SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  79
สารบัญ
                            ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553
                                   www.consumerthai.org




    9                            20                                    25                       33

เรื่องเด่น                                                             อาหารและสุขภาพ
9	 นั่งรถ	(โดยสาร)	กับใคร	ปลอดภัยที่สุด	                               47	 บทความพิเศษ	
ความเคลื่อนไหว                                                         	   “คนไข้ไทย..กับทางตัน”
3	 กระแสในประเทศ		                                                     49	 ของฝากจากอินเตอร์เน็ต	
6		 กระแสต่างแดน	                                                      	 “กินดอกไม้ต้านมะเร็ง”
64	 สารพันปัญหาโทรคมนาคม	                                              52	 สวยอย่างฉลาด	
	       “มือถือกับคนไทย”
                                              	 “วิธีใช้ครีมเปลี่ยนสีผม”
                                                                       54	 ช่วง	ฉลาด	ช้อป	
ทดสอบ                                                                  	 “แอร์ฆ่าเชื้อโรค
จำเป็นแค่ไหน”
20	 ชาโบราณยี่ห้อไหนใส่สีมากเกินไป	                                    57	 เรื่องเล่าเฝ้าระวัง	
25	 “สารกันบูด”	สูตรอร่อยเสี่ยงในลูกชิ้น	 	
                                                                       	 “ครูจ๋า
อย่าประมาท
(2)”
30	 เลือกรองพื้นมิเนอรัลยี่ห้อไหนดี	                                   68	 เรื่องเรียงเคียงจาน	
สัมภาษณ์                                                               	 “ข้าว-ถั่ว-งา
มากับกุยช่าย”	
33	 ทุกคนมีสิทธิ	                                                      หน้าต่างผู้บริโภค
	       “เกือบตาย
เพราะถุงลมนิรภัยไม่ทำงาน”
                                                                       58	 คุยกับคน	
เสียงผู้บริโภค                                                         
   “The
Power
of
Half”
(ตอนที่
1)
39	 •	กลวิธีตุ๋นเงินทางโทรศัพท์
                                       61	 Connecting		
	       •	แพ้ผลิตภัณฑ์ของยูนิซิตี้
                                    
 “ศาสตร์แห่งการกิน(ตอน
2)”
	       •	ชอบทีวีซัมซุง
ถึงเสียก็ไม่อยากเปลี่ยนใจ
                     65	 มีอะไรใน	โคด-สะ-นา	
	       •	สื่อวันนี้อิสระจริงหรือ?
                                    	 “ความทรงจำสั้น
แต่หนี้ฉันยาว”
กฎหมาย                                                                 
                                                                       Game
46		รู้กฎหมายกับทนายอาสา		                                             72		 ปัญหาสร้างปัญญา	
	       “สิทธิบอกเลิกสัญญาของผู้เช่าซื้อและผู้ให้เช่าซื้อ”
บทบรรณาธิการ
                                                                       สารี	อ๋องสมหวัง		saree@consumerthai.org	




            ก้าวให้พ้นความขัดแย้ง
            




และผลประโยชน์ทางการเมือง
         ประเทศไทยมีความขัดแย้งทางการเมืองมากกว่า              คุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระยังไม่เกิด	ปัญหาการ
ที่คิด	เพราะไม่ว่าใครจะพูดจะเสนออะไรก็จะถูกจับเข้า             ทุจริตคอรัปชั่นทางนโยบายที่เข้มข้นในอดีตของรัฐบาล
พวกทั้งฝ่ายตัวเองและอีกฝ่ายโดยไม่สนใจเนื้อหาสาระ	              ทักษิณ	ปัญหาคอรัปชั่นในปัจจุบัน	ปัญหาการบุกรุกที่
ข้อเท็จจริงที่กำลังคุยกัน	หรือต่างอ้างข้อเท็จจริงที่เป็น       สาธารณะของนายทุน	การเอื้อประโยชน์ให้กับเอกชน
ของตนเอง	                                                      และทำให้รัฐเสียหายมากมายและเป็นภาระผู้บริโภค	
         เครือข่ายผู้บริโภค	เครือข่ายผู้ติดเชื้อ	และ           โอกาสของคนจนในทางเศรษฐกิจ	การเข้าถึงและการ
เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์	ได้มีโอกาสเรียกร้อง             จัดการทรัพยากรธรรมชาติ	การแทรกแซงสื่อ	ปัญหา
ร่วมกันให้กระทรวงสาธารณสุข	ปรับปรุงร่างกฎหมาย                  หลายมาตรฐานแม้แต่เรื่องพื้นฐานของประชาชน	เช่น	
คุ้มครองผู้เสียหายทางการแพทย์	ให้มีหน่วยงานที่                 การรักษาพยาบาล	ต่างเป็นเรื่องจริงทั้งสิ้น	เป็นต้น	
รับผิดชอบกฎหมายฉบับเป็นหน่วยงานที่เป็นอิสระจา	                          แต่เป็นปัญหาที่หยั่งรากลึก	และประชาชนที่เป็น
กระทรวงสาธารณสุข	เพราะกระทรวงสาธารณสุขมี                       เพียงหมากทางการเมืองอย่างเราต้องอดทนและร่วมมือ
โรงพยาบาลในสังกัดของตนเองเกือบพันแห่ง	วันที่                   กันแก้และหาทางออกจากสิ่งเหล่านี้	และอาจจะไม่ได้มา
รณรงค์ร่วมกัน	ได้มีผู้ร่วมกิจกรรมต่างดึงมือตบและ               จากคำตอบของความขัดแย้งทางการเมืองที่ยังดำรงอยู่
ตีนตบออกมาจากระเป๋าของตนเอง		                                  ในปัจจุบัน	เพราะเป็นเพียงวาทะกรรมและการช่วงชิง
         สะท้อนความร่วมมือของประชาชนที่พร้อมจะ                 ผลประโยชน์การนำในทางการเมือง	และเพื่อผล
ดำเนินการร่วมกันเมื่อเป็นปัญหาของประชาชน	เราต่าง               ประโยชน์ทางการเมืองล้วนๆ	ดังนั้นผู้บริโภคต้อง
เชื่อว่า	ปัญหาของประชาชนที่แท้จริงไม่มีความขัดแย้ง	            เชื่อมั่นในพลังของตนเองที่จะร่วมกันอย่างเข้มแข็งใน
ไม่มีแบ่งฝ่าย	แต่รอการแก้ไขปัญหา	เพราะขณะที่                   การปฏิรูประบบและกลไกทางการเมือง	ระบบภาษี	
กรุงเทพฯ	กำลังเลือดตกยางออก	จังหวัดบุรีรัมย์	                  ระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน	ระบบสวัสดิการทาง
ก็ปรากฏข่าวชาวบ้านประท้วงการสร้างถนนผ่านที่ทำกิน	              สังคม	ระบบการศึกษา	ระบบสุขภาพ	เป็นต้น	
ปัญหามาบตาพุดยังไม่มีทางออก	องค์การเพื่อการ                             	

เจ้าของ : มูลนิธเิ พือผูบริโภค 4/2 ซอยวัฒนโยธิน แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2248-3734-7
                     ่ 
โทรสาร : 0-2248-3733 บรรณาธิการผูพมพผโฆษณา : สารี อองสมหวัง คณะทีปรึกษา : พระไพศาล วิสาโล อาจารยจรัญ ภักดีธนากุล
                                        ้ ิ ู้                             ่
ผศ.ภญ.สำลี ใจดี นพ.ประพจน เภตรากาศ นพ.สุวทย วิบลผลประเสริฐ รศ.ดร.จันทรเพ็ญ วิวฒน รศ.ดร.ภญ.จิราพร ลิมปานานนท
                                                ิ    ุ                            ั                      ้
นพ.ชูชย ศุภวงศ รศ.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ รศ.นพ.อดิศกดิ์ ผลิตผลการพิมพ ทีปรึกษากฎหมาย : ชัยรัตน แสงอรุณ บรรณาธิการบริหาร :
       ั                                           ั                   ่
สารี อองสมหวัง หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ทัศนีย แนนอุดร กองบรรณาธิการ : รศ.ดร.แกว กังสดาลอำไพ นพ.ประวิทย ลีสถาพรวงศา
                                                                                                               ่
สุวรรณา จิตประภัสสร อิฐบูรณ อนวงษา สุมาลี พะสิม ชนิษฎา วิรยะประสาท ศศิวรรณ ปริญญาตร สมนึก งามละมัย ฝ่ายการตลาดและ
                                                             ิ
สมาชิก : เสาวลักษณ ปอเจริญ เตือนใจ รอดสกุล ศิลปกรรม : สราวุธ ลอยศักดิ์ พิมพ : บริษท พิมพดี จำกัด โทรศัพท : 0-2803-2694-7
                                                                                    ั
แยกสี/เพลต : หจก.เลย โปรเซส โทรศัพท : 0-2433-5433, 0-2803-0360-1
จดหมายถึง บก.

             สารทดแทนน้ำตาล
                   
                   สวัสดีค่ะ
เป็นสมาชิกฉลาดซื้อค่ะ
คืออยากให้ฉลาดซื้อ
ลงเนื้อหาเกี่ยวกับ
การ
             บริโภคสารให้ความหวานแทนน้ำตาล
ว่าดีจริงหรือไม่
แต่ไม่รู้จะติดต่อกับใคร
ช่องทาง
             ไหน
ฝากบอกให้ด้วยนะคะ
                                                                    chumarphorn.hu@rd.go.th
                   
                   จะจัดหาข้อมูลให้ตามที่ขอมาค่ะ
ฉลาดซื้อได้เปิดคอลัมน์พิเศษ
“จัดไป”
ไว้
             สำหรับเป็นทางด่วนเพื่อผู้บริโภคที่ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ซึ่งฉบับที่
             ผ่านมาก็นำเสนอเรื่องมะรุมไป
แต่ไม่อยากให้ข้อมูลที่นำเสนอฉาบฉวยเกินไป
จึงต้อง
             รอคิวท่านผู้เชี่ยวชาญสักนิดนึง

             






โลตัส
ติดป้ายผิดอีกแล้ว
                     
                     ดิฉันเป็นสมาชิกวารสารฉลาดซื้อ
มีเรื่องอยากแจ้งให้มูลนิธิฯ
ทราบ
เพื่อเป็น
             ประโยชน์แก่สมาชิกท่านอื่นๆ
วันนี้ไปซื้อของที่เทสโกโลตัส
ซื้อสมุดฉีกมา
6
เล่มด้านหลัง
             เขียนราคาเล่มละ
10
บาท
แต่ป้ายที่ชั้นแจ้งว่าเล่มละ
12
บาท
เวลาคิดเงินก็เล่มละ
12
             บาท
ดิฉันคิดว่าทางห้างทำไม่ถูกต้อง
ขายเกินราคาตั้ง
20
%
ถึงแม้ว่าจะเป็นเงินเพียง
2
             บาทก็ตาม
จึงอยากให้ทางมูลนิธิฯ
ช่วยเผยแพร่พฤติกรรมแบบนี้ให้คนอื่นๆ
รู้
จะได้ระวัง
             ที่ดิฉันไม่ไปโวยวายกับทางห้าง
เพราะรู้ว่าเรื่องจะจบอยู่แค่พนักงานระดับล่างกับคำพูดที่
             ว่า
ติดป้ายราคาผิด
จึงแจ้งมาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อไป

                     

        
        
       
          
     
         
      
        ลีนา

                     
                     ได้รับจดหมายฉบับนี้นานแล้ว
ตอนแรกตั้งใจว่าจะลงในฉลาดซื้อตั้งแต่ได้รับ
พอ
             มาคิดว่าอาจทำได้แค่เพียง
“ประจาน”
พฤติกรรม
ซึ่งคงไม่ได้แก้ปัญหาเท่าไร
จึงนำเสนอ
             ให้ทางศูนย์พิทักษ์สิทธิช่วยดำเนินการ
อย่างน้อยเราก็อยากทราบนโยบายของทางห้างค้า
             ปลีกแห่งนี้ว่าจะมีแนวทางในการจัดการแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างไร
หลังจากได้ทำจดหมาย
             ร้องเรียนไปยัง
บ.เทสโก
และผ่านไปราว
1
เดือนตอนนี้ก็ยังไม่ได้รับคำตอบจากทาง
      
             เทสโกแต่อย่างใด
ทางศูนย์ฯ
กำลังติดตามเรื่องอยู่ค่ะ
ขอนำจดหมายมาลงก่อนเพื่อให้
             คุณลีนาสบายใจว่าเราไม่ได้ทิ้งปัญหาของคุณไป

                     

    ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553
2   ปีที่ 16 ฉบับที
กระแสในประเทศ
                                                                                                                                 กองบรรณาธิการ


                              ประมวลเหตุการณ์เดือนมีนาคม 2553

16 มีนาคม 2553                                    ตรวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ บ ริ ษั ท ใช้         เติ บ โตได้ ดี ต ามภาวะเศรษฐกิ จ ที่
“กำจัดปลวก” ต้องเลือกดีๆ                          โ ด ย ฉ ล า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะ ต้ อ ง มี     ปรับตัวดีขึ้น ซึ่งหากไม่มีการขยาย
          อย. เผยข้ อ มู ล ว่ า ปั จ จุ บั น มี   ข้อความแสดงรายละเอียดที่ชัดเจน                 เวลามาตรการดังกล่าว จะส่งผลให้
บริ ษั ท รั บ จ้ า งกำจั ด ปลวกตามบ้ า น          ไม่ว่าจะเป็น ชื่อทางเคมี อัตราส่วน             ภาษีธุรกิจเฉพาะกลับไปสู่อัตราเดิม
และสถานที่ ต่ า งๆ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ข อขึ้ น         ที่ใช้ และเลขทะเบียนวัตถุอันตราย               ที่ 3.3% จาก 0.11% และค่าโอน
ทะเบี ย นอยู่ ห ลายบริ ษั ท ซึ่ ง ตาม             ที่ใช้ในทางสาธารณสุข                           เป็น 2% จาก 0.01%”
พระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ อั น ตราย พ.ศ.
2535 กำหนดให้ การผลิต การนำ                       23 มีนาคม 2553                                 26 มีนาคม 2553
เข้ า การส่ ง ออก หรื อ การมี ไ ว้ ใ น            ต่ออายุมาตรการภาษีเพื่อคนซื้อ                  สมุนไพร “จิ่วเจิ้งปู่เซินเจียวหนัง”
         ครอบครอง ต้องขออนุญาต                    บ้านอีก 2 เดือน                                โฆษณาเกินจริง
                 จ า ก ส ำ นั ก ง า น ค ณ ะ               ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.)                         อย.จั ด การลงดาบกั บ ยา
                    กรรมการอาหารและ               อนุมัติให้ขยายเวลาการใช้มาตรการ                สมุ น ไพร “จิ่ ว เจิ้ ง ปู่ เ ซิ น เจี ย วหนั ง ”
                     ยา (อย.) ก่อน โดย            ท า ง ภ า ษี เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น ธุ ร กิ จ     หลั ง มี ก ารตรวจสอบและร้ อ งเรี ย น
                     ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ำ จั ด      อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ ง ครบกำหนดลง         จากผู้ บ ริ โ ภคว่ า ซื้ อ ไปทานแล้ ว ไม่
                     ป ล ว ก ถื อ ว่ า เ ป็ น     ในวันที่ 28 มีนาคม 2553 ออกไป                  สามารถรักษาโรคได้ตามที่อวดอ้าง
                    ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นกลุ่ ม       อีก 2 เดือน เพราะห่วงจะเกิดผล                  ซึ่งมีสิทธิ์ถูกดำเนินคดีทางกฎหมาย
               วัตถุอันตราย นอกจากนี้             กระทบกั บ ประชาชนที่ จ องซื้ อ บ้ า น          พร้ อ มทั้ ง ถู ก เพิ ก ถอนทะเบี ย น
    เจ้ า ของบริ ษั ท กำจั ด ปลวกที่ ไ ด้         ไม่ ส ามารถโอนได้ ทั น กำหนด ซึ่ ง             ตำรับยา
รั บ อนุ ญ าตต้ อ งจั ด ให้ มี ผู้ ค วบคุ ม       พบว่ามีผู้บริโภคกว่า 1 หมื่นรายได้                       อย.ได้รับเรื่องร้องเรียนจาก
การใช้วัตถุอันตรายโดยเฉพาะ ซึ่ง                   รั บ ความเสี ย หายหากประกาศ                    ผู้บริโภคจำนวนมากว่าให้ช่วยตรวจ
ต้ อ งมี ป ระสบการณ์ ห รื อ ผ่ า นการ             ยกเลิกมาตรการนี้                               ส อ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ย า ส มุ น ไ พ ร
อบรมและทดสอบความรู้ ต ามที่                               “ อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ จ ะ ยั ง   “จิ่วเจิ้งปู่เซินเจียวหนัง” หลังจากซื้อ
อย.กำหนด                                                                                         รับประทานเพราะเชื่อในสรรพคุณที่
          สำหรับผู้บริโภคที่ต้องการใช้                                                           อวดอ้างว่ารักษาโรคได้สารพัด ทั้ง
บริการกำจัดปลวก ควรตรวจสอบ                                                                       ฟื้นฟูตับไต รักษาเบาหวาน ความ
เอกสารการได้รับอนุญาตจาก อย.                                                                     ดั น โรคเกาต์ รู ม าตอยด์ ต่ อ ม
เ อ ก ส า ร ร า ย ล ะ เ อี ย ด ส า ร เ ค มี                                                      ลู ก หมากอั ก เสบ บำรุ ง เลื อ ด รวม
อันตรายที่ใช้ เช่น คำเตือน อาการ                                                                 ทั้งเสริมสมรรถภาพทางเพศ ซึ่งถูก
เกิ ด พิ ษ วิ ธี แ ก้ พิ ษ และเอกสาร                                                             นำไปเผยแพร่ ทั้ ง ทาง เคเบิ้ ล ที วี
แนะนำความปลอดภั ย รวมทั้ ง                                                                       เว็ บ ไซต์ นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์


