คงที่ ความเร็วจะลดลงจาก 20 m/s จนเป็น 0 m/s จาก 2 ถึง 3 s
ความเร็วของรถยนต์เป็นลบ แสดงว่ารถยนต์วิ่งย้อนกลับทางเดิมจนมีความเร็วสูงสุด –20 m/s จาก 3 ถึง 4s
รถยนต์จะวิ่งเข้าหาจุดเริ่มต้นหรือจุดอ้างอิงช้าลงและจะหยุดนิ่งที่จุดอ้างอิงเมื่อสิ้นวิ นาทีที่ 4 ดูรูปประกอบ
ข.ให้ s และ d เป็นการกระจัดและระยะทางเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 ตามล้าดับ อาศัยหลักที่ว่าพื้นที่ใต้กราฟ
ความเร็ว-เวลา คือ การกระจัด ดังนั้นจะได้
                  S = พื้นที่  ( A )  พื้นที่  ( B )
                     =   1
                              ( 2 )( 20 ) 
                                              1
                                                  ( 2 )( 20 )   = 20-20 =0 m
                         2                    2
                 d = พื้นที่  ( A )  พื้นที่  ( B )
                      = 20+20 = 40 m
        นั่นคือ เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 จะได้การกระจัดและระยะทางเท่ากับ 0 และ 40 เมตร ตามล้าดับ

ข้อสังเกต ในการค้านวณการรกระจัดโดยหาพื้นที่ใต้กราฟความเร็ว -เวลา จะต้องคิดเคลื่อนหมายของ
ความเร็วด้วย เช่น พื้นที่ใต้กราฟ  (B) เป็นลบก็เพราะความเร็วเป็นลบ แต่ในทางตรงข้ามถ้าคิดระยะทาง
ไม่ต้องคิดเครื่องหมายลบเลยจับบวกกันหมด
               
       ค. ให้ V เฉลี่ย และ Vเฉลี่ย เป็นความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก 0 ถึง 4s จากนิยามของ
ความเร็วและอัตราเร็วได้
                                     
                                   s
                   V เฉลี่ย    =
                                    t

                               =   0
                                        = 0 m/s
                                    4
                                   ระยะทาง        x
                     V =                      =
                                    เวลา          t

                               =   40
                                         = 10 m/s
                                    4
      นั่นคือ ในช่วงเวลา 0 ถึง 4 วินาที ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ยจะมีค่าเท่ากับ 0 และ 10 เมตร/
วินาที
     ง. เนื่องจากกราฟในช่วงเวลา 1 ถึง 3 s เป็นเส้นตรงต่อเนื่องกันตลอด แสดงว่าความเร่งในช่วงเวลา
ดังกล่าวคงที่ ดังนั้นความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาใด ๆ ก็ตามที่อยู่ระหว่าง 1 ถึง 3 s จะได้ค่าเท่ากันหมด โจทย์
ให้หาความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 s เราจึงเลือกหาความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1 ถึง3 s เพราะสะดวก
         
กว่า ถ้า a เฉลี่ย เป็นความเร่งในช่วงเวลา 1 ถึง 3 s ซึ่งเท่ากับความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 จะได้
                                    20  (  20 )
                    a เฉลี่ย   =                             20    m/s
                                             3 1
นั่นคือ ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 วินาที มีค่า -20 เมตร/วินาที

ตัวอย่าง 17 จากตัวอย่าง 12 กราฟที่เขียนระหว่างความเร่งกับเวลาในข้อใดต่อไปนี้ที่สอดคล้องกับกราฟ
ความเร็ว-เวลา ในตัวอย่าง 12




วิธีทา ค้าตอบที่ถูกต้องคือข้อ 1
        จากกราฟความเร็วเวลา ในตัวอย่างที่ 12 ช่วงเวลา 0 ถึง 1 s กราฟเอียงขวาความชันเป็นบวก แสดง
ว่าความเร่งคงที่เป็นบวก ช่วงเวลาจาก 1 ถึง 3 s กราฟเอียงซ้าย ความชันเป็นลบ แสดงว่าความเร่งคงที่เป็น
ลบ ช่วงเวลาจาก 3 ถึง 4 s กราฟกลับมาเอียงขวาอีกครั้งหนึ่ง ความชันจึงเป็นบวก แสดงว่าความเร่งคงที่เป็น
บวก ซึ่งกราฟในข้อ 1 สอดคล้องตลอดช่วงเวลา

ตัวอย่าง 18 จากกราฟความเร็ว-เวลา ซึ่งแสดงการเดินทางในช่วงเวลา A,B,C และ D
ก. จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ใน 0.5 ชั่วโมง
      ข. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง 0.2 ชั่วโมงแรก

วิธีทา ก. พื้นที่ใต้กราฟความเร็ว-เวลา คือ การกระจัด ถ้าs1 เป็นการกระจัดในล่วงเวลาจาก 0 ถึง 0.5 hr
จะ ได้                  s1 = พื้นที่  คางหมู ( ในช่วง 0-0.3 hr) + พื้นที่  คางหมู (ในช่วง0.3 –0.5 hr)
                                1                               1
                           =        ( 0 . 2  0 . 3 )( 50 )        ( 50  10 )( 0 . 2 )  18 . 5   km
                                2                               2
          นั่นคือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ใน 0.5 ชั่วโมงเท่ากับ 18.5 กิโลเมตร
        ข.หาอัตราเร็วเฉลี่ยใน 0.2 hr จะได้
                 s2 = พื้นที่  คางหมู ( ในช่วง 0-0.2 hr)
                           1
                     =         ( 0 . 1  0 . 2 )( 50 )  7 . 5      km
                           2
        ให้ Vเฉลี่ย เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยใน 0.2 แรกจะได้
                           7 .5
               Vเฉลี่ย =            = 37.5 km/hr
                           0 .2
       นั่นคือ อัตราเฉลี่ยใน 0.2ชั่วโมงแรก มีค่า 37.5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ตัวอย่าง19 การเคลื่อนที่ของวัตถุชนิดหนึ่งที่สามารถเขียนกราฟความเร็ว –เวลา ได้ดังรูป จงหา




       ก. การกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4
       ข. ความเร่ง ณ เวลา 1 วินาที
วิธีทา ก. พื้นที่ใต้กราฟความเร็ว - เวลา คือการกระจัดเมื่อสิ้นวินาที 4 จะได้
                        S = พื้นที่ส่วนที่แรเงาบางๆ ทั้งหมด (รวม ( A ) ด้วย)
          แต่การค้านวณพื้นที่ส่วนที่แรเงาบางๆ ทั้งหมด โดยตรงท้าได้ยาก เพราะกราฟโค้งเป็นคลื่นรูปไซน์
(sine wave ) อย่างไรก็ตามจะเห็นว่าพื้นที่ส่วนที่แรเงาด้วยเส้น ( A ) และ (B )แทนกันได้พอดี ดังนั้นพื้นที่
สี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยมีความกว้าง 20 m/sและยาว4 s จึงได้
                        S = 20x 10= 80 m
          นั่นคือ การกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 มีค่าเท่ากับ 80 เมตร

          ข. ความเร่ง ณ เวลา 1 s จะเท่ากับความชันของเส้นตรงที่เราลากสัมผัสเส้นกราฟที่จุด p เส้นตรง
ที่เราลากดังกล่าวนี้จะขนานกับแกน เวลาซึ่งจะได้ความชันของเส้นตรงนี้มีค่าเท่ากับ ศูนย์ จึงได้ความเร่ง ณ
เวลา 1 s เท่ากับ ศูนย์ด้วย
         นั่นคือ ความเร่ง ณ เวลา1 วินาที มีค่า 0 เมตรต่อวินาที2

ตัวอย่าง 20 รถ A แล่นด้วยความเร็วคงที่ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ผ่านรถ B ซึ่งก้าลังออกแล่นด้วยความเร่ง
คงที่จนมีความเร็วคงที่ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งกราฟความเร็ว - เวลาของรถทั้งสองคันเป็นดังรูป ถ้าจะ
ให้รถ B แล่นทันรถ A รถ B จะต้องแล่นนานเท่าไรและได้ทางเท่าไร




วิธีทา ให้ เป็นเวลาที่รถ B วิ่งมาทันรถ A พอดี ขณะนั้น แสดงว่ารถ A และ B วิ่งได้ทางเท่ากัน ดังนั้น จาก
รูปในช่วงเวลาจาก 0 ถึง t พื้นที่ใต้กราฟ ความเร็ว – เวลา ของรถ A จะเท่ากับรถ B จึงได้
พื้นที่ใต้กราฟ A = พื้นที่ใต้กราฟ B
                                 1
     ( 40 km/hr)( t )       =         t  60    t 60 km / hr 
                                 2
                      4t      = 3(2t-20)
                      4t      = 2t-180
                    t        = 90 s                             ………………(1)
       ให้ s เป็นระยะทางที่รถ Bแล่นได้ขณะที่วิ่งมาทันรถ A พอดี จะได้
                      s      = (40 km/hr )(90 s)
                             = 1 km = 1,000 m                   ………………(2)
    นั่นคือ รถ B แล่นนาน 90 วินาทีจึงหันรถ A ที่ระยะ 1,000 เมตร
ตัวอย่างที่ 21 คนขับรถแข่งกับรถด้วยอัตราเร็วคงที่ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมงซึ่ง อ่านได้จากหน้าปัด ขณะที่รถ
พุ่งเข้าทางโค้งคนขบรถมีอัตราเร็ว 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมงตลอดเวลา รถมีความเร่งหรือไม่เพราะเหตุใด
วิธีทา ค้าตอบคือ รถมีความเร่ง




                                                          
         จากรูป สมมติแข่งวิ่งด้วยอัตราเร็ว v ความเร็วเป็น v ก้าลังวิ่งเข้าโค้ง ขณะที่รถเปลี่ยนต้าแหน่ง
                                                                           
