SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
PHTIC



                                                                                                                                                                                      มะมวง
                                                                                                                                                                                                                                Postharvest Technology Innovation Center




                                                                                                             การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
                                                                                                                    มะมวง
                                                                                                                    มะมวง
  POSTHARVEST
   O
  TECHNOLOGY
       O
                                                                                                                                                                                      การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว
                                                                                                                                                                                                                       ่

             Center
              enter                     INNOVATION



                                                                                                                                            Èٹ¹ÇÑμ¡ÃÃÁà·¤â¹âÅÂÕËÅѧ¡ÒÃà¡çºà¡ÕèÂÇ




                                 ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
    ȹ·¡                                       มหาวิทยาลัยเชียงใหม
                                               239 ถนนหวยแกว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200
                                               โทรศัพท: 0-5394-1448 โทรสาร: 0-5394-1447
                                                                                                                                                                                                      ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
                                                                                                                                                                                                  สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
www.phtnet.org
     Èٹ¹ÇÑμ¡ÃÃÁà·¤â¹âÅÂÕËÅѧ¡ÒÃà¡çºà¡ÕèÂÇ
มะมวง
การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

                                         บรรณาธิการ
                                    ธวัชชัย รัตนชเลศ
                      วิลาวัลย คำปวน ธีรนุช เจริญกิจ
               ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
           สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
มะมวง
                               การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

บรรณาธิการ:         ธวัชชัย รัตนชเลศ วิลาวัลย คําปวน ธีรนุช เจริญกิจ
พิมพครั้งแรก:      มกราคม 2556
จัดพิมพเผยแพรโดย: ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
                    สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
สถานที่ติดตอ       ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม
                    239 ถนนหวยแกว ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200
                    โทรศัพท 0-5394-1448 โทรสาร 0-5394-1447
                    http://www.phtnet.org/
ออกแบบ/พิมพที่     วนิดาการพิมพ โทรศัพท 0-5311-0503-4

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ
มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว.-- เชียงใหม : ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
      สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2556. 836 หนา.
1. มะมวง. I. ชื่อเรื่อง.
634.44
ISBN 978-974-672-727-3
ก




                                                                              คํานํา
         ความต อ งการมะม ว งของตลาดภายในและต า งประเทศมี ป ริ ม าณเพิ่ ม มากขึ้ น ทุ ก ป
ซึ่งลวนแตตองการมะมวงที่มีคุณภาพทั้งสิ้น อาทิ ตองการความสด รสชาติดี สีและผิวสวย
ไมเนาเสีย ปราศจากสารพิษตกคาง เก็บไดนาน เปนตน ทำใหผูผลิตจะตองดูแลอยางใกลชิด
สามารถแขงขันทั้งดานราคาและคุณภาพในตลาดโลกได นอกจากนี้พระราชบัญญัติกักกันพืช
ของแตละประเทศ ไดกำหนดมาตรฐานสินคาเขาแตกตางกันก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ประเทศ
ผูสงออกจะตองปฏิบัติ ดังนั้นศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สำนักพัฒนาบัณฑิต
ศึกษาและวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมี
9 มหาวิทยาลัยไดรวมมือกันวิจัยเพื่อแกปญหาการผลิตมะมวงโดยเฉพาะระยะหลังการเก็บเกี่ยว
ทั้งนี้เพื่อวัตถุประสงค คือ ลดความสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวทั้งดานปริมาณและคุณภาพ
ปรั บ ปรุ งคุ ณภาพใหเปน ไปตามความตองการของผูบริโ ภค หาวิธีจัดการชวยลดค าใชจาย
หลังการเก็บเกี่ยวและสรางมูลคาเพิ่ม หลังจากมีการวิจัยมาระยะหนึ่ง ศูนยฯ จึงไดเรียนเชิญ
นักวิจัยผูทรงคุณวุฒิ รวบรวมผลงานวิจัย ตรวจเอกสาร ประสบการณ และภูมิปญญาชาวบาน
จัดพิมพเปนรูปเลมเพื่อเผยแพรแกผูเกี่ยวของโดยมีขอมูลในหลายๆ ดาน ซึ่งผูที่จะนำขอมูล
ไปใชจะตองนำไปประยุกตใหเขากับความตองการของแตละบุคคล ซึ่งนาจะเกิดประโยชนบาง
ไมมากก็นอย
        ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ขอแสดงความขอบคุณ นักวิจัยผูทรงคุณวุฒิ
ที่รวมกันเขียน รวบรวม ตลอดจนตรวจสอบเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อใหหนังสือถูกตอง สมบูรณ
    
และเกิดประโยชนมากที่สุด ปจจุบันยังมีอีกหลายปญหาที่นักวิจัยจะตองศึกษาตอ เพื่อหาขอมูล
เพิ่มเติมใหการผลิตมะมวงสมบูรณที่สุดตลอดสายโซการผลิต


                                                     รองศาสตราจารย ดร.วิเชียร เฮงสวัสดิ์
                                       ผูอำนวยการศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว




                                                                                             มะมวง
                                                                   การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ข



    คํานิยม
                                            มะมวงเปนไมผลเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ทั้งการบริโภคภายในประเทศ และ
                                สงออกตางประเทศ เปนไมผลทีปลูกงาย และปลูกไดทวทุกภาคของประเทศ ขณะเดียวกัน
                                                                      ่                                ่ั
                                มะมวงก็เปนไมผลที่มีแมลงศัตรูพืชหลายชนิด ดวยเหตุนี้การสงมะมวงไปจำหนาย
                                ตางประเทศจึงมีเงื่อนไข และกระบวนการปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวหลายขั้นตอน
                                ตามความตองการของประเทศปลายทาง
                                            การที่ ศู น ย นวั ต กรรมเทคโนโลยี ห ลั ง การเก็ บ เกี่ ย ว มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม
                                ไดดำเนินวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมะมวงมาเปนระยะเวลาพอสมควร
                                มี เ ทคโนโลยี ที่ ไ ด จากผลงานวิ จั ย จำนวนไม น อ ย ทั้ ง ยั ง ได ร วบรวมองค ความรู จาก
                                ผูทรงคุณวุฒิ และผูมีประสบการณเกี่ยวกับมะมวงทุกดาน มาจัดพิมพเปนหนังสือ
                                “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” ขึ้นในครั้งนี้ ถือวาเปนการรวบรวม
                                องคความรูเกี่ยวกับมะมวงที่ครอบคลุมทุกดาน
                                            กรมวิชาการเกษตร ในฐานะที่เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการวิจัยและพัฒนา
                                รวมทั้งใหบริการตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินคาพืช ทั้งการรับรองแหลงผลิต และ
                                รับรองดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการสงออก ตระหนักดีวาผลผลิตทางการ
                                เกษตรที่มีคุณภาพนั้น ตองเริ่มตนจากระบบการผลิตที่ดี และถูกตอง จึงจะไดผลผลิต
                                ที่มคุณภาพ ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของตลาดทั้งในและตางประเทศ
                                     ี
                                            “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” จะมีประโยชนอยางยิ่งสำหรับ
                                กลุมบุคคลที่เกี่ยวของกับมะมวงทุกฝาย ทั้งผูสนใจทั่วไป นักวิชาการ นักวิจัย เกษตรกร
                                ผูผลิต ผูคา ผูประกอบการสงออก ผูประกอบการดานอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิต และ
                                ผู บ ริ โ ภค เปรี ย บเสมื อ นเป น คู มื อ สำหรั บ ผู เ กี่ ย วข อ งเหล า นั้ น ได ศึ ก ษา และนำไปสู
                                การปฏิบติ อันจะสงผลใหกระบวนการผลิต การเก็บเกียว การปฏิบตภายหลังการเก็บเกียว
                                             ั                                                       ่               ัิ                ่
                                และการคามะมวงของไทย พัฒนากาวหนาสูการเปนไมผลเศรษฐกิจที่ทำรายไดใหกับ
                                ประเทศไทยในระดับตนๆ
                                            หวังเปนอยางยิ่งวา “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” เลมนี้
                                จะเปนตนแบบของการประมวลองคความรูอยางครอบคลุมทุกดานสำหรับพืชชนิดอื่นๆ
                                ตอไปในอนาคต และขอใหศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัย
                                เชียงใหม ไดสรางสรรคผลงาน ทั้งงานวิจัยและตำราวิชาการเผยแพรสูสังคม เพื่อพัฒนา
                                วงการเกษตรของประเทศใหกาวหนาตอไปอยางไมหยุดยั้ง

                                                                                            นายจิรากร โกศัยเสวี
    PHTIC
    Postharvest Technology Innovation Center
                                                                                           อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
ค



                                                                                     คํานิยม
        มะมวงเปนผลไมเขตรอนที่มีความผูกพันและอยูคูกับชีวิตคนไทยมายาวนาน
ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากพันธุมะมวงของไทยที่มีการคัดเลือกกันมา
อยางตอเนื่อง จากคนรุนหนึ่งไปยังคนรุนหนึ่งจนทำใหพันธุมะมวงมีมากกวา 200 พันธุ
บางพันธุกยงเปนทีนยมและบางพันธุแทบจะหาดูไดยากเต็มที อาทิเชน พราหมณขายเมีย
          ็ั          ่ิ                  
ขายตึก มะปราง สาวกระทืบหอ เปนตน
        ในปจจุบันยังคงมีการคัดเลือกพันธุและผสมพันธุ ทำใหมะมวงพันธุใหมเกิดขึ้น
ไดแก เขียวเสวย โชคอนันต เขียวมรกต มหาชนก ขึ้นมาทดแทนทำใหความนิยม
ในการบริ โ ภคมะม ว งพั น ธุ ดั้ ง เดิ ม ลดลงไป ในอดี ต มะม ว งเคยเป น ไม ผ ลที่ ป ลู ก ไว
บริเวณบาน ปลูกตามหัวไรปลายนา เพื่อการบริโภคในครัวเรือนสวนที่เหลือก็ขายเปน
รายไดเสริม แตปจจุบันมะมวงไดรับการพัฒนาเปนไมผลเศรษฐกิจที่ไดรับความนิยม
จากเกษตรกรที่จะเลือกปลูกเปนการคามากที่สุด เนื่องจากใหผลตอบแทนสูง ผลผลิต
ขายไดราคาแพงเกือบตลอดทั้งป อีกทั้งเกษตรกรมีความเขมแข็งจนเกิดเปนสมาคม
ชาวสวนมะมวงไทย เมื่อป พ.ศ. 2552 มะมวงไมเพียงแตเปนผลไมที่คนไทยชื่นชอบ
และหลงใหลในรสชาติที่เอร็ดอรอย แตมะมวงยังมีคุณประโยชนทางโภชนาการ และ
สรรพคุณทางยาอีกมากมาย ชาวตางชาติตางก็มความชืนชอบเชนเดียวกัน ทำใหพฒนาการ
                                                 ี           ่                              ั
ทั้งดานเทคโนโลยีการผลิต และการตลาดของมะมวงกระจายอยูท่ัวไปในภูมิภาคเขตรอน
ของโลก
        การรวบรวมขอมูลที่มีอยูมากมายเกี่ยวกับมะมวง ตั้งแตความเปนมา ถิ่นกำเนิด
เทคโนโลยีการผลิต การตลาด คุณประโยชน สรรพคุณทางยา การใชประโยชนจาก
มะม ว ง และอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ มะม ว งได ร วบรวมข อ มู ล เข า ไว เ ป น หมวดหมู ใ น
มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งจะเปนประโยชนตอเกษตรกร
นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ และผูเกี่ยวของ ใหสามารถเขาถึงขอมูลสะดวกตอการคนหา
ความรู เ กี่ ย วกั บ มะม ว งได ง า ยและรวดเร็ ว อั น จะส ง ผลทำให การพั ฒ นาทั้ ง ทางด า น
การผลิตและการตลาดมะมวงของไทยมีความกาวหนาตอไปอยางไมหยุดยั้ง ทัดเทียม
นานาประเทศที่ผลิตมะมวงในโลกจนมีความแข็งแกรงสามารถแขงขันกับประเทศคูแขง
ในตลาดอาเซียนและตลาดโลกไดอยางยั่งยืน