                                                                                                                                   ฉลาดซื้อ
                                                                                                               ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553     3
31 มีนาคม 2553                                                            เกษตรและ
                                                        “บาร์โค้ดอัจฉริยะ”                                 อาหารแห่งชาติ (มกอช) กล่าว
                                                                   กระทรวงเกษตรและ                  ถึงโครงการนี้ว่า บาร์โค้ดแบบใหม่
                                                        สหกรณ์ โดยสำนั ก งานมาตรฐาน                 นี้ จ ะไม่ แ สดงเพี ย งแค่ ร าคาสิ น ค้ า
                                                        สิ น ค้ า เกษตรและอาหารแห่ ง ชาติ           เท่ า นั้ น แต่ จ ะแสดงข้ อ มู ล ผู้ ผ ลิ ต
                                                        ร่วมกับบริษัท กสท. โทรคมนาคม                สินค้า ซึ่งจะปรากฏบนหน้าจอของ
                                                        จำกั ด (มหาชน) พั ฒ นาโครงการ               เครื่ อ งอ่ า นบาร์ โ ค้ ด ผู้ บ ริ โ ภคก็
                                                        นำร่ อ งการใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การ       สามารถรู้ ไ ด้ ว่ า ผั ก ถุ ง นี้ ใ ครปลู ก
                                                        ตรวจสอบย้ อ นกลั บ แหล่ ง ผลิ ต             ปลูกในแปลงไหน เก็บเกี่ยวอย่างไร
    โดยเฉพาะในเคเบิ ล ที วี ไ ด้ มี ก ารนำ              สิ น ค้ า เกษตรและอาหาร จากรหั ส                       คาดว่าไม่เกิน 1 ก.พ. 2554
    ตั ว อ ย่ า ง ผู้ ป่ ว ย ที่ ไ ด้ ท า น สิ น ค้ า   มาตรฐานสากลเพื่อประโยชน์ต่อผู้              ก็จะเริ่มเห็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้บาร์โค้ด
    ดั ง กล่ า วแล้ ว อาการดี ขึ้ น มาพู ด ใน           บริ โ ภค ผู้ ส่ ง ออก และเกษตรกร            ตามโครงการนี้ ว างจำหน่ า ยใน
    เชิงอวดอ้างสรรพคุณสินค้า ซึ่งทาง                    ไทย โดยจะทำให้ “บาร์โค้ด” ที่ติด            ท้ อ งตลาดทั้ ง ในและต่ า งประเทศ
    อย.ได้ชี้แจงว่า ยาสมุนไพร “จิ่วเจิ้ง                อยู่บนสินค้าเกษตรและอาหารบอก                ซึ่ ง ค ว า ม นิ ย ม ใ น สิ น ค้ า เ ก ษ ต ร
    ปู่เซินเจียวหนัง” ได้ขึ้นทะเบียนกับ                 ได้ ม ากกว่ า ราคาสิ น ค้ า สามารถ          อินทรีย์ ผักปลอดสารพิษ ถือเป็น
    ทางอย.ว่ามีสรรพคุณบำรุงร่างกาย                      บอกรายละเอี ย ดลงไปได้ ลึ ก ถึ ง            แรงกระตุ้นสำคัญที่ทำให้เกษตรกร
    เท่านั้น ส่วนคำโฆษณาโอ้อวดเรื่อง                    แหล่งผลิต                                   เห็ น ว่ า การยิ น ดี เ ปิ ด เผยถึ ง การใช้
    การรั ก ษาโรคต่ า งๆ นั้ น ยั ง มี ก าร                        “นิวัติ สุธีมีชัยกุล” ผู้อำนวย   สารเคมี ห รื อ วิ ธี ก ารผลิ ต ช่ ว ยเพิ่ ม
    ศึกษาหรือข้อมูลใดๆ รับรองได้                        การสำนั ก งานมาตรฐานสิ น ค้ า               มูลค่าให้กับสินค้าของตัวเอง


    ผูบริโภคค้าน พ.ร.บ.จัดสรรคลืนความถีฯ เหตุยตบทบาท สบท.
      ้                         ่      ่      ุ ิ
                                                                                                              มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู้ บ ริ โ ภ ค
                                                                                                    เครื อ ข่ า ยองค์ ก รผู้ บ ริ โ ภคกว่ า 30
                                                                                                    จังหวัด และสมาคมคนตาบอดแห่ง
                                                                                                    ประเทศไทย ยื่ น จดหมายคั ด ค้ า น
                                                                                                    (ร่าง) พ.ร.บ. องค์ ก รจัด สรรคลื่น
                                                                                                    ความถี่ แ ละกำกั บ ประกอบกิ จ การ
                                                                                                    วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์
                                                                                                    และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ......
                                                                                                    ให้แก่นายสมชาย แสวงการ ประธาน
                                                                                                    กรรมาธิการสิทธิมนุษยชนและการ
                                                                                                    คุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา เพราะ

    ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553
4   ปีที่ 16 ฉบับที
ยืนหมืนรายชือ
  ่   ่     ่
เสนอร่างพ.ร.บ.
สินไหมฯ เข้าสภา
         เครื อ ข่ า ยนั ก วิ ช าการ และ
เ ค รื อ ข่ า ย อ ง ค์ ก ร ผู้ บ ริ โ ภ ค ทั่ ว
ประเทศ ได้ เ ข้ า ยื่ น ร่ า ง พ.ร.บ.
กองทุนสินไหมทดแทนผู้ประสบภัย                       เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น ทุ ก คนมี ห ลั ก               เครื อ ข่ า ยนั ก วิ ช าการเพื่ อ คุ้ ม ครอง
จากรถ พ.ศ...... โดยรวบรวมราย                       ประกั น สุ ข ภาพ ผู้ ป ระสบภั ย ไม่ ไ ด้               ผู้บริโภค เครือข่ายองค์กรผู้บริโภค
ชื่อประชาชน 10,803 รายชื่อ เสนอ                    รั บ การคุ้ ม ครองอย่ า งรวดเร็ ว และ                  ภาคประชาชน จึ ง ได้ จั ด ทำ (ร่ า ง)
ต่อ พันเอกอภิวันท์ วิริยะชัย รอง                   เป็นธรรม นอกจากนี้ ยังพบว่าใน                          พ.ร.บ.กองทุ น สิ น ไหมทดแทน
ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง                       การเจรจากั บ บริ ษั ท ประกั น ภั ย                     ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ..... เพื่อให้
         นางสาวกชนุ ช แสงแถลง                      เอกชนทำให้ผู้ประสบภัยเสียเปรียบ                        แก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น พร้อมทั้ง
ผู้ประสานเครือข่ายองค์กรผู้บริโภค                  เนื่ อ งจากฝ่ า ยบริ ษั ท ประกั น ภั ย                 ได้ ร วบรวมรายชื่ อ ประชาชนผู้ มี
กล่ า วว่ า มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู้ บ ริ โ ภค ได้   ประวิงเวลาในการจ่ายเงินค่าชดเชย                        สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ไม่ น้ อ ยกว่ า หนึ่ ง หมื่ น
ร่ ว มกั น ศึ ก ษาวิ จั ย พบว่ า พ.ร.บ.            จากบริ ษั ท ประกั น ภั ย ทำให้ ผู้                     ร า ย ชื่ อ เ พื่ อ ร้ อ ง ข อ ใ ห้ ป ร ะ ธ า น
คุ้มครอบผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.                      ประสบภัยต้องเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น                      รัฐสภานำร่างพ.ร.บ.ดังกล่าวบรรจุ
2535 เป็ น อุ ป สรรคในการเข้ า ถึ ง                และทำให้เสียเปรียบในการใช้สิทธิ                        เข้าสู่ระเบียบวาระการประชุม
สิ ท ธิ ใ น ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล                      ดั ง นั้ น มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู้ บ ริ โ ภค




เ ห็ น ว่ า ก ฎ ห ม า ย ฉ บั บ นี้ จ ะ เ ป็ น      อิ ส ระในการดำเนิ น งานคุ้ ม ครอง                      คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคที่ อ อกประกาศ
เครื่ อ งมื อ ของบริ ษั ท ที่ ต้ อ งการยุ บ        ผู้ บ ริ โ ภค ทั้ ง ที่ ก่ อ นหน้ า นี้ กทช.มี         โดย กทช. ถูกบังคับใช้และเกิดผล
สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการ                    สำนักผู้บริการดำเนินการคุ้มครอง                        ในการคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มขึ้นไม่
โทรคมนาคม (สบท.)                                   ผู้บริโภคภายใต้สำนักงานของ กทช.                        ว่าจะเป็น กรณี 107 บาท ในการ
          ในปั จ จุ บั น คณะกรรมการ                อยู่แล้ว หากกฎหมายฉบับนี้เขียน                         เรี ย กเก็ บ เงิ น ต่ อ สั ญ ญาณการให้
กิจการโทรคมนาคม (กทช.) ได้มี                       ให้มีเพียงอนุกรรมการ นั่นย่อมเป็น                      บริการของบริษัทโทรคมนาคม การ
การจัดตั้งสถาบันคุ้มครองผู้บริโภค                  เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ยุ บ ส ถ า บั น             ศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากเสา
ในกิ จ การโทรคมนาคม(สบท.) มี                       คุ้มครองผู้บริโภคฯ ไปโดยปริยาย                         สัญญาณโทรคมนาคม รวมทั้งการ
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ท ำ ห น้ า ที่                  ซึ่ ง จากการดำเนิ น งานของ                 ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ผู้ บ ริ โ ภคได้ รั บ รู้
คุ้ ม ค ร อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ใ ห้ มี         สบท. ในช่ ว งเวลาเพี ย ง 2 ปี ที่                      สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภคในกิจการ
สำนักงานของตนเองบริหารงานเป็น                      ผ่านมา มีส่วนช่วยทำให้มาตรการ                          โทรคมนาคมมากขึ้น

                                                                                                                                             ฉลาดซื้อ
                                                                                                                         ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553      5
กระแสต่างแดน
    ศศิวรรณ ปริญญาตร




    เกลือต้องห้าม
            แม้ครั้งหนึ่งเกลือจะเคยมีค่า            บริ โ ภคเกลื อ ลงให้ ไ ด้ ร้ อ ยละ 25
    ดั่ ง ทองและมี เ ครดิ ต เป็ น หนึ่ ง ใน         ภายในเวลา 5 ปี                                 บนโต๊ะ จุดประสงค์ของเขาคือต้องการ
    รากฐานของอารยธรรมมนุษย์ แต่วัน                            นายฟิลิก ส์ ออร์ทิส สมาชิก           ให้ผู้บริโภคเป็นคนที่ควบคุมปริมาณ
    นี้เกลืออาจมีโอกาสตกอับถึงขั้นโดน               สภาจากเขตบรู๊ ค ลิ น เลยคิ ด จะ                เกลือด้วยตนเอง
    ห้ามใช้ในร้านอาหาร                              จัดการกับปัญหานี้อย่างเด็ดขาดด้วย                       แต่ บ รรดาพ่ อ ครั ว ในร้ า น
            ถ้ า คุ ณ เป็ น แฟนกระแสต่ า ง          การเสนอร่ า งกฎหมายห้ า มร้ า น                อาหารต่ า งก็ ห งุ ด หงิ ด ไปตามๆ กั น
    แดน คงจำกันได้ว่ารัฐนิวยอร์คของ                 อาหารในนิ ว ยอร์ ค ใช้ เ กลื อ เสี ย เลย       พ ว ก เ ข า ม อ ง ว่ า เ ป็ น ก า ร ห้ า ม ที่
    อเมริกานั้นช่างเป็นรัฐที่เป็นห่วงเป็น           ถ้ า จั บ ได้ ว่ า ร้ า นไหนแอบใส่ ก็ จ ะ      เหลวไหลที่สุด และเผลอๆ อาจจะ
    ใยสุขภาพประชากรดีจริงๆ                          ลงโทษด้วยการปรับ 1,000 เหรียญ                  บ่อนทำลายธุรกิจอาหารของเมืองไป
            ขณะนี้มีประชากรนิวยอร์คที่              (ประมาณ 32,000 บาท)                            ด้วย
    เป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่ถึง 1.5                         คุณออร์ทิสแกบอกว่าสำหรับ                      คนอเมริ กั น บริ โ ภคเกลื อ วั น
    ล้านคน รัฐบาลท้องถิ่นที่นั่นจึงออก              ผู้บริโภคนั้นไม่มีปัญหา ถ้าใครอยาก             ละ 3,400 มิ ล ลิ ก รั ม ซึ่ ง เกิ น จาก
    มารณรงค์ ใ ห้ ผู้ ค นบริ โ ภคเกลื อ ให้         ได้ ร สเค็ ม ก็ เ ติ ม เองได้ จ ากกระปุ ก      ปริมาณที่แนะนำ 2,300 มิลลิกรัมไป
    น้ อ ยลง โดยตั้ ง เป้ า ไว้ ว่ า จะลดการ        เกลือที่มีวางไว้คู่กับกระปุกพริกไทย            เยอะทีเดียว