จาก A ไป B ความเร็วจะเปลี่ยนไปท้ามุม  กับแนวเดิมคือ v ไม่เปลี่ยน ถ้า v3 เป็นความเร็วที่เปลี่ยนไป จะ
ได้
                                         
                         v 3 = v 2 + (- v 1 )

    ถ้าในการเปลี่ยนต้าแหน่งจาก A ไป B ใช้เวลา t เราจะได้ความเร่งของรถแข่งเป็น
                                    
                                   v3
                                a 
                                     t
             
       เมื่อ a เป็นความเร่งของรถแข่ง ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าแม้ว่ารถจะมีอัตราเร็วคงที่ตลอดเวลา แต่
ความเร็วอาจเปลี่ยนได้จึงท้าให้รถมีความเร่งได้
ตัวอย่าง 22 รถยนต์คันหนึ่งแล่นด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที คงที่ตลอดเวลาไปตามทางโค้ง ดังแสดงใน
รูป ในขณะที่รถแล่นจาก A ไป B กินเวลา 10 วินาที และทิศของความเร็วเปลี่ยนไป 20 องศาจงค้านวณ
ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก A ถึง B




วิธีทา แม้ว่ารถยนต์จะมีอัตราเร็วคงที่ แต่ทิศทางเปลี่ยนแสดงว่าความเร็วเปลี่ยนไปด้วย ซึ่งกรณีนี้จะคล้าย
                      
กับตัวอย่าง 21 และถ้า v3 เป็นความเร็วที่เปลี่ยนไปจะได้
                                     
                       v 3  v 2  (  v1 )                       ……………(1)




                                                                 
         ตามสมการ (1) สามารถค้านวณได้โดยใช้รูปประกอบซึ่งเป็นการหา v3 โดยการสร้างสี่เหลี่ยม
        v3

ด้านขนาน ABCD ด้วยวิธีนี้จะได้
                           2         2    2                   0
                      v3        v1  v 2  2 v1v 2 cos 120

                          = (10)2+(10)2+2(10)(10)cos 1200
                      v 3 = 10m/s

           แสดงว่าในการเคลื่อนที่จาก A ไป B ความเร็วเปลี่ยนไป 10m/s ดังนั้นถ้า a เป็นความเร่งในการ
เคลื่อนที่จาก A ไป B จะได้
                       a=       v3
                                 t

                           =    10
                                     = 1m/s
                                10
        นั่นคือ ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา A ถึง B มีค่า 1 เมตร/วินาที2
2.10. สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร็ว
คงตัว
       พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วต้น u และเมื่อเวลาผ่านไป t วินาที วัตถุมี
ความเร็ว v ดูรูป 2.22 ประกอบถ้า a มีความเร่งซึ่งคงที่ และ s เป็นการกระจัดของวัตถุเมื่อเวลาผ่านไป t เรา
จะได้ความสัมพันธ์ระหว่าง u, v, a, t, และ s เป็น




                         v = u+at                                ………….(2-14)

                         S = ut+ 1 at 2
                                 2
                                                                 …………..(2-15)

                        v2 = u2+2as                            …………….(2-12)

       ทั้งสามสมการนี้ใช้เพื่อการค้านวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ ตัวอย่าง
ของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ เช่น วัตถุที่ตกอย่างเสรีในสนามความโน้มถ่วงของโลกฯลฯ

ตัวอย่าง 23 จงพิสูจน์สมการ (2-14),(2-15),และ(2-12)
วิธีทา พิสูจน์สมการ (2-14) จากรูป 2.22 และจากนิยามของความเร่งจะได้
                                vu
                          a=
                                    t
                        v   = u+at                             ……………….(1)
        พิสูจน์สมการ(2-15) จากรูป 2.22 พื้นที่ใต้กราฟส่วนที่แรเงาคือ การกระจัด s ในช่วงเวลาจาก 0 ถึง t
จะได้
                         s=    1
                                   (u+v)t                     ………………(2)
                               2
        แทนค่า v ในสมการ (1) ลงในสมการ (2) จะได้
1
                        s = 2 ( u  u  at ) t
                              1
                          =       ( 2 u  at ) t
                              2

                     s      = ut+ 1 at2                       …………………..(3)
                                       2
        พิสูจน์ (2-12) จากสมการ (1) สามารถหา t ได้ดังนี้
                              vu
                        t=
                                  a
        แทนค่า t จากสมการ (4)ลงในสมการ (2) จะได้
                              1                (v  u )
                       s=         (u  v)
                              2                    a
                      2sa = (u+v)(v-u)
                      2as = v2-u2
                                2
                      v = u +2as
                         2

                                                                               
ตัวอย่าง 24 ชายคนหนึ่งเริ่มวิ่งออกจากจุด A ไปในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ว ( u ) 1 เมตร/วินาที และด้วย
ความเร่งคงที่ 10 เมตร/วินาที 2 เมื่อเขาวิ่งมาถึงจุด B เขาใช้เวลาไปทั้งหมด 20 วินาที จงหาการกระจัด
                                 
ระหว่าง A กับ B และความเร็ว( v ) ที่จุด B ของชายคนนั้น




วิธีทา ให้ s เป็นการกระจัดระหว่าง A กับ B ตามสมการ ผ2-15) จะได้
                       s = ut + 1 at 2
                                   2

                          = (1)(20)+ 1 (10)(20)2
                                           2
                    v    = 2,020 m
       นั่นคือ การกระจัดระหว่าง A กับ B มีค่า 2,020 เมตร
       ตามสมการ (2-14) จะสามารถค้านวณความเร็ว v ได้ดังนี้
                       v = u+at
                     s = 1+(10)(20) = 201 m/s

        นั่นคือ ความเร็วของชายคนนั้นที่จุด B มีค่า 201 เมตร/วินาที
ตัวอย่าง 25 จากตัวอย่าง 24 ถ้าชายนั้นเริ่มออกวิ่งด้วยความเร็ว 100 เมตร/วินาที และวิ่งด้วยความหน่วง 10
เมตร/วินาที ถามวานานเท่าไรเขาจึงจะหยุดและเมื่อหยุดแล้วการกระจัดเป็นเท่าใด
วิธีทา ให้ t เป็นเวลาที่เขาใช้ทั้งหมดตั้งแต่เริ่มวิ่งจนกระทั่งหยุด ตามสมการ(2-14) จะได้
                          v = u+at
                      0 = (100)+(-10): (แทน a ด้วยเครื่องหมายลบ)

                          t = 10s
          นั่นคือ เขาจะต้องใช้เวลาทั้งหมด 10 วินาที จึงจะหยุดวิ่ง
          ให้ s เป็นการกระจัดตั้งแต่เริ่มวิ่งจนกระทั่งหยุด ตามสมการ (2-15) จะได้
                         s = ut+ 1 at2
                                 2

                           = (100)(10)+ 1 (-10)(10); (แทน a ด้วยเครื่องหมายลบ)
                                         2
                           = 500 m
           นั่นคือ การกระจัดมีค่า 500 เมตร
ข้อสังเกต ความหน่วงเมื่อใช้กับสมการ (2-14) ถึง (2-12) จะแทนเครื่องหมายลบ
ตัวอย่าง 22 นักวิ่งออกจากจุดเริ่มต้นด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที2 พุ่งเข้าสู่เส้นชัยซึ่งห่างออกไป 100 เมตร
โดยหยุดทันทีที่เส้นชัย ถ้าในการวิ่งตลอดระทางกินเวลาทั้งหมด 10 วินาที ในช่วงก่อนเข้าสู่เส้นชัยนักวิ่ง
ต้องวิ่งด้วยความหน่วงเท่าไรนับจากที่เขาวิ่งด้วยความเร็วสูงสุด




วิธีทา
           นักวิ่งออกจากจุดเริ่มต้นด้วยความเร็วเป็นศูนย์ให้มีความเร่ง a1 เมื่อวิ่งไปได้ทาง s1 สมมุติว่ามี
ความเร็วเป็น v สูงสุด จากนั้นจึงวิ่งด้วยความเร่ง –a2 (ความหน่วง ) จนกระทั่งไปหยุดที่เส้นชัย ระยะจาก
B ถึง C เท่ากับ s2 พอดี ให้ t1 และ t2 เป็นเวลาที่นักวิ่งใช้วิ่งจาก A  B และ B  C ตามล้าดับ
เมื่อน้าความเร็วกับมาเขียนกราฟ จะได้ดังนี้
หา v เมื่อ v เป็นความเร็วสูงสุด จากกราฟจะเห็นว่า
                  s1+s2 = พื้นที่ใต้กราฟ =           1
                                                          (t2)(v)
                                                     2

                    100 = 1 (10) v
                              2
                    v  = 20 m/s
       หา t1 จาก    v = u+at
                  20 = 0+(10)t1

                    t1 = 2 s
       หา a2 จาก v = u+at
                   0 = 20+a2(t2-t1)
                                    20            20
                       a2 =                  
                                  t 2  t1       10  2
                         a2 = -2.5 m/s
       นั่นคือ นักวิ่งต้องวิ่งด้วยความหน่วง 2.5 เมตร/วินาที2

ตัวอย่าง 27 รถยนต์ออกวิ่งในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที โดยมีความเร่งตามที่กราฟแสดง
อยากทราบว่า
ก. เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะมีความเร็วเท่าไร
          ข. เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะวิ่งได้ทางเท่าไร

วิธีทา ก. ให้ u เป็นความเร็วต้นของรถยนต์ V1 และ V2 เป็นความเร็วของรถเมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 และ 4
ตามล้าดับ ดูรูปประกอบ ให้ a1 และ a2 เป็นความเร่งในช่วงเวลา 0-2 s และ 2-4 s ตามล้าดับ