                                                      นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร
                                                      อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร

                                                                                                           มะมวง
                                                                                 การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ง



    คํานิยม
                                        ผมนายมานพ แกววงษนุกูล นายกสมาคมชาวสวนมะมวงไทย ขอชื่นชมและ
                                ขอขอบคุณ ดร. และอาจารยทุกทาน ทุกมหาวิทยาลัยที่ใหความสำคัญเรื่องมะมวง
                                นำความรูของทุกทานมาเขียนลงในหนังสือมะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการ
                                เก็บเกี่ยว เผยแพรความรูของทุกทานใหกับชาวสวนมะมวงและผูสนใจมะมวงไดเรียนรู
                                และขอบคุณ ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศ ดร.วิลาวัลย คำปวน ดร.ธีรนุช เจริญกิจ บรรณาธิการ
                                หนังสือมะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว หนังสือเลมนี้จะมีประโยชน
                                กับชาวสวนมะมวงและผูสนใจมะมวงเปนอยางมาก
                                        ทางสมาคมชาวสวนมะมวงไทย ขอขอบคุณ มา ณ โอกาสนี้

                                                                           นายมานพ แกววงษนุกูล
                                                                        นายกสมาคมชาวสวนมะมวงไทย




    PHTIC
    Postharvest Technology Innovation Center
จ



                                                                           คํานิยม
         ระยะหลังนี้ ไดมีโอกาสอานวารสารและหนังสือของสถาบันวิจัยและพัฒนาการ
เกษตรของมาเลเซียหลายๆ เลม ตัวอยางเลม Breeding Horticultural Crops @ MARDI
จะมีเรื่องที่นักวิชาการแตละสาขามาชวยกันเขียนและมีทีมบรรณาธิการอาวุโสที่รูอดีต
เชื่ อ มต อ ป จ จุ บั น ช ว ยกั น ขั ด เกลาทำให ไ ด Knowledge Information Technology
ที่ ค รบถ ว นและน า เชื่ อ ถื อ ประเทศไทยเรามี ผู รู ผู ช ำนาญการเฉพาะทางครบถ ว น
ไม แ พ ใ ครในโลก โดยเฉพาะเทคโนโลยี ไ ม ผ ลเมื อ งร อ น แต การรวมพลเพื่ อ ให เ กิ ด
1 ผลงานในที่เดียว พรอมทั้งเปดใหมีการปรับปรุงทุกๆ 3-5 ป ยังมีนอยมาก
         เรื่องของงานบริการความรูที่เรียกวา Service Knowledge & Information
Technology นับเปนงานสำคัญอันยิ่งใหญในการพัฒนาประเทศ ขณะเดียวกันก็ถือวา
เปนจุดออนของสังคมเรา เนื่องจากทุกคนรูไมเทากัน พูดกันไปคนละทาง ปฏิบัติไป
คนละทาง ผูรูไมคอยพูด ผูรูนิดหนอยมักพูดมากกวา ทำใหผูที่มีกำลังหรือชองทาง
เขาถึงขอมูลที่ถูกตองมากกวาก็จะไดเปรียบ แตผูที่ไมเขาถึงหรือไดรับแตขอมูลขยะ
ผิดๆ ถูกๆ ยิ่งเขาปาเขาดงทำใหลมเหลวในอาชีพและชีวิตโดยสงผลกระทบตอสังคม
ประเทศโดยรวมในที่สุด
         ผมไดยิน รศ.ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศพูดถึงเรื่องหนั งสือมะมวง-การผลิตและ
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมานานพอสมควร และเมื่อไดรับหัวขอที่มีการรวมทีมผูรู
ชวยกันเขียนนับวาไดสาระเกี่ยวกับมะมวงที่ครบถวนอยางมาก ขณะเดียวกันผูรวมทีม
เขียนทั้งหมดดังกลาวเปนทั้งนักวิจัยและผูที่ปฏิบัติงานแตละดานอยางแทจริง ก็นา
จะชวยยกระดับเรื่องแหลงความรูเกี่ยวกับมะมวงของเรา นับตั้งแตสวนจนถึงตลาด
ไดเปนอยางดี
         สิ่งที่อยากเห็นนอกจากการจัดพิมพเปนเลมแบบสิ่งพิมพทั่วไปแลว อยากจะใหมี
การนำเสนอในรูปของ e-book เพื่อรองรับเทคโนโลยี Service Information ยุคใหมที่
กาวหนาไปเรื่อยๆ และยังเปนการชวยลดตนทุนใหแกผูใชบริการไดอีกสวนหนึ่ง

                                                 นายเปรม ณ สงขลา
                                            บรรณาธิการวารสารเคหการเกษตร




                                                                                                 มะมวง
                                                                       การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ฉ



    คํานิยม
                                       มะมวงไทยมีชื่อเสียงเปนที่รูจักของนานาประเทศ ดวยรสชาติอันชวนพิสมัย
                                ดวยรูปลักษณสีสันที่สวยงามจึงเปนที่ชื่นชอบ และไดรับความนิยมจากตลาดทั้งภายใน
                                และตางประเทศ สรางรายไดใหแกเกษตรกรไทยมากมายในปจจุบัน
                                       ในฐานะที่กระผมก็เปนบุคคลหนึ่งที่มีความผูกพัน และเกี่ยวของกับผูผลิตมะมวง
                                โดยตรง ได สั ม ผั ส กั บ ผู ผ ลิ ต มะม ว งชั้ น นำทั่ ว ประเทศ ได พ บผู ผ ลิ ต มะม ว งที่ ป ระสบ
                                ความสำเร็จมากมาย หลายคนมีชื่อเสียงในสังคม มีฐานะร่ำรวยจากการผลิตมะมวง
                                       หนังสืออันมีคุณคาสูงสุดเลมนี้ หากทานใดไดมีโอกาสอานกระผมเชื่อเหลือเกินวา
                                จะเปนเสมือนกุญแจสำคัญดอกหนึ่งที่จะนำไปสูความสำเร็จได หากทานมีการไขวควา
                                หาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ สาระที่บรรจุอยูภายในพรอมที่จะนำทานไปสูการพัฒนา
                                เปลี่ยนแปลงที่ดี ชวยปรับปรุงแกไขในสวนที่ผิดพลาด
                                       การผลิตมะมวงคุณภาพควรใหความสำคัญในทุกๆ ขั้นตอนของการผลิต ซึ่งทาน
                                จะหาอานไดจากหนังสือเลมนี้ ซึ่งไดถายทอดความรูจากผูที่มีประสบการณ ไวอยาง
                                ครบถวน ตั้งแตการรูจักพันธุเพื่อการคา เทคนิคการผลิตมะมวงเพื่อการสงออก แนวทาง
                                ภาคปฏิบัติที่ถูกตอง ตลอดจนการตลาดที่นาสนใจ กระผมเองเมื่อไดอานองคประกอบ
                                ของหนังสือมะมวงเลมนี้แลว ก็แทบจะอดใจไม ไหว อยากใหหนังสือเลมนี้ ไดมีการ
                                จัดพิมพออกมาสูสายตาของผูอานในเร็ววัน
                                       ทายนี้ขอใหความดีทั้งหมด เปนของทุกทานที่ไดเสียสละเวลา อุทิศทั้งกำลังกาย
                                กำลังใจ ถายทอดเรียบเรียงองคความรูออกมา คณะผูจัดทำ ผูสนับสนุนการจัดทำ
                                ตลอดจนผู อ า นและใช ป ระโยชน จากหนั ง สื อ เล ม นี้ กระผมขออำนวยพรให ทุ ก ท า น
                                จงมีแตความสุขความเจริญในหนาที่การงาน คาขายร่ำรวย โชคดีมีชัย คิดหวังสิ่งใด
                                ใหสมปรารถนาทุกประการเทอญ

                                                                                MR.CHEN CHIN CHENG (“ชุนฟง”)
                                                                               บริษัทแสงจิตเครื่องจักรการเกษตร จำกัด