                                                    ช้อปได้แม้อยูในห้องน้ำ
                                                                 ่
                                                    ชุดชั้นในกันได้                                ประกอบการอื่ น ๆ เข้ า มาทำการ
                                                              ผู้ ป ระกอบการห้ อ งน้ ำ ดั ง        ตลาดกันในห้องน้ำกันด้วย เช่น พา
                                                    กล่ า วได้ แ ก่ บ ริ ษั ท เวสต์ เจแปน          นาโซนิ ค ก็ ส่ ง ช่ า งผมมื อ อาชี พ มา
            ห้ อ งน้ ำ ที่ ส ถานี ร ถไฟโอซาก้ า     เรลเวย์ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารรถไฟในฝั่ ง          แนะนำวิ ธี ก ารใช้ เ ครื่ อ งรี ด ผมของ
    ในย่ า นกิ น ซ่ า ของญี่ ปุ่ น กำลั ง เป็ น     ตะวั น ตกของเกาะฮอนชู บอกว่ า ที่              ตัวเอง หรือบริษัทเสื้อชั้นในวาโก้ก็มี
    สถานที่แฮงเอาท์แห่งใหม่ของทั้งเด็ก              เปิ ด บริ ก ารนี้ ก็ เ พราะได้ รั บ เสี ย ง    เสื้ อ ชั้ น ในรุ่ น ใหม่ ๆ มาให้ ส าวๆ ได้
    มัธยมและสาววัยทำงาน                             เรี ย กร้ อ งจากบรรดาผู้ โ ดยสารหญิ ง          ลอง รวมถึงชิเซโด้ที่มาตั้งเคาน์เตอร์
            บริการห้องน้ำ “แองเจิลบี” ที่           ว่าไม่มีสถานที่ให้พวกเธอได้เติมหน้า            เครื่องสำอางด้วยเช่นกัน
    เปิ ด บริ ก ารมาได้ 3 ปี ก ว่ า นี้ คิ ด ค่ า   เติมปากหรือแต่งผมหลังการเดินทาง                             ข่าวไม่ได้บอกว่าค่าบริการจะ
    บริ ก ารประมาณ 100 บาทต่ อ หนึ่ ง               ยาวไกลเลย บ้ า งก็ บ อกว่ า ไม่ มี             ลดลงหรื อ ไม่ ห ลั ง จากมี ส ปอนเซอร์
    ชั่วโมง นอกจากเข้าไปทำธุระส่วนตัว               กิจกรรมอะไรจะทำเพื่อฆ่าเวลาขณะ                 แล้ว หรือสาวๆ จะต้องเสียเงินเข้าไป
    แล้ ว สาวๆ ยั ง จะสามารถนั่ ง จิ บ ชา           รอรถไฟ                                         ทำอย่ า งเดี ย วกั บ ที่ ท ำได้ ใ นห้ า งโดย
    สมุ น ไพรชิ ล ๆ เรี ย นเทคนิ ค การ                        ทุ ก วั น นี้ กิ จ การดี ม าก สาวๆ   ไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายใดๆ เลย
    แต่งหน้า ทำผม หรือแม้แต่เลือกซื้อ               เข้ า กั น หั ว บั น ไดไม่ แ ห้ ง จนมี ผู้

    ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553
6   ปีที่ 16 ฉบับที
บอลลิวดก็โดนผีหลอก
      ู
          ไม่ ใ ช่ แ ค่ ฮ อลลิ วู ด เท่ า นั้ น     หนั ง ขึ้ น ไปบนอิ น เตอร์ เ น็ ต จะมี ขึ้ น
ที่ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ภั ย แผ่ น ผี ธุ ร กิ จ       ทุกๆ 5 นาที และมีการประมาณการ
ภาพยนตร์ อิ น เดี ย ที่ มี มู ล ค่ า สู ง ถึ ง      ว่ า ภารตะชนซื้ อ แผ่ น ผิ ด กฎหมาย                เป็ น ผลดี ต่ อ ตนเองไปด้ ว ย ใคร
2,300 ล้านเหรียญก็ต้องสูญเสียราย                    ประมาณปีละ 700 ล้านแผ่น สร้าง                      จะไม่ อ ยากได้ ต ลาดอิ น เดี ย ที่ มี
ได้ ไ ปไม่ น้ อ ยกั บ การลั ก ลอบดาวน์              รายได้ ใ ห้ กั บ ผู้ ผ ลิ ต แผ่ น ปลอมไป           ประชากร 1,000 ล้ า นคนที่ ชื่ น ชอบ
โหลดหรือปั๊มแผ่นเช่นกัน                             330 ล้านเหรียญชิลๆ                                 การดู ห นั ง เป็ น ชี วิ ต จิ ต ใจมากกว่ า ที่
          สถานการณ์ เ รื่ อ งการละเมิ ด                        ด้ า นฮอลลิ วู ด ก็ ดี ใ จที่ จ ะได้    ใดๆ ในโลก
ลิ ข สิ ท ธิ์ ใ นอิ น เดี ย แย่ ล งฮวบฮาบ           บอลลิ วู ด มาเป็ น พั น ธมิ ต รในการ                        แต่ ค งจะเป็ น งานหนั ก อยู่
เพราะความเร็ ว ในการเชื่ อ มต่ อ                    ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ล ะ เ มิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์     เหมือนกัน แม้ข่าวจะไม่ได้บอกว่าตั๋ว
อิ น เตอร์ เ น็ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่        ภาพยนตร์ โดยทั้งนี้ก็จะพยายามลืมๆ                  หนังที่อินเดียราคาเท่าไหร่ แต่ที่แน่ๆ
จำนวนครัวเรือนที่มีเครื่องเล่นดีวีดีก็              ไปว่ า ครั้ งหนึ่งเคยเคื อ งบอลลิ วูด อยู่         แผ่ น ผี ซึ่ ง ราคาประมาณ 2 เหรี ย ญ
เพิ่มจาก 4 ล้านครัวเรือน เป็น 45                    ไม่ น้ อ ยที่ ช อบก็ อ ปปี้ ห นั ง ดั ง ๆ ของ      (ประมาณ 65 บาท) ก็ ท ำให้ ค นไม่
ล้านครัวเรือนในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา                   ตนเองมาทำเป็นฉบับภารตะ เพราะ                       อยากเข้าโรงหนังสักเท่าไร
          ข่าวบอกว่าการอัพโหลดไฟล์                  ถ้าอินเดียสามารถปราบปรามได้ก็จะ                             คล้ายๆ ที่ประเทศไหนน้า....


                                                    เมืองปลาทีไม่มปลา

                                                              ่ ี
                                                    เพิ่ ม ขึ้ น เช่ น ข้ อ จำกั ด เรื่ อ งระยะเวลา    อาหารที่ ฟ ลอริ ด้ า นี้ เ ป็ น ปลานำเข้ า
                                                    ในการจั บ ปลา หรื อ ชนิ ด ของปลาที่                จากที่ อื่ น เช่ น แซลมอนจาก
                                                    อนุญาตให้จับได้                                    นอร์เวย์หรือสก็อตแลนด์ ทูน่าครีบ
                                                                ชาวประมงที่ นี่ เ คยชุ ม นุ ม          เหลื อ งและโลมาจากเอกวาดอร์
       อี ก ครั้ ง ที่ ผู้ บ ริ โ ภคต้ อ งเตื อ น   ประท้วงต่อต้านนโยบายเรื่องการจับ                   ป ล า เ ก๋ า จ า ก เ ม็ ก ซิ โ ก ห รื อ ไ ม่ ก็
ตนเองว่ า สิ่ ง ที่ เ ห็ น อาจไม่ เ ป็ น จริ ง      ปลามาแล้ ว เพราะไม่ ใ ช่ แ ค่ ห้ า มจั บ           เวียดนาม เป็นต้น
เสมอไป นักท่องเที่ยวมากมายที่ไป                     ปลาชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง แต่ เ ป็ น การ                      ทางร้ า นอาหารบอกว่ า ปลา
เยือนฟลอริด้าจะต้องไม่พลาดการสั่ง                   ห้ามจับปลาทุกชนิดในบริเวณที่ปลา                    ที่ไหนมันก็ปลาเหมือนกัน(ถ้างั้นกิน
อาหารทะเลมารับประทาน ไม่อย่าง                       ชนิดนั้นๆอาศัยอยู่ด้วย ปัจจุบันชาว                 ที่บ้านก็น่าจะได้หรือเปล่า) แต่ตาม
นั้นจะเหมือนไปไม่ถึง                                ประมงจำนวนไม่น้อยจึงเลิกอาชีพนี้                   ความเห็นของนักชีววิทยาทางทะเล
       แต่ ข ณะนี้ ช าวประมงในรั ฐ ที่              ไป และเรื อ ที่ ล อยอยู่ ใ นน่ า นน้ ำ             แล้ ว ปลาที่ เ ดิ น ทางไกลเหล่ า นี้ จ ะมี
เรียกตนเองว่า “เมืองหลวงแห่งการ                     ฟลอริ ด้ า นั้ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น พวกล่ อ ง       คุ ณ ภาพลดลง หนึ่ ง เพราะระยะ
ตกปลาของโลก” จับปลาได้น้อยลง                        เรื อ ตกปลาเล่ น ๆ มากกว่ า จะเป็ น                เวลาและสองกฎระเบียบที่ควบคุม
เพราะภาวะอากาศที่ ห นาวเย็ น ผิ ด                   ประมงตัวจริง                                       การจั บ ปลาในบางประเทศนั้ น ไม่
ปกติในบางช่วง รวมถึงกฎระเบียบที่                                สรุ ป ว่ า ปลาที่ เ สิ ร์ ฟ ในร้ า น   เข้มงวดเท่าที่ฟลอริด้าอีกด้วย


                                                                                                                                        ฉลาดซื้อ
                                                                                                                     ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553   7
ร่วมใช้รวมจ่าย
            ่                                                                                           หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ขึ้นมา
                                                                                                        อย่างตู้เย็นจะมีค่าจัดการเพิ่มขึ้นอีก
                                                                                                        เท่ า เป็ น 200 เหรี ย ญ แต่ ร าย
             เขตปกครองพิ เ ศษฮ่ อ งกง                                                                   ละเอียดนั้นเขายังเถียงกันไม่จบ เช่น
    ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส ำ เ ร็ จ ใ น ก า ร                                                              ค่ า ธรรมเนี ย มที่ ว่ า นั้ น จะถู ก ลงหรื อ
    เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค                                                                     ไม่ ถ้ า เราใช้ มั น นานขึ้ น และจะเก็ บ
    ให้ลดการใช้ถุงพลาสติกด้วยการเก็บ                                                                    ค่ า ธรรมเนี ย มเท่ า กั น หรื อ ไม่ ส ำหรั บ
    ภาษี ถุ ง พลาสติ ก ในราคาใบละ 50                 ไฟฟ้ า จะต้ อ งจ่ า ยค่ า ธรรมเนี ย มใน            เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ต่ า งขนาด ต่ า งกำลั ง
    เซ็นต์ (2 บาท) ไปเรียบร้อยแล้ว                   การรีไซเคิลเครื่องใช้ไฟฟ้าชิ้นนั้นใน               ไฟ
             ตอนนี้เขาจึงคิดจะเริ่มปฎิบัติ           วันที่เราไม่ต้องการมันอีกต่อไป                               ร้ อ ยละ 86 ของขยะอิ เ ล็ ก
    การขั้ น ต่ อ ไปในการสร้ า งจิ ต สำนึ ก                   เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ขนาดเล็ ก            ทรอนิกส์ในฮ่องกงนั้นเป็น โทรทัศน์
    ของการบริโภคอย่างรับผิดชอบ (ค่า                  อย่ า งโทรทั ศ น์ จ ะมี ค่ า จั ด การ 100          เครื่ อ งซั ก ผ้ า ตู้ เ ย็ น เครื่ อ งปรั บ
    ใช้จ่าย) ต่อไปผู้บริโภคที่ซื้อเครื่องใช้         เหรียญฮ่องกง (ประมาณ 420 บาท)                      อากาศ และคอมพิวเตอร์


    รวยเกินไป
หัวใจว้าวุน
                        ่
              ข่ า วดี ส ำหรั บ ประเทศที่ ยั ง ไม่   ก็แทบจะไม่เกิดประโยชน์อะไร โดย
    รวยทั้ ง หลาย งานวิ จั ย ที่ ตี พิ ม พ์ ใ น      ทั่วไปเมื่อประเทศร่ำรวยเกินภาวะอยู่
    วารสารอิ โ คโนมิ ก เจอร์ นั ล พบ                 ดี กิ น ดี การบริ โ ภคของคนในชาติ ก็
    ว่าความมั่งคั่งนั้นเป็นอันตรายต่อสุข             จะเปลี่ ย นเป็ น การซื้ อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า
    ภาวะของคนในชาติ                                  “สั ญ ลั ก ษณ์ ท างสถานภาพ” เช่ น
              อาจารย์ ด้ า นเศรษฐศาสตร์              เสื้ อ ผ้ า แบรนด์ เ นม เครื่ อ งประดั บ
    สองคน เคอร์ ทิ ส อี ตั น จาก                     ล้ ำ ค่ า หรื อ รถหรู มากกว่ า การซื้ อ
    มหาวิทยาลัยคาลการี และมูเคช เอ                   คุ ณ ค่ า การใช้ ส อยตามปกติ ข อง
    สวารานจากมหาวิ ท ยาลั ย บริ ติ ช                 สินค้านั้น                                         วิจัยของพวกเขาช่วยยืนยันว่าเวลาที่
    โคลัมเบีย เขาฟันธงว่าคนอังกฤษมี                              ทฤษฎี ก ารบริ โ ภคเพื่ อ ความ          ความมั่ ง คั่ ง โดยเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น นั้ น
    สุ ข ภาวะที่ แ ย่ ล งสื บ เนื่ อ งจากความ        โดดเด่ น บอกว่ า คนเราแสวงหา                       ประชากรจะมีเงินในกระเป๋ามากขึ้น
    อยากได้อยากมี และเขาคาดว่านโย                    “สถานภาพ” ผ่ า นทางการบริ โ ภค                     แต่ ไ ม่ ไ ด้ มี ค วามสุ ข มากขึ้ น ไปด้ ว ย
    บายรัดเข็มขัดที่รัฐบาลอังกฤษจะนำ                 แบบนี้ ซึ่งคุณค่านั้นไม่ใช่คุณค่าที่แท้            และเมื่อคนมุ่งแสวงหา “สัญลักษณ์
    มาใช้นั้นจะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้               จริงของสิ่งที่เราบริโภค หากแต่เป็น                 ทางสถานภาพ” ที่ ว่ า นี้ ก็ จ ะมี เ วลา
              อี ตั น และเอสวาราน เสนอ               เพราะมันทำให้คนที่บริโภคได้รู้สึกว่า               ใส่ใจกับเพื่อนบ้าน ชุมชนและสังคม
    แนวคิ ด ว่ า เมื่ อ ประเทศใดประเทศ               ตนเองแตกต่างจากคนอื่น                              น้ อ ยลง ส่ ง ผลให้ ภ าวะความอยู่ ดี มี
    หนึ่ ง มี ม าตรฐานการใช้ ชี วิ ต ของ                         ที่สำคัญคือคนเราจะแสวงหา               สุขร่วมกันลดลงไปโดยปริยาย
    ประชากรที่ดีในระดับหนึ่งแล้ว การ                 สิ น ค้ า ประเภทนี้ กั น มากขึ้ น เมื่ อ                     เฮ้อ รอดตัวไป ดีนะที่ยังไม่รวย
    สร้างความมั่งคั่งเพิ่มขึ้นให้ประชากร             เศรษฐกิจขยายตัว รวมๆ แล้วงาน


    ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553
8   ปีที่ 16 ฉบับที
เรื่องเด่น
                                                                           กองบรรณาธิการ




นังรถ(โดยสาร)กบใคร
  ่           ั
          ปลอดภัยทีสด
                   ่ ุ
ทุกปีคนไทยราว 12 ล้านคน จำเป็นต้องใช้รถโดยสารประจำทางระหว่างจังหวัด
ทุกชีวิตเหมือนแขวนไว้บนเส้นด้าย ทุกเที่ยวการเดินทางเหมือนกำลังเสี่ยงดวงว่า
จะรอดหรือจะเจ็บ-ตาย จากอุบัติเหตุรถโดยสารขนาดใหญ่ที่เกิดปีละ 3-4 พันครั้ง
                                                                              ฉลาดซื้อ
                                                            ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553   9
โอกาสรอด โอกาสตาย ใครกำหนด
            
            แต่ละปีมีรถโดยสารสาธารณะขนาดใหญ่ประสบอุบัติเหตุ
3-4
    พันครั้ง/ปี
โดย
1
ใน
3
เกิดกับรถโดยสารต่างจังหวัด
และ
2
ใน
3
    เกิดกับรถโดยสารใน
กทม.
            เหตุการณ์เกี่ยวกับอุบัติเหตุจากการโดยสารรถสาธารณะ
พบได้
    หลายรูปแบบ
เช่น
พนักงานขับรถอย่างประมาททำให้รถพลิกคว่ำ
    พนักงานไม่ชำนาญเส้นทาง
หรือ
สภาพของรถที่เก่าและไม่ได้มาตรฐาน
    ทำให้ผู้โดยสารมีภาวะเสี่ยงเพิ่มขึ้นเมื่อรถเกิดอุบัติเหตุ
อย่างเบาะหลุด
    ออกจากตัวรถ
โครงหลังคากดทับ
กระจกปิดทึบไม่สามารถหนีออกมา
    ได้กรณีไฟไหม้
ฯลฯ
ซึ่งในแต่ละครั้งแม้จะมีการระดมความคิดเพื่อหา
    มาตรการที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหา
แต่ก็ต้องพบกับอุปสรรคสำคัญหลาย
    ประการ