       ตามสมการ(2-14) การเคลื่อนที่ในช่วง 0-2 s จะได้ v1 ดังนี้
                         v1 = u-a1t2
                             = 20-(5)(2) = 10 m/s
       ตามสมการ(2-14) การเคลื่อนที่ในช่วง 2-4 s จะได้ v2 ดังนี้
                          v2 = v1+a2(t3-t2)
                             = 10 +(5)(2) = 20 m/s
       นั่นคือ เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะมีความเร็ว 20 เมตร/วินาที

          ข.ตามสมการ (2-15) การเคลื่อนที่ในล่วง 0-2 s จะได้ s2 ดังนี้
                           s1 = ut2- 1 a1t 2
                                           2
                                      2

                              = (20)(2) - 1 (5)(2)2 = 30 m
                                              2
           ตามสมการ (2-15) การเคลื่อนที่ในล่วง 2-4 s จะได้ s2 ดังนี้
                         s2 = v1(t3-t2)+ 1 a2(t3-t2)2
                                          2

                           = (10)(2)+ (5)(2)2 = 30 m
                                          1
                                          2
       ให้ s เป็นระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ไปได้เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 จะได้
                       s = s1+s2
= 30+30 = 20 m
      นั่นคือ เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะวิ่งได้ทาง 20 เมตร
หมายเหตุ ถ้าเราน้าความเร็วของรถยนต์ไปเขียนกราฟกับเวลา จะได้ดังรูป




      จากกราฟนี้เราสามารถค้านวณการกระจัดหรือระยะทางที่รถวิ่งไปได้เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 โดยการ
ค้านวณพื้นที่ใต้กราฟ (ส่วนที่แรเงา)

 ***********************************************************************************

More Related Content

What's hot

05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 

Similar to การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1weerawat pisurat
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)Worrachet Boonyong
 

Similar to การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ (20)

ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
Lesson02
Lesson02Lesson02
Lesson02
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
2
22
2
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา

รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยาชิตชัย โพธิ์ประภา
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...ชิตชัย โพธิ์ประภา
 

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา (20)