    PHTIC
    Postharvest Technology Innovation Center
ช




                                                                    บทบรรณาธิการ

          หนังสือ “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” เลมนี้ มีการจัดทำ
หลายขั้นตอนกวาจะออกมาเปนรูปเลมเชนนี้ เริ่มจากเมื่อตนป พ.ศ. 2553 มีการสราง
เครือขายซึ่งเปนผูสนใจและมีประสบการณในแวดวงวิชาการที่เกี่ยวของ เพื่อวางทิศทาง
ของหนั ง สื อ จั ด ทำเป น โครงการ กำหนดเนื้ อ หาสาระสำคั ญ ของหนั ง สื อ ไว ถึ ง กว า
400 คำสำคัญ ใน 14 กลุมสาระ พรอมประมาณการคาใชจายในการดำเนินงาน หลังจากนัน
                                                                                         ้
ไดเสนอขอผูสนับสนุนทุนในการดำเนินงาน ไดแก ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการ
เก็บเกียว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) แตดวยขอจำกัดเรืองงบประมาณ
        ่                                                                   ่
สนับสนุน และความตองการที่จะใหมีสาระที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ของมะมวงเปนหลัก กองบรรณาธิการจึงเห็นควรปรับเปลี่ยนกรอบงาน ใหมีเนื้อหาเนน
ในสวนการผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ทำใหตองลดจำนวนเนื้อหาสาระสำคัญ
ลงให เ หลื อ เพี ย ง 70 คำสำคั ญ โดยรวบรวมให อ ยู ใ นกลุ ม เนื้ อ หาเดี ย วกั น 9 กลุ ม
ดังปรากฏในสารบัญและแตละกลุมเรียงตามลำดับเนื้อหาเพื่อใหงายตอการติดตาม
คนควา ทั้งนี้ผูอานสามารถสืบคนเนื้อหาไดจากดรรชนีทายเลมอีกทางหนึ่ง
                   
          วัตถุประสงคในการจัดทำหนังสือเลมนี้ คือ การรวบรวม “องคความรูรอบดาน”
ของ “มะมวง” ตลอดหวงโซอุปทาน โดยมีจุดเนนที่เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว จากผูรู
ในเครือขายหลากหลายสาขา อีกดานหนึ่งอาจกลาวไดวาเปนการสรางคลังความรู
ที่ไดจาก “ความรวมมือ” ในหมูประชาคมวิชาการดานมะมวงที่ลวนเกิดจาก “จิตอาสา”
ทั้งสิ้น แมผูที่อุทิศเวลาใหกับงานเขียนและเรียบเรียงสวนใหญ จะเปนคณาจารยจาก
สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาตางๆ ทั่วประเทศ แตสวนหนึ่งก็ไดรับความรวมมือ
เปนอยางดีจากนักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญ ผูประกอบการ ที่มาจากภาครัฐ (กรมวิชาการ
เกษตรและกรมสงเสริมการเกษตร) และภาคเอกชน มีจำนวนสูงถึง 37 ทาน และ
นอกจากนั้นยังมีผูทรงคุณวุฒิที่ทำหนาที่ในการตรวจพิจารณาคุณภาพบทความ รวมอีก
32 ทาน โดยหวังวาจะเปนสวนหนึ่งของการสนับสนุนเตรียมความพรอมรองรับการ
แขงขันหลังการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทยในอนาคตอันใกลนี้



                                                                                                   มะมวง
                                                                         การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ซ




                                           กองบรรณาธิการหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้นอกจากจะแสดงเสนฐานระดับ
                                 ฐานความรูของประเทศไทยดานมะมวงในปจจุบันแลว ยังจะเปน “ตนแบบ” ของหนังสือ
                                 ลักษณะเดียวกันนีสำหรับพืชชนิดอืนๆ ทีจะเกิดขึนตามมาในลำดับตอไป สวนองคความรู
                                                      ้                 ่ ่          ้
                                 ที่ไดมานี้นอกจากจะเปนประโยชนกับผูแสวงหาความรูโดยตรงและชาวสวนผูปลูกมะมวง
                                 เป น อาชี พ แล ว คาดหวั ง ว า ยั ง จะขยายไปยั ง ผู ที่ มี ส ว นได ส ว นเสี ย ในห ว งโซ อุ ป ทาน
                                 อุตสาหกรรมมะมวงเพือการสงออก ตังแตตนน้ำถึงปลายน้ำ ประชาคมวิชาการซึงรวมทัง
                                                         ่                  ้                                                   ่      ้
                                 นักวิชาการ นิสิตนักศึกษา และผูสนใจทั่วไป ตลอดจนสถานศึกษาหรือหนวยงานทั้งภาค
                                 รัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ เพื่อใชประกอบการศึกษา หรืออางอิงตอไปในอนาคต
                                           ทายที่สุดกองบรรณาธิการใครขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.วิเชียร
                                 เฮงสวัสดิ์ ผูอำนวยการศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว สำนักงานคณะกรรมการ
                                                                                                        ่
                                 การอุดมศึกษา ที่เห็นความสำคัญของการจัดทำหนังสือเลมนี้ และไดสนับสนุนทุนในการ
                                 ดำเนินการจัดทำตนฉบับ ขอบพระคุณและซาบซึ้งในความมีน้ำใจของเครือขายภาคี
                                 ผูทเ่ี กียวของทุกทาน ตังแตผเู ขียน ผูทรงคุณวุฒททำหนาที่ในการตรวจพิจารณาคุณภาพ
                                    ่                     ้                       ิ ่ี
                                 บทความ ผูตดตามงาน และผูตรวจแกไขบทความในชวงสุดทาย โดยเฉพาะคุณนวลลออ
                                                 ิ                
                                 จุลพุปสาสน แหงสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่ไดชวยตรวจสอบความถูกตอง
                                 ของการเขียนบทความและการอางอิงเอกสารทั้งหมดกอนเขาสูกระบวนการจัดพิมพ
                                 ตลอดจนการจัดทำดัชนีชวยคน อยางไรก็ตามในการจัดทำตนฉบับหนังสือที่มีผูเขียน
                                 เป น จำนวนมากดั ง กล า ว และอยู ต า งสถานที่ ห า งไกลกั น และในระยะเวลาที่ จ ำกั ด นี้
                                 แมทางกองบรรณาธิการไดพยายามเต็มที่ในการตรวจทานความถูกตองเหมาะสม แต
                                 เชือวาคงไมสามารถคัดกรองความผิดพลาดครบถวนเต็มรอยเปอรเซ็นตได จึงใครขออภัย
                                     ่
                                 ในความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ไว ณ โอกาสนี้ดวย กองบรรณาธิการยินดีรับฟง
                                 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากทุกทาน หวังเปนอยางยิงวาหนังสือเลมนีจะกอประโยชน
                                                                                                     ่                  ้
                                 ใหกับแวดวงการผลิตมะมวงของประเทศไทยไดตรงตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

                                                                                                                   กองบรรณาธิการ
                                                                                                                  31 สิงหาคม 2555



    PHTIC
    Postharvest Technology Innovation Center
ฌ




บรรณาธิการ
                                             Editors

  ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศ
  รองศาสตราจารย ศูนยวิจัยระบบทรัพยากรเกษตร
  คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  239 ถนนหวยแกว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200
  และที่ปรึกษาสมาคมชาวสวนมะมวงไทย
  E-mail: tavatchai.r@cmu.ac.th

  ดร.วิลาวัลย คำปวน
  นักวิจัยชำนาญการพิเศษ
  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  มหาวิทยาลัยเชียงใหม ตู ปณ. 111 จังหวัดเชียงใหม 50200
  E-mail: kumpounw@hotmail.com, wilawan.k@cmu.ac.th

  ดร.ธีรนุช เจริญกิจ
  ผูชวยศาสตราจารย
  คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ
  63 หมู 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 50290
  E-mail: theeranu@mju.ac.th
                                                                  มะมวง
                                        การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ญ


    ¼ÙŒμÃǨ¾Ô¨ÒóҤسÀÒ¾º·¤ÇÒÁ/Peer Reviewers

    ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.กอบเกียรติ แสงนิล            ดร.ชูชาติ สันธทรัพย
    ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร                     นักวิชาการเกษตรชำนาญการ และ หัวหนาหนวย
    มหาวิทยาลัยเชียงใหม                               หองปฏิบัติการกลางศูนยบริการวิชาการและถายทอด
    239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200   เทคโนโลยี คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
    E-mail: kobkiat_s@hotmail.com                      239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200
                                                       E-mail: choochad.s@cmu.ac.th
    อาจารย ดร.กัลย กัลยาณมิตร
    สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว คณะวิศวกรรม
                                  ่                    คุณเฉลิมขวัญ ธะวิชัย
    และอุตสาหกรรมเกษตร และ รักษาการในตำแหนง           บ.ลีโอฟูดส จำกัด 178 ม.9 ถ.เชียงใหม-ฮอด
    ผูอำนวยการสถาบันบมเพาะวิสาหกิจ                   ต.บานกลาง อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม 50120
    มหาวิทยาลัยแมโจ                                  E-mail: c_tawichai@hotmail.com
    63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
    E-mail: kalayanamitra@gmail.com                    รองศาสตราจารยดลกร ขวัญคำ
                                                       คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแมโจ
    ศาสตราจารย ดร.จริงแทŒ ศิริพานิช                   63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
    ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัย                 E-mail: donlakorn@gmail.com
    เกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน
    1 ม.6 ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม               รองศาสตราจารย ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศ
    73140 E-mail: agrjts@ku.ac.th                      ศูนยวิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร
                                                       มหาวิทยาลัยเชียงใหม
    ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.จำนงค อุทัยบุตร             239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200
    ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร                     และ ที่ปรึกษาสมาคมชาวสวนมะมวงไทย
    มหาวิทยาลัยเชียงใหม                               E-mail: tavatchai.r@cmu.ac.th
    239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200
    E-mail: Jamnong.u@cmu.ac.th,                       ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.ธีรนุช เจริญกิจ
    scboi015@chiangmai.ac.th                           คณะผลิตกรรมการเกษตร และ ผูอำนวยการ
                                                       ศูนยวิจัยและพัฒนาลำไยแมโจ มหาวิทยาลัยแมโจ
    รองศาสตราจารย ดร.จินดา ศรศรีวิชัย                 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
    141/4 บานหวยทราย ซอย 6                           E-mail: theeranu@mju.ac.th
    หมูที่ 4 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200
    E-mail: jindabio@gmail.com                         ผูŒช‹วยศาสตราจารยนพดล จรัสสัมฤทธิ์
                                                       คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ
    รองศาสตราจารย ดร.จิราพร กุลสาริน                  63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
    หัวหนาภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช                    E-mail: nopadol88jaras@gmail.com
    คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
    239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200
    E-mail: jiraporn.k@cmu.ac.th