     ฉลาดซื้อ
10 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553
1.การให้ใบอนุญาตเป็นรายเส้นทาง ทำให้ไม่เกิด
การพัฒนาระบบขนส่งที่มีคุณภาพ
         ปัจจุบันหน่วยกำกับดูแลรถโดยสารสาธารณะ
      
(รถโดยสารประจำทาง)
คือ
คณะกรรมการควบคุมการ
ขนส่งทางบกกลาง
โดยมีกรมการขนส่งทางบกเป็น
ผู้ออกใบอนุญาตแก่ผู้ประกอบการ
โดยดูแลเรื่อง
เส้นทางที่รถโดยสารประจำทางให้บริการ
จำนวนรถ
       
ที่ให้บริการ
ความถี่ของการให้บริการและราคา
   
ค่าโดยสาร

         การให้ใบอนุญาตนั้นกรมการขนส่งทางบก
     
จะพิจารณาจากความต้องการของประชาชนในการ
เดินทางเส้นทางนั้นๆ
เป็นหลัก
โดยที่จะให้ใบอนุญาต
เป็นรายเส้นทาง
ใบอนุญาตมีอายุ
7
ปี
ถ้าผู้ประกอบ
การที่ได้รับใบอนุญาตสามารถประกอบการได้ตาม
ข้อกำหนดของกรมฯ
ตลอดช่วงเวลา
7
ปี
ก็สามารถ
ขอต่ออายุใบอนุญาตได้

         ลักษณะการให้ใบอนุญาตรายเส้นทาง
เป็นสิ่งที่
อาจจะไม่เหมาะสมในการพัฒนาระบบรถโดยสารให้มี
คุณภาพดีได้
เนื่องจากการเดินทางของประชาชนมี
ลักษณะซับซ้อน
ระบบรถโดยสารที่ดีควรต้องมีการ
พัฒนาในลักษณะโครงข่ายเพื่อให้ประชาชนได้ไปยัง
พื้นที่ต่างๆ
ได้ทั่วถึง
หมายถึงว่าอาจต้องมีการเดินทาง    2.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่เห็นความสำคัญของ
โดยรถโดยสารหลายต่อ(หลายเส้นทาง)
หากผู้                   การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ประกอบการได้รับใบอนุญาตในลักษณะโครงข่ายก็จะ                      นอกจากการให้ใบอนุญาตรายเส้นทางทำให้ขาด
สามารถพัฒนาคุณภาพในลักษณะการส่งต่อผู้โดยสาร              การวางแผนในเชิงโครงข่ายและทำให้บริการไม่พัฒนา
ให้ถึงที่หมายได้อย่างเป็นระบบ

                          แล้ว
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังขาดการสนับสนุนระบบ
         แต่เมื่อได้รับใบอนุญาตเป็นรายเส้นทาง

          ขนส่งสาธารณะ
เช่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้ประกอบการก็จะไม่พัฒนาคุณภาพการให้บริการ
              ไม่พยายามจัดหาหรือพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเช่น
นอกจากเพิ่มความถี่ของการวิ่งเพื่อให้ได้จำนวน             ทั้งทางเท้า
ป้ายหยุดรถโดยสาร
ไฟส่องสว่าง
ระบบ
ผู้โดยสารมากที่สุด
ส่วนผู้โดยสารต้องไปต่อรถอะไร          ความปลอดภัย
เพื่อจูงใจให้คนมาใช้บริการรถโดยสาร
ไปไหนก็ขึ้นอยู่กับการวางแผนของผู้โดยสารเอง

             สาธารณะเพิ่มขึ้น
         
                                                       


                                                                                                    ฉลาดซื้อ
                                                                                  ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553   11
4.การกำกับดูแลมาตรฐานและความปลอดภัย
                                                                                ยังไม่มีประสิทธิภาพ
                                                                                      ความปลอดภัยเป็นเรื่องสำคัญ
ถือเป็นส่วนหนึ่ง
                                                                              ของการให้บริการรถโดยสารสาธารณะที่ดี
แต่เนื่องจาก
                                                                              ระบบกำกับดูแลยังขาดความชัดเจน
ทำให้เวลาเกิด
                                                                              อุบัติเหตุ
ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียมหาศาลทั้งต่อชีวิต
                                                                              และทรัพย์สิน
เกณฑ์มาตรฐานและการบังคับใช้ต่างๆ
    3.รถร่วมบริการ ขาดแรงจูงใจในการพัฒนาระบบ จึงยังไม่สามารถทำได้อย่างทั่วถึง

    ความปลอดภัย                                                                       ส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากรูปแบบของการประกอบ
               ปัจจุบันผู้ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตใน                        กิจการรถโดยสารสาธารณะเป็นรูปแบบการให้บริการ
    แต่ละเส้นทางจากกรมการขนส่งทางบก
ส่วนใหญ่ไม่มี ของเอกชน
เป็นการประกอบการเชิงพาณิชย์
ผู้
    รถพอที่จะให้บริการได้เองทั้งหมด
ต้องหาเอกชนราย                            ประกอบการต้องอาศัยค่าโดยสารเป็นรายได้หลัก
แต่
    อื่นมาร่วมให้บริการ
ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ใน                            อัตราค่าโดยสารถูกควบคุมโดยภาครัฐ
ดังนั้นถ้า
    ภูมิภาคเป็นรถร่วมบริการมากกว่าร้อยละ
80

                                 เส้นทางที่ผู้ประกอบการให้บริการอยู่มีจำนวนผู้โดยสาร
               ข้อดีของการให้มีรถร่วมบริการคือ
ช่วยให้ผู้                     น้อย
การกวดขันเรื่องมาตรฐานความปลอดภัยก็ทำได้
    ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตมีรถโดยสารให้บริการ                             อย่างยากลำบาก
เพราะผู้ประกอบการไม่มีทั้งศักยภาพ
    อย่างเพียงพอ
แต่ในปัจจุบันปัญหาด้านความปลอดภัย และแรงจูงใจเพียงพอที่จะลงทุนในการพัฒนาอุปกรณ์
    และคุณภาพการให้บริการมาจากรถร่วมบริการนั่นเอง

 ต่างๆ
เช่น
การจัดหารถโดยสารที่ได้มาตรฐานมาให้
               ในด้านความปลอดภัย
รถร่วมบริการมีทุน
                           บริการ
การติดตั้งเข็มขัดนิรภัย
การจ้างพนักงานขับรถ
    ในการประกอบการน้อย
ทำให้เมื่อเกิดอุบัติเหตุ
                              ที่ชำนาญเส้นทางและเพียงพอต่อการให้บริการ
เป็นต้น
    ผู้ประกอบการรถร่วมไม่สามารถรับภาระค่าเสียหายที่                                   อย่างไรก็ดีแนวโน้มของคนที่ใช้บริการรถ
    เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุได้
ครั้นผู้เสียหายจะไปฟ้องร้อง                      โดยสารสาธารณะกลับมีจำนวนที่ลดลง
ส่วนหนึ่ง
    เอากับผู้ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตก็เป็นเรื่องยาก เนื่องจากเส้นทางคมนาคมที่สะดวกสบายขึ้น
ประชาชน
    และกินเวลานาน
                                                            มีรถยนต์ส่วนบุคคลมากขึ้น
รวมทั้งความไม่มั่นใจใน
               ในส่วนของคุณภาพ
ผู้ประกอบการรายย่อย                            คุณภาพการให้บริการของรถโดยสารสาธารณะใน
    ที่มาร่วมให้บริการอาจมีรถเพียงหนึ่งหรือสองคัน
                            ปัจจุบัน
ดังนั้นการจะพัฒนาให้ระบบรถโดยสาร
    ในขณะที่เส้นทางนั้นมีรถให้บริการอยู่หลายคัน
                              สาธารณะได้มาตรฐานและปลอดภัยต่อประชาชน
    ผู้ประกอบการรถร่วมมักไม่ค่อยคำนึงถึงคุณภาพการ                             จำนวนกว่า
12
ล้านคน
จำเป็นต้องปฏิรูประบบการ
    ให้บริการของตัวเอง
เพราะทุนต่ำอีกทั้งการพัฒนารถ                           ขนส่งสาธารณะทั้งระบบ

    ของตัวเองอาจไม่เกิดประโยชน์แก่รายได้ของตัวเอง
                                    
    เนื่องจากผู้โดยสารอาจเลือกขึ้นรถคันอื่นที่วิ่งอยู่ใน
    เส้นทางเดียวกัน

               
    ข้อมูล : เอกสารประกอบการเสวนา “ความปลอดภัยและมาตรฐานรถโดยสารสาธารณะช่วงเทศกาลสงกรานต์” วันอังคารที่ 30 มีนาคม 2553 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ
    เรื่อง ความปลอดภัยและคุณภาพการให้บริการของรถโดยสารประจำทาง ความสำคัญของนโยบายและการกำกับดูแล โดย ดร.สุเมธ องกิตติกุล

     ฉลาดซื้อ
12 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553
สาเหตุหลักของอุบัติเหตุรถโดยสารขนาดใหญ่ ปี พ.ศ.2545-2549
80
70
                                              ขับเร็วเกินอัตรากำหนด
60                                            ตัดหน้าระยะกระชันชิด
                                                                ้
                                              อุปกรณ์รถชำรุดบกพร่อง
50
                                              หลับใน
40                                            แซงอย่างผิดกฎหมาย
                                              เมาสุรา
30                                            อืนๆ
                                                ่
20
10
 0
      ร้อยละ
71
ขับเร็วเกินอัตรากำหนด
      ร้อยละ
9
ตัดหน้าระยะกระชั้นชิด
      ร้อยละ
3
อุปกรณ์รถชำรุดบกพร่อง
                       เมื่อเกิดอุบัติเหตุ 1 ครั้ง
      ร้อยละ
3
หลับใน
                                     - มีผู้เสียชีวิต 0.42 ราย
      ร้อยละ
3
แซงอย่างผิดกฎหมาย
                          - บาดเจ็บสาหัส 0.90 ราย
      ร้อยละ
1
เมาสุรา
                                    - บาดเจ็บเล็กน้อย 2.69 ราย
      ร้อยละ
10
อื่น
ๆ

                                   มูลค่าความสูญเสีย 2,300,000.00 บาท/ครั้ง
      ที่มา สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง               จำนวนอุบัติเหตุปีละ 3,500 – 4,000 ครั้ง
                                                           คิดเป็นค่าเสียหายปีละ 8,000 – 9,000 ล้าน
                                                           บาท
ประเภทใบอนุญาตประกอบการขนส่งผู้โดยสารประจำ
ทางในเส้นทางการเดินรถ                                      ที่มา สำนักอำนวยความปลอดภัย
       หมวด
1
เป็นเส้นทางการขนส่งประจำทางด้วยรถ            กรมทางหลวง 2007
โดยสารภายในเขตกรุงเทพมหานคร
เทศบาล
เมือง
และ
เส้นทางต่อเนื่องภายในจังหวัด
       หมวด
2
เป็นเส้นทางเดินรถโดยสารที่มีจุดเริ่มต้น
จากกรุงเทพฯ
ไปยังส่วนภูมิภาค

       หมวด
3
เป็นเส้นทางเดินรถระหว่างจังหวัด
หรือ
คาบเกี่ยวระหว่างจังหวัดในภูมิภาค

       หมวด
4
เป็นเส้นทางเดินรถระหว่างอำเภอ
หมู่บ้าน
หรือเขตชุมชนภายในจังหวัด
       
                                                                                                  ฉลาดซื้อ
                                                                                ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553   13
ผลสำรวจคุณภาพการบริการ
    รถโดยสารประจำทางระหว่างจังหวัด (ปรับอากาศ)
             
        โชคชะตากำหนด?
               เพราะเราเชื่อว่า
อุบัติเหตุป้องกันได้

ไม่ใช่เรื่องของ   เกณฑ์การสำรวจ
        โชคชะตาหรือฟ้าลิขิต
แต่ในท่ามกลางสถานการณ์ระบบ                          โครงการฯ
ได้เลือกสำรวจรถ
        ขนส่งสาธารณะที่ยังไม่ได้ปฏิรูปให้เกิดมาตรฐานและความ             โดยสารประจำทางปรับอากาศในกลุ่ม
        ปลอดภัยแก่ประชาชน
โครงการส่งเสริมสนับสนุนสิทธิผู้ใช้            มาตรฐาน
1
(ข)
และรถกลุ่มมาตรฐาน
        บริการรถโดยสารสาธารณะ
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
จึงทดลอง            4
(ข)
หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า
รถ
        สำรวจคุณภาพงานบริการของรถโดยสารประจำทางระหว่าง                  โดยสารปรับอากาศ
ชั้น
1/
ป
1
(รถ
        จังหวัด
ในเส้นทางเดินรถ
3
ภาค
คือ
ภาคเหนือ
ภาค                  ชั้นเดียวและรถสองชั้น)
เดินทางจาก
        ตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคใต้
เพื่อนำเสนอข้อมูล
“ทาง             กรุงเทพฯ
ไปยังต่างจังหวัด
เนื่องจาก
        เลือก”
ให้แก่ผู้บริโภคที่ต้องใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ

         เป็นกลุ่มรถโดยสารที่มีผู้นิยมใช้
                                                                        บริการจำนวนมากและมีจำนวนที่ให้
             
                                                          บริการรวมกันถึง
3,000
กว่าคัน
    เงื่อนไขในการสำรวจ
    (เริ่มสำรวจ 5 ก.พ. – 27 มี.ค. 2553)
                                                        เงื่อนไขการให้คะแนนการให้บริการของผู้ประกอบรถ
             1.
เป็นรถโดยสารประจำทางระหว่าง
                                                   โดยสารประจำทาง
    จังหวัด
หมวด
2
วิ่งบริการระหว่าง
กรุงเทพฯ-
    ต่างจังหวัด
ในภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียง         ด้านความปลอดภัย
 8 เงื่อนไขๆ ละ 3 รวม 24 คะแนน
    เหนือ
และภาคใต้
                                                       คะแนน               (50%)
             2.
เป็นรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ        ด้านการให้ข้อมูล 13 เงื่อนไขๆ ละ 1 รวม 13 คะแนน
    ในกลุ่มมาตรฐาน
1
(ข)
และรถกลุ่มมาตรฐาน
              ข่าวสาร

         คะแนน                (27%)
    4
(ข)
                                           ด้านความสะดวก 11 เงื่อนไขๆ ละ 1 รวม 11 คะแนน
             3.
เป็นรถโดยสารประจำทางในเส้นทาง             สบาย
            คะแนน                (23%)
    ที่ใช้เวลาในการเดินทางมากกว่า
4
ชั่วโมงขึ้นไป
         รวม
                           รวม 48 คะแนน
             4.
ให้อาสาสมัครขึ้นใช้บริการบนรถ                                                  (100%)
    โดยสารประจำทางตลอดเส้นทางทุกบริษัทที่ให้                                       ดีมาก
    บริการรถโดยสารภายใต้เงื่อนไขตามข้อ
1-3
                                        ดี
    บริษัทละ
2
เที่ยว
โดยเลือกสุ่มสำรวจใน                                          พอใช้
    เส้นทางจังหวัดปลายทางที่มีจำนวนประชากร                                         ค่อนข้างแย่
    มากเป็นสำคัญ
                                                                  แย่
             
     ฉลาดซื้อ
14 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553
สิ่งที่พบจากการสำรวจ

         การให้ข้อมูลข่าวสาร แก่ผู้โดยสาร
         จากการสำรวจพบว่า
         96.9
%
 ไม่ระบุเวลาถึงจุดหมายปลายทางบนตั๋ว
         94.6
%
 ไม่ได้รับการแจ้งชื่อ
เบอร์โทรศัพท์ติดต่อของบริษัท
                 ประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง
         96.9%
 ไม่มีการแจ้งเบอร์โทรอัตโนมัติในการร้องเรียน
 