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
 
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
 
1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

  • 1. เรื่อง การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ 2.1 ลักษณะการเคลื่อนที่ ในธรรมชาติมีการเคลื่อนที่หลายลักษณะ เช่น รถยนต์แล่นไปตามถนน การหมุนของวงล้อจักรยาน การกระเพื่อมขึ้นลงของผิวน้้า การเคลื่อนที่ทั้งหลายเหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับต้าแหน่งและการเปลี่ยน ต้าแหน่งในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ถ้าเป็นกรณีรถยนต์แล่นไปตามถนนลักษณะที่จะเกี่ยวกับต้าแหน่งและการ เปลี่ยนต้าแหน่งของรถยนต์ เป็นต้น การเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ สามารถแบ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่และการเคลื่อนที่แบบหมุน อนุภาค สามารถเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ได้เท่านั้นโดยไม่สามารถเคลื่อนที่แบบหมุน แต่วัตถุแข็งเกร็ง จะสามารถเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่และแบบหมุน รูป 2.1 การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในธรรมชาติแบ่งเป็นการศึกษาใน 2 ลักษณะ คือ kinematics และ dynamics ส้าหรับ kinematics เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยไม่ค้านึงถึงสาเหตุที่ท้าให้วัตถุ เคลื่อนที่ไป ส้าหรับ dynamics จะเป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยศึกษาถึงสาเหตุที่ท้าให้วัตถุ เคลื่อนที่ไป ส้าหรับการศึกษาในบทนี้จะเป็นการศึกษาในแนวของ kinematics และในบทที่ 7 เรื่องเกี่ยวกับ นิวตันจะเป็นการศึกษาในแนวของ dynamics 2.2 ระยะทางการเคลื่อนที่ ระยะทาง หมายถึง ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จริง ๆ โดยจะต้องต้าแหน่งเริ่มต้นของวัตถุ ต้าแหน่ง สุดท้ายของวัตถุและเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ ระยะทางเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m) 2.3 อัตราเร็วของวัตถุ อัตราเร็ว หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วย เป็น เมตร/วินาที
  • 2. พิจารณาการเคลื่อนที่ของรถยนต์คันหนึ่งในแนวตรง ดังรูป 2.2 รูป 2.2 เมื่อสิ้นสุดเวลา t1 วินาที หรือ ณ เวลา t1 รถยนต์เคลื่อนที่ได้ระยะทาง x1 จากจุดเริ่มต้น และเมื่อ สิ้นสุดเวลา t2 วินาที หรือ ณ เวลา t2 รถยนต์เคลื่อนที่ได้ระยะทาง x2 จากจุดเริ่มต้น และการเคลื่อนที่ - ต้าแหน่งเดิมต่อไปเรื่อย ๆ อัตราเร็วเฉลี่ย หมายถึง อัตราส่วนระหว่างระยะทางทั้งหมดที่เคลื่อนที่ได้กับช่วงเวลาที่ใช้ในการ เคลื่อนที่นั้นโดยจะเขียนได้ว่า  v เฉลี่ย = ………………(2-1) t เมื่อ  x = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ทั้งหมด มีหน่วยเป็น เมตร  t = เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ มีหน่วยเป็น วินาที เช่น จากรูป ถ้า v12 เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาที่ รถยนต์เคลื่อนที่จาก t1 ถึง t2 เราจะได้ตามสมการ (2-1)เป็น x 2  x1 v12 = t 2  t1 อัตราเร็วขณะหนึ่ง หมายถึง อัตราเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ เวลาที่พิจารณา เช่น จากการ เคลื่อนที่ของรถยนต์ ดังรูป 2.2 เราได้กราฟระยะทางกับเวลา เป็น ดังรูป 2.3 ถ้าต้องการหาอัตราเร็วของ เวลา t สามารถหาได้จากสมการ (2-1) โดยให้เวลา t เป็นจุดกึ่งกลางของช่วงเวลา  t และต้องคิดที่กรณีที่  t มีค่าน้อยมา นั่นคือ vt =  x t = มีค่าน้อยมาก และ t เป็นจุดกึ่งกลางของ  t ………………(2-2) t
  • 3. รูป 2.3 ตัวอย่าง 1 ชายคนหนึ่งเดินจากจุด A ไปจุด B และจุด C โดยใช้เวลา ดังรูป จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-4 วินาที และ 4-7 วินาที x วิธีทา ช่วง 0-4 S จาก vเฉลี่ย = t กรณี x = ระยะ AB = 20 m t = ช่วงเวลา = 4-0 = 4 s  v0-4 = = 5 m/s 20 4 นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-4 วินาที เท่ากับ 5 เมตร/วินาที ช่วง 4-7 s กรณี  x = ระยะ BC = 7-4 =3 m  x = ช่วงเวลา = 45-20 = 25 m  v4 = = 8.3 m/s 25 3
  • 4. นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 4-7 วินาที เท่ากับ 8.3 เมตร/วินาที ตัวอย่าง 2 จากตัวอย่าง 1 ถ้าชายคนนั้นเดินถึงจุด C แล้วเดินย้อนกลับมาที่จุด A ดังเดิม ใช้เวลาทั้งสิ้น 20 วินาที จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ย ของการเดินนี้ วิธีทา กรณี  x = ระยะเวลาทั้งหมด = 45+45 = 90 m  t = เวลาทั้งหมด = 20 s  vเฉลี่ย = = 4.5 m/s 90 20 นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินนี้เท่ากับ 4.5 เมตร/วินาที ตัวอย่าง 3 รถยนต์คันหนึ่งวิ่งออกไปในแนวตรง ดังรูป จากข้อมูลที่ก้าหนดให้ จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที และอัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 วิธีทา หา V0-5 เมื่อ V0-5 = อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 s x จาก Vเฉลี่ย = t กรณี x = 30-1 = 30 m t = 5-0 = 5 s  V0-5 = = 6 m/s 30 5 นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที มีค่า 6 เมตร/วินาที หา V2 เมื่อ V2 = อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 x จาก Vt = t น้อย ๆ และ t เป็นจุดกึ่งกลางของ  t t กรณี  x = 16-10 =6 m  x = 3-1 =2s  V2 = = 3 m/s 6 2 นั่นคือ อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 มีค่า 3 เมตร/วินาที ตัวอย่าง 4 จากตัวอย่าง 3 ถ้าข้อมูลของระยะทางขณะเวลาต่าง ๆ เป็นไปตามตารางนี้ ระยะทาง (m) 0 10 20 30 40 50 เวลา (s) 0 1 2 3 4 5
  • 5. จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที และอัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 x วิธีทา หา V0-5 จาก Vเฉลี่ย = t 50  0 V0-5 = = 10 m/s 50 นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที มีค่า 10 เมตร/วินาที x หา v2 จาก Vt = t น้อย ๆ และ t เป็นจุดกึ่งกลางของ  t t 30  10  V2 = = 10 m/s 31 นั่นคือ อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 มีค่า 10 เมตร/วินาที หมายเหตุ จะเห็นว่า กรณีนี้อัตราเร็วคงตัว เพราะ V0-5 = V2 = 10 m/s และถ้าเราหา V1 , V3 , V4 ก็จะได้ V1 = V2 =V3 = V4 = 10 เมตร/วินาที เช่นกัน 2.4 การวัดอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ในแนวตรง ก. วิธีถ่ายภาพแบบมัลติแฟลช เป็นวิธีการที่ใช้ในการวัดอัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุ ซึ่งเคลื่อนที่ใน ช่วงเวลาสั้น ๆ เช่น จากรูป 2.4 เป็นภาพถ่ายแบบมัลติเเฟลชของลูกบอล 2 ลูก โดยถ่ายภาพทุก ๆ 1 วินาที 30 ลูกหนึ่งเคลื่อนที่อย่างเสรีในแนวดิ่ง อีกลูกหนึ่งเคลื่อนที่โค้งแบบโปรเจคไตล์ ตามสเกลจะเห็นว่าลูกบอลที่ ตกอย่างเสรีจะตกเร็วมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนลูกที่เคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์จะมีการเคลื่อนไหวในแนวราด้วย อัตราเร็วคงตัว
  • 6. รูป 2.4 ข. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ใช้วัดอัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ในเวลา ๆ ดังรูป 2.5 รถจะ ลากแถบกระดาษไปในขณะที่ปลายเคาะจะเคาะกระดาษให้ปรากฏเป็นรอยด้วยอัตราการเคาะที่ 50ครั้ง/ วินาทีท้าให้เราสามารถศึกษาอัตราเร็วเฉลี่ยของรถได้จากการศึกษาแถบกระดาษ ระยะห่างจากจุดหนึ่งถัดไปบนแถบกระดาษเรียกว่า ช่วงเวลาจะมีค่าเท่ากับ 1 เสมอ ไม่ว่าจุดจะ 50 ใกล้กันมากหรือไกลกัน ถ้า VAB เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยของรถในช่วง AB จะได้ รูป 2.5 AB VAB =  1  4   50  ถ้ากรณีใด ๆ ที่เราคิดระยะทางทั้งหมดเป็น x แล้วได้ช่วงเวลาทั้งหมด n เราจะได้อัตราเร็วเฉลี่ย เท่ากับ Vเฉลี่ย โดยที่ x Vเฉลี่ย = ……………….(2-3 )  1  n   50  ตัวอย่าง 5 รถคันหนึ่งลากแถบกระดาษไปในแนวตรง ดังรูป จงค้านวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง AC และอัตราเร็วขณะหนึ่ง ณ จุด B วิธีทา หา VAC เมื่อ VAC เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง AC