    PHTIC
    Postharvest Technology Innovation Center
ฎ


ศาสตราจารย ดร.นิธิยา รัตนาปนนท                   อาจารย ดร.พิ ไลรัก อินธิปญญา
                                                                             ˜
สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว              สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม                               คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200   115 หมู 2 ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100
E-mail: agfsi001@chiangmai.ac.th                   E-mail: pilairuk.intipunya@cmu.ac.th
ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.บุศรากรณ มหาโยธี            รองศาสตราจารย ดร.ยงยุทธ ขŒามสี่
ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร            คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และ รองอธิการบดี            และ รองผูอำนวยการสำนักวิจัยและสงเสริมวิชาการ
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร     การเกษตร ฝายวิจัย มหาวิทยาลัยแมโจ
6 ถ.ราชมรรคาใน อ.เมือง จ.นครปฐม 73000              63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
E-mail: busarakornm@yahoo.com                      E-mail: yongyut@mju.ac.th
ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.เบ็ญจวรรณ ชุตชูเดช
                                   ิ               ผูŒช‹วยศาสตราจารยยุทธนา เขาสุเมรุ
ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี              สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม                               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150          ตู ปณ. 89 อ.เมือง จ.ลำปาง 52000
E-mail: benjawan.c@msu.ac.th                       E-mail: k_yuttana@hotmail.com
คุณปริศนา หาญวิริยะพันธุ                          คุณรุ‹งทิพย อุทุมพันธ
ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการจัดการพืชที่เหมาะสมกับ     นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ
สภาพพื้นที่ (ภาคเหนือตอนบน)                        สวนควบคุมพืชภาคเหนือ ต.เวียง อ.เชียงแสน
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1                 จ.เชียงราย 57150
225 ม.3 ถ.เรียบคลองชลประทาน ต.แมเหียะ             E-mail: rungrung2009@gmail.com
อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100
E-mail: prihan2495@gmail.com                       ผูŒช‹วยศาสตราจารยเรณู สุวรรณพรสกุล
                                              ภาควิชาอารักขาพืช คณะผลิตกรรมการเกษตร และ
ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.ผ‹องเพ็ญ จิตอารียรัตน ผูอำนวยการศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย
                                           
สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว คณะทรัพยากร แหงชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 63 ม.4 ต.หนองหาร
                               ่
ชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี       อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
พระจอมเกลาธนบุรี (วิทยาเขตบางขุนเทียน)       E-mail: renu.swan@hotmail.com
49 ซอยเทียนทะเล 25 ถ.บางขุนเทียน-ชายทะเล
แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150     ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.วาริส ศรีละออง
E-mail: pongphen.jit@kmutt.ac.th              สายวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากร
                                              ชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
อาจารย ดร.พิชญา บุญประสม พูลลาภ              พระจอมเกลาธนบุรี (วิทยาเขตบางขุนเทียน)
สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร 49 ซอยเทียนทะเล 25 ถ.บางขุนเทียน-ชายทะเล
มหาวิทยาลัยเชียงใหม 155 หมู 2 ต.แมเหียะ    แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10150
อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100                     E-mail: varit.sri@kmutt.ac.th
E-mail: pichaya.aey@hotmail.com


                                                                                                   มะมวง
                                                                         การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ฏ


    ดร.วิลาวัลย คำปวน                              รองศาสตราจารย ดร.สุรพงษ โกสิยะจินดา
    นักวิจัยชำนาญการพิเศษ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร    578 ซอย 12 ถ.งามวงศวาน 25 จ.นนทบุรี 11000
    และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม
    ตู ปณ. 111 จ.เชียงใหม 50200                   ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.อดิศักดิ์ จูมวงศ
    E-mail: kumpounw@hotmail.com,                   ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร
    wilawan.k@cmu.ac.th                             มหาวิทยาลัยแมโจ
                                                    63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290
    รองศาสตราจารย ดร.สมศิริ แสงโชติ                E-mail: joomwong@mju.ac.th,
    ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร                          jadisak@yahoo.com
    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน
    50 ถ.งามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร           ดร.อภิตา บุญศิริ นักวิจัยเชี่ยวชาญ
    กรุงเทพฯ 10900 E-mail: agrsrs@ku.ac.th          ศูนยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สถาบันวิจัยและ
                                                    พัฒนากำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
    ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.สุธยา พิมพพิ ไล          วิทยาเขตกำแพงแสน
    สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร         1 ม.6 ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม
    คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร                   73140 E-mail: rdiyep@ku.ac.th
    มหาวิทยาลัยแมโจ
    63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290    ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.อุษาวดี ชนสุต
    E-mail: suthayap@yahoo.com                    ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร
                                                  มหาวิทยาลัยเชียงใหม
    ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.สุภาวรรณ วงคคำจันทร 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200
    สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี E-mail: chanasut@chiangmai.ac.th
    และ รองผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
    มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค
    398 หมู 9 ถ.สวรรควิถี ต.นครสวรรคตก อ.เมือง
    จ.นครสวรรค 60000
    E-mail: vsuphawan@hotmail.com




    PHTIC
    Postharvest Technology Innovation Center
ฐ



สารบัญ
คำนำ                                                                                        ก
คำนิยม                                                                                      ข
บทบรรณาธิการ                                                                                ช
บรรณาธิการ                                                                                  ฌ
ผูตรวจพิจารณาคุณภาพบทความ                                                                  ญ
1. ชีววิทยา Biology                                                                        1
   1. การจัดจำแนกมะมวง Mango Classification                                               3
   2. การออกดอก Flowering                                                                 17
   3. การติดผล Fruit Set                                                                  25
   4. พัฒนาการของผล Fruit Development                                                     29
   5. สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว Postharvest Physiology                                   35
   6. คุณคาทางอาหาร Nutritional Values                                                   47
   7. สารสีและการเปลี่ยนสีผล Pigments and Fruit Color Changes                             59
   8. การสุกของผล Fruit Ripening                                                          75
   9. การออนนุมของผล Fruit Softening                                                    95
   10. การหายใจของผล Fruit Respiration                                                   109
   11. การผลิตเอทิลีนของผล Ethylene Production in Fruit                                  119
   12. อาการสะทานหนาว Chilling Injury                                                   137
   13. การเสื่อมตามอายุของผล Fruit Senescence                                            149
2. ทรัพยากรพันธุกรรม Genetic Resources                                                  155
   14. พันธุมะมวงการคาของประเทศไทย Commercial Thai Mango Cultivars                   157
3. เทคโนโลยีการผลิต Production Technology                                               191
   15. การปลิดผล Fruit Thinning                                                         193
   16. การหอผล Fruit Bagging                                                           203
   17. การวิเคราะหดินและพืช Soil and Plant Analysis                                    215
   18. การจัดการธาตุอาหาร Nutrient Management                                           227
   19. ปุยแคลเซียมและโบรอน Calcium and Boron Fertilizer                                239
   20. สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช Plant Growth Regulators; PGRs                      247
                                                                                      มะมวง
                                                            การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ฑ


                 21. การจัดการโรค Disease Management                                        257
                 22. โรคและอาการผิดปกติ Diseases and Disorders                              267
                 23. โรคหลังเก็บเกี่ยวและการควบคุม Postharvest Diseases and Their Control   289
                 24. การจัดการแมลงศัตรูพืช Insect Pest Management                           307
                 25. แมลงศัตรูพืชกักกัน Quarantine Insect Pests                             317
                 26. การจัดการความเคนจากสิ่งแวดลอม Environmental Stress Management        327
                 27. การผลิตนอกฤดู Off-season Production                                    333
                 28 . การผลิตลาฤดู Delayed Harvest Production                              345
    4. การเก็บเกี่ยวและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว Harvesting and                            359
           Postharvest Technology
       29. การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว Postharvest Handling                                 361
       30. ดัชนีการเก็บเกี่ยว Harvesting Index                                              375
       31. การเก็บเกี่ยว Harvesting                                                         385
       32. การลดอุณหภูมิ Precooling                                                         399
       33. การคัดคุณภาพผล Fruit Quality Grading                                             413
       34. การลางผล Fruit Washing                                                          423
       35. การแชน้ำรอน Hot Water Treatment                                                437
       36. การอบไอน้ำ Vapor Heat Treatment                                                  453
       37. การฉายรังสีผลไม Fruit Irradiation                                               461
       38. การเคลือบผิวผล Fruit Coating                                                     477
       39. การบรรจุผล Fruit Packaging                                                       487
       40 ภาชนะบรรจุผล Fruit Package                                                        497
       41. การเก็บรักษาผลสด Fresh Fruit Storage                                             509
       42. การบม Hastening Ripening                                                        519
       43. การตรวจสอบแบบไมทำลาย Nondestructive Testing                                     527
    5. ผลิตภัณฑสดและแปรรูป Fresh and Processed Products                                    537
       44. มะมวงสดตัดแตง Fresh-cut Mango                                                  539
       45. ผลิตภัณฑมะมวงแปรรูป Processed Mango Products                                   555
       46. มะมวงแชเยือกแข็ง Frozen Mango                                                  565
       47. มะมวงอบแหง Dehydrated Mango                                                    573
       48. มะมวงแชอิ่มและมะมวงกวน Preserved Mango                                        581
       49. น้ำมะมวง Mango Juice                                                            591

    PHTIC
    Postharvest Technology Innovation Center
ฒ


6. ความปลอดภัยดŒานอาหาร Food Safety                                                       603
   50. วิธปฏิบัตที่ดีทางการเกษตรไทย Thai Good Agricultural Practice; ThaiGAP
            ี    ิ                                                                        605
   51. วิธปฏิบตทดทางการเกษตรญีปน Japan Good Agricultural Practice; JapanGAP
          ี ั ิ ี่ ี                ่ ุ                                                  613
   52. วิธปฏิบตทดทางการเกษตรยุโรป Global Good Agricultural Practice; GlobalGAP
           ี ั ิ ี่ ี                                                                     621
   53. คาระยะเก็บเกี่ยวที่ปลอดภัย Pre-harvest Interval; PHI                              629
   54. ปริมาณสารพิษตกคางสูงสุด Maximum Residue Limits; MRLs                              635
   55. วิธีปฏิบัติที่ดีทางการผลิต Good Manufacturing Practice; GMP                        645
   56. ระบบการตรวจสอบยอนกลับ Traceability                                                655
   57. การวิเคราะหอันตรายและจุดวิกฤตที่ตองควบคุม Hazard Analysis and                    665
       Critical Control Point; HACCP
7. โลจิสติกส Logistics                                                                   679
   58. หวงโซอปทานมะมวง Mango Supply Chain
               ุ                                                                          681
   59. การขนสงระดับประเทศ National Transportation                                        687
   60. ขั้นตอนการสงออกระหวางประเทศ Exporting Procedures                                 693
   61. การขนสงทางทะเล Sea Freight Transportation                                         701
   62. การขนสงทางอากาศ Air Freight Transportation                                        707
   63. การกักกันพืชระหวางประเทศ International Plant Quarantine                           717
8. ตลาด Market                                                                            735
   64. ตลาดญี่ปุน Japan Market                                                           737
   65. ตลาดจีน China Market                                                               745
   66. ตลาดสหภาพยุโรป European Union Market                                               753
   67. ตลาดรัสเซีย Russian Market                                                         761
   68. ตลาดสหรัฐอเมริกา U.S. Market                                                       769
9. อื่นๆ Miscellaneous                                                                    779
   69. อุตสาหกรรมมะมวงไทย Thai Mango Industry                                            781
   70. คารบอนฟุตพริ้นทในผลิตภัณฑอาหาร Carbon Footprint in Food Products                793
ภาคผนวก                                                                                   799
ดัชนี                                                                                     821