                 (1584)
ของกรมการขนส่งทางบกบนตั๋ว
         54.6
%
 ไม่พบป้ายแจ้งชื่อพนักงานขับรถบนรถโดยสาร


                                                          มาตรฐานความปลอดภัย
  ความสะดวก สบายในการใช้บริการ                            จากการสำรวจพบว่า
  จากการสำรวจพบว่า                                        69.5%
 ที่นั่งผู้โดยสารไม่มีเข็มขัดนิรภัย
  60
%
 สัมภาระที่ฝากไว้ในห้องเก็บสัมภาระ(ใต้ท้อง         50.4%
 เมื่อรถวิ่งไปได้
4
ชั่วโมง
ไม่มีการ
          รถ)
ไม่มีป้ายแสดงความเป็นเจ้าของ
                      เปลี่ยนพนักงานขับรถหรือให้
  44.1
%
 รถโดยสารถึงช้ากว่ากำหนดมากกว่า
15
นาที
                พนักงานขับรถพัก
30
นาทีก่อนขับ
  43.4
%
 ห้องสุขาไม่สะอาด
มีกลิ่นและสภาพไม่เหมาะ                ต่อไป
          กับการใช้งาน
                                   40%
 ไม่มีค้อนสำหรับทุบกระจกภายใน
                                                                 ห้องโดยสาร
                                                          35.4%
 ไม่มีถังดับเพลิงในห้องโดยสาร




                                                                                                  ฉลาดซื้อ
                                                                                ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553   15
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110
S mbuyer 110

Contenu connexe

Similaire à S mbuyer 110

51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3 บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3 Kasidit Pathomkul
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเมmaykai
 
Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiDrDanai Thienphut
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าSoraj Hongladarom
 
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553guest39c8e4a2
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอJp Eternally
 

Similaire à S mbuyer 110 (20)

S mbuyer 111
S mbuyer 111S mbuyer 111
S mbuyer 111
 
S mbuyer 102
S mbuyer 102S mbuyer 102
S mbuyer 102
 
S mbuyer 100
S mbuyer 100S mbuyer 100
S mbuyer 100
 
S mbuyer 103
S mbuyer 103S mbuyer 103
S mbuyer 103
 
S mbuyer 123
S mbuyer 123S mbuyer 123
S mbuyer 123
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
S mbuyer 126
S mbuyer 126S mbuyer 126
S mbuyer 126
 
บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3 บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3
 
S mbuyer 127
S mbuyer 127S mbuyer 127
S mbuyer 127
 
S mbuyer 121
S mbuyer 121S mbuyer 121
S mbuyer 121
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเม
 
S mbuyer 105
S mbuyer 105S mbuyer 105
S mbuyer 105
 
S mbuyer 116
S mbuyer 116S mbuyer 116
S mbuyer 116
 
Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu Chi
 
S mbuyer 118
S mbuyer 118S mbuyer 118
S mbuyer 118
 
S mbuyer 125
S mbuyer 125S mbuyer 125
S mbuyer 125
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 

Plus de Apichat kon

Plus de Apichat kon (11)