  • 7. x จาก Vเฉลี่ย =  1  n   50  2 9  10  VAC = = 0.35 m/s  1  13    50  นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง AC มีค่า 0.35 เมตร/วินาที หา VB เมื่อ VB เป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง ณ จุด B 2 DE 2  10 VB = = = 0.5 m/s  1   1  2  2   50   50  นั่นคือ อัตราเร็วขณะหนึ่ง ณ จุด มีค่า 0.5 เมตร/วินาที 2.5 การบอกตาแหน่งของวัตถุ เนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวข้องกับต้าแหน่งและการเปลี่ยนต้าแหน่งของวัตถุ ดังนั้นจึง ต้องทราบวิธีบอกต้าแหน่งของวัตถุก่อน ดังนี้ ก. การบอกตาแหน่งของวัตถุในแนวเส้นตรง (1มิติ) จะใช้เส้นตรงหนึ่งเส้นนการบอกต้าแหน่งวัตถุ โดยเปรียบเทียบกับจุดอ้างอิง ดังรูป 2.6 นาย ก ยืนอยู่ตรงต้าแหน่ง –4 หน่วยหมายความว่า นาย ก อยู่ห่าง จากจุดอ้างอิงไปทางซ้ายเป็นระยะ 4 หน่วย นาย ข ยืนอยู่ตรงต้าแหน่ง +2 หน่วย จะหมายความว่า นาย ข อยู่ห่างจากจุดอ้างอิงไปทางขวาเป็นระยะ 2 หน่วยการบอกต้าแหน่งของวัตถุกรณีนี้จะใช้ศึกษาการเคลื่อนที่ ในแนวตรง รูป 2.6 ข. การบอกตาแหน่งของวัตถุในระนาบ (2มิติ) จะใช้เส้นตรง 2 เส้นตัดกันที่จุดก้าเ นิดโดยให้ เส้นตรงทั้งสองตั้งฉากซึ่งกันและกันดังรูป 2.7 คือ จุดก้าเนิด ระยะที่วัดไปทางขวาและเหนือจุดก้าเนิด
  • 8. ก้าหนดให้เป็นบวก ส่วนระยะที่วัดไปทางซ้ายและล่างของจุดก้าเนิดก้าหนดให้เป็นลบ ต้าแหน่งของวัตถุที่ อยู่ในระนาบบอกได้ด้วยคู่ล้าดับ (X, Y) X คือระยะจากจุดก้านิดใน แกน X, y คือระยะจากจุดก้าเนิดในแกน y เช่น วัตถุที่อยู่ที่จุด ก. ข. ค. และ ง. ดังรูป2.7 จะตรงอยู่ต้าแหน่ง (2.3) (-3,3) ,(-3,-2) ,(2,-2) เป็นต้น รูป 2.7 รูป 2.8 รูป 2.9 รูป 2.8 วัตถุที่อยู่ต้าแหน่ง A มีคู่ล้าดับเป็น (x, y)เราสามารถค้านวณระยะจากจุดก้าเนิด 0 ไปยัง ต้าแหน่ง A ได้ดังนี้ OA = x  y 2 2 …………..(2.4) รูป 2.9 วัตถุอยู่ที่ต้าแหน่ง A, B มีคู่ล้าดับเป็น (x1, y1) และ(x2, y2) ตามล้าดับ เราสามรถค้านวณระยะ จาก A ถึง B ได้ดังนี้ AB =  x  x    y  y  2 1 2 2 1 2 …………..(2.5)
  • 9. ค. การบอกตาแหน่งของวัตถุในอากาศ ( 3 มิติ ) จะใช้เส้นตรง 3 เส้น เรียกว่าแกน x แกน y และ แกน z ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ตัดกันที่จุดก้าเนิด O ดังรูป 2.10 รูป 2.10 วัตถุที่ต้าแหน่ง A (x, y, z) หมายความว่า ถ้าฉายไฟด้านบนในแนวแกน z จะเห็นเงาของ A ปรากฏบน ระนาบ xy ที่ A/ โดยที่ A จะอยู่ห่างจากแกน Y เป็นระยะ x และห่างจากแกน X เป็นระยะ y จาก A ถ้า ลากเส้นตรงขนานกับ A/O จะไปตัดที่แกน Z ที่ z ระยะจากจุดก้าเนิด O ถึงต้าแหน่ง A สามารถหาได้จาก OA = x  y  z 2 2 2 ……………..(2.6) ตัวอย่าง 6 จากรูป เดิมวัตถุอยู่ที่ต้าแหน่ง A ในเวลาต่อมาย้ายไปอยู่ที่ต้าแหน่ง B ถามว่าในการเปลี่ยน ต้าแหน่งนี้จะได้ระยะทางสั้นที่สุดเท่าไร วิธีทา จากรูปในการเปลี่ยนต้าแหน่งจาก A ไป B จะได้ระยะทางสั้นที่สุด เท่ากับเส้นตรง AB และจะเห็นว่า คู่ล้าดับของต้าแหน่ง A และ B คือ (1,4) และ (5,1) ตามล้าดับ จากสมการ(1-2)จึงได้ AB = (5  1)  (1  4 )  5 2 2 นั่นคือ ระยะทางสั้นที่สุดมีค่าเท่ากับ 5 หน่วย
  • 10. 2.6 การรวมเวกตอร์ ในทางฟิสิกส์มีปริมาณอยู่หลายตัวที่ต้องศึกษา เช่น การกระจัด ระยะทาง อัตราเร็วความเร่ง อัตราเร่ง มวล น้้าหนัก เวลา ฯลฯ ปริมาณเหล่านี้เมื่อดูสมบัติบางอย่างแล้วสามารถแบ่งได้เป็น ปริมาณสเกลาร์ และ ปริมาณเวกเตอร์ ปริมาณสเกลาร์ คือ ปริมาณที่มีแต่ขนาดเพียงอย่างเดียวไม่มีทิศทาง เช่น จ้านวนนักเรียนในห้อง ราคาบ้าน ระยะทาง อัตราเร็ว มวล ฯลฯ การน้าปริมาณสเกลาร์มาบวก ลบ กันกระท้าได้ง่ายมาก โดยท้า ได้เช่นเดียวกับการบวกและลบเลขธรรมดา ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง น้้าหนัก แรง ฯลฯ ปริมาณเวกเตอร์จะเขียนแทนด้วยลูกศร ขนาดความยาวของลูกศรจะเท่ากับขนาดของ ปริมาณเวกเตอร์นั้น ส่วนทิศทางของลูกศรจะแสดงทิศทางของปริมาณเวกเตอร์นั้น   ก. การบวกเวกเตอร์ ให้ P และ Q เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดและทิศทาง ดังรูป 2.11 ในการหา   ผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสองนี้ สามารถท้าได้หลายวิธี วิธีหนึ่งคือ เขียนเวกเตอร์ P และ Q แบบต่อหางต่อหัว    และลากเส้นจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดปลาย จะได้เวกเตอร์ R ซึ่งเป็นผลรวมของ P และ Q อยู่คนละแนวเส้น ทแยงมุมของสี่เหลี่ยมด้านขนานที่สร้างขึ้นจะเป็นผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสอง ดังรูป 2.12 รูป 2.11 รูป 2.12
  • 11.    ถ้าให้ P, Q และR เป็นขนาดของเวกเตอร์ P , Q และ R ตามล้าดับ ดังปรากฏในรูป 2.12 จะได้ P Q R   ………………(2-7) sin  sin  sin  และ R 2  P 2 Q 2  2 PQ cos  ………………..(2-8)   ข. การลบเวกเตอร์ มีหลักการคล้ายการบวกเวกเตอร์ เช่น ถ้าเราต้องการหาค่า P  Q โดยที่   เวกเตอร์ P และ Q มีทิศทางและขนาดดังรูป 2.11 หรือ 2.12 สามรถใช้วิธีหางต่อหางหรือสร้างสี่เหลี่ยมด้าน ขนานก็ได้ โดยจะได้    R  P  (Q )   ซึ่ง - Q กับ Q จะมีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม ดูรูป 2.13 และ 2.14 ประกอบ และสมการ (2-7) และ (2-8) สามารถน้ามาประยุกต์ใช้ได้เช่นกัน รูป 2.13 รูป 2.14    ตัวอย่าง 7 ก้าหนดให้ A , B, C เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดและทิศทางตามที่ก้าหนดในรูป จงเขียนรูปเพื่อ แสดงวิธีการหา    ก. A  B  C    ข. A  B  C
  • 12. วิธีทา จะแสดงการเขียนรูปเพื่อหาผลลัพธ์ของการบวกและลบตามที่โจทย์ต้องการโดยใช้วิธีหางต่อหัว 2.7 การกระจัด รูป 2.15 จากรูป 2.15 วางวัตถุไว้ที่จุด A มีคู่ล้าดับเป็น(x1,y2) ต่อมาย้ายวัตถุไปยังจุด B ซึ่งมีคู่ล้าดับเป็น (x2,y2) ในการย้ายต้าแหน่งจากจุด A ไปจุด B เราสามารถกระท้าได้หลายทาง อาจจะใช้ทาง1,2 และ 3 ก็ สามารถย้ายจาก A ไป B ได้ทั้งนั้น แต่จะมีเส้นทางหนึ่งที่ใช้ระยะทางสั้นที่สุด เส้นทางนั้นคือเส้นตรงที่ต่อ ระหว่างจุด A กับ B จากรูปคือ เส้นทาง 2 ลูกศรที่ชี้จาก A ไป B แลละมีขนาดความยาวเท่ากับ AB เรียกว่า การกระจัด(displacement) ดังนั้น การกระจัดจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร การกระจัดแตกต่างกันระยะทาง (distance) ตรงที่ระยะทางสนใจเพียงขนาด ไม่สนใจทิศทาง และระยะทางจะเป็นระยะจริงๆ เกิดจากการย้ายต้าแหน่ง เช่น ในรูป 2.15 ถ้าเราย้ายวัตถุจากต้าแหน่ง A ไป ยัง B ตามเส้นทาง 1 ระยะทางจะหมายถึงระยะจริงๆ วัดตามเส้นโค้งไปมาจนถึง B ส่วนการกระจัดจะเท่ากับ ความยาว AB และทิศพุ่งจาก A ไป B เป็นต้น หากจะนิยามกรกระจัดอาจกล่าวว่า “การกระจัด คือ ระยะทางที่สั้นที่สุดในการย้ายต้าแหน่งจุด คู่หนึ่ง” การค้านวณขนาดขอการกระจัดสามารถท้าได้โดยใช้สมการ (2-5)
  • 13. ตัวอย่าง 8 ชายคนหนึ่งเดินจากจุดอ้างอิง 0 ไปตามลูกศร แล้วหยุดนิ่งที่ต้าแหน่ง 4 เมตร จงหาขนาดของการกระจัดและระยะทางทั้งหมด วิธีทา หา d เมื่อ d เป็นขนาดของการกระจัด จะได้ d = ระยะ OB = 4m นั่นคือ ขนาดของการกระจัดของการเดินนี้เท่ากับ 4 เมตร และมีทิศพุ่งไปทางขวามือ (จากO ไปB) หา S เมื่อ s เป็นระยะทางทั้งหมด จะได้ s = ระยะ OA+ระยะ AB = 6+2 = 8m นั่นคือ ระยะทางทั้งหมดเท่ากับ 8 เมตร ตัวอย่าง 9 จากรูป ย้ายวัตถุจาก A ไป B ตามเส้นทางที่ก้าหนด จงค้านวณขนาดของการกระจัดและทิศทาง ของการกระจัด (บอกเป็นมุมซึ่งเทียบกับแกน X) วิธีท้า ในการย้ายต้าแหน่งจาก A ไป B ตามเส้นทางที่โจทย์ก้าหนด จะได้ระยะทางที่สั้นที่สุดเท่ากับเส้นตรง   AB ให้มีค่าเป็น d ขนาดของ d สามารถค้านวณได้โดยอาศัยสมการ (2-5) ซึ่งจะได้ (ดูรูปประกอบ) 2 2 d   25  5    25  5  = 20 2 m ……………….(1)
  • 14.  ให้  เป็นมุมที่ d เทียบกับแกน X จึงเป็นมุมี่บอกทิศทางของ d จาก ABC จะได้ BC 25  5 tan   = 1 AC 25  5    45 0 นั่นคือ การกระจัดมีขนาด 20 2 เมตร ท้ามุม 45 องศากับแกน X ตัวอย่าง 10 ย้ายวัตถุไปทางทิศตะวันออก 12 เมตร จากนั้นย้ายข้นไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง 16 เมตร จงค้านวณการกระจัดและระยะทางจากจุดเริ่มต้นถึงจุดปลาย วิธีทา จากรูป วัตถุถูกย้ายจาก A ไป B (ไปทางทิศตะวันออก) 12 m และจาก B ไปC (ไปทางทิศเหนือ) 16   m จะได้ d เป็นการกระจัดระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดปลาย จะได้ขนาดของ d เป็น d =  AB    BC  2 2 = (12 )  (16 ) = 20 m 2 2 ……………..(1)