                                                                                        มะมวง
                                                              การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

Contenu connexe

Tendances

การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมQuartz Yhaf
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Thanaphat Tachaphan
 
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแลOffice of Atoms for Peace
 
มาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otopมาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า OtopWatcharee Phetwong
 
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 22.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2Bangkok, Thailand
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)
มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)
มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentCreating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentBoonlert Kanathanasarn
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) นางสาวอัมพร แสงมณี
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดSarayuth Intanai
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
บทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพบทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพtrafcord
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักAlongkorn WP
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีBam Hattamanee
 

Tendances (20)

การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ และ การกำกับดูแล
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
มาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otopมาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otop
 
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 22.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)
มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)
มาตรฐานการป้องกันความลับของผู้ป่วย (16 มี.ค. 2559)
 
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable DevelopmentCreating CSR Strategies to Sustainable Development
Creating CSR Strategies to Sustainable Development
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
บทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพบทบาทสหวิชาชีพ
บทบาทสหวิชาชีพ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
 
ทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสีทฤษฎีของสี
ทฤษฎีของสี
 

Similaire à มะม่วง

เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้Postharvest Technology Innovation Center
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013Satapon Yosakonkun
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์Postharvest Technology Innovation Center
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletter20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletterNSTDA THAILAND
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศMMp'New Aukkaradet
 
การออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต Biogasการออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต BiogasKorrakot Phomsoda
 

Similaire à มะม่วง (20)

E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
E news-november-2017-final
E news-november-2017-finalE news-november-2017-final
E news-november-2017-final
 
20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletter20101115 1-biotec-newsletter
20101115 1-biotec-newsletter
 
การวิเคราะห็ผักแลพผลไม้
การวิเคราะห็ผักแลพผลไม้การวิเคราะห็ผักแลพผลไม้
การวิเคราะห็ผักแลพผลไม้
 
NSTDA Annual Report 2014
NSTDA Annual Report 2014NSTDA Annual Report 2014
NSTDA Annual Report 2014
 
Technology For Botanical Garden
Technology For Botanical GardenTechnology For Botanical Garden
Technology For Botanical Garden
 
Book area
Book areaBook area
Book area
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
 
การออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต Biogasการออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต Biogas
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
Info to iaq Thai
Info to iaq ThaiInfo to iaq Thai
Info to iaq Thai
 
190828 royal council (8) wanlop
190828 royal council (8) wanlop190828 royal council (8) wanlop
190828 royal council (8) wanlop
 

Plus de Postharvest Technology Innovation Center

Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อนPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดPostharvest Technology Innovation Center
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อยPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับPostharvest Technology Innovation Center
 

Plus de Postharvest Technology Innovation Center (20)

Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2566
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพด
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
Postharvest Newsletter ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
 