S mbuyer_128
S mbuyer_128S mbuyer_128
S mbuyer_128
 
S mbuyer 122
S mbuyer 122S mbuyer 122
S mbuyer 122
 
S mbuyer 124
S mbuyer 124S mbuyer 124
S mbuyer 124
 
S mbuyer 119
S mbuyer 119S mbuyer 119
S mbuyer 119
 
S mbuyer 117
S mbuyer 117S mbuyer 117
S mbuyer 117
 
Smbuyer 120
Smbuyer 120Smbuyer 120
Smbuyer 120
 
S mbuyer 115
S mbuyer 115S mbuyer 115
S mbuyer 115
 
S mbuyer 99
S mbuyer 99S mbuyer 99
S mbuyer 99
 
S mbuyer 98
S mbuyer 98S mbuyer 98
S mbuyer 98
 
S mbuyer 97
S mbuyer 97S mbuyer 97
S mbuyer 97
 
S mbuyer 96
S mbuyer 96S mbuyer 96
S mbuyer 96
 

S mbuyer 110

  • 1.
  • 2. สารบัญ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 www.consumerthai.org 9 20 25 33 เรื่องเด่น อาหารและสุขภาพ 9 นั่งรถ (โดยสาร) กับใคร ปลอดภัยที่สุด 47 บทความพิเศษ ความเคลื่อนไหว “คนไข้ไทย..กับทางตัน” 3 กระแสในประเทศ 49 ของฝากจากอินเตอร์เน็ต 6 กระแสต่างแดน “กินดอกไม้ต้านมะเร็ง” 64 สารพันปัญหาโทรคมนาคม 52 สวยอย่างฉลาด “มือถือกับคนไทย” “วิธีใช้ครีมเปลี่ยนสีผม” 54 ช่วง ฉลาด ช้อป ทดสอบ “แอร์ฆ่าเชื้อโรค จำเป็นแค่ไหน” 20 ชาโบราณยี่ห้อไหนใส่สีมากเกินไป 57 เรื่องเล่าเฝ้าระวัง 25 “สารกันบูด” สูตรอร่อยเสี่ยงในลูกชิ้น “ครูจ๋า อย่าประมาท (2)” 30 เลือกรองพื้นมิเนอรัลยี่ห้อไหนดี 68 เรื่องเรียงเคียงจาน สัมภาษณ์ “ข้าว-ถั่ว-งา มากับกุยช่าย” 33 ทุกคนมีสิทธิ หน้าต่างผู้บริโภค “เกือบตาย เพราะถุงลมนิรภัยไม่ทำงาน” 58 คุยกับคน เสียงผู้บริโภค “The Power of Half” (ตอนที่ 1) 39 • กลวิธีตุ๋นเงินทางโทรศัพท์ 61 Connecting • แพ้ผลิตภัณฑ์ของยูนิซิตี้ “ศาสตร์แห่งการกิน(ตอน 2)” • ชอบทีวีซัมซุง ถึงเสียก็ไม่อยากเปลี่ยนใจ 65 มีอะไรใน โคด-สะ-นา • สื่อวันนี้อิสระจริงหรือ? “ความทรงจำสั้น แต่หนี้ฉันยาว” กฎหมาย Game 46 รู้กฎหมายกับทนายอาสา 72 ปัญหาสร้างปัญญา “สิทธิบอกเลิกสัญญาของผู้เช่าซื้อและผู้ให้เช่าซื้อ”
  • 3. บทบรรณาธิการ สารี อ๋องสมหวัง saree@consumerthai.org ก้าวให้พ้นความขัดแย้ง และผลประโยชน์ทางการเมือง ประเทศไทยมีความขัดแย้งทางการเมืองมากกว่า คุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระยังไม่เกิด ปัญหาการ ที่คิด เพราะไม่ว่าใครจะพูดจะเสนออะไรก็จะถูกจับเข้า ทุจริตคอรัปชั่นทางนโยบายที่เข้มข้นในอดีตของรัฐบาล พวกทั้งฝ่ายตัวเองและอีกฝ่ายโดยไม่สนใจเนื้อหาสาระ ทักษิณ ปัญหาคอรัปชั่นในปัจจุบัน ปัญหาการบุกรุกที่ ข้อเท็จจริงที่กำลังคุยกัน หรือต่างอ้างข้อเท็จจริงที่เป็น สาธารณะของนายทุน การเอื้อประโยชน์ให้กับเอกชน ของตนเอง และทำให้รัฐเสียหายมากมายและเป็นภาระผู้บริโภค เครือข่ายผู้บริโภค เครือข่ายผู้ติดเชื้อ และ โอกาสของคนจนในทางเศรษฐกิจ การเข้าถึงและการ เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ ได้มีโอกาสเรียกร้อง จัดการทรัพยากรธรรมชาติ การแทรกแซงสื่อ ปัญหา ร่วมกันให้กระทรวงสาธารณสุข ปรับปรุงร่างกฎหมาย หลายมาตรฐานแม้แต่เรื่องพื้นฐานของประชาชน เช่น คุ้มครองผู้เสียหายทางการแพทย์ ให้มีหน่วยงานที่ การรักษาพยาบาล ต่างเป็นเรื่องจริงทั้งสิ้น เป็นต้น รับผิดชอบกฎหมายฉบับเป็นหน่วยงานที่เป็นอิสระจา แต่เป็นปัญหาที่หยั่งรากลึก และประชาชนที่เป็น กระทรวงสาธารณสุข เพราะกระทรวงสาธารณสุขมี เพียงหมากทางการเมืองอย่างเราต้องอดทนและร่วมมือ โรงพยาบาลในสังกัดของตนเองเกือบพันแห่ง วันที่ กันแก้และหาทางออกจากสิ่งเหล่านี้ และอาจจะไม่ได้มา รณรงค์ร่วมกัน ได้มีผู้ร่วมกิจกรรมต่างดึงมือตบและ จากคำตอบของความขัดแย้งทางการเมืองที่ยังดำรงอยู่ ตีนตบออกมาจากระเป๋าของตนเอง ในปัจจุบัน เพราะเป็นเพียงวาทะกรรมและการช่วงชิง สะท้อนความร่วมมือของประชาชนที่พร้อมจะ ผลประโยชน์การนำในทางการเมือง และเพื่อผล ดำเนินการร่วมกันเมื่อเป็นปัญหาของประชาชน เราต่าง ประโยชน์ทางการเมืองล้วนๆ ดังนั้นผู้บริโภคต้อง เชื่อว่า ปัญหาของประชาชนที่แท้จริงไม่มีความขัดแย้ง เชื่อมั่นในพลังของตนเองที่จะร่วมกันอย่างเข้มแข็งใน ไม่มีแบ่งฝ่าย แต่รอการแก้ไขปัญหา เพราะขณะที่ การปฏิรูประบบและกลไกทางการเมือง ระบบภาษี กรุงเทพฯ กำลังเลือดตกยางออก จังหวัดบุรีรัมย์ ระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ระบบสวัสดิการทาง ก็ปรากฏข่าวชาวบ้านประท้วงการสร้างถนนผ่านที่ทำกิน สังคม ระบบการศึกษา ระบบสุขภาพ เป็นต้น ปัญหามาบตาพุดยังไม่มีทางออก องค์การเพื่อการ เจ้าของ : มูลนิธเิ พือผูบริโภค 4/2 ซอยวัฒนโยธิน แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2248-3734-7 ่  โทรสาร : 0-2248-3733 บรรณาธิการผูพมพผโฆษณา : สารี อองสมหวัง คณะทีปรึกษา : พระไพศาล วิสาโล อาจารยจรัญ ภักดีธนากุล ้ ิ ู้ ่ ผศ.ภญ.สำลี ใจดี นพ.ประพจน เภตรากาศ นพ.สุวทย วิบลผลประเสริฐ รศ.ดร.จันทรเพ็ญ วิวฒน รศ.ดร.ภญ.จิราพร ลิมปานานนท ิ ุ ั ้ นพ.ชูชย ศุภวงศ รศ.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ รศ.นพ.อดิศกดิ์ ผลิตผลการพิมพ ทีปรึกษากฎหมาย : ชัยรัตน แสงอรุณ บรรณาธิการบริหาร : ั ั ่ สารี อองสมหวัง หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ทัศนีย แนนอุดร กองบรรณาธิการ : รศ.ดร.แกว กังสดาลอำไพ นพ.ประวิทย ลีสถาพรวงศา ่ สุวรรณา จิตประภัสสร อิฐบูรณ อนวงษา สุมาลี พะสิม ชนิษฎา วิรยะประสาท ศศิวรรณ ปริญญาตร สมนึก งามละมัย ฝ่ายการตลาดและ ิ สมาชิก : เสาวลักษณ ปอเจริญ เตือนใจ รอดสกุล ศิลปกรรม : สราวุธ ลอยศักดิ์ พิมพ : บริษท พิมพดี จำกัด โทรศัพท : 0-2803-2694-7 ั แยกสี/เพลต : หจก.เลย โปรเซส โทรศัพท : 0-2433-5433, 0-2803-0360-1
  • 4. จดหมายถึง บก. สารทดแทนน้ำตาล สวัสดีค่ะ เป็นสมาชิกฉลาดซื้อค่ะ คืออยากให้ฉลาดซื้อ ลงเนื้อหาเกี่ยวกับ การ บริโภคสารให้ความหวานแทนน้ำตาล ว่าดีจริงหรือไม่ แต่ไม่รู้จะติดต่อกับใคร ช่องทาง ไหน ฝากบอกให้ด้วยนะคะ chumarphorn.hu@rd.go.th จะจัดหาข้อมูลให้ตามที่ขอมาค่ะ ฉลาดซื้อได้เปิดคอลัมน์พิเศษ “จัดไป” ไว้ สำหรับเป็นทางด่วนเพื่อผู้บริโภคที่ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งฉบับที่ ผ่านมาก็นำเสนอเรื่องมะรุมไป แต่ไม่อยากให้ข้อมูลที่นำเสนอฉาบฉวยเกินไป จึงต้อง รอคิวท่านผู้เชี่ยวชาญสักนิดนึง โลตัส ติดป้ายผิดอีกแล้ว ดิฉันเป็นสมาชิกวารสารฉลาดซื้อ มีเรื่องอยากแจ้งให้มูลนิธิฯ ทราบ เพื่อเป็น ประโยชน์แก่สมาชิกท่านอื่นๆ วันนี้ไปซื้อของที่เทสโกโลตัส ซื้อสมุดฉีกมา 6 เล่มด้านหลัง เขียนราคาเล่มละ 10 บาท แต่ป้ายที่ชั้นแจ้งว่าเล่มละ 12 บาท เวลาคิดเงินก็เล่มละ 12 บาท ดิฉันคิดว่าทางห้างทำไม่ถูกต้อง ขายเกินราคาตั้ง 20 % ถึงแม้ว่าจะเป็นเงินเพียง 2 บาทก็ตาม จึงอยากให้ทางมูลนิธิฯ ช่วยเผยแพร่พฤติกรรมแบบนี้ให้คนอื่นๆ รู้ จะได้ระวัง ที่ดิฉันไม่ไปโวยวายกับทางห้าง เพราะรู้ว่าเรื่องจะจบอยู่แค่พนักงานระดับล่างกับคำพูดที่ ว่า ติดป้ายราคาผิด จึงแจ้งมาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อไป ลีนา ได้รับจดหมายฉบับนี้นานแล้ว ตอนแรกตั้งใจว่าจะลงในฉลาดซื้อตั้งแต่ได้รับ พอ มาคิดว่าอาจทำได้แค่เพียง “ประจาน” พฤติกรรม ซึ่งคงไม่ได้แก้ปัญหาเท่าไร จึงนำเสนอ ให้ทางศูนย์พิทักษ์สิทธิช่วยดำเนินการ อย่างน้อยเราก็อยากทราบนโยบายของทางห้างค้า ปลีกแห่งนี้ว่าจะมีแนวทางในการจัดการแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างไร หลังจากได้ทำจดหมาย ร้องเรียนไปยัง บ.เทสโก และผ่านไปราว 1 เดือนตอนนี้ก็ยังไม่ได้รับคำตอบจากทาง เทสโกแต่อย่างใด ทางศูนย์ฯ กำลังติดตามเรื่องอยู่ค่ะ ขอนำจดหมายมาลงก่อนเพื่อให้ คุณลีนาสบายใจว่าเราไม่ได้ทิ้งปัญหาของคุณไป ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553 2 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 5. กระแสในประเทศ กองบรรณาธิการ ประมวลเหตุการณ์เดือนมีนาคม 2553 16 มีนาคม 2553 ตรวจสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ บ ริ ษั ท ใช้ เติ บ โตได้ ดี ต ามภาวะเศรษฐกิ จ ที่ “กำจัดปลวก” ต้องเลือกดีๆ โ ด ย ฉ ล า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะ ต้ อ ง มี ปรับตัวดีขึ้น ซึ่งหากไม่มีการขยาย อย. เผยข้ อ มู ล ว่ า ปั จ จุ บั น มี ข้อความแสดงรายละเอียดที่ชัดเจน เวลามาตรการดังกล่าว จะส่งผลให้ บริ ษั ท รั บ จ้ า งกำจั ด ปลวกตามบ้ า น ไม่ว่าจะเป็น ชื่อทางเคมี อัตราส่วน ภาษีธุรกิจเฉพาะกลับไปสู่อัตราเดิม และสถานที่ ต่ า งๆ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ข อขึ้ น ที่ใช้ และเลขทะเบียนวัตถุอันตราย ที่ 3.3% จาก 0.11% และค่าโอน ทะเบี ย นอยู่ ห ลายบริ ษั ท ซึ่ ง ตาม ที่ใช้ในทางสาธารณสุข เป็น 2% จาก 0.01%” พระราชบั ญ ญั ติ วั ต ถุ อั น ตราย พ.ศ. 2535 กำหนดให้ การผลิต การนำ 23 มีนาคม 2553 26 มีนาคม 2553 เข้ า การส่ ง ออก หรื อ การมี ไ ว้ ใ น ต่ออายุมาตรการภาษีเพื่อคนซื้อ สมุนไพร “จิ่วเจิ้งปู่เซินเจียวหนัง” ครอบครอง ต้องขออนุญาต บ้านอีก 2 เดือน โฆษณาเกินจริง จ า ก ส ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) อย.จั ด การลงดาบกั บ ยา กรรมการอาหารและ อนุมัติให้ขยายเวลาการใช้มาตรการ สมุ น ไพร “จิ่ ว เจิ้ ง ปู่ เ ซิ น เจี ย วหนั ง ” ยา (อย.) ก่อน โดย ท า ง ภ า ษี เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น ธุ ร กิ จ หลั ง มี ก ารตรวจสอบและร้ อ งเรี ย น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ำ จั ด อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ ง ครบกำหนดลง จากผู้ บ ริ โ ภคว่ า ซื้ อ ไปทานแล้ ว ไม่ ป ล ว ก ถื อ ว่ า เ ป็ น ในวันที่ 28 มีนาคม 2553 ออกไป สามารถรักษาโรคได้ตามที่อวดอ้าง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นกลุ่ ม อีก 2 เดือน เพราะห่วงจะเกิดผล ซึ่งมีสิทธิ์ถูกดำเนินคดีทางกฎหมาย วัตถุอันตราย นอกจากนี้ กระทบกั บ ประชาชนที่ จ องซื้ อ บ้ า น พร้ อ มทั้ ง ถู ก เพิ ก ถอนทะเบี ย น เจ้ า ของบริ ษั ท กำจั ด ปลวกที่ ไ ด้ ไม่ ส ามารถโอนได้ ทั น กำหนด ซึ่ ง ตำรับยา รั บ อนุ ญ าตต้ อ งจั ด ให้ มี ผู้ ค วบคุ ม พบว่ามีผู้บริโภคกว่า 1 หมื่นรายได้ อย.ได้รับเรื่องร้องเรียนจาก การใช้วัตถุอันตรายโดยเฉพาะ ซึ่ง รั บ ความเสี ย หายหากประกาศ ผู้บริโภคจำนวนมากว่าให้ช่วยตรวจ ต้ อ งมี ป ระสบการณ์ ห รื อ ผ่ า นการ ยกเลิกมาตรการนี้ ส อ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ย า ส มุ น ไ พ ร อบรมและทดสอบความรู้ ต ามที่ “ อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ จ ะ ยั ง “จิ่วเจิ้งปู่เซินเจียวหนัง” หลังจากซื้อ อย.กำหนด รับประทานเพราะเชื่อในสรรพคุณที่ สำหรับผู้บริโภคที่ต้องการใช้ อวดอ้างว่ารักษาโรคได้สารพัด ทั้ง บริการกำจัดปลวก ควรตรวจสอบ ฟื้นฟูตับไต รักษาเบาหวาน ความ เอกสารการได้รับอนุญาตจาก อย. ดั น โรคเกาต์ รู ม าตอยด์ ต่ อ ม เ อ ก ส า ร ร า ย ล ะ เ อี ย ด ส า ร เ ค มี ลู ก หมากอั ก เสบ บำรุ ง เลื อ ด รวม อันตรายที่ใช้ เช่น คำเตือน อาการ ทั้งเสริมสมรรถภาพทางเพศ ซึ่งถูก เกิ ด พิ ษ วิ ธี แ ก้ พิ ษ และเอกสาร นำไปเผยแพร่ ทั้ ง ทาง เคเบิ้ ล ที วี แนะนำความปลอดภั ย รวมทั้ ง เว็ บ ไซต์ นิ ต ยสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์ ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 3
  • 6. 31 มีนาคม 2553 เกษตรและ “บาร์โค้ดอัจฉริยะ” อาหารแห่งชาติ (มกอช) กล่าว กระทรวงเกษตรและ ถึงโครงการนี้ว่า บาร์โค้ดแบบใหม่ สหกรณ์ โดยสำนั ก งานมาตรฐาน นี้ จ ะไม่ แ สดงเพี ย งแค่ ร าคาสิ น ค้ า สิ น ค้ า เกษตรและอาหารแห่ ง ชาติ เท่ า นั้ น แต่ จ ะแสดงข้ อ มู ล ผู้ ผ ลิ ต ร่วมกับบริษัท กสท. โทรคมนาคม สินค้า ซึ่งจะปรากฏบนหน้าจอของ จำกั ด (มหาชน) พั ฒ นาโครงการ เครื่ อ งอ่ า นบาร์ โ ค้ ด ผู้ บ ริ โ ภคก็ นำร่ อ งการใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การ สามารถรู้ ไ ด้ ว่ า ผั ก ถุ ง นี้ ใ ครปลู ก ตรวจสอบย้ อ นกลั บ แหล่ ง ผลิ ต ปลูกในแปลงไหน เก็บเกี่ยวอย่างไร โดยเฉพาะในเคเบิ ล ที วี ไ ด้ มี ก ารนำ สิ น ค้ า เกษตรและอาหาร จากรหั ส คาดว่าไม่เกิน 1 ก.พ. 2554 ตั ว อ ย่ า ง ผู้ ป่ ว ย ที่ ไ ด้ ท า น สิ น ค้ า มาตรฐานสากลเพื่อประโยชน์ต่อผู้ ก็จะเริ่มเห็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้บาร์โค้ด ดั ง กล่ า วแล้ ว อาการดี ขึ้ น มาพู ด ใน บริ โ ภค ผู้ ส่ ง ออก และเกษตรกร ตามโครงการนี้ ว างจำหน่ า ยใน เชิงอวดอ้างสรรพคุณสินค้า ซึ่งทาง ไทย โดยจะทำให้ “บาร์โค้ด” ที่ติด ท้ อ งตลาดทั้ ง ในและต่ า งประเทศ อย.ได้ชี้แจงว่า ยาสมุนไพร “จิ่วเจิ้ง อยู่บนสินค้าเกษตรและอาหารบอก ซึ่ ง ค ว า ม นิ ย ม ใ น สิ น ค้ า เ ก ษ ต ร ปู่เซินเจียวหนัง” ได้ขึ้นทะเบียนกับ ได้ ม ากกว่ า ราคาสิ น ค้ า สามารถ อินทรีย์ ผักปลอดสารพิษ ถือเป็น ทางอย.ว่ามีสรรพคุณบำรุงร่างกาย บอกรายละเอี ย ดลงไปได้ ลึ ก ถึ ง แรงกระตุ้นสำคัญที่ทำให้เกษตรกร เท่านั้น ส่วนคำโฆษณาโอ้อวดเรื่อง แหล่งผลิต เห็ น ว่ า การยิ น ดี เ ปิ ด เผยถึ ง การใช้ การรั ก ษาโรคต่ า งๆ นั้ น ยั ง มี ก าร “นิวัติ สุธีมีชัยกุล” ผู้อำนวย สารเคมี ห รื อ วิ ธี ก ารผลิ ต ช่ ว ยเพิ่ ม ศึกษาหรือข้อมูลใดๆ รับรองได้ การสำนั ก งานมาตรฐานสิ น ค้ า มูลค่าให้กับสินค้าของตัวเอง ผูบริโภคค้าน พ.ร.บ.จัดสรรคลืนความถีฯ เหตุยตบทบาท สบท. ้ ่ ่ ุ ิ มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู้ บ ริ โ ภ ค เครื อ ข่ า ยองค์ ก รผู้ บ ริ โ ภคกว่ า 30 จังหวัด และสมาคมคนตาบอดแห่ง ประเทศไทย ยื่ น จดหมายคั ด ค้ า น (ร่าง) พ.