  • 15. ให้ s เป็นระยะห่างจากจุดเริ่มต้นถึงจุดปลาย ดังนั้นได้ s = AB+BC 12 = 12+16 = 28 m ……………..(2) นั่นคือ การกระจัดมีค่า 20 เมตร แต่ระยะทางมีค่า 28 เมตร 2.8 ความเร็ว ความเร็ว (velocity) นิยามว่า “เป็นอัตราการเปลี่ยนเเปลงการกระจัด “ พิจารณาการเคลื่อนที่ของ รถยนต์ในแนวเส้นตรง (หรือวัตถุอื่นใดที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง) เริ่มออกจากจุด O เมื่อน้าค่าการกระจัด ของรถยนต์ที่เวลาต่าง ๆ กันไปเขียนกราฟ โดยเขียนระหว่างการกระจัดกับเวลา สมมติว่าได้กราฟ ดังรูป 2.16 จากกราฟการกระจัด –เวลา สามารถสรุปได้เป็นข้อ ๆ ดังนี้ ความเร็วเฉลี่ย ตามนิยามความเร็วเราสามารถค้านวณค่าความเร็วในช่วงเวลาจาก t1 ถึง t2 ได้ดังนี้     s s 2  s1 V เฉลี่ย = = ……………….(2-9) t t 2  t1 เมื่อ Vเฉลี่ย เป้นความเร็วเฉลี่ย  s เป็นการกระจัดที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลา  t โดยที่     2  s s   s1 และ  t  t  t จากกราฟจะพบว่า Vเฉลี่ย มีค่าเท่ากับความชันของเส้นตรง AB เพราะ 2 1 BC s 2  s1 ความชัน = tan  =  …………….(2-10) AC t 2  t1 รูป 2.16
  • 16. ความเร็วขณะหนึ่ง เป็นความเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง นิยามว่า    s  V ขณะหนึ่ง =  t  0 ………………….(2.11)  t   เมื่อ V ขณะหนึ่ง เป็นความเร็ว ณ เวลาที่เป็นจุดกึ่งกลางเวลา  t จากกราฟในรูป 2.16 เราสามารถ  พิจารณาความเร็วขณะหนึ่งได้จากความชันกราฟ เช่น ถ้า V 3 เป็นความเร็วขณะ t3 เราจะได้  V 3 = ความชันของเส้น MN ซึ่งสัมผัสกราฟตรงจุดเวลา ตัวอย่าง 11 ชายคนหนึ่งวิ่งจากจุดเริ่มต้นไปถึงตู้ไปรษณีย์ A แล้ย้อนกลับไปหยุดที่ใต้ต้นไม้ B กินเวลา ทั้งสิ้น 10 วินาทีพอดี จงค้านวณความเร็วและอัตราเร็วเฉลี่ยของชายคนนั้น วิธีทา การที่ชายคนนั้นวิ่งจากจุดเริ่มต้นไป A แล้วย้อนกลับไปหยุดที่จุดใต้ต้นไม้ B จะได้การกระจัดทั้งสิ้น เท่ากับ s โดยที่ s = -20 m ………………(1)  ตามนิยามของความเร็วเฉลี่ยจะได้ความเร็วเฉลี่ย V เฉลี่ย เป็น   20  0 V เฉลี่ย =  2 m/s ………………(2) 10  0 เครื่องหมายลบของความเร็วเฉลี่ยที่ได้ในสมการ(2) หมายถึง ชายคนนั้นก้าลังวิ่งไปทางซ้ายของ จุดเริ่มต้น นั่นคือ ความเร็วเฉลี่ยของชายคนนั้นเท่ากับ –2 เมตร/วินาที การวิ่งของชายคนนั้นจากจุดเริ่มต้นไป A แล้วย้อนกลับไปหยุดที่จุดใต้ต้นไม้ B จะได้ระยะทางทั้งสิ้น เท่ากับ d โดยที่ d = 40+40 +20 =100 m ………………….(3) ตามนิยามของอัตราเร็วเฉลี่ยจะได้อัตราเร็วเฉลี่ย Vเฉลี่ย เป็น
  • 17. Vเฉลี่ย = 100 = 10 m/s 10 นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยของชายคนนั้นเท่ากับ 10 เมตร/วินาที ตัวอย่าง 12 ในการเคลื่อนที่แบบเส้นตรงของรถยนต์ 2 คัน P และ Q เมื่อน้าการกระจัดเขียนกราฟกับเวลา จะได้ดังรูป จงค้านวณความเร็วเฉลี่ยของรถ P และ Q ในช่วงเวลาจาก 0 ถึง 10 วินาที   วิธีทา เราสามารถค้านวณความเร็วเฉลี่ยของรถ P และ Q ได้ตามสมการ (2-9) ให้ V 1 และ V 2 เป็นความเร็ว เฉลี่ยของรถ P และ Q ตามล้าดับ จึงได้  100  0 V1   10 m/s 10  0  100  100 และ V2   0 m/s 10  0 นั่นคือ ความเร็วเฉลี่ยของรถ P และ Q เป็น 10 และ 0 เมตร/วินาที ตัวอย่าง 13 จากรูป ชายคนหนึ่งเดินทางจากต้าบล A ไปต้าบล E ตามเส้นทางที่ผ่านต้าบล B,C และ D ใช้ เวลาทั้งสิ้น 15 วินาที จงค้านวณความเร็วและอัตราเร็วในการเดินของชายคน  วิธีทา การเดินทางของชายคนนี้จาก A ไป E จะไดการการะจัดเท่ากับ A E โดยที่       AE  AB  BC  CD  DE ………..(1)
  • 18. จากรูปที่ก้าหนดให้ จะได้ AB = 3 m ………..(2) BC = 6m …………(3) CD = (3)  ( 3) = 3 2 m 2 2 …………(4) DE = ( 2 )  (3) = 13 m 2 2 …………(5) ถ้า d เป็นระยะทางทั้งหมดที่ชายคนนั้นเดินจาก A ไป E ตามเส้นทางที่ก้าหนด จะได้ d = AB+BC+CD+DE = 3+6+3 2  13 = 16.85 m ……….(2) ส่วนขนาดของการกระจัดจาก A ไป B คือ AE สามารถหาได้จาก AE = (8 )  ( 6 ) = 10 m 2 2 ……….(7) จากนิยามของอัตราเร็วเฉลี่ยกรณีจะได้ความเร็วเฉลี่ย Vเฉลี่ย เป็น AE Vเฉลี่ย = = 0.27 m/s เวลา จากนิยามของอัตราเร็วเฉลี่ยกรณีจะได้ความเร็วเฉลี่ย Vเฉลี่ย เป็น d 16 . 85 Vเฉลีย = ่  = 1.12 m/s เวลา 15 นั่นคือ ชายคนนั้นมีความเร็วเท่ากับ 0.27 เมตร/วินาที และมีอัตราเร็ว 1.12 เมตรต่อวินาที ตัวอย่าง 14 รถคันหนึ่งวิ่งไปบนพื้นราบด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ต่อมาวิ่งด้วยความ 20 เมตร/วินาที และมีทิศเปลี่ยนไปจากเดิม 20 องศา จงค้านวณความเร็วลัพธ์ของรถคันนี้ วิธีทา ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์แต่อัตราเร็วเป็นปริมาณสเกลาร์ ดังนั้นในการบวกลบความ เร็วเพื่อหาความเร็วลัพธ์จึงต้องระวัง เพราะต้องบวกลบแบบเวกเตอร์    ให้ V 1 และ V 2 เป็นความเร็วในตอนแรกและตอนหลัง ให้ V เป็นความเร็วลัพธ์ จะได้    V  V1  V 2  ขอให้ดูประกอบโดยจะหาขนาดของความเร็วลัพธ์ V ด้วยการเขียนสี่เหลี่ยมด้านขนาน อาศัยสมการ(2-8) จะได้    V  V1  V 2  2 V1 V 2 cos 60 0   เมื่อ V1 และ V2 เป็นขนาดของ V1 และ V 2 ตามล้าดับ V  (10 )  ( 20 )  2 (10 )( 20 ) cos 60 2 2 2 0 V = 22.5 m/s
  • 19. นั่นคือ ความเร็วลัพธ์ของงรถคันนี้มีค่า 22.5 เมตร/วินาที 2.9 ความเร่ง ความเร่ง นิยามว่า”เป็นอัตราเปลี่ยนความเร็ว ” พิจารณาการเคลื่อนที่ของรถยนต์ในแนวเส้นตรง (หรือ วัตถุอื่นใดในแนวเส้นตรง) เริ่มต้นจากจุดหยุดนิ่ง ที่ O วิ่งออกไปเมื่อน้าความเร็วของรถยนต์ที่เวลาต่าง ๆ กันไปเขียนกราฟจะได้กราฟ ดังรูป2.17 รูป 2.17 จากกราฟ ความเร็ว-เวลา สามารถสรุปได้เป็นข้อ ๆ ดังต่อไปนี้ ความเร่งเฉลี่ย ตามนิยามความเร่งเราสามารถค้านวณค่าความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก t1 ถึง t2 ได้ดังนี้     v 2  v1 v a เฉลี่ย =  ……………(2-12) t 2  t1 t  เมื่อ a เฉลี่ย เป็นความเร่งในช่วงเวลาดังกล่าว มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที2; (m/s2) มีทิศทางไปทางเดียวกับ    V2  V 1 และจากกราฟจะพบว่าค่า a เฉลี่ย นี้มีค่าเท่ากับความชัน ของเส้นตรง AB เพราะ   BC v 2  v1 ความชัน = tan    …………………(2-13) AC t 2  t1 ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง จากกราฟในรูป 2.17 ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง เช่น ขณะเวลา t3 สามารถหาได้โดยการลากเส้นตรง MN ให้ สัมผัสเส้นกราฟที่จุด P ค่าความชันของเส้นตรง MN ที่ได้จะ
  • 20. เป็นค่าความเร็ว ขณะเวลา t3 เป็นต้น หรือคิดค้านวณจากสมการ(2-12) โดยให้ t3 เป็นจุดกึ่งกลางเวลา  t และ  t  0 พื้นที่ใต้กราฟความเร็ว-เวลาคือการกระจัด จากกราฟในรูป 2.17 การเคลื่อนที่ของรถยนต์ในเวลา t2 ไป t3 เราสามารถหาการกระจัดในช่วงเวลาดังกล่าวได้ด้วยการหาพื้นที่ใต้กราฟส่วนที่แรเงา ลักษณะพิเศษของกราฟความเร็ว-เวลากับความหมาย ส้าหรับวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง รูป 2.18 แสดงว่า ความเร็วคงที่ และวิ่งออกจากจุดอ้างอิงไปทางขวา รูป 2.19 แสดงว่า ความเร็วคงที่มีค่าเป็นบวก เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นความเร็วก็เพิ่มขึ้น และวิ่งออกจากจุดอ้างอิงไป ทางขวา เพราะ ความเร็วมีค่าเป็นบวก รูป 2.21 แสดงว่า ความเร็วคงที่มีค่าเป็นลบ เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นความเร็วลดลง กรณีนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ความ หน่าง วัตถุวิ่งออกจากจุดอ้างอิงไปทางขวา เพราะ ความเร็วมีค่าเป็นบวก