มะม่วง

  • 1. PHTIC มะมวง Postharvest Technology Innovation Center การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มะมวง มะมวง POSTHARVEST O TECHNOLOGY O การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว ่ Center enter INNOVATION Èٹ¹ÇÑμ¡ÃÃÁà·¤â¹âÅÂÕËÅѧ¡ÒÃà¡çºà¡ÕèÂÇ ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ȹ·¡ มหาวิทยาลัยเชียงใหม 239 ถนนหวยแกว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200 โทรศัพท: 0-5394-1448 โทรสาร: 0-5394-1447 ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) www.phtnet.org Èٹ¹ÇÑμ¡ÃÃÁà·¤â¹âÅÂÕËÅѧ¡ÒÃà¡çºà¡ÕèÂÇ
  • 2. มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว บรรณาธิการ ธวัชชัย รัตนชเลศ วิลาวัลย คำปวน ธีรนุช เจริญกิจ ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
  • 3. มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว บรรณาธิการ: ธวัชชัย รัตนชเลศ วิลาวัลย คําปวน ธีรนุช เจริญกิจ พิมพครั้งแรก: มกราคม 2556 จัดพิมพเผยแพรโดย: ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สถานที่ติดตอ ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม 239 ถนนหวยแกว ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200 โทรศัพท 0-5394-1448 โทรสาร 0-5394-1447 http://www.phtnet.org/ ออกแบบ/พิมพที่ วนิดาการพิมพ โทรศัพท 0-5311-0503-4 ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว.-- เชียงใหม : ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2556. 836 หนา. 1. มะมวง. I. ชื่อเรื่อง. 634.44 ISBN 978-974-672-727-3
  • 4. คํานํา ความต อ งการมะม ว งของตลาดภายในและต า งประเทศมี ป ริ ม าณเพิ่ ม มากขึ้ น ทุ ก ป ซึ่งลวนแตตองการมะมวงที่มีคุณภาพทั้งสิ้น อาทิ ตองการความสด รสชาติดี สีและผิวสวย ไมเนาเสีย ปราศจากสารพิษตกคาง เก็บไดนาน เปนตน ทำใหผูผลิตจะตองดูแลอยางใกลชิด สามารถแขงขันทั้งดานราคาและคุณภาพในตลาดโลกได นอกจากนี้พระราชบัญญัติกักกันพืช ของแตละประเทศ ไดกำหนดมาตรฐานสินคาเขาแตกตางกันก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ประเทศ ผูสงออกจะตองปฏิบัติ ดังนั้นศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สำนักพัฒนาบัณฑิต ศึกษาและวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมี 9 มหาวิทยาลัยไดรวมมือกันวิจัยเพื่อแกปญหาการผลิตมะมวงโดยเฉพาะระยะหลังการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้เพื่อวัตถุประสงค คือ ลดความสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวทั้งดานปริมาณและคุณภาพ ปรั บ ปรุ งคุ ณภาพใหเปน ไปตามความตองการของผูบริโ ภค หาวิธีจัดการชวยลดค าใชจาย หลังการเก็บเกี่ยวและสรางมูลคาเพิ่ม หลังจากมีการวิจัยมาระยะหนึ่ง ศูนยฯ จึงไดเรียนเชิญ นักวิจัยผูทรงคุณวุฒิ รวบรวมผลงานวิจัย ตรวจเอกสาร ประสบการณ และภูมิปญญาชาวบาน จัดพิมพเปนรูปเลมเพื่อเผยแพรแกผูเกี่ยวของโดยมีขอมูลในหลายๆ ดาน ซึ่งผูที่จะนำขอมูล ไปใชจะตองนำไปประยุกตใหเขากับความตองการของแตละบุคคล ซึ่งนาจะเกิดประโยชนบาง ไมมากก็นอย ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ขอแสดงความขอบคุณ นักวิจัยผูทรงคุณวุฒิ ที่รวมกันเขียน รวบรวม ตลอดจนตรวจสอบเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อใหหนังสือถูกตอง สมบูรณ  และเกิดประโยชนมากที่สุด ปจจุบันยังมีอีกหลายปญหาที่นักวิจัยจะตองศึกษาตอ เพื่อหาขอมูล เพิ่มเติมใหการผลิตมะมวงสมบูรณที่สุดตลอดสายโซการผลิต รองศาสตราจารย ดร.วิเชียร เฮงสวัสดิ์ ผูอำนวยการศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • 5. คํานิยม มะมวงเปนไมผลเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ทั้งการบริโภคภายในประเทศ และ สงออกตางประเทศ เปนไมผลทีปลูกงาย และปลูกไดทวทุกภาคของประเทศ ขณะเดียวกัน ่ ่ั มะมวงก็เปนไมผลที่มีแมลงศัตรูพืชหลายชนิด ดวยเหตุนี้การสงมะมวงไปจำหนาย ตางประเทศจึงมีเงื่อนไข และกระบวนการปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวหลายขั้นตอน ตามความตองการของประเทศปลายทาง การที่ ศู น ย นวั ต กรรมเทคโนโลยี ห ลั ง การเก็ บ เกี่ ย ว มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม ไดดำเนินวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมะมวงมาเปนระยะเวลาพอสมควร มี เ ทคโนโลยี ที่ ไ ด จากผลงานวิ จั ย จำนวนไม น อ ย ทั้ ง ยั ง ได ร วบรวมองค ความรู จาก ผูทรงคุณวุฒิ และผูมีประสบการณเกี่ยวกับมะมวงทุกดาน มาจัดพิมพเปนหนังสือ “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” ขึ้นในครั้งนี้ ถือวาเปนการรวบรวม องคความรูเกี่ยวกับมะมวงที่ครอบคลุมทุกดาน กรมวิชาการเกษตร ในฐานะที่เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งใหบริการตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินคาพืช ทั้งการรับรองแหลงผลิต และ รับรองดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับการสงออก ตระหนักดีวาผลผลิตทางการ เกษตรที่มีคุณภาพนั้น ตองเริ่มตนจากระบบการผลิตที่ดี และถูกตอง จึงจะไดผลผลิต ที่มคุณภาพ ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของตลาดทั้งในและตางประเทศ ี “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” จะมีประโยชนอยางยิ่งสำหรับ กลุมบุคคลที่เกี่ยวของกับมะมวงทุกฝาย ทั้งผูสนใจทั่วไป นักวิชาการ นักวิจัย เกษตรกร ผูผลิต ผูคา ผูประกอบการสงออก ผูประกอบการดานอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิต และ ผู บ ริ โ ภค เปรี ย บเสมื อ นเป น คู มื อ สำหรั บ ผู เ กี่ ย วข อ งเหล า นั้ น ได ศึ ก ษา และนำไปสู การปฏิบติ อันจะสงผลใหกระบวนการผลิต การเก็บเกียว การปฏิบตภายหลังการเก็บเกียว ั ่ ัิ ่ และการคามะมวงของไทย พัฒนากาวหนาสูการเปนไมผลเศรษฐกิจที่ทำรายไดใหกับ ประเทศไทยในระดับตนๆ หวังเปนอยางยิ่งวา “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” เลมนี้ จะเปนตนแบบของการประมวลองคความรูอยางครอบคลุมทุกดานสำหรับพืชชนิดอื่นๆ ตอไปในอนาคต และขอใหศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัย เชียงใหม ไดสรางสรรคผลงาน ทั้งงานวิจัยและตำราวิชาการเผยแพรสูสังคม เพื่อพัฒนา วงการเกษตรของประเทศใหกาวหนาตอไปอยางไมหยุดยั้ง นายจิรากร โกศัยเสวี PHTIC Postharvest Technology Innovation Center อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
  • 6. คํานิยม มะมวงเปนผลไมเขตรอนที่มีความผูกพันและอยูคูกับชีวิตคนไทยมายาวนาน ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากพันธุมะมวงของไทยที่มีการคัดเลือกกันมา อยางตอเนื่อง จากคนรุนหนึ่งไปยังคนรุนหนึ่งจนทำใหพันธุมะมวงมีมากกวา 200 พันธุ บางพันธุกยงเปนทีนยมและบางพันธุแทบจะหาดูไดยากเต็มที อาทิเชน พราหมณขายเมีย ็ั ่ิ  ขายตึก มะปราง สาวกระทืบหอ เปนตน ในปจจุบันยังคงมีการคัดเลือกพันธุและผสมพันธุ ทำใหมะมวงพันธุใหมเกิดขึ้น ไดแก เขียวเสวย โชคอนันต เขียวมรกต มหาชนก ขึ้นมาทดแทนทำใหความนิยม ในการบริ โ ภคมะม ว งพั น ธุ ดั้ ง เดิ ม ลดลงไป ในอดี ต มะม ว งเคยเป น ไม ผ ลที่ ป ลู ก ไว บริเวณบาน ปลูกตามหัวไรปลายนา เพื่อการบริโภคในครัวเรือนสวนที่เหลือก็ขายเปน รายไดเสริม แตปจจุบันมะมวงไดรับการพัฒนาเปนไมผลเศรษฐกิจที่ไดรับความนิยม จากเกษตรกรที่จะเลือกปลูกเปนการคามากที่สุด เนื่องจากใหผลตอบแทนสูง ผลผลิต ขายไดราคาแพงเกือบตลอดทั้งป อีกทั้งเกษตรกรมีความเขมแข็งจนเกิดเปนสมาคม ชาวสวนมะมวงไทย เมื่อป พ.ศ. 2552 มะมวงไมเพียงแตเปนผลไมที่คนไทยชื่นชอบ และหลงใหลในรสชาติที่เอร็ดอรอย แตมะมวงยังมีคุณประโยชนทางโภชนาการ และ สรรพคุณทางยาอีกมากมาย ชาวตางชาติตางก็มความชืนชอบเชนเดียวกัน ทำใหพฒนาการ  ี ่ ั ทั้งดานเทคโนโลยีการผลิต และการตลาดของมะมวงกระจายอยูท่ัวไปในภูมิภาคเขตรอน ของโลก การรวบรวมขอมูลที่มีอยูมากมายเกี่ยวกับมะมวง ตั้งแตความเปนมา ถิ่นกำเนิด เทคโนโลยีการผลิต การตลาด คุณประโยชน สรรพคุณทางยา การใชประโยชนจาก มะม ว ง และอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ มะม ว งได ร วบรวมข อ มู ล เข า ไว เ ป น หมวดหมู ใ น มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งจะเปนประโยชนตอเกษตรกร นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ และผูเกี่ยวของ ใหสามารถเขาถึงขอมูลสะดวกตอการคนหา ความรู เ กี่ ย วกั บ มะม ว งได ง า ยและรวดเร็ ว อั น จะส ง ผลทำให การพั ฒ นาทั้ ง ทางด า น การผลิตและการตลาดมะมวงของไทยมีความกาวหนาตอไปอยางไมหยุดยั้ง ทัดเทียม นานาประเทศที่ผลิตมะมวงในโลกจนมีความแข็งแกรงสามารถแขงขันกับประเทศคูแขง ในตลาดอาเซียนและตลาดโลกไดอยางยั่งยืน นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • 7. คํานิยม ผมนายมานพ แกววงษนุกูล นายกสมาคมชาวสวนมะมวงไทย ขอชื่นชมและ ขอขอบคุณ ดร. และอาจารยทุกทาน ทุกมหาวิทยาลัยที่ใหความสำคัญเรื่องมะมวง นำความรูของทุกทานมาเขียนลงในหนังสือมะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการ เก็บเกี่ยว เผยแพรความรูของทุกทานใหกับชาวสวนมะมวงและผูสนใจมะมวงไดเรียนรู และขอบคุณ ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศ ดร.วิลาวัลย คำปวน ดร.ธีรนุช เจริญกิจ บรรณาธิการ หนังสือมะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว หนังสือเลมนี้จะมีประโยชน กับชาวสวนมะมวงและผูสนใจมะมวงเปนอยางมาก ทางสมาคมชาวสวนมะมวงไทย ขอขอบคุณ มา ณ โอกาสนี้ นายมานพ แกววงษนุกูล นายกสมาคมชาวสวนมะมวงไทย PHTIC Postharvest Technology Innovation Center