ร.บ. องค์ ก รจัด สรรคลื่น ความถี่ แ ละกำกั บ ประกอบกิ จ การ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ...... ให้แก่นายสมชาย แสวงการ ประธาน กรรมาธิการสิทธิมนุษยชนและการ คุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา เพราะ ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553 4 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 7. ยืนหมืนรายชือ ่ ่ ่ เสนอร่างพ.ร.บ. สินไหมฯ เข้าสภา เครื อ ข่ า ยนั ก วิ ช าการ และ เ ค รื อ ข่ า ย อ ง ค์ ก ร ผู้ บ ริ โ ภ ค ทั่ ว ประเทศ ได้ เ ข้ า ยื่ น ร่ า ง พ.ร.บ. กองทุนสินไหมทดแทนผู้ประสบภัย เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น ทุ ก คนมี ห ลั ก เครื อ ข่ า ยนั ก วิ ช าการเพื่ อ คุ้ ม ครอง จากรถ พ.ศ...... โดยรวบรวมราย ประกั น สุ ข ภาพ ผู้ ป ระสบภั ย ไม่ ไ ด้ ผู้บริโภค เครือข่ายองค์กรผู้บริโภค ชื่อประชาชน 10,803 รายชื่อ เสนอ รั บ การคุ้ ม ครองอย่ า งรวดเร็ ว และ ภาคประชาชน จึ ง ได้ จั ด ทำ (ร่ า ง) ต่อ พันเอกอภิวันท์ วิริยะชัย รอง เป็นธรรม นอกจากนี้ ยังพบว่าใน พ.ร.บ.กองทุ น สิ น ไหมทดแทน ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง การเจรจากั บ บริ ษั ท ประกั น ภั ย ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ..... เพื่อให้ นางสาวกชนุ ช แสงแถลง เอกชนทำให้ผู้ประสบภัยเสียเปรียบ แก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น พร้อมทั้ง ผู้ประสานเครือข่ายองค์กรผู้บริโภค เนื่ อ งจากฝ่ า ยบริ ษั ท ประกั น ภั ย ได้ ร วบรวมรายชื่ อ ประชาชนผู้ มี กล่ า วว่ า มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู้ บ ริ โ ภค ได้ ประวิงเวลาในการจ่ายเงินค่าชดเชย สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ไม่ น้ อ ยกว่ า หนึ่ ง หมื่ น ร่ ว มกั น ศึ ก ษาวิ จั ย พบว่ า พ.ร.บ. จากบริ ษั ท ประกั น ภั ย ทำให้ ผู้ ร า ย ชื่ อ เ พื่ อ ร้ อ ง ข อ ใ ห้ ป ร ะ ธ า น คุ้มครอบผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. ประสบภัยต้องเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น รัฐสภานำร่างพ.ร.บ.ดังกล่าวบรรจุ 2535 เป็ น อุ ป สรรคในการเข้ า ถึ ง และทำให้เสียเปรียบในการใช้สิทธิ เข้าสู่ระเบียบวาระการประชุม สิ ท ธิ ใ น ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล ดั ง นั้ น มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู้ บ ริ โ ภค เ ห็ น ว่ า ก ฎ ห ม า ย ฉ บั บ นี้ จ ะ เ ป็ น อิ ส ระในการดำเนิ น งานคุ้ ม ครอง คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคที่ อ อกประกาศ เครื่ อ งมื อ ของบริ ษั ท ที่ ต้ อ งการยุ บ ผู้ บ ริ โ ภค ทั้ ง ที่ ก่ อ นหน้ า นี้ กทช.มี โดย กทช. ถูกบังคับใช้และเกิดผล สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการ สำนักผู้บริการดำเนินการคุ้มครอง ในการคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มขึ้นไม่ โทรคมนาคม (สบท.) ผู้บริโภคภายใต้สำนักงานของ กทช. ว่าจะเป็น กรณี 107 บาท ในการ ในปั จ จุ บั น คณะกรรมการ อยู่แล้ว หากกฎหมายฉบับนี้เขียน เรี ย กเก็ บ เงิ น ต่ อ สั ญ ญาณการให้ กิจการโทรคมนาคม (กทช.) ได้มี ให้มีเพียงอนุกรรมการ นั่นย่อมเป็น บริการของบริษัทโทรคมนาคม การ การจัดตั้งสถาบันคุ้มครองผู้บริโภค เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ยุ บ ส ถ า บั น ศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพจากเสา ในกิ จ การโทรคมนาคม(สบท.) มี คุ้มครองผู้บริโภคฯ ไปโดยปริยาย สัญญาณโทรคมนาคม รวมทั้งการ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ท ำ ห น้ า ที่ ซึ่ ง จากการดำเนิ น งานของ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ผู้ บ ริ โ ภคได้ รั บ รู้ คุ้ ม ค ร อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ใ ห้ มี สบท. ในช่ ว งเวลาเพี ย ง 2 ปี ที่ สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภคในกิจการ สำนักงานของตนเองบริหารงานเป็น ผ่านมา มีส่วนช่วยทำให้มาตรการ โทรคมนาคมมากขึ้น ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 5
  • 8. กระแสต่างแดน ศศิวรรณ ปริญญาตร เกลือต้องห้าม แม้ครั้งหนึ่งเกลือจะเคยมีค่า บริ โ ภคเกลื อ ลงให้ ไ ด้ ร้ อ ยละ 25 ดั่ ง ทองและมี เ ครดิ ต เป็ น หนึ่ ง ใน ภายในเวลา 5 ปี บนโต๊ะ จุดประสงค์ของเขาคือต้องการ รากฐานของอารยธรรมมนุษย์ แต่วัน นายฟิลิก ส์ ออร์ทิส สมาชิก ให้ผู้บริโภคเป็นคนที่ควบคุมปริมาณ นี้เกลืออาจมีโอกาสตกอับถึงขั้นโดน สภาจากเขตบรู๊ ค ลิ น เลยคิ ด จะ เกลือด้วยตนเอง ห้ามใช้ในร้านอาหาร จัดการกับปัญหานี้อย่างเด็ดขาดด้วย แต่ บ รรดาพ่ อ ครั ว ในร้ า น ถ้ า คุ ณ เป็ น แฟนกระแสต่ า ง การเสนอร่ า งกฎหมายห้ า มร้ า น อาหารต่ า งก็ ห งุ ด หงิ ด ไปตามๆ กั น แดน คงจำกันได้ว่ารัฐนิวยอร์คของ อาหารในนิ ว ยอร์ ค ใช้ เ กลื อ เสี ย เลย พ ว ก เ ข า ม อ ง ว่ า เ ป็ น ก า ร ห้ า ม ที่ อเมริกานั้นช่างเป็นรัฐที่เป็นห่วงเป็น ถ้ า จั บ ได้ ว่ า ร้ า นไหนแอบใส่ ก็ จ ะ เหลวไหลที่สุด และเผลอๆ อาจจะ ใยสุขภาพประชากรดีจริงๆ ลงโทษด้วยการปรับ 1,000 เหรียญ บ่อนทำลายธุรกิจอาหารของเมืองไป ขณะนี้มีประชากรนิวยอร์คที่ (ประมาณ 32,000 บาท) ด้วย เป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่ถึง 1.5 คุณออร์ทิสแกบอกว่าสำหรับ คนอเมริ กั น บริ โ ภคเกลื อ วั น ล้านคน รัฐบาลท้องถิ่นที่นั่นจึงออก ผู้บริโภคนั้นไม่มีปัญหา ถ้าใครอยาก ละ 3,400 มิ ล ลิ ก รั ม ซึ่ ง เกิ น จาก มารณรงค์ ใ ห้ ผู้ ค นบริ โ ภคเกลื อ ให้ ได้ ร สเค็ ม ก็ เ ติ ม เองได้ จ ากกระปุ ก ปริมาณที่แนะนำ 2,300 มิลลิกรัมไป น้ อ ยลง โดยตั้ ง เป้ า ไว้ ว่ า จะลดการ เกลือที่มีวางไว้คู่กับกระปุกพริกไทย เยอะทีเดียว ช้อปได้แม้อยูในห้องน้ำ ่ ชุดชั้นในกันได้ ประกอบการอื่ น ๆ เข้ า มาทำการ ผู้ ป ระกอบการห้ อ งน้ ำ ดั ง ตลาดกันในห้องน้ำกันด้วย เช่น พา กล่ า วได้ แ ก่ บ ริ ษั ท เวสต์ เจแปน นาโซนิ ค ก็ ส่ ง ช่ า งผมมื อ อาชี พ มา ห้ อ งน้ ำ ที่ ส ถานี ร ถไฟโอซาก้ า เรลเวย์ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารรถไฟในฝั่ ง แนะนำวิ ธี ก ารใช้ เ ครื่ อ งรี ด ผมของ ในย่ า นกิ น ซ่ า ของญี่ ปุ่ น กำลั ง เป็ น ตะวั น ตกของเกาะฮอนชู บอกว่ า ที่ ตัวเอง หรือบริษัทเสื้อชั้นในวาโก้ก็มี สถานที่แฮงเอาท์แห่งใหม่ของทั้งเด็ก เปิ ด บริ ก ารนี้ ก็ เ พราะได้ รั บ เสี ย ง เสื้ อ ชั้ น ในรุ่ น ใหม่ ๆ มาให้ ส าวๆ ได้ มัธยมและสาววัยทำงาน เรี ย กร้ อ งจากบรรดาผู้ โ ดยสารหญิ ง ลอง รวมถึงชิเซโด้ที่มาตั้งเคาน์เตอร์ บริการห้องน้ำ “แองเจิลบี” ที่ ว่าไม่มีสถานที่ให้พวกเธอได้เติมหน้า เครื่องสำอางด้วยเช่นกัน เปิ ด บริ ก ารมาได้ 3 ปี ก ว่ า นี้ คิ ด ค่ า เติมปากหรือแต่งผมหลังการเดินทาง ข่าวไม่ได้บอกว่าค่าบริการจะ บริ ก ารประมาณ 100 บาทต่ อ หนึ่ ง ยาวไกลเลย บ้ า งก็ บ อกว่ า ไม่ มี ลดลงหรื อ ไม่ ห ลั ง จากมี ส ปอนเซอร์ ชั่วโมง นอกจากเข้าไปทำธุระส่วนตัว กิจกรรมอะไรจะทำเพื่อฆ่าเวลาขณะ แล้ว หรือสาวๆ จะต้องเสียเงินเข้าไป แล้ ว สาวๆ ยั ง จะสามารถนั่ ง จิ บ ชา รอรถไฟ ทำอย่ า งเดี ย วกั บ ที่ ท ำได้ ใ นห้ า งโดย สมุ น ไพรชิ ล ๆ เรี ย นเทคนิ ค การ ทุ ก วั น นี้ กิ จ การดี ม าก สาวๆ ไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายใดๆ เลย แต่งหน้า ทำผม หรือแม้แต่เลือกซื้อ เข้ า กั น หั ว บั น ไดไม่ แ ห้ ง จนมี ผู้ ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553 6 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 9. บอลลิวดก็โดนผีหลอก ู ไม่ ใ ช่ แ ค่ ฮ อลลิ วู ด เท่ า นั้ น หนั ง ขึ้ น ไปบนอิ น เตอร์ เ น็ ต จะมี ขึ้ น ที่ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ภั ย แผ่ น ผี ธุ ร กิ จ ทุกๆ 5 นาที และมีการประมาณการ ภาพยนตร์ อิ น เดี ย ที่ มี มู ล ค่ า สู ง ถึ ง ว่ า ภารตะชนซื้ อ แผ่ น ผิ ด กฎหมาย เป็ น ผลดี ต่ อ ตนเองไปด้ ว ย ใคร 2,300 ล้านเหรียญก็ต้องสูญเสียราย ประมาณปีละ 700 ล้านแผ่น สร้าง จะไม่ อ ยากได้ ต ลาดอิ น เดี ย ที่ มี ได้ ไ ปไม่ น้ อ ยกั บ การลั ก ลอบดาวน์ รายได้ ใ ห้ กั บ ผู้ ผ ลิ ต แผ่ น ปลอมไป ประชากร 1,000 ล้ า นคนที่ ชื่ น ชอบ โหลดหรือปั๊มแผ่นเช่นกัน 330 ล้านเหรียญชิลๆ การดู ห นั ง เป็ น ชี วิ ต จิ ต ใจมากกว่ า ที่ สถานการณ์ เ รื่ อ งการละเมิ ด ด้ า นฮอลลิ วู ด ก็ ดี ใ จที่ จ ะได้ ใดๆ ในโลก ลิ ข สิ ท ธิ์ ใ นอิ น เดี ย แย่ ล งฮวบฮาบ บอลลิ วู ด มาเป็ น พั น ธมิ ต รในการ แต่ ค งจะเป็ น งานหนั ก อยู่ เพราะความเร็ ว ในการเชื่ อ มต่ อ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ล ะ เ มิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ เหมือนกัน แม้ข่าวจะไม่ได้บอกว่าตั๋ว อิ น เตอร์ เ น็ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่ ภาพยนตร์ โดยทั้งนี้ก็จะพยายามลืมๆ หนังที่อินเดียราคาเท่าไหร่ แต่ที่แน่ๆ จำนวนครัวเรือนที่มีเครื่องเล่นดีวีดีก็ ไปว่ า ครั้ งหนึ่งเคยเคื อ งบอลลิ วูด อยู่ แผ่ น ผี ซึ่ ง ราคาประมาณ 2 เหรี ย ญ เพิ่มจาก 4 ล้านครัวเรือน เป็น 45 ไม่ น้ อ ยที่ ช อบก็ อ ปปี้ ห นั ง ดั ง ๆ ของ (ประมาณ 65 บาท) ก็ ท ำให้ ค นไม่ ล้านครัวเรือนในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ตนเองมาทำเป็นฉบับภารตะ เพราะ อยากเข้าโรงหนังสักเท่าไร ข่าวบอกว่าการอัพโหลดไฟล์ ถ้าอินเดียสามารถปราบปรามได้ก็จะ คล้ายๆ ที่ประเทศไหนน้า.... เมืองปลาทีไม่มปลา ่ ี เพิ่ ม ขึ้ น เช่ น ข้ อ จำกั ด เรื่ อ งระยะเวลา อาหารที่ ฟ ลอริ ด้ า นี้ เ ป็ น ปลานำเข้ า ในการจั บ ปลา หรื อ ชนิ ด ของปลาที่ จากที่ อื่ น เช่ น แซลมอนจาก อนุญาตให้จับได้ นอร์เวย์หรือสก็อตแลนด์ ทูน่าครีบ ชาวประมงที่ นี่ เ คยชุ ม นุ ม เหลื อ งและโลมาจากเอกวาดอร์ อี ก ครั้ ง ที่ ผู้ บ ริ โ ภคต้ อ งเตื อ น ประท้วงต่อต้านนโยบายเรื่องการจับ ป ล า เ ก๋ า จ า ก เ ม็ ก ซิ โ ก ห รื อ ไ ม่ ก็ ตนเองว่ า สิ่ ง ที่ เ ห็ น อาจไม่ เ ป็ น จริ ง ปลามาแล้ ว เพราะไม่ ใ ช่ แ ค่ ห้ า มจั บ เวียดนาม เป็นต้น เสมอไป นักท่องเที่ยวมากมายที่ไป ปลาชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง แต่ เ ป็ น การ ทางร้ า นอาหารบอกว่ า ปลา เยือนฟลอริด้าจะต้องไม่พลาดการสั่ง ห้ามจับปลาทุกชนิดในบริเวณที่ปลา ที่ไหนมันก็ปลาเหมือนกัน(ถ้างั้นกิน อาหารทะเลมารับประทาน ไม่อย่าง ชนิดนั้นๆอาศัยอยู่ด้วย ปัจจุบันชาว ที่บ้านก็น่าจะได้หรือเปล่า) แต่ตาม นั้นจะเหมือนไปไม่ถึง ประมงจำนวนไม่น้อยจึงเลิกอาชีพนี้ ความเห็นของนักชีววิทยาทางทะเล แต่ ข ณะนี้ ช าวประมงในรั ฐ ที่ ไป และเรื อ ที่ ล อยอยู่ ใ นน่ า นน้ ำ แล้ ว ปลาที่ เ ดิ น ทางไกลเหล่ า นี้ จ ะมี เรียกตนเองว่า “เมืองหลวงแห่งการ ฟลอริ ด้ า นั้ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น พวกล่ อ ง คุ ณ ภาพลดลง หนึ่ ง เพราะระยะ ตกปลาของโลก” จับปลาได้น้อยลง เรื อ ตกปลาเล่ น ๆ มากกว่ า จะเป็ น เวลาและสองกฎระเบียบที่ควบคุม เพราะภาวะอากาศที่ ห นาวเย็ น ผิ ด ประมงตัวจริง การจั บ ปลาในบางประเทศนั้ น ไม่ ปกติในบางช่วง รวมถึงกฎระเบียบที่ สรุ ป ว่ า ปลาที่ เ สิ ร์ ฟ ในร้ า น เข้มงวดเท่าที่ฟลอริด้าอีกด้วย ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 7
  • 10. ร่วมใช้รวมจ่าย ่ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ขึ้นมา อย่างตู้เย็นจะมีค่าจัดการเพิ่มขึ้นอีก เท่ า เป็ น 200 เหรี ย ญ แต่ ร าย เขตปกครองพิ เ ศษฮ่ อ งกง ละเอียดนั้นเขายังเถียงกันไม่จบ เช่น ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส ำ เ ร็ จ ใ น ก า ร ค่ า ธรรมเนี ย มที่ ว่ า นั้ น จะถู ก ลงหรื อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค ไม่ ถ้ า เราใช้ มั น นานขึ้ น และจะเก็ บ ให้ลดการใช้ถุงพลาสติกด้วยการเก็บ ค่ า ธรรมเนี ย มเท่ า กั น หรื อ ไม่ ส ำหรั บ ภาษี ถุ ง พลาสติ ก ในราคาใบละ 50 ไฟฟ้ า จะต้ อ งจ่ า ยค่ า ธรรมเนี ย มใน เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ต่ า งขนาด ต่ า งกำลั ง เซ็นต์ (2 บาท) ไปเรียบร้อยแล้ว การรีไซเคิลเครื่องใช้ไฟฟ้าชิ้นนั้นใน ไฟ ตอนนี้เขาจึงคิดจะเริ่มปฎิบัติ วันที่เราไม่ต้องการมันอีกต่อไป ร้ อ ยละ 86 ของขยะอิ เ ล็ ก การขั้ น ต่ อ ไปในการสร้ า งจิ ต สำนึ ก เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ขนาดเล็ ก ทรอนิกส์ในฮ่องกงนั้นเป็น โทรทัศน์ ของการบริโภคอย่างรับผิดชอบ (ค่า อย่ า งโทรทั ศ น์ จ ะมี ค่ า จั ด การ 100 เครื่ อ งซั ก ผ้ า ตู้ เ ย็ น เครื่ อ งปรั บ ใช้จ่าย) ต่อไปผู้บริโภคที่ซื้อเครื่องใช้ เหรียญฮ่องกง (ประมาณ 420 บาท) อากาศ และคอมพิวเตอร์ รวยเกินไป หัวใจว้าวุน ่ ข่ า วดี ส ำหรั บ ประเทศที่ ยั ง ไม่ ก็แทบจะไม่เกิดประโยชน์อะไร โดย รวยทั้ ง หลาย งานวิ จั ย ที่ ตี พิ ม พ์ ใ น ทั่วไปเมื่อประเทศร่ำรวยเกินภาวะอยู่ วารสารอิ โ คโนมิ ก เจอร์ นั ล พบ ดี กิ น ดี การบริ โ ภคของคนในชาติ ก็ ว่าความมั่งคั่งนั้นเป็นอันตรายต่อสุข จะเปลี่ ย นเป็ น การซื้ อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า ภาวะของคนในชาติ “สั ญ ลั ก ษณ์ ท างสถานภาพ” เช่ น อาจารย์ ด้ า นเศรษฐศาสตร์ เสื้ อ ผ้ า แบรนด์ เ นม เครื่ อ งประดั บ สองคน เคอร์ ทิ ส อี ตั น จาก ล้ ำ ค่ า หรื อ รถหรู มากกว่ า การซื้ อ มหาวิทยาลัยคาลการี และมูเคช เอ คุ ณ ค่ า การใช้ ส อยตามปกติ ข อง สวารานจากมหาวิ ท ยาลั ย บริ ติ ช สินค้านั้น วิจัยของพวกเขาช่วยยืนยันว่าเวลาที่ โคลัมเบีย เขาฟันธงว่าคนอังกฤษมี ทฤษฎี ก ารบริ โ ภคเพื่ อ ความ ความมั่ ง คั่ ง โดยเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น นั้ น สุ ข ภาวะที่ แ ย่ ล งสื บ เนื่ อ งจากความ โดดเด่ น บอกว่ า คนเราแสวงหา ประชากรจะมีเงินในกระเป๋ามากขึ้น อยากได้อยากมี และเขาคาดว่านโย “สถานภาพ” ผ่ า นทางการบริ โ ภค แต่ ไ ม่ ไ ด้ มี ค วามสุ ข มากขึ้ น ไปด้ ว ย บายรัดเข็มขัดที่รัฐบาลอังกฤษจะนำ แบบนี้ ซึ่งคุณค่านั้นไม่ใช่คุณค่าที่แท้ และเมื่อคนมุ่งแสวงหา “สัญลักษณ์ มาใช้นั้นจะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ จริงของสิ่งที่เราบริโภค หากแต่เป็น ทางสถานภาพ” ที่ ว่ า นี้ ก็ จ ะมี เ วลา อี ตั น และเอสวาราน เสนอ เพราะมันทำให้คนที่บริโภคได้รู้สึกว่า ใส่ใจกับเพื่อนบ้าน ชุมชนและสังคม แนวคิ ด ว่ า เมื่ อ ประเทศใดประเทศ ตนเองแตกต่างจากคนอื่น น้ อ ยลง ส่ ง ผลให้ ภ าวะความอยู่ ดี มี หนึ่ ง มี ม าตรฐานการใช้ ชี วิ ต ของ ที่สำคัญคือคนเราจะแสวงหา สุขร่วมกันลดลงไปโดยปริยาย ประชากรที่ดีในระดับหนึ่งแล้ว การ สิ น ค้ า ประเภทนี้ กั น มากขึ้ น เมื่ อ เฮ้อ รอดตัวไป ดีนะที่ยังไม่รวย สร้างความมั่งคั่งเพิ่มขึ้นให้ประชากร เศรษฐกิจขยายตัว รวมๆ แล้วงาน ฉลาดซื้อี่ 110 เมษายน 2553 8 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 11. เรื่องเด่น กองบรรณาธิการ นังรถ(โดยสาร)กบใคร ่ ั ปลอดภัยทีสด ่ ุ ทุกปีคนไทยราว 12 ล้านคน จำเป็นต้องใช้รถโดยสารประจำทางระหว่างจังหวัด ทุกชีวิตเหมือนแขวนไว้บนเส้นด้าย ทุกเที่ยวการเดินทางเหมือนกำลังเสี่ยงดวงว่า จะรอดหรือจะเจ็บ-ตาย จากอุบัติเหตุรถโดยสารขนาดใหญ่ที่เกิดปีละ 3-4 พันครั้ง ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 9