  • 21. รูป 2.21 แสดง ถึงปฏิกิริยาท่าทางของมนุษที่ก้าลังอยู่ภายใต้การเคลื่อนที่ที่มีความเร่งประมาณ 200 เมตร/วินาที ตัวอย่าง 15 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟความเร็วเวลา ดังรูป ก. จงอธิบายการเคลื่อนที่ของรถยนต์ ข. จงหาการกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 ค. จงหาค่าเฉลี่ยของความเร็วในช่วงเวลา 0 ถึง 2 วินาที ง จงหาค่าความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 3 วินาที วิธีทา ก. พิจารณาจากกราฟความเร็ว-เวลา จะเห็นว่ารถยนต์เริ่มออกจากจุดเริ่มต้นเมื่อเวลา 0 ด้วยความเร็ว 0 m/s แล้ววิ่งออกไปทางขวาของจุดอ้างอิง เพราะหลังจากวินาทีที่ 0 ไปแล้วความเร็วเป็นบวก ในช่วง 0 ถึง 3 s รถยนต์จะวิ่งด้วยความเร่ง คงที่จนมีความเร็ว สูงสุด 30 m/s จาก 3ถึง 2 s รถยนต์จะวิ่งด้วยความหน่วง ความเร็วจะลดลงจาก 30 m/s จนเป็น0 m/s เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 ดูรูปประกอบ ข. ถ้า s เป็นการกระจัดของรถยนต์เมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 จะได้ (ดูรูปกราฟ) s = พื้นที่สามเหลี่ยมที่แรเงา = 1 ( 6 )( 30 ) = 90 m 2 นั่นคือ การกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 2มีค่า 90 เมตร  ค. ถ้า V เฉลี่ย เป็นความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 2 วินาที จะได้
  • 22.  s V เฉลี่ย = = = 15 m/s 90 t 6 นั่นคือ เป็นความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 2 วินาที มีค่า 15 เมตร/วินาที ง. ถ้า aเฉลี่ย เป็นความเร่งในช่วงเวลา 0 ถึง 3 จากสมการ(2-12) จะได้ aเฉลี่ย = 30  0 =10 m/s2 30 นั่นคือ ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 3 วินาที เ เท่ากับ 10 เมตร/วินาที2 ตัวอย่าง 12 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟ ความเร็ว -เวลา ตามรูป ก. จงอธิบายการเคลื่อนที่ของรถยนต์ ข. จงหาการกระจัดและระยะทางเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 ค. จงหาความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก 0ถึง 4 วินาที ง. จงหาความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 วินาที วิธีทา ก. พิจารณาจากกราฟความเร็ว-เวลาที่โจทย์ก้าหนดให้ จะเห็นว่ารถยนต์เริ่มออกจากจุดเริ่มต้นเมื่อ เวลา 0 s ด้วยความเร็ว 0 m/s แล้ววิ่งออกไปทางขวาจากจุดอ้างอิง เพราะหลังจากวินาทีที่ 0 ไปแล้วความเร็ว เป็นบวก ในช่วง 0 ถึง 1 s รถยนต์จะวิ่งด้วยความเร็วคงที่จนมีความเร็วสูงสุด 20 m/s จาก 1 ถึง 2 s รถยนต์จะ วิ่งด้วยความหน่วง คงที่ ความเร็วจะลดลงจาก 20 m/s จนเป็น 0 m/s จาก 2 ถึง 3 s ความเร็วของรถยนต์เป็นลบ แสดงว่ารถยนต์วิ่งย้อนกลับทางเดิมจนมีความเร็วสูงสุด –20 m/s จาก 3 ถึง 4s รถยนต์จะวิ่งเข้าหาจุดเริ่มต้นหรือจุดอ้างอิงช้าลงและจะหยุดนิ่งที่จุดอ้างอิงเมื่อสิ้นวิ นาทีที่ 4 ดูรูปประกอบ
  • 23. ข.ให้ s และ d เป็นการกระจัดและระยะทางเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 ตามล้าดับ อาศัยหลักที่ว่าพื้นที่ใต้กราฟ ความเร็ว-เวลา คือ การกระจัด ดังนั้นจะได้ S = พื้นที่  ( A )  พื้นที่  ( B ) = 1 ( 2 )( 20 )  1 ( 2 )( 20 ) = 20-20 =0 m 2 2 d = พื้นที่  ( A )  พื้นที่  ( B ) = 20+20 = 40 m นั่นคือ เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 จะได้การกระจัดและระยะทางเท่ากับ 0 และ 40 เมตร ตามล้าดับ ข้อสังเกต ในการค้านวณการรกระจัดโดยหาพื้นที่ใต้กราฟความเร็ว -เวลา จะต้องคิดเคลื่อนหมายของ ความเร็วด้วย เช่น พื้นที่ใต้กราฟ  (B) เป็นลบก็เพราะความเร็วเป็นลบ แต่ในทางตรงข้ามถ้าคิดระยะทาง ไม่ต้องคิดเครื่องหมายลบเลยจับบวกกันหมด  ค. ให้ V เฉลี่ย และ Vเฉลี่ย เป็นความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก 0 ถึง 4s จากนิยามของ ความเร็วและอัตราเร็วได้   s V เฉลี่ย = t = 0 = 0 m/s 4 ระยะทาง x V = = เวลา t = 40 = 10 m/s 4 นั่นคือ ในช่วงเวลา 0 ถึง 4 วินาที ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ยจะมีค่าเท่ากับ 0 และ 10 เมตร/ วินาที ง. เนื่องจากกราฟในช่วงเวลา 1 ถึง 3 s เป็นเส้นตรงต่อเนื่องกันตลอด แสดงว่าความเร่งในช่วงเวลา ดังกล่าวคงที่ ดังนั้นความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาใด ๆ ก็ตามที่อยู่ระหว่าง 1 ถึง 3 s จะได้ค่าเท่ากันหมด โจทย์ ให้หาความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 s เราจึงเลือกหาความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1 ถึง3 s เพราะสะดวก  กว่า ถ้า a เฉลี่ย เป็นความเร่งในช่วงเวลา 1 ถึง 3 s ซึ่งเท่ากับความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 จะได้   20  (  20 ) a เฉลี่ย =   20 m/s 3 1
  • 24. นั่นคือ ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา 1.11 ถึง 2.5 วินาที มีค่า -20 เมตร/วินาที ตัวอย่าง 17 จากตัวอย่าง 12 กราฟที่เขียนระหว่างความเร่งกับเวลาในข้อใดต่อไปนี้ที่สอดคล้องกับกราฟ ความเร็ว-เวลา ในตัวอย่าง 12 วิธีทา ค้าตอบที่ถูกต้องคือข้อ 1 จากกราฟความเร็วเวลา ในตัวอย่างที่ 12 ช่วงเวลา 0 ถึง 1 s กราฟเอียงขวาความชันเป็นบวก แสดง ว่าความเร่งคงที่เป็นบวก ช่วงเวลาจาก 1 ถึง 3 s กราฟเอียงซ้าย ความชันเป็นลบ แสดงว่าความเร่งคงที่เป็น ลบ ช่วงเวลาจาก 3 ถึง 4 s กราฟกลับมาเอียงขวาอีกครั้งหนึ่ง ความชันจึงเป็นบวก แสดงว่าความเร่งคงที่เป็น บวก ซึ่งกราฟในข้อ 1 สอดคล้องตลอดช่วงเวลา ตัวอย่าง 18 จากกราฟความเร็ว-เวลา ซึ่งแสดงการเดินทางในช่วงเวลา A,B,C และ D
  • 25. ก. จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ใน 0.5 ชั่วโมง ข. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วง 0.2 ชั่วโมงแรก วิธีทา ก. พื้นที่ใต้กราฟความเร็ว-เวลา คือ การกระจัด ถ้าs1 เป็นการกระจัดในล่วงเวลาจาก 0 ถึง 0.5 hr จะ ได้ s1 = พื้นที่  คางหมู ( ในช่วง 0-0.3 hr) + พื้นที่  คางหมู (ในช่วง0.3 –0.5 hr) 1 1 = ( 0 . 2  0 . 3 )( 50 )  ( 50  10 )( 0 . 2 )  18 . 5 km 2 2 นั่นคือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ใน 0.5 ชั่วโมงเท่ากับ 18.5 กิโลเมตร ข.หาอัตราเร็วเฉลี่ยใน 0.2 hr จะได้ s2 = พื้นที่  คางหมู ( ในช่วง 0-0.2 hr) 1 = ( 0 . 1  0 . 2 )( 50 )  7 . 5 km 2 ให้ Vเฉลี่ย เป็นอัตราเร็วเฉลี่ยใน 0.2 แรกจะได้ 7 .5 Vเฉลี่ย = = 37.5 km/hr 0 .2 นั่นคือ อัตราเฉลี่ยใน 0.2ชั่วโมงแรก มีค่า 37.5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตัวอย่าง19 การเคลื่อนที่ของวัตถุชนิดหนึ่งที่สามารถเขียนกราฟความเร็ว –เวลา ได้ดังรูป จงหา ก. การกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 ข. ความเร่ง ณ เวลา 1 วินาที
  • 26. วิธีทา ก. พื้นที่ใต้กราฟความเร็ว - เวลา คือการกระจัดเมื่อสิ้นวินาที 4 จะได้ S = พื้นที่ส่วนที่แรเงาบางๆ ทั้งหมด (รวม ( A ) ด้วย) แต่การค้านวณพื้นที่ส่วนที่แรเงาบางๆ ทั้งหมด โดยตรงท้าได้ยาก เพราะกราฟโค้งเป็นคลื่นรูปไซน์ (sine wave ) อย่างไรก็ตามจะเห็นว่าพื้นที่ส่วนที่แรเงาด้วยเส้น ( A ) และ (B )แทนกันได้พอดี ดังนั้นพื้นที่ สี่เหลี่ยมผืนผ้าโดยมีความกว้าง 20 m/sและยาว4 s จึงได้ S = 20x 10= 80 m นั่นคือ การกระจัดเมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 มีค่าเท่ากับ 80 เมตร ข. ความเร่ง ณ เวลา 1 s จะเท่ากับความชันของเส้นตรงที่เราลากสัมผัสเส้นกราฟที่จุด p เส้นตรง ที่เราลากดังกล่าวนี้จะขนานกับแกน เวลาซึ่งจะได้ความชันของเส้นตรงนี้มีค่าเท่ากับ ศูนย์ จึงได้ความเร่ง ณ เวลา 1 s เท่ากับ ศูนย์ด้วย นั่นคือ ความเร่ง ณ เวลา1 วินาที มีค่า 0 เมตรต่อวินาที2 ตัวอย่าง 20 รถ A แล่นด้วยความเร็วคงที่ 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ผ่านรถ B ซึ่งก้าลังออกแล่นด้วยความเร่ง คงที่จนมีความเร็วคงที่ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งกราฟความเร็ว - เวลาของรถทั้งสองคันเป็นดังรูป ถ้าจะ ให้รถ B แล่นทันรถ A รถ B จะต้องแล่นนานเท่าไรและได้ทางเท่าไร วิธีทา ให้ เป็นเวลาที่รถ B วิ่งมาทันรถ A พอดี ขณะนั้น แสดงว่ารถ A และ B วิ่งได้ทางเท่ากัน ดังนั้น จาก รูปในช่วงเวลาจาก 0 ถึง t พื้นที่ใต้กราฟ ความเร็ว – เวลา ของรถ A จะเท่ากับรถ B จึงได้