  • 8. คํานิยม ระยะหลังนี้ ไดมีโอกาสอานวารสารและหนังสือของสถาบันวิจัยและพัฒนาการ เกษตรของมาเลเซียหลายๆ เลม ตัวอยางเลม Breeding Horticultural Crops @ MARDI จะมีเรื่องที่นักวิชาการแตละสาขามาชวยกันเขียนและมีทีมบรรณาธิการอาวุโสที่รูอดีต เชื่ อ มต อ ป จ จุ บั น ช ว ยกั น ขั ด เกลาทำให ไ ด Knowledge Information Technology ที่ ค รบถ ว นและน า เชื่ อ ถื อ ประเทศไทยเรามี ผู รู ผู ช ำนาญการเฉพาะทางครบถ ว น ไม แ พ ใ ครในโลก โดยเฉพาะเทคโนโลยี ไ ม ผ ลเมื อ งร อ น แต การรวมพลเพื่ อ ให เ กิ ด 1 ผลงานในที่เดียว พรอมทั้งเปดใหมีการปรับปรุงทุกๆ 3-5 ป ยังมีนอยมาก เรื่องของงานบริการความรูที่เรียกวา Service Knowledge & Information Technology นับเปนงานสำคัญอันยิ่งใหญในการพัฒนาประเทศ ขณะเดียวกันก็ถือวา เปนจุดออนของสังคมเรา เนื่องจากทุกคนรูไมเทากัน พูดกันไปคนละทาง ปฏิบัติไป คนละทาง ผูรูไมคอยพูด ผูรูนิดหนอยมักพูดมากกวา ทำใหผูที่มีกำลังหรือชองทาง เขาถึงขอมูลที่ถูกตองมากกวาก็จะไดเปรียบ แตผูที่ไมเขาถึงหรือไดรับแตขอมูลขยะ ผิดๆ ถูกๆ ยิ่งเขาปาเขาดงทำใหลมเหลวในอาชีพและชีวิตโดยสงผลกระทบตอสังคม ประเทศโดยรวมในที่สุด ผมไดยิน รศ.ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศพูดถึงเรื่องหนั งสือมะมวง-การผลิตและ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมานานพอสมควร และเมื่อไดรับหัวขอที่มีการรวมทีมผูรู ชวยกันเขียนนับวาไดสาระเกี่ยวกับมะมวงที่ครบถวนอยางมาก ขณะเดียวกันผูรวมทีม เขียนทั้งหมดดังกลาวเปนทั้งนักวิจัยและผูที่ปฏิบัติงานแตละดานอยางแทจริง ก็นา จะชวยยกระดับเรื่องแหลงความรูเกี่ยวกับมะมวงของเรา นับตั้งแตสวนจนถึงตลาด ไดเปนอยางดี สิ่งที่อยากเห็นนอกจากการจัดพิมพเปนเลมแบบสิ่งพิมพทั่วไปแลว อยากจะใหมี การนำเสนอในรูปของ e-book เพื่อรองรับเทคโนโลยี Service Information ยุคใหมที่ กาวหนาไปเรื่อยๆ และยังเปนการชวยลดตนทุนใหแกผูใชบริการไดอีกสวนหนึ่ง นายเปรม ณ สงขลา บรรณาธิการวารสารเคหการเกษตร มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • 9. คํานิยม มะมวงไทยมีชื่อเสียงเปนที่รูจักของนานาประเทศ ดวยรสชาติอันชวนพิสมัย ดวยรูปลักษณสีสันที่สวยงามจึงเปนที่ชื่นชอบ และไดรับความนิยมจากตลาดทั้งภายใน และตางประเทศ สรางรายไดใหแกเกษตรกรไทยมากมายในปจจุบัน ในฐานะที่กระผมก็เปนบุคคลหนึ่งที่มีความผูกพัน และเกี่ยวของกับผูผลิตมะมวง โดยตรง ได สั ม ผั ส กั บ ผู ผ ลิ ต มะม ว งชั้ น นำทั่ ว ประเทศ ได พ บผู ผ ลิ ต มะม ว งที่ ป ระสบ ความสำเร็จมากมาย หลายคนมีชื่อเสียงในสังคม มีฐานะร่ำรวยจากการผลิตมะมวง หนังสืออันมีคุณคาสูงสุดเลมนี้ หากทานใดไดมีโอกาสอานกระผมเชื่อเหลือเกินวา จะเปนเสมือนกุญแจสำคัญดอกหนึ่งที่จะนำไปสูความสำเร็จได หากทานมีการไขวควา หาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ สาระที่บรรจุอยูภายในพรอมที่จะนำทานไปสูการพัฒนา เปลี่ยนแปลงที่ดี ชวยปรับปรุงแกไขในสวนที่ผิดพลาด การผลิตมะมวงคุณภาพควรใหความสำคัญในทุกๆ ขั้นตอนของการผลิต ซึ่งทาน จะหาอานไดจากหนังสือเลมนี้ ซึ่งไดถายทอดความรูจากผูที่มีประสบการณ ไวอยาง ครบถวน ตั้งแตการรูจักพันธุเพื่อการคา เทคนิคการผลิตมะมวงเพื่อการสงออก แนวทาง ภาคปฏิบัติที่ถูกตอง ตลอดจนการตลาดที่นาสนใจ กระผมเองเมื่อไดอานองคประกอบ ของหนังสือมะมวงเลมนี้แลว ก็แทบจะอดใจไม ไหว อยากใหหนังสือเลมนี้ ไดมีการ จัดพิมพออกมาสูสายตาของผูอานในเร็ววัน ทายนี้ขอใหความดีทั้งหมด เปนของทุกทานที่ไดเสียสละเวลา อุทิศทั้งกำลังกาย กำลังใจ ถายทอดเรียบเรียงองคความรูออกมา คณะผูจัดทำ ผูสนับสนุนการจัดทำ ตลอดจนผู อ า นและใช ป ระโยชน จากหนั ง สื อ เล ม นี้ กระผมขออำนวยพรให ทุ ก ท า น จงมีแตความสุขความเจริญในหนาที่การงาน คาขายร่ำรวย โชคดีมีชัย คิดหวังสิ่งใด ใหสมปรารถนาทุกประการเทอญ MR.CHEN CHIN CHENG (“ชุนฟง”) บริษัทแสงจิตเครื่องจักรการเกษตร จำกัด PHTIC Postharvest Technology Innovation Center
  • 10. บทบรรณาธิการ หนังสือ “มะมวง-การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว” เลมนี้ มีการจัดทำ หลายขั้นตอนกวาจะออกมาเปนรูปเลมเชนนี้ เริ่มจากเมื่อตนป พ.ศ. 2553 มีการสราง เครือขายซึ่งเปนผูสนใจและมีประสบการณในแวดวงวิชาการที่เกี่ยวของ เพื่อวางทิศทาง ของหนั ง สื อ จั ด ทำเป น โครงการ กำหนดเนื้ อ หาสาระสำคั ญ ของหนั ง สื อ ไว ถึ ง กว า 400 คำสำคัญ ใน 14 กลุมสาระ พรอมประมาณการคาใชจายในการดำเนินงาน หลังจากนัน   ้ ไดเสนอขอผูสนับสนุนทุนในการดำเนินงาน ไดแก ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการ เก็บเกียว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) แตดวยขอจำกัดเรืองงบประมาณ ่  ่ สนับสนุน และความตองการที่จะใหมีสาระที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ของมะมวงเปนหลัก กองบรรณาธิการจึงเห็นควรปรับเปลี่ยนกรอบงาน ใหมีเนื้อหาเนน ในสวนการผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ทำใหตองลดจำนวนเนื้อหาสาระสำคัญ ลงให เ หลื อ เพี ย ง 70 คำสำคั ญ โดยรวบรวมให อ ยู ใ นกลุ ม เนื้ อ หาเดี ย วกั น 9 กลุ ม ดังปรากฏในสารบัญและแตละกลุมเรียงตามลำดับเนื้อหาเพื่อใหงายตอการติดตาม คนควา ทั้งนี้ผูอานสามารถสืบคนเนื้อหาไดจากดรรชนีทายเลมอีกทางหนึ่ง  วัตถุประสงคในการจัดทำหนังสือเลมนี้ คือ การรวบรวม “องคความรูรอบดาน” ของ “มะมวง” ตลอดหวงโซอุปทาน โดยมีจุดเนนที่เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว จากผูรู ในเครือขายหลากหลายสาขา อีกดานหนึ่งอาจกลาวไดวาเปนการสรางคลังความรู ที่ไดจาก “ความรวมมือ” ในหมูประชาคมวิชาการดานมะมวงที่ลวนเกิดจาก “จิตอาสา” ทั้งสิ้น แมผูที่อุทิศเวลาใหกับงานเขียนและเรียบเรียงสวนใหญ จะเปนคณาจารยจาก สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาตางๆ ทั่วประเทศ แตสวนหนึ่งก็ไดรับความรวมมือ เปนอยางดีจากนักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญ ผูประกอบการ ที่มาจากภาครัฐ (กรมวิชาการ เกษตรและกรมสงเสริมการเกษตร) และภาคเอกชน มีจำนวนสูงถึง 37 ทาน และ นอกจากนั้นยังมีผูทรงคุณวุฒิที่ทำหนาที่ในการตรวจพิจารณาคุณภาพบทความ รวมอีก 32 ทาน โดยหวังวาจะเปนสวนหนึ่งของการสนับสนุนเตรียมความพรอมรองรับการ แขงขันหลังการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทยในอนาคตอันใกลนี้ มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • 11. กองบรรณาธิการหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้นอกจากจะแสดงเสนฐานระดับ ฐานความรูของประเทศไทยดานมะมวงในปจจุบันแลว ยังจะเปน “ตนแบบ” ของหนังสือ ลักษณะเดียวกันนีสำหรับพืชชนิดอืนๆ ทีจะเกิดขึนตามมาในลำดับตอไป สวนองคความรู ้ ่ ่ ้ ที่ไดมานี้นอกจากจะเปนประโยชนกับผูแสวงหาความรูโดยตรงและชาวสวนผูปลูกมะมวง เป น อาชี พ แล ว คาดหวั ง ว า ยั ง จะขยายไปยั ง ผู ที่ มี ส ว นได ส ว นเสี ย ในห ว งโซ อุ ป ทาน อุตสาหกรรมมะมวงเพือการสงออก ตังแตตนน้ำถึงปลายน้ำ ประชาคมวิชาการซึงรวมทัง ่ ้  ่ ้ นักวิชาการ นิสิตนักศึกษา และผูสนใจทั่วไป ตลอดจนสถานศึกษาหรือหนวยงานทั้งภาค รัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ เพื่อใชประกอบการศึกษา หรืออางอิงตอไปในอนาคต ทายที่สุดกองบรรณาธิการใครขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.วิเชียร เฮงสวัสดิ์ ผูอำนวยการศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว สำนักงานคณะกรรมการ  ่ การอุดมศึกษา ที่เห็นความสำคัญของการจัดทำหนังสือเลมนี้ และไดสนับสนุนทุนในการ ดำเนินการจัดทำตนฉบับ ขอบพระคุณและซาบซึ้งในความมีน้ำใจของเครือขายภาคี ผูทเ่ี กียวของทุกทาน ตังแตผเู ขียน ผูทรงคุณวุฒททำหนาที่ในการตรวจพิจารณาคุณภาพ  ่ ้  ิ ่ี บทความ ผูตดตามงาน และผูตรวจแกไขบทความในชวงสุดทาย โดยเฉพาะคุณนวลลออ ิ  จุลพุปสาสน แหงสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่ไดชวยตรวจสอบความถูกตอง ของการเขียนบทความและการอางอิงเอกสารทั้งหมดกอนเขาสูกระบวนการจัดพิมพ ตลอดจนการจัดทำดัชนีชวยคน อยางไรก็ตามในการจัดทำตนฉบับหนังสือที่มีผูเขียน เป น จำนวนมากดั ง กล า ว และอยู ต า งสถานที่ ห า งไกลกั น และในระยะเวลาที่ จ ำกั ด นี้ แมทางกองบรรณาธิการไดพยายามเต็มที่ในการตรวจทานความถูกตองเหมาะสม แต เชือวาคงไมสามารถคัดกรองความผิดพลาดครบถวนเต็มรอยเปอรเซ็นตได จึงใครขออภัย ่ ในความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ไว ณ โอกาสนี้ดวย กองบรรณาธิการยินดีรับฟง ความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากทุกทาน หวังเปนอยางยิงวาหนังสือเลมนีจะกอประโยชน ่ ้ ใหกับแวดวงการผลิตมะมวงของประเทศไทยไดตรงตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว กองบรรณาธิการ 31 สิงหาคม 2555 PHTIC Postharvest Technology Innovation Center
  • 12. ฌ บรรณาธิการ Editors ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศ รองศาสตราจารย ศูนยวิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 239 ถนนหวยแกว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200 และที่ปรึกษาสมาคมชาวสวนมะมวงไทย E-mail: tavatchai.r@cmu.ac.th ดร.วิลาวัลย คำปวน นักวิจัยชำนาญการพิเศษ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม ตู ปณ. 111 จังหวัดเชียงใหม 50200 E-mail: kumpounw@hotmail.com, wilawan.k@cmu.ac.th ดร.ธีรนุช เจริญกิจ ผูชวยศาสตราจารย คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ 63 หมู 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 50290 E-mail: theeranu@mju.ac.th มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • 13. ¼ÙŒμÃǨ¾Ô¨ÒóҤسÀÒ¾º·¤ÇÒÁ/Peer Reviewers ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.กอบเกียรติ แสงนิล ดร.ชูชาติ สันธทรัพย ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร นักวิชาการเกษตรชำนาญการ และ หัวหนาหนวย มหาวิทยาลัยเชียงใหม หองปฏิบัติการกลางศูนยบริการวิชาการและถายทอด 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 เทคโนโลยี คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม E-mail: kobkiat_s@hotmail.com 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 E-mail: choochad.s@cmu.ac.th อาจารย ดร.กัลย กัลยาณมิตร สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว คณะวิศวกรรม ่ คุณเฉลิมขวัญ ธะวิชัย และอุตสาหกรรมเกษตร และ รักษาการในตำแหนง บ.ลีโอฟูดส จำกัด 178 ม.9 ถ.เชียงใหม-ฮอด ผูอำนวยการสถาบันบมเพาะวิสาหกิจ ต.บานกลาง อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม 50120 มหาวิทยาลัยแมโจ E-mail: c_tawichai@hotmail.com 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 E-mail: kalayanamitra@gmail.com รองศาสตราจารยดลกร ขวัญคำ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแมโจ ศาสตราจารย ดร.จริงแทŒ ศิริพานิช 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัย E-mail: donlakorn@gmail.com เกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน 1 ม.6 ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม รองศาสตราจารย ดร.ธวัชชัย รัตนชเลศ 73140 E-mail: agrjts@ku.ac.th ศูนยวิจัยระบบทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.จำนงค อุทัยบุตร 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร และ ที่ปรึกษาสมาคมชาวสวนมะมวงไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม E-mail: tavatchai.r@cmu.ac.th 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 E-mail: Jamnong.u@cmu.ac.th, ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.ธีรนุช เจริญกิจ scboi015@chiangmai.ac.th คณะผลิตกรรมการเกษตร และ ผูอำนวยการ ศูนยวิจัยและพัฒนาลำไยแมโจ มหาวิทยาลัยแมโจ รองศาสตราจารย ดร.จินดา ศรศรีวิชัย 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 141/4 บานหวยทราย ซอย 6 E-mail: theeranu@mju.ac.th หมูที่ 4 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 E-mail: jindabio@gmail.com ผูŒช‹วยศาสตราจารยนพดล จรัสสัมฤทธิ์ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ รองศาสตราจารย ดร.จิราพร กุลสาริน 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 หัวหนาภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช E-mail: nopadol88jaras@gmail.com คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 E-mail: jiraporn.k@cmu.ac.th PHTIC Postharvest Technology Innovation Center