  • 12. โอกาสรอด โอกาสตาย ใครกำหนด แต่ละปีมีรถโดยสารสาธารณะขนาดใหญ่ประสบอุบัติเหตุ 3-4 พันครั้ง/ปี โดย 1 ใน 3 เกิดกับรถโดยสารต่างจังหวัด และ 2 ใน 3 เกิดกับรถโดยสารใน กทม. เหตุการณ์เกี่ยวกับอุบัติเหตุจากการโดยสารรถสาธารณะ พบได้ หลายรูปแบบ เช่น พนักงานขับรถอย่างประมาททำให้รถพลิกคว่ำ พนักงานไม่ชำนาญเส้นทาง หรือ สภาพของรถที่เก่าและไม่ได้มาตรฐาน ทำให้ผู้โดยสารมีภาวะเสี่ยงเพิ่มขึ้นเมื่อรถเกิดอุบัติเหตุ อย่างเบาะหลุด ออกจากตัวรถ โครงหลังคากดทับ กระจกปิดทึบไม่สามารถหนีออกมา ได้กรณีไฟไหม้ ฯลฯ ซึ่งในแต่ละครั้งแม้จะมีการระดมความคิดเพื่อหา มาตรการที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหา แต่ก็ต้องพบกับอุปสรรคสำคัญหลาย ประการ ฉลาดซื้อ 10 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553
  • 13. 1.การให้ใบอนุญาตเป็นรายเส้นทาง ทำให้ไม่เกิด การพัฒนาระบบขนส่งที่มีคุณภาพ ปัจจุบันหน่วยกำกับดูแลรถโดยสารสาธารณะ (รถโดยสารประจำทาง) คือ คณะกรรมการควบคุมการ ขนส่งทางบกกลาง โดยมีกรมการขนส่งทางบกเป็น ผู้ออกใบอนุญาตแก่ผู้ประกอบการ โดยดูแลเรื่อง เส้นทางที่รถโดยสารประจำทางให้บริการ จำนวนรถ ที่ให้บริการ ความถี่ของการให้บริการและราคา ค่าโดยสาร การให้ใบอนุญาตนั้นกรมการขนส่งทางบก จะพิจารณาจากความต้องการของประชาชนในการ เดินทางเส้นทางนั้นๆ เป็นหลัก โดยที่จะให้ใบอนุญาต เป็นรายเส้นทาง ใบอนุญาตมีอายุ 7 ปี ถ้าผู้ประกอบ การที่ได้รับใบอนุญาตสามารถประกอบการได้ตาม ข้อกำหนดของกรมฯ ตลอดช่วงเวลา 7 ปี ก็สามารถ ขอต่ออายุใบอนุญาตได้ ลักษณะการให้ใบอนุญาตรายเส้นทาง เป็นสิ่งที่ อาจจะไม่เหมาะสมในการพัฒนาระบบรถโดยสารให้มี คุณภาพดีได้ เนื่องจากการเดินทางของประชาชนมี ลักษณะซับซ้อน ระบบรถโดยสารที่ดีควรต้องมีการ พัฒนาในลักษณะโครงข่ายเพื่อให้ประชาชนได้ไปยัง พื้นที่ต่างๆ ได้ทั่วถึง หมายถึงว่าอาจต้องมีการเดินทาง 2.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่เห็นความสำคัญของ โดยรถโดยสารหลายต่อ(หลายเส้นทาง) หากผู้ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบการได้รับใบอนุญาตในลักษณะโครงข่ายก็จะ นอกจากการให้ใบอนุญาตรายเส้นทางทำให้ขาด สามารถพัฒนาคุณภาพในลักษณะการส่งต่อผู้โดยสาร การวางแผนในเชิงโครงข่ายและทำให้บริการไม่พัฒนา ให้ถึงที่หมายได้อย่างเป็นระบบ แล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังขาดการสนับสนุนระบบ แต่เมื่อได้รับใบอนุญาตเป็นรายเส้นทาง ขนส่งสาธารณะ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการก็จะไม่พัฒนาคุณภาพการให้บริการ ไม่พยายามจัดหาหรือพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเช่น นอกจากเพิ่มความถี่ของการวิ่งเพื่อให้ได้จำนวน ทั้งทางเท้า ป้ายหยุดรถโดยสาร ไฟส่องสว่าง ระบบ ผู้โดยสารมากที่สุด ส่วนผู้โดยสารต้องไปต่อรถอะไร ความปลอดภัย เพื่อจูงใจให้คนมาใช้บริการรถโดยสาร ไปไหนก็ขึ้นอยู่กับการวางแผนของผู้โดยสารเอง สาธารณะเพิ่มขึ้น ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 11
  • 14. 4.การกำกับดูแลมาตรฐานและความปลอดภัย ยังไม่มีประสิทธิภาพ ความปลอดภัยเป็นเรื่องสำคัญ ถือเป็นส่วนหนึ่ง ของการให้บริการรถโดยสารสาธารณะที่ดี แต่เนื่องจาก ระบบกำกับดูแลยังขาดความชัดเจน ทำให้เวลาเกิด อุบัติเหตุ ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียมหาศาลทั้งต่อชีวิต และทรัพย์สิน เกณฑ์มาตรฐานและการบังคับใช้ต่างๆ 3.รถร่วมบริการ ขาดแรงจูงใจในการพัฒนาระบบ จึงยังไม่สามารถทำได้อย่างทั่วถึง ความปลอดภัย ส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากรูปแบบของการประกอบ ปัจจุบันผู้ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตใน กิจการรถโดยสารสาธารณะเป็นรูปแบบการให้บริการ แต่ละเส้นทางจากกรมการขนส่งทางบก ส่วนใหญ่ไม่มี ของเอกชน เป็นการประกอบการเชิงพาณิชย์ ผู้ รถพอที่จะให้บริการได้เองทั้งหมด ต้องหาเอกชนราย ประกอบการต้องอาศัยค่าโดยสารเป็นรายได้หลัก แต่ อื่นมาร่วมให้บริการ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ใน อัตราค่าโดยสารถูกควบคุมโดยภาครัฐ ดังนั้นถ้า ภูมิภาคเป็นรถร่วมบริการมากกว่าร้อยละ 80 เส้นทางที่ผู้ประกอบการให้บริการอยู่มีจำนวนผู้โดยสาร ข้อดีของการให้มีรถร่วมบริการคือ ช่วยให้ผู้ น้อย การกวดขันเรื่องมาตรฐานความปลอดภัยก็ทำได้ ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตมีรถโดยสารให้บริการ อย่างยากลำบาก เพราะผู้ประกอบการไม่มีทั้งศักยภาพ อย่างเพียงพอ แต่ในปัจจุบันปัญหาด้านความปลอดภัย และแรงจูงใจเพียงพอที่จะลงทุนในการพัฒนาอุปกรณ์ และคุณภาพการให้บริการมาจากรถร่วมบริการนั่นเอง ต่างๆ เช่น การจัดหารถโดยสารที่ได้มาตรฐานมาให้ ในด้านความปลอดภัย รถร่วมบริการมีทุน บริการ การติดตั้งเข็มขัดนิรภัย การจ้างพนักงานขับรถ ในการประกอบการน้อย ทำให้เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ที่ชำนาญเส้นทางและเพียงพอต่อการให้บริการ เป็นต้น ผู้ประกอบการรถร่วมไม่สามารถรับภาระค่าเสียหายที่ อย่างไรก็ดีแนวโน้มของคนที่ใช้บริการรถ เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุได้ ครั้นผู้เสียหายจะไปฟ้องร้อง โดยสารสาธารณะกลับมีจำนวนที่ลดลง ส่วนหนึ่ง เอากับผู้ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตก็เป็นเรื่องยาก เนื่องจากเส้นทางคมนาคมที่สะดวกสบายขึ้น ประชาชน และกินเวลานาน มีรถยนต์ส่วนบุคคลมากขึ้น รวมทั้งความไม่มั่นใจใน ในส่วนของคุณภาพ ผู้ประกอบการรายย่อย คุณภาพการให้บริการของรถโดยสารสาธารณะใน ที่มาร่วมให้บริการอาจมีรถเพียงหนึ่งหรือสองคัน ปัจจุบัน ดังนั้นการจะพัฒนาให้ระบบรถโดยสาร ในขณะที่เส้นทางนั้นมีรถให้บริการอยู่หลายคัน สาธารณะได้มาตรฐานและปลอดภัยต่อประชาชน ผู้ประกอบการรถร่วมมักไม่ค่อยคำนึงถึงคุณภาพการ จำนวนกว่า 12 ล้านคน จำเป็นต้องปฏิรูประบบการ ให้บริการของตัวเอง เพราะทุนต่ำอีกทั้งการพัฒนารถ ขนส่งสาธารณะทั้งระบบ ของตัวเองอาจไม่เกิดประโยชน์แก่รายได้ของตัวเอง เนื่องจากผู้โดยสารอาจเลือกขึ้นรถคันอื่นที่วิ่งอยู่ใน เส้นทางเดียวกัน ข้อมูล : เอกสารประกอบการเสวนา “ความปลอดภัยและมาตรฐานรถโดยสารสาธารณะช่วงเทศกาลสงกรานต์” วันอังคารที่ 30 มีนาคม 2553 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ เรื่อง ความปลอดภัยและคุณภาพการให้บริการของรถโดยสารประจำทาง ความสำคัญของนโยบายและการกำกับดูแล โดย ดร.สุเมธ องกิตติกุล ฉลาดซื้อ 12 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553
  • 15. สาเหตุหลักของอุบัติเหตุรถโดยสารขนาดใหญ่ ปี พ.ศ.2545-2549 80 70 ขับเร็วเกินอัตรากำหนด 60 ตัดหน้าระยะกระชันชิด ้ อุปกรณ์รถชำรุดบกพร่อง 50 หลับใน 40 แซงอย่างผิดกฎหมาย เมาสุรา 30 อืนๆ ่ 20 10 0 ร้อยละ 71 ขับเร็วเกินอัตรากำหนด ร้อยละ 9 ตัดหน้าระยะกระชั้นชิด ร้อยละ 3 อุปกรณ์รถชำรุดบกพร่อง เมื่อเกิดอุบัติเหตุ 1 ครั้ง ร้อยละ 3 หลับใน - มีผู้เสียชีวิต 0.42 ราย ร้อยละ 3 แซงอย่างผิดกฎหมาย - บาดเจ็บสาหัส 0.90 ราย ร้อยละ 1 เมาสุรา - บาดเจ็บเล็กน้อย 2.69 ราย ร้อยละ 10 อื่น ๆ มูลค่าความสูญเสีย 2,300,000.00 บาท/ครั้ง ที่มา สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง จำนวนอุบัติเหตุปีละ 3,500 – 4,000 ครั้ง คิดเป็นค่าเสียหายปีละ 8,000 – 9,000 ล้าน บาท ประเภทใบอนุญาตประกอบการขนส่งผู้โดยสารประจำ ทางในเส้นทางการเดินรถ ที่มา สำนักอำนวยความปลอดภัย หมวด 1 เป็นเส้นทางการขนส่งประจำทางด้วยรถ กรมทางหลวง 2007 โดยสารภายในเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล เมือง และ เส้นทางต่อเนื่องภายในจังหวัด หมวด 2 เป็นเส้นทางเดินรถโดยสารที่มีจุดเริ่มต้น จากกรุงเทพฯ ไปยังส่วนภูมิภาค หมวด 3 เป็นเส้นทางเดินรถระหว่างจังหวัด หรือ คาบเกี่ยวระหว่างจังหวัดในภูมิภาค หมวด 4 เป็นเส้นทางเดินรถระหว่างอำเภอ หมู่บ้าน หรือเขตชุมชนภายในจังหวัด ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 13
  • 16. ผลสำรวจคุณภาพการบริการ รถโดยสารประจำทางระหว่างจังหวัด (ปรับอากาศ) โชคชะตากำหนด? เพราะเราเชื่อว่า อุบัติเหตุป้องกันได้ ไม่ใช่เรื่องของ เกณฑ์การสำรวจ โชคชะตาหรือฟ้าลิขิต แต่ในท่ามกลางสถานการณ์ระบบ โครงการฯ ได้เลือกสำรวจรถ ขนส่งสาธารณะที่ยังไม่ได้ปฏิรูปให้เกิดมาตรฐานและความ โดยสารประจำทางปรับอากาศในกลุ่ม ปลอดภัยแก่ประชาชน โครงการส่งเสริมสนับสนุนสิทธิผู้ใช้ มาตรฐาน 1 (ข) และรถกลุ่มมาตรฐาน บริการรถโดยสารสาธารณะ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค จึงทดลอง 4 (ข) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า รถ สำรวจคุณภาพงานบริการของรถโดยสารประจำทางระหว่าง โดยสารปรับอากาศ ชั้น 1/ ป 1 (รถ จังหวัด ในเส้นทางเดินรถ 3 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาค ชั้นเดียวและรถสองชั้น) เดินทางจาก ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ เพื่อนำเสนอข้อมูล “ทาง กรุงเทพฯ ไปยังต่างจังหวัด เนื่องจาก เลือก” ให้แก่ผู้บริโภคที่ต้องใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ เป็นกลุ่มรถโดยสารที่มีผู้นิยมใช้ บริการจำนวนมากและมีจำนวนที่ให้ บริการรวมกันถึง 3,000 กว่าคัน เงื่อนไขในการสำรวจ (เริ่มสำรวจ 5 ก.พ. – 27 มี.ค. 2553) เงื่อนไขการให้คะแนนการให้บริการของผู้ประกอบรถ 1. เป็นรถโดยสารประจำทางระหว่าง โดยสารประจำทาง จังหวัด หมวด 2 วิ่งบริการระหว่าง กรุงเทพฯ- ต่างจังหวัด ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง ด้านความปลอดภัย 8 เงื่อนไขๆ ละ 3 รวม 24 คะแนน เหนือ และภาคใต้ คะแนน (50%) 2. เป็นรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ด้านการให้ข้อมูล 13 เงื่อนไขๆ ละ 1 รวม 13 คะแนน ในกลุ่มมาตรฐาน 1 (ข) และรถกลุ่มมาตรฐาน ข่าวสาร คะแนน (27%) 4 (ข) ด้านความสะดวก 11 เงื่อนไขๆ ละ 1 รวม 11 คะแนน 3. เป็นรถโดยสารประจำทางในเส้นทาง สบาย คะแนน (23%) ที่ใช้เวลาในการเดินทางมากกว่า 4 ชั่วโมงขึ้นไป รวม รวม 48 คะแนน 4. ให้อาสาสมัครขึ้นใช้บริการบนรถ (100%) โดยสารประจำทางตลอดเส้นทางทุกบริษัทที่ให้ ดีมาก บริการรถโดยสารภายใต้เงื่อนไขตามข้อ 1-3 ดี บริษัทละ 2 เที่ยว โดยเลือกสุ่มสำรวจใน พอใช้ เส้นทางจังหวัดปลายทางที่มีจำนวนประชากร ค่อนข้างแย่ มากเป็นสำคัญ แย่ ฉลาดซื้อ 14 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553
  • 17. สิ่งที่พบจากการสำรวจ การให้ข้อมูลข่าวสาร แก่ผู้โดยสาร จากการสำรวจพบว่า 96.9 % ไม่ระบุเวลาถึงจุดหมายปลายทางบนตั๋ว 94.6 % ไม่ได้รับการแจ้งชื่อ เบอร์โทรศัพท์ติดต่อของบริษัท ประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง 96.9% ไม่มีการแจ้งเบอร์โทรอัตโนมัติในการร้องเรียน (1584) ของกรมการขนส่งทางบกบนตั๋ว 54.6 % ไม่พบป้ายแจ้งชื่อพนักงานขับรถบนรถโดยสาร มาตรฐานความปลอดภัย ความสะดวก สบายในการใช้บริการ จากการสำรวจพบว่า จากการสำรวจพบว่า 69.5% ที่นั่งผู้โดยสารไม่มีเข็มขัดนิรภัย 60 % สัมภาระที่ฝากไว้ในห้องเก็บสัมภาระ(ใต้ท้อง 50.4% เมื่อรถวิ่งไปได้ 4 ชั่วโมง ไม่มีการ รถ) ไม่มีป้ายแสดงความเป็นเจ้าของ เปลี่ยนพนักงานขับรถหรือให้ 44.1 % รถโดยสารถึงช้ากว่ากำหนดมากกว่า 15 นาที พนักงานขับรถพัก 30 นาทีก่อนขับ 43.4 % ห้องสุขาไม่สะอาด มีกลิ่นและสภาพไม่เหมาะ ต่อไป กับการใช้งาน 40% ไม่มีค้อนสำหรับทุบกระจกภายใน ห้องโดยสาร 35.4% ไม่มีถังดับเพลิงในห้องโดยสาร ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 110 เมษายน 2553 15