  • 27. พื้นที่ใต้กราฟ A = พื้นที่ใต้กราฟ B 1 ( 40 km/hr)( t ) =  t  60  t 60 km / hr  2 4t = 3(2t-20) 4t = 2t-180 t = 90 s ………………(1) ให้ s เป็นระยะทางที่รถ Bแล่นได้ขณะที่วิ่งมาทันรถ A พอดี จะได้ s = (40 km/hr )(90 s) = 1 km = 1,000 m ………………(2) นั่นคือ รถ B แล่นนาน 90 วินาทีจึงหันรถ A ที่ระยะ 1,000 เมตร ตัวอย่างที่ 21 คนขับรถแข่งกับรถด้วยอัตราเร็วคงที่ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมงซึ่ง อ่านได้จากหน้าปัด ขณะที่รถ พุ่งเข้าทางโค้งคนขบรถมีอัตราเร็ว 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมงตลอดเวลา รถมีความเร่งหรือไม่เพราะเหตุใด วิธีทา ค้าตอบคือ รถมีความเร่ง  จากรูป สมมติแข่งวิ่งด้วยอัตราเร็ว v ความเร็วเป็น v ก้าลังวิ่งเข้าโค้ง ขณะที่รถเปลี่ยนต้าแหน่ง  จาก A ไป B ความเร็วจะเปลี่ยนไปท้ามุม  กับแนวเดิมคือ v ไม่เปลี่ยน ถ้า v3 เป็นความเร็วที่เปลี่ยนไป จะ ได้    v 3 = v 2 + (- v 1 ) ถ้าในการเปลี่ยนต้าแหน่งจาก A ไป B ใช้เวลา t เราจะได้ความเร่งของรถแข่งเป็น   v3 a  t  เมื่อ a เป็นความเร่งของรถแข่ง ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าแม้ว่ารถจะมีอัตราเร็วคงที่ตลอดเวลา แต่ ความเร็วอาจเปลี่ยนได้จึงท้าให้รถมีความเร่งได้
  • 28. ตัวอย่าง 22 รถยนต์คันหนึ่งแล่นด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที คงที่ตลอดเวลาไปตามทางโค้ง ดังแสดงใน รูป ในขณะที่รถแล่นจาก A ไป B กินเวลา 10 วินาที และทิศของความเร็วเปลี่ยนไป 20 องศาจงค้านวณ ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาจาก A ถึง B วิธีทา แม้ว่ารถยนต์จะมีอัตราเร็วคงที่ แต่ทิศทางเปลี่ยนแสดงว่าความเร็วเปลี่ยนไปด้วย ซึ่งกรณีนี้จะคล้าย  กับตัวอย่าง 21 และถ้า v3 เป็นความเร็วที่เปลี่ยนไปจะได้    v 3  v 2  (  v1 ) ……………(1)   ตามสมการ (1) สามารถค้านวณได้โดยใช้รูปประกอบซึ่งเป็นการหา v3 โดยการสร้างสี่เหลี่ยม v3 ด้านขนาน ABCD ด้วยวิธีนี้จะได้ 2 2 2 0 v3  v1  v 2  2 v1v 2 cos 120 = (10)2+(10)2+2(10)(10)cos 1200  v 3 = 10m/s แสดงว่าในการเคลื่อนที่จาก A ไป B ความเร็วเปลี่ยนไป 10m/s ดังนั้นถ้า a เป็นความเร่งในการ เคลื่อนที่จาก A ไป B จะได้ a= v3 t = 10 = 1m/s 10 นั่นคือ ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลา A ถึง B มีค่า 1 เมตร/วินาที2
  • 29. 2.10. สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร็ว คงตัว พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วต้น u และเมื่อเวลาผ่านไป t วินาที วัตถุมี ความเร็ว v ดูรูป 2.22 ประกอบถ้า a มีความเร่งซึ่งคงที่ และ s เป็นการกระจัดของวัตถุเมื่อเวลาผ่านไป t เรา จะได้ความสัมพันธ์ระหว่าง u, v, a, t, และ s เป็น v = u+at ………….(2-14) S = ut+ 1 at 2 2 …………..(2-15) v2 = u2+2as …………….(2-12) ทั้งสามสมการนี้ใช้เพื่อการค้านวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ ตัวอย่าง ของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ เช่น วัตถุที่ตกอย่างเสรีในสนามความโน้มถ่วงของโลกฯลฯ ตัวอย่าง 23 จงพิสูจน์สมการ (2-14),(2-15),และ(2-12) วิธีทา พิสูจน์สมการ (2-14) จากรูป 2.22 และจากนิยามของความเร่งจะได้ vu a= t v = u+at ……………….(1) พิสูจน์สมการ(2-15) จากรูป 2.22 พื้นที่ใต้กราฟส่วนที่แรเงาคือ การกระจัด s ในช่วงเวลาจาก 0 ถึง t จะได้ s= 1 (u+v)t ………………(2) 2 แทนค่า v ในสมการ (1) ลงในสมการ (2) จะได้
  • 30. 1 s = 2 ( u  u  at ) t 1 = ( 2 u  at ) t 2 s = ut+ 1 at2 …………………..(3) 2 พิสูจน์ (2-12) จากสมการ (1) สามารถหา t ได้ดังนี้ vu t= a แทนค่า t จากสมการ (4)ลงในสมการ (2) จะได้ 1 (v  u ) s= (u  v) 2 a 2sa = (u+v)(v-u) 2as = v2-u2 2  v = u +2as 2  ตัวอย่าง 24 ชายคนหนึ่งเริ่มวิ่งออกจากจุด A ไปในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ว ( u ) 1 เมตร/วินาที และด้วย ความเร่งคงที่ 10 เมตร/วินาที 2 เมื่อเขาวิ่งมาถึงจุด B เขาใช้เวลาไปทั้งหมด 20 วินาที จงหาการกระจัด  ระหว่าง A กับ B และความเร็ว( v ) ที่จุด B ของชายคนนั้น วิธีทา ให้ s เป็นการกระจัดระหว่าง A กับ B ตามสมการ ผ2-15) จะได้ s = ut + 1 at 2 2 = (1)(20)+ 1 (10)(20)2 2 v = 2,020 m นั่นคือ การกระจัดระหว่าง A กับ B มีค่า 2,020 เมตร ตามสมการ (2-14) จะสามารถค้านวณความเร็ว v ได้ดังนี้ v = u+at  s = 1+(10)(20) = 201 m/s นั่นคือ ความเร็วของชายคนนั้นที่จุด B มีค่า 201 เมตร/วินาที
  • 31. ตัวอย่าง 25 จากตัวอย่าง 24 ถ้าชายนั้นเริ่มออกวิ่งด้วยความเร็ว 100 เมตร/วินาที และวิ่งด้วยความหน่วง 10 เมตร/วินาที ถามวานานเท่าไรเขาจึงจะหยุดและเมื่อหยุดแล้วการกระจัดเป็นเท่าใด วิธีทา ให้ t เป็นเวลาที่เขาใช้ทั้งหมดตั้งแต่เริ่มวิ่งจนกระทั่งหยุด ตามสมการ(2-14) จะได้ v = u+at  0 = (100)+(-10): (แทน a ด้วยเครื่องหมายลบ) t = 10s นั่นคือ เขาจะต้องใช้เวลาทั้งหมด 10 วินาที จึงจะหยุดวิ่ง ให้ s เป็นการกระจัดตั้งแต่เริ่มวิ่งจนกระทั่งหยุด ตามสมการ (2-15) จะได้ s = ut+ 1 at2 2 = (100)(10)+ 1 (-10)(10); (แทน a ด้วยเครื่องหมายลบ) 2 = 500 m นั่นคือ การกระจัดมีค่า 500 เมตร ข้อสังเกต ความหน่วงเมื่อใช้กับสมการ (2-14) ถึง (2-12) จะแทนเครื่องหมายลบ ตัวอย่าง 22 นักวิ่งออกจากจุดเริ่มต้นด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที2 พุ่งเข้าสู่เส้นชัยซึ่งห่างออกไป 100 เมตร โดยหยุดทันทีที่เส้นชัย ถ้าในการวิ่งตลอดระทางกินเวลาทั้งหมด 10 วินาที ในช่วงก่อนเข้าสู่เส้นชัยนักวิ่ง ต้องวิ่งด้วยความหน่วงเท่าไรนับจากที่เขาวิ่งด้วยความเร็วสูงสุด วิธีทา นักวิ่งออกจากจุดเริ่มต้นด้วยความเร็วเป็นศูนย์ให้มีความเร่ง a1 เมื่อวิ่งไปได้ทาง s1 สมมุติว่ามี ความเร็วเป็น v สูงสุด จากนั้นจึงวิ่งด้วยความเร่ง –a2 (ความหน่วง ) จนกระทั่งไปหยุดที่เส้นชัย ระยะจาก B ถึง C เท่ากับ s2 พอดี ให้ t1 และ t2 เป็นเวลาที่นักวิ่งใช้วิ่งจาก A  B และ B  C ตามล้าดับ เมื่อน้าความเร็วกับมาเขียนกราฟ จะได้ดังนี้
  • 32. หา v เมื่อ v เป็นความเร็วสูงสุด จากกราฟจะเห็นว่า s1+s2 = พื้นที่ใต้กราฟ = 1 (t2)(v) 2 100 = 1 (10) v 2 v = 20 m/s หา t1 จาก v = u+at  20 = 0+(10)t1 t1 = 2 s หา a2 จาก v = u+at  0 = 20+a2(t2-t1)  20  20 a2 =  t 2  t1 10  2 a2 = -2.5 m/s นั่นคือ นักวิ่งต้องวิ่งด้วยความหน่วง 2.5 เมตร/วินาที2 ตัวอย่าง 27 รถยนต์ออกวิ่งในแนวเส้นตรงด้วยความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที โดยมีความเร่งตามที่กราฟแสดง อยากทราบว่า
  • 33. ก. เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะมีความเร็วเท่าไร ข. เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะวิ่งได้ทางเท่าไร วิธีทา ก. ให้ u เป็นความเร็วต้นของรถยนต์ V1 และ V2 เป็นความเร็วของรถเมื่อสิ้นวินาทีที่ 2 และ 4 ตามล้าดับ ดูรูปประกอบ ให้ a1 และ a2 เป็นความเร่งในช่วงเวลา 0-2 s และ 2-4 s ตามล้าดับ ตามสมการ(2-14) การเคลื่อนที่ในช่วง 0-2 s จะได้ v1 ดังนี้ v1 = u-a1t2 = 20-(5)(2) = 10 m/s ตามสมการ(2-14) การเคลื่อนที่ในช่วง 2-4 s จะได้ v2 ดังนี้ v2 = v1+a2(t3-t2) = 10 +(5)(2) = 20 m/s นั่นคือ เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะมีความเร็ว 20 เมตร/วินาที ข.ตามสมการ (2-15) การเคลื่อนที่ในล่วง 0-2 s จะได้ s2 ดังนี้ s1 = ut2- 1 a1t 2 2 2 = (20)(2) - 1 (5)(2)2 = 30 m 2 ตามสมการ (2-15) การเคลื่อนที่ในล่วง 2-4 s จะได้ s2 ดังนี้ s2 = v1(t3-t2)+ 1 a2(t3-t2)2 2 = (10)(2)+ (5)(2)2 = 30 m 1 2 ให้ s เป็นระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ไปได้เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 จะได้ s = s1+s2
  • 34. = 30+30 = 20 m นั่นคือ เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 รถยนต์จะวิ่งได้ทาง 20 เมตร หมายเหตุ ถ้าเราน้าความเร็วของรถยนต์ไปเขียนกราฟกับเวลา จะได้ดังรูป จากกราฟนี้เราสามารถค้านวณการกระจัดหรือระยะทางที่รถวิ่งไปได้เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 โดยการ ค้านวณพื้นที่ใต้กราฟ (ส่วนที่แรเงา) ***********************************************************************************