  • 14. ฎ ศาสตราจารย ดร.นิธิยา รัตนาปนนท อาจารย ดร.พิ ไลรัก อินธิปญญา ˜ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 115 หมู 2 ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 E-mail: agfsi001@chiangmai.ac.th E-mail: pilairuk.intipunya@cmu.ac.th ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.บุศรากรณ มหาโยธี รองศาสตราจารย ดร.ยงยุทธ ขŒามสี่ ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และ รองอธิการบดี และ รองผูอำนวยการสำนักวิจัยและสงเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร การเกษตร ฝายวิจัย มหาวิทยาลัยแมโจ 6 ถ.ราชมรรคาใน อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 E-mail: busarakornm@yahoo.com E-mail: yongyut@mju.ac.th ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.เบ็ญจวรรณ ชุตชูเดช ิ ผูŒช‹วยศาสตราจารยยุทธนา เขาสุเมรุ ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 ตู ปณ. 89 อ.เมือง จ.ลำปาง 52000 E-mail: benjawan.c@msu.ac.th E-mail: k_yuttana@hotmail.com คุณปริศนา หาญวิริยะพันธุ คุณรุ‹งทิพย อุทุมพันธ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการจัดการพืชที่เหมาะสมกับ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ สภาพพื้นที่ (ภาคเหนือตอนบน) สวนควบคุมพืชภาคเหนือ ต.เวียง อ.เชียงแสน สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จ.เชียงราย 57150 225 ม.3 ถ.เรียบคลองชลประทาน ต.แมเหียะ E-mail: rungrung2009@gmail.com อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 E-mail: prihan2495@gmail.com ผูŒช‹วยศาสตราจารยเรณู สุวรรณพรสกุล ภาควิชาอารักขาพืช คณะผลิตกรรมการเกษตร และ ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.ผ‹องเพ็ญ จิตอารียรัตน ผูอำนวยการศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย  สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกียว คณะทรัพยากร แหงชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 63 ม.4 ต.หนองหาร ่ ชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 พระจอมเกลาธนบุรี (วิทยาเขตบางขุนเทียน) E-mail: renu.swan@hotmail.com 49 ซอยเทียนทะเล 25 ถ.บางขุนเทียน-ชายทะเล แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.วาริส ศรีละออง E-mail: pongphen.jit@kmutt.ac.th สายวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากร ชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี อาจารย ดร.พิชญา บุญประสม พูลลาภ พระจอมเกลาธนบุรี (วิทยาเขตบางขุนเทียน) สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร 49 ซอยเทียนทะเล 25 ถ.บางขุนเทียน-ชายทะเล มหาวิทยาลัยเชียงใหม 155 หมู 2 ต.แมเหียะ แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10150 อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 E-mail: varit.sri@kmutt.ac.th E-mail: pichaya.aey@hotmail.com มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • 15. ดร.วิลาวัลย คำปวน รองศาสตราจารย ดร.สุรพงษ โกสิยะจินดา นักวิจัยชำนาญการพิเศษ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร 578 ซอย 12 ถ.งามวงศวาน 25 จ.นนทบุรี 11000 และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม ตู ปณ. 111 จ.เชียงใหม 50200 ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.อดิศักดิ์ จูมวงศ E-mail: kumpounw@hotmail.com, ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร wilawan.k@cmu.ac.th มหาวิทยาลัยแมโจ 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 รองศาสตราจารย ดร.สมศิริ แสงโชติ E-mail: joomwong@mju.ac.th, ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร jadisak@yahoo.com มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน 50 ถ.งามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร ดร.อภิตา บุญศิริ นักวิจัยเชี่ยวชาญ กรุงเทพฯ 10900 E-mail: agrsrs@ku.ac.th ศูนยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สถาบันวิจัยและ พัฒนากำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.สุธยา พิมพพิ ไล วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร 1 ม.6 ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร 73140 E-mail: rdiyep@ku.ac.th มหาวิทยาลัยแมโจ 63 ม.4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.อุษาวดี ชนสุต E-mail: suthayap@yahoo.com ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.สุภาวรรณ วงคคำจันทร 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี E-mail: chanasut@chiangmai.ac.th และ รองผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค 398 หมู 9 ถ.สวรรควิถี ต.นครสวรรคตก อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000 E-mail: vsuphawan@hotmail.com PHTIC Postharvest Technology Innovation Center
  • 16. ฐ สารบัญ คำนำ ก คำนิยม ข บทบรรณาธิการ ช บรรณาธิการ ฌ ผูตรวจพิจารณาคุณภาพบทความ ญ 1. ชีววิทยา Biology 1 1. การจัดจำแนกมะมวง Mango Classification 3 2. การออกดอก Flowering 17 3. การติดผล Fruit Set 25 4. พัฒนาการของผล Fruit Development 29 5. สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว Postharvest Physiology 35 6. คุณคาทางอาหาร Nutritional Values 47 7. สารสีและการเปลี่ยนสีผล Pigments and Fruit Color Changes 59 8. การสุกของผล Fruit Ripening 75 9. การออนนุมของผล Fruit Softening 95 10. การหายใจของผล Fruit Respiration 109 11. การผลิตเอทิลีนของผล Ethylene Production in Fruit 119 12. อาการสะทานหนาว Chilling Injury 137 13. การเสื่อมตามอายุของผล Fruit Senescence 149 2. ทรัพยากรพันธุกรรม Genetic Resources 155 14. พันธุมะมวงการคาของประเทศไทย Commercial Thai Mango Cultivars 157 3. เทคโนโลยีการผลิต Production Technology 191 15. การปลิดผล Fruit Thinning 193 16. การหอผล Fruit Bagging 203 17. การวิเคราะหดินและพืช Soil and Plant Analysis 215 18. การจัดการธาตุอาหาร Nutrient Management 227 19. ปุยแคลเซียมและโบรอน Calcium and Boron Fertilizer 239 20. สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช Plant Growth Regulators; PGRs 247 มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • 17. 21. การจัดการโรค Disease Management 257 22. โรคและอาการผิดปกติ Diseases and Disorders 267 23. โรคหลังเก็บเกี่ยวและการควบคุม Postharvest Diseases and Their Control 289 24. การจัดการแมลงศัตรูพืช Insect Pest Management 307 25. แมลงศัตรูพืชกักกัน Quarantine Insect Pests 317 26. การจัดการความเคนจากสิ่งแวดลอม Environmental Stress Management 327 27. การผลิตนอกฤดู Off-season Production 333 28 . การผลิตลาฤดู Delayed Harvest Production 345 4. การเก็บเกี่ยวและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว Harvesting and 359 Postharvest Technology 29. การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว Postharvest Handling 361 30. ดัชนีการเก็บเกี่ยว Harvesting Index 375 31. การเก็บเกี่ยว Harvesting 385 32. การลดอุณหภูมิ Precooling 399 33. การคัดคุณภาพผล Fruit Quality Grading 413 34. การลางผล Fruit Washing 423 35. การแชน้ำรอน Hot Water Treatment 437 36. การอบไอน้ำ Vapor Heat Treatment 453 37. การฉายรังสีผลไม Fruit Irradiation 461 38. การเคลือบผิวผล Fruit Coating 477 39. การบรรจุผล Fruit Packaging 487 40 ภาชนะบรรจุผล Fruit Package 497 41. การเก็บรักษาผลสด Fresh Fruit Storage 509 42. การบม Hastening Ripening 519 43. การตรวจสอบแบบไมทำลาย Nondestructive Testing 527 5. ผลิตภัณฑสดและแปรรูป Fresh and Processed Products 537 44. มะมวงสดตัดแตง Fresh-cut Mango 539 45. ผลิตภัณฑมะมวงแปรรูป Processed Mango Products 555 46. มะมวงแชเยือกแข็ง Frozen Mango 565 47. มะมวงอบแหง Dehydrated Mango 573 48. มะมวงแชอิ่มและมะมวงกวน Preserved Mango 581 49. น้ำมะมวง Mango Juice 591 PHTIC Postharvest Technology Innovation Center
  • 18. ฒ 6. ความปลอดภัยดŒานอาหาร Food Safety 603 50. วิธปฏิบัตที่ดีทางการเกษตรไทย Thai Good Agricultural Practice; ThaiGAP ี ิ 605 51. วิธปฏิบตทดทางการเกษตรญีปน Japan Good Agricultural Practice; JapanGAP ี ั ิ ี่ ี ่ ุ 613 52. วิธปฏิบตทดทางการเกษตรยุโรป Global Good Agricultural Practice; GlobalGAP ี ั ิ ี่ ี 621 53. คาระยะเก็บเกี่ยวที่ปลอดภัย Pre-harvest Interval; PHI 629 54. ปริมาณสารพิษตกคางสูงสุด Maximum Residue Limits; MRLs 635 55. วิธีปฏิบัติที่ดีทางการผลิต Good Manufacturing Practice; GMP 645 56. ระบบการตรวจสอบยอนกลับ Traceability 655 57. การวิเคราะหอันตรายและจุดวิกฤตที่ตองควบคุม Hazard Analysis and 665 Critical Control Point; HACCP 7. โลจิสติกส Logistics 679 58. หวงโซอปทานมะมวง Mango Supply Chain ุ 681 59. การขนสงระดับประเทศ National Transportation 687 60. ขั้นตอนการสงออกระหวางประเทศ Exporting Procedures 693 61. การขนสงทางทะเล Sea Freight Transportation 701 62. การขนสงทางอากาศ Air Freight Transportation 707 63. การกักกันพืชระหวางประเทศ International Plant Quarantine 717 8. ตลาด Market 735 64. ตลาดญี่ปุน Japan Market 737 65. ตลาดจีน China Market 745 66. ตลาดสหภาพยุโรป European Union Market 753 67. ตลาดรัสเซีย Russian Market 761 68. ตลาดสหรัฐอเมริกา U.S. Market 769 9. อื่นๆ Miscellaneous 779 69. อุตสาหกรรมมะมวงไทย Thai Mango Industry 781 70. คารบอนฟุตพริ้นทในผลิตภัณฑอาหาร Carbon Footprint in Food Products 793 ภาคผนวก 799 ดัชนี 821 มะมวง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว